อินทร–, อินทร์ อินทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ อินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด [อินทะ–, อินทฺระ–, อิน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเทวราชผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และชั้นจาตุมหาราช; ผู้เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อินฺท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.อินทร–, อินทร์ [อินทะ–, อินทฺระ–, อิน] น. ชื่อเทวราชผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และชั้นจาตุมหาราช; ผู้เป็นใหญ่. (ส.; ป. อินฺท).
อินทรธนู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อู[อินทะนู] เป็นคำนาม หมายถึง รุ้ง (แถบสีโค้งบนท้องฟ้า); เครื่องประดับบ่าอย่างหนึ่งเพื่อแสดงยศเป็นต้น; ชื่อลายขอบที่เป็นกระหนก.อินทรธนู [อินทะนู] น. รุ้ง (แถบสีโค้งบนท้องฟ้า); เครื่องประดับบ่าอย่างหนึ่งเพื่อแสดงยศเป็นต้น; ชื่อลายขอบที่เป็นกระหนก.
อินทรวงศ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด[อินทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์ ๑๒ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีสําเนียงไพเราะดุจเสียงปี่ของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๗ คํา รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คําที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคําที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๖ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คําสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่ ๓ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
   ผาณิตผิชิดมด  จะอดอาจจะมี
  แม่เหล็กฤเหล็กดี  ยั่วก็พัวก็พัน.
        (อิลราช).
อินทรวงศ์ [อินทฺระ–] น. ชื่อฉันท์ ๑๒ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีสําเนียงไพเราะดุจเสียงปี่ของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๗ คํา รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คําที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคําที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ และที่ ๖ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คําสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่ ๓ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
   ผาณิตผิชิดมด  จะอดอาจจะมี
  แม่เหล็กฤเหล็กดี  ยั่วก็พัวก็พัน.
        (อิลราช).
อินทรวิเชียร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ[อินทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์ ๑๑ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามดุจสายฟ้าซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คําที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคําที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คําสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่ ๓ แต่เดิมไม่นิยมสัมผัสระหว่างคําสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคําที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
    ภาคพื้นนารัญ  แสนราญรมย์
  เนินราบลับสม  พิเพลินเริญใจ.
        (อิลราช),
แต่ต่อมานิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ อย่างเดียวกับกาพย์ยานี ๑๑ เพราะถือว่าไพเราะ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
    องค์ใดพระสัมพุทธ  สุวิสุทธสันดาน
  ตัดมูลเกลสมาร  บมิหม่นมิหมองมัว
  หนึ่งในพระทัยท่าน  ก็เบิกบานคือดอกบัว
  ราคีบพันพัว  สุวคนธกําจร.
อินทรวิเชียร [อินทฺระ–] น. ชื่อฉันท์ ๑๑ แบบหนึ่ง หมายความว่า ฉันท์ที่มีลีลาอันรุ่งเรืองงดงามดุจสายฟ้าซึ่งเป็นอาวุธของพระอินทร์ วรรคหน้ามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม ๒ วรรค เป็น ๑ บาท นับ ๒ บาท เป็น ๑ บท คําที่ ๓ ของวรรคหน้ากับคําที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ของวรรคหลังเป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ คําสุดท้ายของวรรคที่ ๒ รับสัมผัสกับคําสุดท้ายของวรรคที่ ๓ แต่เดิมไม่นิยมสัมผัสระหว่างคําสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคําที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
    ภาคพื้นนารัญ  แสนราญรมย์
  เนินราบลับสม  พิเพลินเริญใจ.
        (อิลราช),
แต่ต่อมานิยมสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ กับคำที่ ๓ ของวรรคที่ ๒ อย่างเดียวกับกาพย์ยานี ๑๑ เพราะถือว่าไพเราะ เช่น (รูปภาพ สัมผัส)
    องค์ใดพระสัมพุทธ  สุวิสุทธสันดาน
  ตัดมูลเกลสมาร  บมิหม่นมิหมองมัว
  หนึ่งในพระทัยท่าน  ก็เบิกบานคือดอกบัว
  ราคีบพันพัว  สุวคนธกําจร.
อินทรศักดิ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[อินทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทราณี, ชายาพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อินทรศักดิ์ [อินทฺระ–] น. พระอินทราณี, ชายาพระอินทร์. (ส.).
อินทราณี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชายาพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อินทราณี น. ชายาพระอินทร์. (ส.).
อินทราภิเษก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่[อินทฺรา–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลักษณะพิเศษ ๓ ประการ คือ ๑. พระอินทร์นําเอาเครื่องราชกกุธภัณฑ์มาถวาย เมื่อจะได้ราชสมบัติ ๒. เสี่ยงราชรถมาจดฝ่าพระบาท และ ๓. เหาะเอาฉัตรทิพย์มากางกั้น; การที่พระเจ้าแผ่นดินทําพิธีราชาภิเษกอีกครั้งหนึ่ง เมื่อปราบพระเจ้าแผ่นดินอื่นให้อยู่ในอํานาจได้มาก เพื่อยกพระองค์ขึ้นเป็นใหญ่เหนือพระเจ้าแผ่นดินทั้งหลาย.อินทราภิเษก [อินทฺรา–] น. เรียกลักษณะพิเศษ ๓ ประการ คือ ๑. พระอินทร์นําเอาเครื่องราชกกุธภัณฑ์มาถวาย เมื่อจะได้ราชสมบัติ ๒. เสี่ยงราชรถมาจดฝ่าพระบาท และ ๓. เหาะเอาฉัตรทิพย์มากางกั้น; การที่พระเจ้าแผ่นดินทําพิธีราชาภิเษกอีกครั้งหนึ่ง เมื่อปราบพระเจ้าแผ่นดินอื่นให้อยู่ในอํานาจได้มาก เพื่อยกพระองค์ขึ้นเป็นใหญ่เหนือพระเจ้าแผ่นดินทั้งหลาย.
อินทรายุธ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง[อินทฺรา–] เป็นคำนาม หมายถึง สายรุ้ง, สายฟ้า, อาวุธพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อินทรายุธ [อินทฺรา–] น. สายรุ้ง, สายฟ้า, อาวุธพระอินทร์. (ส.).
อินทราณี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อีดู อินทร–, อินทร์ อินทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ อินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด .อินทราณี ดู อินทร–, อินทร์.
อินทราภิเษก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ดู อินทร–, อินทร์ อินทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ อินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด .อินทราภิเษก ดู อินทร–, อินทร์.
อินทรายุธ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทงดู อินทร–, อินทร์ อินทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ อินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด .อินทรายุธ ดู อินทร–, อินทร์.
อินทรี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [–ซี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Accipitridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับเหยี่ยว ขามีขนปกคลุม กรงเล็บแข็งแรง ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น อินทรีหัวนวล (Haliaeetus leucoryphus) อินทรีดํา (Ictinaetus malayensis) อินทรีปีกลาย (Aquila clanga).อินทรี ๑ [–ซี] น. ชื่อนกในวงศ์ Accipitridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับเหยี่ยว ขามีขนปกคลุม กรงเล็บแข็งแรง ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น อินทรีหัวนวล (Haliaeetus leucoryphus) อินทรีดํา (Ictinaetus malayensis) อินทรีปีกลาย (Aquila clanga).
อินทรี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [–ซี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในหลายวงศ์ ลําตัวแบนข้างเรียวยาว คอดหางกิ่ว ปลายหางเป็นแฉกลึก อยู่เป็นฝูงใกล้ผิวนํ้า เช่น อินทรีบั้ง (Scomberomorus commersoni) อินทรีจุด (S. guttatus) ในวงศ์ Scombridae.อินทรี ๒ [–ซี] น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในหลายวงศ์ ลําตัวแบนข้างเรียวยาว คอดหางกิ่ว ปลายหางเป็นแฉกลึก อยู่เป็นฝูงใกล้ผิวนํ้า เช่น อินทรีบั้ง (Scomberomorus commersoni) อินทรีจุด (S. guttatus) ในวงศ์ Scombridae.
อินทรีย–, อินทรีย์ อินทรีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก อินทรีย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [–ซียะ–, –ซี] เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกายและจิตใจ เช่น สํารวมอินทรีย์; สติปัญญา เช่น อินทรีย์แก่กล้า; สิ่งมีชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อินฺทฺริย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.อินทรีย–, อินทรีย์ [–ซียะ–, –ซี] น. ร่างกายและจิตใจ เช่น สํารวมอินทรีย์; สติปัญญา เช่น อินทรีย์แก่กล้า; สิ่งมีชีวิต. (ป., ส. อินฺทฺริย).
อินทรียโคจร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในเขตความรู้สึก, ซึ่งรู้สึกได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อินทรียโคจร ว. อยู่ในเขตความรู้สึก, ซึ่งรู้สึกได้. (ส.).
อินทรียญาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้สึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อินทรียญาณ น. ความรู้สึก. (ป.).
อินทรียสังวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ความสํารวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อินทรียสังวร น. ความสํารวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ. (ป.).
อินทีวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ[–วอน] เป็นคำนาม หมายถึง ดอกบัวสีนํ้าเงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อินทีวร [–วอน] น. ดอกบัวสีนํ้าเงิน. (ป., ส.).
อินทุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อินทุ น. พระจันทร์. (ป., ส.).
อินธน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การจุดไฟ; เชื้อไฟ, ไม้สําหรับติดไฟ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นิรินธน์ ว่า ไม่มีเชื้อไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อินธน์ น. การจุดไฟ; เชื้อไฟ, ไม้สําหรับติดไฟ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นิรินธน์ ว่า ไม่มีเชื้อไฟ. (ป., ส.).
อินฟราเรด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก[–ฟฺรา–] เป็นคำนาม หมายถึง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐-๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสีความร้อน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ infrared เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอฟ-อา-เอ-อา-อี-ดี.อินฟราเรด [–ฟฺรา–] น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐-๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสีความร้อน ก็เรียก. (อ. infrared).
อินัง, อินังขังขอบ อินัง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู อินังขังขอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่, เอาใจช่วย, ดูแล, เหลียวแล, นําพา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่อินัง ไม่อินังขังขอบ หมายความว่า ไม่เอาใจใส่.อินัง, อินังขังขอบ ก. เอาใจใส่, เอาใจช่วย, ดูแล, เหลียวแล, นําพา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่อินัง ไม่อินังขังขอบ หมายความว่า ไม่เอาใจใส่.
อิ่ม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เต็มแล้ว, พอแล้ว, หายหิว, หายอยาก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบิกบาน, แช่มชื่น, เช่น หน้าอิ่ม.อิ่ม ก. เต็มแล้ว, พอแล้ว, หายหิว, หายอยาก. ว. เบิกบาน, แช่มชื่น, เช่น หน้าอิ่ม.
อิ่มใจ, อิ่มอกอิ่มใจ อิ่มใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน อิ่มอกอิ่มใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ปลื้มใจ, สบายใจ, ภูมิใจ, ปีติยินดี.อิ่มใจ, อิ่มอกอิ่มใจ ก. ปลื้มใจ, สบายใจ, ภูมิใจ, ปีติยินดี.
อิ่มตัว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่แล้ว.อิ่มตัว ว. เต็มที่แล้ว.
อิ่มหนำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อิ่มเต็มที่ (ใช้แก่กริยากิน), อิ่มหนําสําราญ ก็ว่า.อิ่มหนำ ว. อิ่มเต็มที่ (ใช้แก่กริยากิน), อิ่มหนําสําราญ ก็ว่า.
อิ่มหมีพีมัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ได้รับการเลี้ยงดูอย่างเต็มที่.อิ่มหมีพีมัน ว. ได้รับการเลี้ยงดูอย่างเต็มที่.
อิ่มเอม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่พอใจมาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ เปรมใจ หรือ เปรมปรีดิ์ เป็น อิ่มเอมเปรมใจ หรือ อิ่มเอมเปรมปรีดิ์.อิ่มเอม ว. เป็นที่พอใจมาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ เปรมใจ หรือ เปรมปรีดิ์ เป็น อิ่มเอมเปรมใจ หรือ อิ่มเอมเปรมปรีดิ์.
อิ่มเอิบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แช่มชื่น, สดชื่น, เช่น หน้าตาอิ่มเอิบ; ปลาบปลื้ม, สบายใจมาก, เช่น จิตใจอิ่มเอิบ.อิ่มเอิบ ว. แช่มชื่น, สดชื่น, เช่น หน้าตาอิ่มเอิบ; ปลาบปลื้ม, สบายใจมาก, เช่น จิตใจอิ่มเอิบ.
อิมัลชัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สารผสมที่ประกอบด้วยของเหลวต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป ผสมกันอยู่ในลักษณะซึ่งของเหลวชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยอยู่ในสภาพเป็นเม็ดเล็ก ๆ ลอยแผ่กระจายทั่วโดยสมํ่าเสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ emulsion เขียนว่า อี-เอ็ม-ยู-แอล-เอส-ไอ-โอ-เอ็น.อิมัลชัน น. สารผสมที่ประกอบด้วยของเหลวต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป ผสมกันอยู่ในลักษณะซึ่งของเหลวชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยอยู่ในสภาพเป็นเม็ดเล็ก ๆ ลอยแผ่กระจายทั่วโดยสมํ่าเสมอ. (อ. emulsion).
อิริเดียม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๗๗ สัญลักษณ์ Ir เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายเงิน เนื้อแข็งมาก เป็นธาตุที่หนักที่สุดเท่าที่รู้จักกัน หลอมละลายที่ ๒๔๕๔°ซ. เป็นโลหะที่ทนทานต่อการสึกกร่อนที่สุด ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ iridium เขียนว่า ไอ-อา-ไอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม.อิริเดียม น. ธาตุลําดับที่ ๗๗ สัญลักษณ์ Ir เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายเงิน เนื้อแข็งมาก เป็นธาตุที่หนักที่สุดเท่าที่รู้จักกัน หลอมละลายที่ ๒๔๕๔°ซ. เป็นโลหะที่ทนทานต่อการสึกกร่อนที่สุด ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. iridium).
อิริยา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง อาการเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อีรฺยา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.อิริยา น. อาการเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. (ป.; ส. อีรฺยา).
อิริยาบถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่ร่างกายอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง คือ ยืน เดิน นั่ง นอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อิริยาบถ น. อาการที่ร่างกายอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง คือ ยืน เดิน นั่ง นอน. (ป.).
อิรุพเพท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน[–รุบเพด] เป็นคำนาม หมายถึง ฤคเวท. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อิรุพเพท [–รุบเพด] น. ฤคเวท. (ป.).
อิลู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บัดนี้, เดี๋ยวนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .อิลู ว. บัดนี้, เดี๋ยวนี้. (ช.).
อิเล็กตรอน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู[–ตฺรอน] เป็นคำนาม หมายถึง อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอะตอมของธาตุทุกชนิด อนุภาคนี้มีประจุไฟฟ้าลบ มีมวล ๙.๑๐๙๑ x ๑๐-๓๑ กิโลกรัม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ electron เขียนว่า อี-แอล-อี-ซี-ที-อา-โอ-เอ็น.อิเล็กตรอน [–ตฺรอน] น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของอะตอมของธาตุทุกชนิด อนุภาคนี้มีประจุไฟฟ้าลบ มีมวล ๙.๑๐๙๑ x ๑๐-๓๑ กิโลกรัม. (อ. electron).
อิเล็กทรอนิกส์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด[–ทฺรอ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นํามาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนําและอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ electronics เขียนว่า อี-แอล-อี-ซี-ที-อา-โอ-เอ็น-ไอ-ซี-เอส.อิเล็กทรอนิกส์ [–ทฺรอ–] น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นํามาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนําและอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้. (อ. electronics).
อิเล็กโทน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดนตรีไฟฟ้าชนิดหนึ่ง สามารถทําเสียงเครื่องดนตรีหลายชนิดได้ในเวลาเดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ electone เขียนว่า อี-แอล-อี-ซี-ที-โอ-เอ็น-อี.อิเล็กโทน น. เครื่องดนตรีไฟฟ้าชนิดหนึ่ง สามารถทําเสียงเครื่องดนตรีหลายชนิดได้ในเวลาเดียวกัน. (อ. electone).
อิศร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ[อิด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นริศร มหิศร, หรือแผลงเป็น เอศร เช่น นฤเบศร. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นใหญ่, เป็นใหญ่ในตัวเอง, เป็นไทแก่ตัวไม่ขึ้นแก่ใคร. (จาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง อีศฺวร ซึ่งมักใช้ อิศวร).อิศร [อิด] น. ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นริศร มหิศร, หรือแผลงเป็น เอศร เช่น นฤเบศร. ว. เป็นใหญ่, เป็นใหญ่ในตัวเอง, เป็นไทแก่ตัวไม่ขึ้นแก่ใคร. (จาก ส. อีศฺวร ซึ่งมักใช้ อิศวร).
อิศวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ[อิสวน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกพระศิวะซึ่งเป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของพราหมณ์; ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส และแผลงเป็น เอศวร เช่น นเรศวร ราเมศวร, ใช้ย่อเป็น อิศร (อ่านว่า อิสวน) ก็มี เช่น ใยยกพระธำมรงค์ สำหรับองค์อิศรราช. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตเพชรมงกุฎ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อีศฺวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ.อิศวร [อิสวน] น. ชื่อเรียกพระศิวะซึ่งเป็นพระเจ้าองค์หนึ่งของพราหมณ์; ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส และแผลงเป็น เอศวร เช่น นเรศวร ราเมศวร, ใช้ย่อเป็น อิศร (อ่านว่า อิสวน) ก็มี เช่น ใยยกพระธำมรงค์ สำหรับองค์อิศรราช. (เพชรมงกุฎ). (ส. อีศฺวร).
อิษฏ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าปรารถนา, น่ารัก, เป็นที่พอใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อิษฏ์ ๑ ว. น่าปรารถนา, น่ารัก, เป็นที่พอใจ. (ส.).
อิษฏ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การบูชา, เครื่องสักการบูชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อิษฏ์ ๒ น. การบูชา, เครื่องสักการบูชา. (ส.).
อิษฏี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [อิดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความกระหาย, ความอยาก, ความต้องการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อิษฏี ๑ [อิดสะ–] น. ความกระหาย, ความอยาก, ความต้องการ. (ส.).
อิษฏี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [อิดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การบูชา, การเซ่นสรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อิษฏี ๒ [อิดสะ–] น. การบูชา, การเซ่นสรวง. (ส.).
อิส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ[อิด] เป็นคำนาม หมายถึง หมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อิส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ อิสฺส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต ฤกฺษ เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.อิส [อิด] น. หมี. (ป. อิส, อิสฺส; ส. ฤกฺษ).
อิสตรี, อิสัตรี อิสตรี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี อิสัตรี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี [อิดสัดตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง หญิง.อิสตรี, อิสัตรี [อิดสัดตฺรี] น. หญิง.
อิสร–, อิสระ อิสร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ อิสระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [อิดสะหฺระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นใหญ่, เป็นไทแก่ตัว, เช่น อิสรชน, ที่ปกครองตนเอง เช่น รัฐอิสระ, ไม่ขึ้นแก่ใคร, ไม่สังกัดใคร, เช่น อาชีพอิสระ นักเขียนอิสระ. เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นไทแก่ตัว เช่น ไม่มีอิสระ แยกตัวเป็นอิสระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อิสฺสร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต อีศฺวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ.อิสร–, อิสระ [อิดสะหฺระ–] ว. เป็นใหญ่, เป็นไทแก่ตัว, เช่น อิสรชน, ที่ปกครองตนเอง เช่น รัฐอิสระ, ไม่ขึ้นแก่ใคร, ไม่สังกัดใคร, เช่น อาชีพอิสระ นักเขียนอิสระ. น. ความเป็นไทแก่ตัว เช่น ไม่มีอิสระ แยกตัวเป็นอิสระ. (ป. อิสฺสร; ส. อีศฺวร).
อิสรภาพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นใหญ่, ความเป็นไทแก่ตัว; การปกครองตนเอง.อิสรภาพ น. ความเป็นใหญ่, ความเป็นไทแก่ตัว; การปกครองตนเอง.
อิสริย–, อิสริยะ อิสริย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก อิสริยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [อิดสะริยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความยิ่งใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อิสฺสริย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ไอศฺวรฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อิสริย–, อิสริยะ [อิดสะริยะ–] น. ความเป็นใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความยิ่งใหญ่. (ป. อิสฺสริย; ส. ไอศฺวรฺย).
อิสริยยศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา[อิดสะริยะยด] เป็นคำนาม หมายถึง ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระนามเดิม เช่น พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์.อิสริยยศ [อิดสะริยะยด] น. ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระนามเดิม เช่น พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์.
อิสริยาภรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ตราเครื่องประดับเกียรติยศ เรียกเป็นสามัญว่า เหรียญตรา.อิสริยาภรณ์ น. ตราเครื่องประดับเกียรติยศ เรียกเป็นสามัญว่า เหรียญตรา.
อิสริยาภรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาดดู อิสริย–, อิสริยะ อิสริย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก อิสริยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ .อิสริยาภรณ์ ดู อิสริย–, อิสริยะ.
อิสลาม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคืออัลลอฮ์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช, เรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามว่า มุสลิม.อิสลาม น. ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคืออัลลอฮ์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช, เรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามว่า มุสลิม.
อิสสา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา[อิด–] เป็นคำนาม หมายถึง ความหึงหวง, ความชิงชัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อีรฺษฺยา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.อิสสา [อิด–] น. ความหึงหวง, ความชิงชัง. (ป.; ส. อีรฺษฺยา).
อิสิ, อิสี อิสิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ อิสี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แสวงคุณความดี, ฤษี, ผู้ถือบวช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ฤษิ เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ.อิสิ, อิสี น. ผู้แสวงคุณความดี, ฤษี, ผู้ถือบวช. (ป.; ส. ฤษิ).
อิสินธร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ[–สินทอน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาชั้นที่ ๒ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อิสินฺธร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ อีสธร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต อีษาธร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ. ในวงเล็บ ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ สัตบริภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด สัตภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด .อิสินธร [–สินทอน] น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๒ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป. อิสินฺธร, อีสธร; ส. อีษาธร). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
อิหม่าม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกผู้นําในศาสนาอิสลาม, ผู้นําในการทําละหมาด, ตําแหน่งสําคัญของคณะกรรมการบริหารมัสยิด, โต๊ะอิหม่าม ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ imam เขียนว่า ไอ-เอ็ม-เอ-เอ็ม.อิหม่าม น. คําเรียกผู้นําในศาสนาอิสลาม, ผู้นําในการทําละหมาด, ตําแหน่งสําคัญของคณะกรรมการบริหารมัสยิด, โต๊ะอิหม่าม ก็เรียก. (อ. imam).
อิหลักอิเหลื่อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึดอัดใจ, ลําบากใจ, อลักเอลื่อ อาหลักอาเหลื่อ หรือ อีหลักอีเหลื่อ ก็ว่า.อิหลักอิเหลื่อ ว. อึดอัดใจ, ลําบากใจ, อลักเอลื่อ อาหลักอาเหลื่อ หรือ อีหลักอีเหลื่อ ก็ว่า.
อี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คําประกอบคําอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศหญิงหรือสัตว์ตัวเมีย เช่น อีสาว อีเหมียว, คําประกอบหน้าชื่อผู้หญิงที่มีฐานะตํ่ากว่า, คําใช้ประกอบหน้าชื่อผู้หญิงแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คําประกอบคําบางคําที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้หญิงหรือผู้หญิงที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อีหนู, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้น เช่น อีทีนี้จะเอาอะไรกินกันล่ะ อีตอนนั้นไม่สบายเลยไม่ได้ไป, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อีบ้า อีงั่ง อีควาย, คําใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น เอาอีนี่ออกไปซิ, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง คํานําหน้าชื่อผู้หญิงสามัญชนทั่วไป เช่น อีอยู่อีคงทาษภรรยาพระเสนานน. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง, ถ้าใช้ในทางเสียหายโดยเฉพาะทางด้านชู้สาว มักใช้ว่า อี่ เช่น หย่างไอ้ดีบวดอยู่วัดโพเสพเมถุนธรรมด้วยอี่ทองมาก อี่เพียน อี่พิ่ม อี่บุนรอด อี่หนู อี่เขียว. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.อี ๑ น. คําประกอบคําอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศหญิงหรือสัตว์ตัวเมีย เช่น อีสาว อีเหมียว, คําประกอบหน้าชื่อผู้หญิงที่มีฐานะตํ่ากว่า, คําใช้ประกอบหน้าชื่อผู้หญิงแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คําประกอบคําบางคําที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้หญิงหรือผู้หญิงที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อีหนู, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้น เช่น อีทีนี้จะเอาอะไรกินกันล่ะ อีตอนนั้นไม่สบายเลยไม่ได้ไป, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อีบ้า อีงั่ง อีควาย, คําใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น เอาอีนี่ออกไปซิ, (โบ) คํานําหน้าชื่อผู้หญิงสามัญชนทั่วไป เช่น อีอยู่อีคงทาษภรรยาพระเสนานน. (สามดวง), ถ้าใช้ในทางเสียหายโดยเฉพาะทางด้านชู้สาว มักใช้ว่า อี่ เช่น หย่างไอ้ดีบวดอยู่วัดโพเสพเมถุนธรรมด้วยอี่ทองมาก อี่เพียน อี่พิ่ม อี่บุนรอด อี่หนู อี่เขียว. (สามดวง).
อีดอก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ใช้ด่าผู้หญิง.อีดอก น. คำที่ใช้ด่าผู้หญิง.
อี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คําประกอบหน้าชื่อการเล่นบางอย่าง เช่น อีตัก อีขีดอีเขียน; คําประกอบหน้าชื่อท่าในการเล่นบางอย่าง เช่น อีงุ้ม อีเข่า ในการเล่นสะบ้า อีรวบ อีกาเข้ารัง ในการเล่นหมากเก็บ.อี ๒ น. คําประกอบหน้าชื่อการเล่นบางอย่าง เช่น อีตัก อีขีดอีเขียน; คําประกอบหน้าชื่อท่าในการเล่นบางอย่าง เช่น อีงุ้ม อีเข่า ในการเล่นสะบ้า อีรวบ อีกาเข้ารัง ในการเล่นหมากเก็บ.
อี่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกสาวคนที่ ๒ ว่า ลูกอี่, เรียกลูกสาวคนที่ ๑ ว่า ลูกเอื้อย, คู่กับ คําที่เรียกลูกชายคนที่ ๑ ว่า ลูกอ้าย, เรียกลูกชายคนที่ ๒ ว่า ลูกยี่.อี่ (โบ) น. เรียกลูกสาวคนที่ ๒ ว่า ลูกอี่, เรียกลูกสาวคนที่ ๑ ว่า ลูกเอื้อย, คู่กับ คําที่เรียกลูกชายคนที่ ๑ ว่า ลูกอ้าย, เรียกลูกชายคนที่ ๒ ว่า ลูกยี่.
อี๊ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการรังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้น เช่น อี๊ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ ยังจะเอามาให้อีก, ยี้ ก็ว่า.อี๊ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการรังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้น เช่น อี๊ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ ยังจะเอามาให้อีก, ยี้ ก็ว่า.
อี๋ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมของจีนชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าปั้นเป็นลูกกลม ๆ ต้มนํ้าตาล.อี๋ ๑ น. ชื่อขนมของจีนชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าปั้นเป็นลูกกลม ๆ ต้มนํ้าตาล.
อี๋ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําใช้ขยายกริยา คราง ในคําว่า ครางอี๋.อี๋ ๒ ว. คําใช้ขยายกริยา คราง ในคําว่า ครางอี๋.
อี๋ ๓, อี๋อ๋อ อี๋ ความหมายที่ ๓ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา อี๋อ๋อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่แสดงอาการเอาอกเอาใจหรือประจบประแจงเป็นต้น.อี๋ ๓, อี๋อ๋อ ก. กิริยาที่แสดงอาการเอาอกเอาใจหรือประจบประแจงเป็นต้น.
อีก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่อไป, ซํ้า, เพิ่มเติม เช่น ขออีก, อื่นจากนั้น เช่น อีกประการหนึ่ง, อิก ก็ว่า.อีก ว. ต่อไป, ซํ้า, เพิ่มเติม เช่น ขออีก, อื่นจากนั้น เช่น อีกประการหนึ่ง, อิก ก็ว่า.
อีก้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาวเขาพวกหนึ่ง ในตระกูลทิเบต—พม่า มีอยู่ทางแถบเหนือของประเทศไทย คล้ายพวกมูเซอ, ก้อ ก็เรียก.อีก้อ น. ชนชาวเขาพวกหนึ่ง ในตระกูลทิเบต—พม่า มีอยู่ทางแถบเหนือของประเทศไทย คล้ายพวกมูเซอ, ก้อ ก็เรียก.
อีก๋อย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Scolopacidae ตัวสีนํ้าตาลเทาลายดํา ปากยาวโค้งปลายแหลม ขายาว หากินเป็นฝูงตามชายหาด มีหลายชนิด เช่น อีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) อีก๋อยเล็ก (N. phaeopus), ก๋อย ก็เรียก.อีก๋อย น. ชื่อนกในวงศ์ Scolopacidae ตัวสีนํ้าตาลเทาลายดํา ปากยาวโค้งปลายแหลม ขายาว หากินเป็นฝูงตามชายหาด มีหลายชนิด เช่น อีก๋อยใหญ่ (Numenius arquata) อีก๋อยเล็ก (N. phaeopus), ก๋อย ก็เรียก.
อีกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อาดู กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.อีกา ดู กา ๑.
อีก๋า เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อาดู หมอช้างเหยียบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้.อีก๋า ดู หมอช้างเหยียบ.
อีเก้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งูดู เก้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู.อีเก้ง ดู เก้ง.
อีเกร็ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู[–เกฺร็ง]ดู เหงือกปลาหมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.อีเกร็ง [–เกฺร็ง] ดู เหงือกปลาหมอ ๒.
อีเก้อีกัง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก้กัง.อีเก้อีกัง ว. เก้กัง.
อีแก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ดู แก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.อีแก ดู แก ๑.
อีแก่, อีแก่กินน้ำ อีแก่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก อีแก่กินน้ำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นไพ่อย่างหนึ่ง.อีแก่, อีแก่กินน้ำ น. ชื่อการเล่นไพ่อย่างหนึ่ง.
อีแก้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เบี้ยอีแก้. ในวงเล็บ ดู เบี้ยแก้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ที่ เบี้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑.อีแก้ น. เบี้ยอีแก้. (ดู เบี้ยแก้ ที่ เบี้ย ๑).
อีโก้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Porphyrio porphyrio ในวงศ์ Rallidae ลําตัวสีม่วงเหลือบนํ้าเงิน ปากหนาสีแดง ใต้หางสีขาว ขาและนิ้วยาว วิ่งหากินบนพืชที่ลอยอยู่ในนํ้า กินพืชและสัตว์เล็ก ๆ.อีโก้ง น. ชื่อนกชนิด Porphyrio porphyrio ในวงศ์ Rallidae ลําตัวสีม่วงเหลือบนํ้าเงิน ปากหนาสีแดง ใต้หางสีขาว ขาและนิ้วยาว วิ่งหากินบนพืชที่ลอยอยู่ในนํ้า กินพืชและสัตว์เล็ก ๆ.
อีโก๊ะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะดู หมอตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ที่ หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.อีโก๊ะ ดู หมอตาล ที่ หมอ ๒.
อีคว่ำอีหงาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการเล่นชนิดหนึ่งในจําพวกหมากแยก ซึ่งมีการกินหงายเบี้ย.อีคว่ำอีหงาย น. เรียกการเล่นชนิดหนึ่งในจําพวกหมากแยก ซึ่งมีการกินหงายเบี้ย.
อีจู้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, กระจู้ หรือ จู้ ก็เรียก.อีจู้ น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, กระจู้ หรือ จู้ ก็เรียก.
อีฉัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, อิฉัน ก็ว่า, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป หมายถึง ผู้ชายใช้ว่า ดิฉัน หรือ ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อิฉัน หรือ อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.อีฉัน ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, อิฉัน ก็ว่า, (แบบ) ผู้ชายใช้ว่า ดิฉัน หรือ ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อิฉัน หรือ อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
อีฉุยอีแฉก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีลุ่ยฉุยแฉก หรือ อีหลุยฉุยแฉก ก็ว่า.อีฉุยอีแฉก ก. กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. ว. ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีลุ่ยฉุยแฉก หรือ อีหลุยฉุยแฉก ก็ว่า.
อีชุก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ดู ค้าว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.อีชุก ดู ค้าว.
อี๊ด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องดังเช่นนั้น.อี๊ด ว. เสียงร้องดังเช่นนั้น.
อีดำอีแดง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๓ อัน ทาสีดำ สีแดง และสีขาว เจ้ามือกำไม้ทั้ง ๓ อันไว้ แล้วใช้ความไวปัดไม้อันหนึ่งลงในกล่อง ให้ลูกค้าแทงสี ถ้าแทงผิดเจ้ามือกิน, ปลาดำปลาแดง หรือ ไม้ดำไม้แดง ก็เรียก.อีดำอีแดง ๑ น. เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๓ อัน ทาสีดำ สีแดง และสีขาว เจ้ามือกำไม้ทั้ง ๓ อันไว้ แล้วใช้ความไวปัดไม้อันหนึ่งลงในกล่อง ให้ลูกค้าแทงสี ถ้าแทงผิดเจ้ามือกิน, ปลาดำปลาแดง หรือ ไม้ดำไม้แดง ก็เรียก.
อีดำอีแดง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคติดต่อชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นผื่นสีดําสีแดงตามตัว.อีดำอีแดง ๒ น. ชื่อโรคติดต่อชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นผื่นสีดําสีแดงตามตัว.
อีตัว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เบี้ยใช้ทอยในการเล่นบางอย่างเช่นต้องเต.อีตัว น. เบี้ยใช้ทอยในการเล่นบางอย่างเช่นต้องเต.
อีตาล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิงดู หมอตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ที่ หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.อีตาล ดู หมอตาล ที่ หมอ ๒.
อีเต้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับขุดของแข็งหรือหินเป็นต้น ทําด้วยเหล็ก ลักษณะคล้ายจอบ ปลายหัวด้านหนึ่งแหลม ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งแบน มีรูตรงกลางสําหรับใส่ด้าม.อีเต้อ น. เครื่องมือสําหรับขุดของแข็งหรือหินเป็นต้น ทําด้วยเหล็ก ลักษณะคล้ายจอบ ปลายหัวด้านหนึ่งแหลม ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งแบน มีรูตรงกลางสําหรับใส่ด้าม.
อีโต้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง มีดโต้. ในวงเล็บ ดู โต้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท ความหมายที่ ๑.อีโต้ น. มีดโต้. (ดู โต้ ๑).
อีถ่าง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู กระท่อม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒.อีถ่าง ดู กระท่อม ๒.
อีทุก, อีทุบ อีทุก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ อีทุบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ดู ค้าว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.อีทุก, อีทุบ ดู ค้าว.
อีเทอร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R—O—R โดยทั่วไปมักหมายถึง ไดเอทิลอีเทอร์ ซึ่งมีสูตร C2H5—O—C2H5 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีขีดเดือด ๓๔.๖°ซ. ไวไฟมาก ใช้ประโยชน์เป็นยาดมสลบ เป็นตัวทําละลาย และใช้นําไปเตรียมสารเคมีอื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ether เขียนว่า อี-ที-เอช-อี-อา.อีเทอร์ น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R—O—R โดยทั่วไปมักหมายถึง ไดเอทิลอีเทอร์ ซึ่งมีสูตร C2H5—O—C2H5 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีขีดเดือด ๓๔.๖°ซ. ไวไฟมาก ใช้ประโยชน์เป็นยาดมสลบ เป็นตัวทําละลาย และใช้นําไปเตรียมสารเคมีอื่น. (อ. ether).
อีนุงตุงนัง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยุ่งใหญ่, พันกันยุ่ง.อีนุงตุงนัง ว. ยุ่งใหญ่, พันกันยุ่ง.
อีนูน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถามีหัวชนิด Adenia pierrei Gagnep. และชนิด A. viridiflora Craib ในวงศ์ Passifloraceae ขึ้นปกคลุมต้นไม้ตามป่าทั่วไป ทุกส่วนเป็นพิษ ยอดอ่อนดองแล้วกินได้, นางนูน หรือ ผักสาบ ก็เรียก.อีนูน (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่อไม้เถามีหัวชนิด Adenia pierrei Gagnep. และชนิด A. viridiflora Craib ในวงศ์ Passifloraceae ขึ้นปกคลุมต้นไม้ตามป่าทั่วไป ทุกส่วนเป็นพิษ ยอดอ่อนดองแล้วกินได้, นางนูน หรือ ผักสาบ ก็เรียก.
อีโน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชามขนาดใหญ่อย่างชามโคมว่า ชามอีโน.อีโน (โบ) น. เรียกชามขนาดใหญ่อย่างชามโคมว่า ชามอีโน.
อีโนงโตงเนง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุงรัง; ไม่รู้จักแล้ว.อีโนงโตงเนง ว. รุงรัง; ไม่รู้จักแล้ว.
อีบึ้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งูดู บึ้ง เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑.อีบึ้ง ดู บึ้ง ๑.
อีเบ้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ผีเสื้อกลางวัน. ในวงเล็บ ดู ผีเสื้อ เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑.อีเบ้อ (ถิ่น–พายัพ) น. ผีเสื้อกลางวัน. (ดู ผีเสื้อ ๑).
อีเป็ด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อหรือเรือขุดต่อกระดานเสริมกราบชนิดหนึ่ง หัวท้ายแบน ๆ ก็มี หัวท้ายแหลมก็มี กลางป่อง ดูรูปร่างคล้ายเป็ด, เรือเป็ด ก็เรียก.อีเป็ด น. ชื่อเรือต่อหรือเรือขุดต่อกระดานเสริมกราบชนิดหนึ่ง หัวท้ายแบน ๆ ก็มี หัวท้ายแหลมก็มี กลางป่อง ดูรูปร่างคล้ายเป็ด, เรือเป็ด ก็เรียก.
อีเป้า เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อว่าวชนิดหนึ่งมีหางยาว คู่กับ ว่าวจุฬา, ปักเป้า ก็เรียก.อีเป้า น. ชื่อว่าวชนิดหนึ่งมีหางยาว คู่กับ ว่าวจุฬา, ปักเป้า ก็เรียก.
อีแปะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เงินปลีกโบราณ, กะแปะ ก็เรียก.อีแปะ ๑ น. เงินปลีกโบราณ, กะแปะ ก็เรียก.
อีแปะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบน เสริมกราบ รูปคล้ายเรือสําปั้น แต่หัวเรือสั้นกว่า.อีแปะ ๒ น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบน เสริมกราบ รูปคล้ายเรือสําปั้น แต่หัวเรือสั้นกว่า.
อีแปะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผักอีแปะ. ในวงเล็บ ดู ตับเต่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา (๑).อีแปะ ๓ น. ผักอีแปะ. [ดู ตับเต่า (๑)].
อีโปง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๑ วา ทําจากโคนต้นตาลผ่าซีก แล้วขุดเอาเนื้อข้างในออก ปิดท้ายด้วยไม้ ท้ายเรือเล็กกว่าหัวเรือ.อีโปง ๑ น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๑ วา ทําจากโคนต้นตาลผ่าซีก แล้วขุดเอาเนื้อข้างในออก ปิดท้ายด้วยไม้ ท้ายเรือเล็กกว่าหัวเรือ.
อีโปง ๒, อีโปงครอบ อีโปง ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู อีโปงครอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ยซึ่งเรียกว่า ลูกอีโปง ลักษณะเป็นลูกบาศก์ หน้าทั้ง ๖ ด้านมีภาพนํ้าเต้า ปู ปลา กุ้ง เสือ ไก่ ให้ลูกค้าแทง ถ้าแทงถูกเจ้ามือใช้ ๓ ต่อ.อีโปง ๒, อีโปงครอบ น. เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ยซึ่งเรียกว่า ลูกอีโปง ลักษณะเป็นลูกบาศก์ หน้าทั้ง ๖ ด้านมีภาพนํ้าเต้า ปู ปลา กุ้ง เสือ ไก่ ให้ลูกค้าแทง ถ้าแทงถูกเจ้ามือใช้ ๓ ต่อ.
อีเพา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง, นกกระถั่ว หรือ โชโหว ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.อีเพา น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง, นกกระถั่ว หรือ โชโหว ก็เรียก. (พจน. ๒๔๙๓).
อีมู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Dromaius novaehollandiae ในวงศ์ Dromaiidae ลําตัวสีเทาอมดํา สูงประมาณ ๕ ฟุต ปีกขนาดเล็กมาก บินไม่ได้ มีนิ้วตีน ๓ นิ้ว เล็บแหลมคมมากใช้ในการต่อสู้ ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปออสเตรเลีย.อีมู ๑ น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Dromaius novaehollandiae ในวงศ์ Dromaiidae ลําตัวสีเทาอมดํา สูงประมาณ ๕ ฟุต ปีกขนาดเล็กมาก บินไม่ได้ มีนิ้วตีน ๓ นิ้ว เล็บแหลมคมมากใช้ในการต่อสู้ ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปออสเตรเลีย.
อีมู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมันชนิด Dioscorea pentaphylla L. ในวงศ์ Dioscoreaceae รากมีหนามแข็ง หัวกลมผิวขรุขระ สีนํ้าตาล กินได้.อีมู ๒ น. ชื่อมันชนิด Dioscorea pentaphylla L. ในวงศ์ Dioscoreaceae รากมีหนามแข็ง หัวกลมผิวขรุขระ สีนํ้าตาล กินได้.
อีรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู นางรม เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.อีรม ดู นางรม ๑.
อีรุ้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งูดู รุ้ง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๒.อีรุ้ง ดู รุ้ง ๒.
อีลอง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งูดู หางแข็ง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู.อีลอง ดู หางแข็ง.
อีล่อยป่อยแอ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชักช้า, อืดอาด, อีล่อยป้อยแอ ก็ว่า.อีล่อยป่อยแอ (โบ) ว. ชักช้า, อืดอาด, อีล่อยป้อยแอ ก็ว่า.
อีลุ้ม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Gallicrex cinerea ในวงศ์ Rallidae ตัวขนาดเดียวกับนกอีโก้ง ขายาว นิ้วยาว ตัวผู้ขนสีดํา หงอนแดง ตัวเมียขนสีนํ้าตาล ไม่มีหงอน นอกฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้และตัวเมียมีสีขนคล้ายกัน อาศัยหากินตามแหล่งน้ำและทุ่งนา พบทั่วทุกภาค กินพืชและสัตว์เล็ก ๆ.อีลุ้ม ๑ น. ชื่อนกชนิด Gallicrex cinerea ในวงศ์ Rallidae ตัวขนาดเดียวกับนกอีโก้ง ขายาว นิ้วยาว ตัวผู้ขนสีดํา หงอนแดง ตัวเมียขนสีนํ้าตาล ไม่มีหงอน นอกฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้และตัวเมียมีสีขนคล้ายกัน อาศัยหากินตามแหล่งน้ำและทุ่งนา พบทั่วทุกภาค กินพืชและสัตว์เล็ก ๆ.
อีลุ้ม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อว่าวชนิดหนึ่งคล้ายว่าวปักเป้าแต่ไม่มีหาง.อีลุ้ม ๒ น. ชื่อว่าวชนิดหนึ่งคล้ายว่าวปักเป้าแต่ไม่มีหาง.
อีลุ่ยฉุยแฉก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีหลุยฉุยแฉก หรือ อีฉุยอีแฉก ก็ว่า.อีลุ่ยฉุยแฉก ก. กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. ว. ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีหลุยฉุยแฉก หรือ อีฉุยอีแฉก ก็ว่า.
อีเลิ้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตุ่มหรือโอ่งใหญ่ว่า ตุ่มอีเลิ้ง หรือ ตุ่มนางเลิ้ง, โอ่งนครสวรรค์ ก็เรียก; โดยปริยายหมายความว่า ใหญ่เทอะทะ.อีเลิ้ง น. เรียกตุ่มหรือโอ่งใหญ่ว่า ตุ่มอีเลิ้ง หรือ ตุ่มนางเลิ้ง, โอ่งนครสวรรค์ ก็เรียก; โดยปริยายหมายความว่า ใหญ่เทอะทะ.
อีแล่ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หม้อขนาดใหญ่คล้ายหม้อแกง สําหรับหมักส่าเหล้า.อีแล่ง น. หม้อขนาดใหญ่คล้ายหม้อแกง สําหรับหมักส่าเหล้า.
อีโลง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-งอ-งูดู หางแข็ง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู.อีโลง ดู หางแข็ง.
อีศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา[อีด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อีส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ.อีศ [อีด] น. ผู้เป็นใหญ่. (ส.; ป. อีส).
อีศวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ[–สวน] เป็นคำนาม หมายถึง อิศวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อีศวร [–สวน] น. อิศวร. (ส.).
อีส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ[อีด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อีศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา.อีส [อีด] น. ผู้เป็นใหญ่. (ป.; ส. อีศ).
อีสา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง งอนไถ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งอนช้อนขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อีษา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา.อีสา น. งอนไถ. ว. งอนช้อนขึ้น. (ป.; ส. อีษา).
อีสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อีสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต อีศาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.อีสาน ๑ น. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ. (ป. อีสาน; ส. อีศาน).
อีสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง พระศิวะหรือพระรุทระ.อีสาน ๒ น. พระศิวะหรือพระรุทระ.
อีสุกอีใส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงและปวดหัว มีเม็ดพองใส ๆ ขึ้นตามตัว.อีสุกอีใส น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงและปวดหัว มีเม็ดพองใส ๆ ขึ้นตามตัว.
อีหน็องอีแหน็ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กะหน็องกระแหน็ง.อีหน็องอีแหน็ง ว. กะหน็องกระแหน็ง.
อีหรอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้[–หฺรอบ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ยุโรป หมายความว่า ฝรั่ง เช่น ดินอีหรอบ เข้าอีหรอบ หมายความว่า ทําตามแบบฝรั่ง.อีหรอบ [–หฺรอบ] (โบ) น. ยุโรป หมายความว่า ฝรั่ง เช่น ดินอีหรอบ เข้าอีหรอบ หมายความว่า ทําตามแบบฝรั่ง.
อีหรอบเดียวกัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทํานองเดียวกัน, แบบเดียวกัน, (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น พ่อเป็นขโมย ลูกก็อีหรอบเดียวกัน.อีหรอบเดียวกัน (สำ) ว. ทํานองเดียวกัน, แบบเดียวกัน, (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น พ่อเป็นขโมย ลูกก็อีหรอบเดียวกัน.
อีหลักอีเหลื่อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง[–เหฺลื่อ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึดอัดใจ, ลําบากใจ, อลักเอลื่อ อาหลักอาเหลื่อ หรือ อิหลักอิเหลื่อ ก็ว่า.อีหลักอีเหลื่อ [–เหฺลื่อ] ว. อึดอัดใจ, ลําบากใจ, อลักเอลื่อ อาหลักอาเหลื่อ หรือ อิหลักอิเหลื่อ ก็ว่า.
อีหลัดถัดทา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งแห่งคําร้องในการเล่นโมงครุ่มซึ่งเป็นมหรสพชนิดหนึ่งของหลวง โดยคนตีฆ้องจะร้องว่า “อีหลัดถัดทา”.อีหลัดถัดทา น. ส่วนหนึ่งแห่งคําร้องในการเล่นโมงครุ่มซึ่งเป็นมหรสพชนิดหนึ่งของหลวง โดยคนตีฆ้องจะร้องว่า “อีหลัดถัดทา”.
อีหลี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–หฺลี] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จริง ๆ, บางทีใช้ว่า ดีหลี.อีหลี [–หฺลี] (ถิ่น–อีสาน) ว. จริง ๆ, บางทีใช้ว่า ดีหลี.
อีหลุกขลุกขลัก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ติดขัด, ไม่สะดวก, ไม่คล่อง.อีหลุกขลุกขลัก ว. ติดขัด, ไม่สะดวก, ไม่คล่อง.
อีหลุกขลุกขลุ่ย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ง่วนอยู่.อีหลุกขลุกขลุ่ย ว. ง่วนอยู่.
อีหลุยฉุยแฉก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีลุ่ยฉุยแฉก หรือ อีฉุยอีแฉก ก็ว่า.อีหลุยฉุยแฉก ก. กระจัดกระจาย, ไม่รวมอยู่แห่งเดียวกัน. ว. ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, สุรุ่ยสุร่าย, อีลุ่ยฉุยแฉก หรือ อีฉุยอีแฉก ก็ว่า.
อีเหลียน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง มีดเหลียน.อีเหลียน น. มีดเหลียน.
อีเห็น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับชะมดและพังพอน ลําตัวเรียวยาว ขาสั้น หางยาว ปากแหลมยาว ออกหากินในเวลากลางคืน มีต่อมกลิ่นที่ก้นทําให้ตัวมีกลิ่นแรง กินสัตว์และผลไม้ มีหลายชนิด เช่น อีเห็นลายจุด (Paradoxurus hermaphroditus) อีเห็นหน้าขาว (Paguma larvata) อีเห็นหูขาว (Arctogalidia trivirgata), ปักษ์ใต้เรียก มดสัง หรือ มูสัง, ในบทประพันธ์ ใช้ว่า กระเห็น ก็มี เช่น กระเห็นเห็นกันแล้ววิ่งมา. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑.อีเห็น น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Viverridae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับชะมดและพังพอน ลําตัวเรียวยาว ขาสั้น หางยาว ปากแหลมยาว ออกหากินในเวลากลางคืน มีต่อมกลิ่นที่ก้นทําให้ตัวมีกลิ่นแรง กินสัตว์และผลไม้ มีหลายชนิด เช่น อีเห็นลายจุด (Paradoxurus hermaphroditus) อีเห็นหน้าขาว (Paguma larvata) อีเห็นหูขาว (Arctogalidia trivirgata), ปักษ์ใต้เรียก มดสัง หรือ มูสัง, ในบทประพันธ์ ใช้ว่า กระเห็น ก็มี เช่น กระเห็นเห็นกันแล้ววิ่งมา. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
อีเหน็บ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง มีดเหน็บ.อีเหน็บ น. มีดเหน็บ.
อีเหนียว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวนดู กระดูกอึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู.อีเหนียว ดู กระดูกอึ่ง.
อีเหละเขละขละ, อีเหละเขะขะ อีเหละเขละขละ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ อีเหละเขะขะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ [–เหฺละเขฺละขฺละ, –เหฺละ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกะกะ, เกลื่อนกลาด.อีเหละเขละขละ, อีเหละเขะขะ [–เหฺละเขฺละขฺละ, –เหฺละ–] ว. เกะกะ, เกลื่อนกลาด.
อีโหน่อีเหน่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวที่เกิดขึ้น ใช้ในทางปฏิเสธในสำนวนว่า ไม่รู้อีโหน่อีเหน่.อีโหน่อีเหน่ น. เรื่องราวที่เกิดขึ้น ใช้ในทางปฏิเสธในสำนวนว่า ไม่รู้อีโหน่อีเหน่.
อีโหลกโขลกเขลก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[–โหฺลกโขฺลกเขฺลก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ยานพาหนะเป็นต้นเคลื่อนที่ไปอย่างทุลักทุเล เช่น นั่งรถอีโหลกโขลกเขลกมาทั้งวัน, ไม่เป็นโล้เป็นพาย, ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, เช่น ใช้ชีวิตอีโหลกโขลกเขลกไปวันหนึ่ง ๆ.อีโหลกโขลกเขลก [–โหฺลกโขฺลกเขฺลก] ว. อาการที่ยานพาหนะเป็นต้นเคลื่อนที่ไปอย่างทุลักทุเล เช่น นั่งรถอีโหลกโขลกเขลกมาทั้งวัน, ไม่เป็นโล้เป็นพาย, ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, เช่น ใช้ชีวิตอีโหลกโขลกเขลกไปวันหนึ่ง ๆ.
อีแอ่น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Apodidae, Hemiprocnidae, Hirundinidae และ Artamidae ตัวสีนํ้าตาลหรือดํา ปลายปีกแหลม ใช้เวลาส่วนใหญ่บินโฉบแมลง มักอยู่รวมกันเป็นฝูง มีหลายชนิด เช่น อีแอ่นบ้าน (Hirundo rustica) อีแอ่นตะโพกแดง (H. daurica) ในวงศ์ Hirundinidae อีแอ่นตาล (Cypsiurus balasiensis) ในวงศ์ Apodidae ชนิดที่นํารังมากินได้ เช่น อีแอ่นกินรัง (Collocalia fuciphaga หรือ Aerodramus fuciphagus) ในวงศ์ Apodidae, นางแอ่น หรือ แอ่นลม ก็เรียก.อีแอ่น น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Apodidae, Hemiprocnidae, Hirundinidae และ Artamidae ตัวสีนํ้าตาลหรือดํา ปลายปีกแหลม ใช้เวลาส่วนใหญ่บินโฉบแมลง มักอยู่รวมกันเป็นฝูง มีหลายชนิด เช่น อีแอ่นบ้าน (Hirundo rustica) อีแอ่นตะโพกแดง (H. daurica) ในวงศ์ Hirundinidae อีแอ่นตาล (Cypsiurus balasiensis) ในวงศ์ Apodidae ชนิดที่นํารังมากินได้ เช่น อีแอ่นกินรัง (Collocalia fuciphaga หรือ Aerodramus fuciphagus) ในวงศ์ Apodidae, นางแอ่น หรือ แอ่นลม ก็เรียก.
อึ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่ายอุจจาระ (มักใช้แก่เด็ก). เป็นคำนาม หมายถึง ขี้, อุจจาระ.อึ (ปาก) ก. ถ่ายอุจจาระ (มักใช้แก่เด็ก). น. ขี้, อุจจาระ.
อึก ๑, อึ้ก, อึ้ก ๆ อึก ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ อึ้ก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-กอ-ไก่ อึ้ก ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงทุบแผ่นหลังด้วยกำปั้นหรือเสียงดื่มน้ำอย่างเร็วเป็นต้น.อึก ๑, อึ้ก, อึ้ก ๆ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงทุบแผ่นหลังด้วยกำปั้นหรือเสียงดื่มน้ำอย่างเร็วเป็นต้น.
อึก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณนามเรียกอาการกลืนของเหลวหรือเสียงทุบแผ่นหลังด้วยกำปั้นครั้งหนึ่ง ๆ เช่น ดื่มน้ำ ๓ อึก เขาถูกทุบไป ๓ อึก.อึก ๒ น. ลักษณนามเรียกอาการกลืนของเหลวหรือเสียงทุบแผ่นหลังด้วยกำปั้นครั้งหนึ่ง ๆ เช่น ดื่มน้ำ ๓ อึก เขาถูกทุบไป ๓ อึก.
อึ๊ก ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงสะอึก.อึ๊ก ๆ ว. เสียงอย่างเสียงสะอึก.
อึกทึก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่[อึกกะทึก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอ็ดอึง, อื้ออึง, ครึกโครม.อึกทึก [อึกกะทึก] ว. เอ็ดอึง, อื้ออึง, ครึกโครม.
อึกอัก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดไม่ออก ติดกึกกักอยู่ในคอเพราะกลัวหรือประหม่าเป็นต้น, กระอึกกระอัก หรือ อึก ๆ อัก ๆ ก็ว่า; เสียงอย่างเสียงทุบกัน; ทันทีทันใด, ปุบปับ, ไม่ทันไตร่ตรอง, ไม่บอกกล่าวเล่าแจ้ง, เช่น อึกอักก็ไป อึกอักก็ด่า, เอะอะ ก็ว่า.อึกอัก ว. อาการที่พูดไม่ออก ติดกึกกักอยู่ในคอเพราะกลัวหรือประหม่าเป็นต้น, กระอึกกระอัก หรือ อึก ๆ อัก ๆ ก็ว่า; เสียงอย่างเสียงทุบกัน; ทันทีทันใด, ปุบปับ, ไม่ทันไตร่ตรอง, ไม่บอกกล่าวเล่าแจ้ง, เช่น อึกอักก็ไป อึกอักก็ด่า, เอะอะ ก็ว่า.
อึก ๆ อัก ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดไม่ออก ติดกึกกักอยู่ในคอเพราะกลัวหรือประหม่าเป็นต้น, กระอึกกระอัก หรือ อึกอัก ก็ว่า.อึก ๆ อัก ๆ ว. อาการที่พูดไม่ออก ติดกึกกักอยู่ในคอเพราะกลัวหรือประหม่าเป็นต้น, กระอึกกระอัก หรือ อึกอัก ก็ว่า.
อึง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดัง, เอ็ด, อึกทึก, แพร่งพราย.อึง ก. ดัง, เอ็ด, อึกทึก, แพร่งพราย.
อึงคะนึง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอะอะ, อื้ออึง.อึงคะนึง ว. เอะอะ, อื้ออึง.
อึงมี่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดังอื้ออึงระงมไป.อึงมี่ ว. ดังอื้ออึงระงมไป.
อึงอล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดังลั่น เช่น เสียงคลื่นลมอึงอล.อึงอล ว. ดังลั่น เช่น เสียงคลื่นลมอึงอล.
อึ่ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกหลายชนิดในวงศ์ Microhylidae รูปร่างอ้วนป้อมและมักพองตัวได้ เช่น อึ่งอ่าง (Kaloula pulchra) อึ่งแว่น (Calluella guttulata).อึ่ง น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกหลายชนิดในวงศ์ Microhylidae รูปร่างอ้วนป้อมและมักพองตัวได้ เช่น อึ่งอ่าง (Kaloula pulchra) อึ่งแว่น (Calluella guttulata).
อึ่งยาง, อึ่งอ่าง อึ่งยาง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู อึ่งอ่าง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในสกุล Kaloula วงศ์ Microhylidae สีนํ้าตาลลายขาว โตเต็มวัยยาวประมาณ ๗ เซนติเมตร มักทําตัวพองเมื่อถูกรบกวน ร้องเสียงดังเมื่อนํ้านองหลังฝนตก ที่พบทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ชนิด K. pulchra และอึ่งอ่างหลังขีด (K. mediolineata).อึ่งยาง, อึ่งอ่าง น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในสกุล Kaloula วงศ์ Microhylidae สีนํ้าตาลลายขาว โตเต็มวัยยาวประมาณ ๗ เซนติเมตร มักทําตัวพองเมื่อถูกรบกวน ร้องเสียงดังเมื่อนํ้านองหลังฝนตก ที่พบทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ ชนิด K. pulchra และอึ่งอ่างหลังขีด (K. mediolineata).
อึ้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นิ่งอั้นอยู่.อึ้ง ว. นิ่งอั้นอยู่.
อึ่งใหญ่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอกดู กระดูกอึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู.อึ่งใหญ่ ดู กระดูกอึ่ง.
อึด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทน, อดกลั้น, อั้นไว้.อึด ก. ทน, อดกลั้น, อั้นไว้.
อึดใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง เวลาชั่วกลั้นลมหายใจไว้คราวหนึ่ง.อึดใจ น. เวลาชั่วกลั้นลมหายใจไว้คราวหนึ่ง.
อึดอัด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คับอกคับใจ, ไม่คล่อง, ไม่ปลอดโปร่ง.อึดอัด ว. คับอกคับใจ, ไม่คล่อง, ไม่ปลอดโปร่ง.
อึดตะปือ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย, ล้นหลาม.อึดตะปือ ว. มากมาย, ล้นหลาม.
อึ้ดทึ่ด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พองขึ้นเต็มที่ (ใช้แก่ศพคนหรือสัตว์บางชนิดที่ตายแล้ว), โดยปริยายหมายถึงอาการที่นอนหรือนั่งตามสบาย มีลักษณะไปในทางเกียจคร้านเป็นต้น เช่น นอนอึ้ดทึ่ด นั่งอึ้ดทึ่ด.อึ้ดทึ่ด ว. อาการที่พองขึ้นเต็มที่ (ใช้แก่ศพคนหรือสัตว์บางชนิดที่ตายแล้ว), โดยปริยายหมายถึงอาการที่นอนหรือนั่งตามสบาย มีลักษณะไปในทางเกียจคร้านเป็นต้น เช่น นอนอึ้ดทึ่ด นั่งอึ้ดทึ่ด.
อึน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แห้งไม่สนิท เช่น ผ้ายังอึน ๆ อยู่.อึน ว. แห้งไม่สนิท เช่น ผ้ายังอึน ๆ อยู่.
อืด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอง, ขึ้น, เช่น ท้องอืด; เฉื่อยชา, ช้า.อืด ว. พอง, ขึ้น, เช่น ท้องอืด; เฉื่อยชา, ช้า.
อืดอาด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉื่อยชา, ยืดยาด.อืดอาด ว. เฉื่อยชา, ยืดยาด.
อื่น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นอกออกไป, ต่างออกไป.อื่น ว. นอกออกไป, ต่างออกไป.
อื้น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคำ, เอิ้น หรือ เอื้อน ก็ว่า.อื้น ก. พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคำ, เอิ้น หรือ เอื้อน ก็ว่า.
อือ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้.อือ อ. คําที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้.
อื้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกมีเสียงดังอยู่ในหู, ไม่ได้ยิน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง มาก เช่น รวยอื้อ บ่นกันอื้อ.อื้อ ว. อาการที่รู้สึกมีเสียงดังอยู่ในหู, ไม่ได้ยิน; (ปาก) มาก เช่น รวยอื้อ บ่นกันอื้อ.
อื้อฉาว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพร่งพราย, เซ็งแซ่, กระจาย, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม).อื้อฉาว ว. แพร่งพราย, เซ็งแซ่, กระจาย, (ใช้แก่ข่าวที่ไม่ดีไม่งาม).
อื้อซ่า เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย เช่น รับทรัพย์อื้อซ่า.อื้อซ่า (ปาก) ว. มากมาย เช่น รับทรัพย์อื้อซ่า.
อื้ออึง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก.อื้ออึง ว. สนั่น, ดังลั่น, เอิกเกริก.
อื้อฮือ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจเป็นต้น.อื้อฮือ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจเป็นต้น.
อุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.อุ น. นํ้าเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.
อุก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกปลากดหลายชนิดในวงศ์ Ariidae ซึ่งเมื่อถูกจับขึ้นมาพ้นนํ้าจะร้องเสียงอุก ๆ.อุก ๑ น. ชื่อเรียกปลากดหลายชนิดในวงศ์ Ariidae ซึ่งเมื่อถูกจับขึ้นมาพ้นนํ้าจะร้องเสียงอุก ๆ.
อุก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง หักหาญด้วยพลการ, บังอาจ, เช่น ทำอุกสนุกเสน่หาสองราช.อุก ๒ (กลอน) ก. หักหาญด้วยพลการ, บังอาจ, เช่น ทำอุกสนุกเสน่หาสองราช.
อุกคลุก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เข้ารบคลุกคลีประชิดตัว, อุตลุด, เช่น อุกคลุกพลุก เงยงัด คอคช เศิกแฮ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.อุกคลุก (กลอน) ก. เข้ารบคลุกคลีประชิดตัว, อุตลุด, เช่น อุกคลุกพลุก เงยงัด คอคช เศิกแฮ. (ตะเลงพ่าย).
อุกฉกรรจ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายแรง เช่น คดีอุกฉกรรจ์.อุกฉกรรจ์ ว. ร้ายแรง เช่น คดีอุกฉกรรจ์.
อุกอาจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง กล้าทําความผิดโดยไม่เกรงกลัว, กล้าละเมิดโดยไม่กลัวความผิด, บังอาจล่วงละเมิด.อุกอาจ ก. กล้าทําความผิดโดยไม่เกรงกลัว, กล้าละเมิดโดยไม่กลัวความผิด, บังอาจล่วงละเมิด.
อุกกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[อุก–] เป็นคำนาม หมายถึง คบเพลิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุลฺกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.อุกกา [อุก–] น. คบเพลิง. (ป.; ส. อุลฺกา).
อุกกาบาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ผีพุ่งไต้, อุกลาบาต ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุกฺกาปาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต อุลฺกาปาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า.อุกกาบาต น. ผีพุ่งไต้, อุกลาบาต ก็เรียก. (ป. อุกฺกาปาต; ส. อุลฺกาปาต).
อุกฤษฏ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด[–กฺริด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺกฺฤษฺฏ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก และมาจากภาษาบาลี อุกฺกฏฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.อุกฤษฏ์ [–กฺริด] ว. สูงสุด. (ส. อุตฺกฺฤษฺฏ; ป. อุกฺกฏฺ).
อุกลา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[อุกกะลา] เป็นคำนาม หมายถึง คบเพลิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุลฺกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี อุกฺกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.อุกลา [อุกกะลา] น. คบเพลิง. (ส. อุลฺกา; ป. อุกฺกา).
อุกลาบาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[อุกกะลาบาด] เป็นคำนาม หมายถึง อุกกาบาต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุลฺกาปาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี อุกฺกาปาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า.อุกลาบาต [อุกกะลาบาด] น. อุกกาบาต. (ส. อุลฺกาปาต; ป. อุกฺกาปาต).
อุค, อุคระ อุค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย อุคระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [อุก, อุกคฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้าย, ดุร้าย; ยิ่งใหญ่, มีอํานาจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุคฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาสันสกฤต อุคฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ.อุค, อุคระ [อุก, อุกคฺระ] ว. ร้าย, ดุร้าย; ยิ่งใหญ่, มีอํานาจ. (ป. อุคฺค; ส. อุคฺร).
อุคห–, อุคหะ อุคห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ อุคหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [อุกคะหะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเล่าเรียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจนใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุคฺคห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ.อุคห–, อุคหะ [อุกคะหะ–] น. การเล่าเรียน. ว. เจนใจ. (ป. อุคฺคห).
อุคหนิมิต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง “อารมณ์ที่เจนใจ” คือ เป็นวิธีแห่งผู้เพ่งกสิณชํานาญจนรูปที่ตนเพ่งอยู่นั้นติดตาถึงแม้หลับตาเสีย รูปนั้นก็ปรากฏเป็นเครื่องหมายอยู่ รูปที่ปรากฏนี้ เรียกว่า อุคหนิมิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุคฺคหนิมิตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต อุทฺคฺรห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ + นิมิตฺต เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า .อุคหนิมิต น. “อารมณ์ที่เจนใจ” คือ เป็นวิธีแห่งผู้เพ่งกสิณชํานาญจนรูปที่ตนเพ่งอยู่นั้นติดตาถึงแม้หลับตาเสีย รูปนั้นก็ปรากฏเป็นเครื่องหมายอยู่ รูปที่ปรากฏนี้ เรียกว่า อุคหนิมิต. (ป. อุคฺคหนิมิตฺต; ส. อุทฺคฺรห + นิมิตฺต).
อุโฆษ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-รือ-สี[–โคด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กึกก้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุทฺโฆษ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี อุคฺโฆส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-เสือ.อุโฆษ [–โคด] ว. กึกก้อง. (ส. อุทฺโฆษ; ป. อุคฺโฆส).
อุ้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของฝ่ามือหรือฝ่าเท้า.อุ้ง น. ส่วนกลางของฝ่ามือหรือฝ่าเท้า.
อุจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง, ระหง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน.อุจ ว. สูง, ระหง. (ป., ส. อุจฺจ).
อุจจาร–, อุจจาระ อุจจาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ อุจจาระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [อุดจาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ขี้, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง อึ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุจจาร–, อุจจาระ [อุดจาระ–] น. ขี้, (ปาก) อึ. (ป., ส.).
อุจจารมรรค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย[อุดจาระมัก] เป็นคำนาม หมายถึง ทวารหนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุจฺจารมคฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.อุจจารมรรค [อุดจาระมัก] น. ทวารหนัก. (ส.; ป. อุจฺจารมคฺค).
อุจฉุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ[อุด–] เป็นคำนาม หมายถึง อ้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุจฉุ [อุด–] น. อ้อย. (ป.).
อุจเฉท, อุจเฉท– อุจเฉท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน อุจเฉท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน [อุดเฉด, อุดเฉทะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดสิ้น, สูญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุจเฉท, อุจเฉท– [อุดเฉด, อุดเฉทะ–] ก. ขาดสิ้น, สูญ. (ป., ส.).
อุจเฉททิฐิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ[อุดเฉทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุจฺเฉททิฏฺิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ.อุจเฉททิฐิ [อุดเฉทะ–] น. ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่). (ป. อุจฺเฉททิฏฺิ).
อุจาด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าเกลียด, น่าอาย, อย่างที่ไม่ควรทํา.อุจาด ว. น่าเกลียด, น่าอาย, อย่างที่ไม่ควรทํา.
อุชุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง, ซื่อตรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ฤชุ เขียนว่า รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ.อุชุ ว. ตรง, ซื่อตรง. (ป.; ส. ฤชุ).
อุฏฐาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[อุดถากาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ลุกขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุฏฐาการ [อุดถากาน] ก. ลุกขึ้น. (ป.).
อุณห–, อุณหะ อุณห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ อุณหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [อุนหะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้อน, อบอุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุษฺณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน.อุณห–, อุณหะ [อุนหะ–] ว. ร้อน, อบอุ่น. (ป.; ส. อุษฺณ).
อุณหภูมิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ[อุนหะพูม] เป็นคำนาม หมายถึง ระดับความสูงต่ำของความร้อน นิยมวัดได้ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์.อุณหภูมิ [อุนหะพูม] น. ระดับความสูงต่ำของความร้อน นิยมวัดได้ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์.
อุณหาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง อาการร้อน, อาการเร่าร้อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุณฺหาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต อุษฺณาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.อุณหาการ น. อาการร้อน, อาการเร่าร้อน. (ป. อุณฺหาการ; ส. อุษฺณาการ).
อุณหาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู อุณห–, อุณหะ อุณห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ อุณหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ .อุณหาการ ดู อุณห–, อุณหะ.
อุณหิส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ[อุนนะหิด] เป็นคำนาม หมายถึง กรอบหน้า, มงกุฎ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุณฺหีส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต อุษฺณีษ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี.อุณหิส [อุนนะหิด] น. กรอบหน้า, มงกุฎ. (ป. อุณฺหีส; ส. อุษฺณีษ).
อุณา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ขนแกะ; ขนระหว่างคิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุณฺณา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต อูรฺณา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา.อุณา น. ขนแกะ; ขนระหว่างคิ้ว. (ป. อุณฺณา; ส. อูรฺณา).
อุณานาภี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แมงมุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุณฺณานาภี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต อูรฺณานาภิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ.อุณานาภี น. แมงมุม. (ป. อุณฺณานาภี; ส. อูรฺณานาภิ).
อุณาโลม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ขนระหว่างคิ้ว; เครื่องหมายรูปอย่างนี้ (รูปภาพ อุณาโลม).อุณาโลม น. ขนระหว่างคิ้ว; เครื่องหมายรูปอย่างนี้ (รูปภาพ อุณาโลม).
อุด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง จุกช่อง, จุกให้แน่น.อุด ก. จุกช่อง, จุกให้แน่น.
อุดอู้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อับ, ไม่โปร่ง, (ใช้แก่สถานที่).อุดอู้ ว. อับ, ไม่โปร่ง, (ใช้แก่สถานที่).
อุดเตา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เตารีด, เครื่องทำด้วยโลหะ สำหรับรีดผ้าให้เรียบโดยอาศัยความร้อนเช่นถ่าน หรือ ไฟฟ้า.อุดเตา น. เตารีด, เครื่องทำด้วยโลหะ สำหรับรีดผ้าให้เรียบโดยอาศัยความร้อนเช่นถ่าน หรือ ไฟฟ้า.
อุดม, อุดม– อุดม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า อุดม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า [–ดม, –ดมมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงสุด, ยิ่ง, เลิศ, มากมาย, บริบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า.อุดม, อุดม– [–ดม, –ดมมะ–] ว. สูงสุด, ยิ่ง, เลิศ, มากมาย, บริบูรณ์. (ป., ส. อุตฺตม).
อุดมการณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[อุดมมะ–, อุดม–] เป็นคำนาม หมายถึง หลักการที่วางระเบียบไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้.อุดมการณ์ [อุดมมะ–, อุดม–] น. หลักการที่วางระเบียบไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้.
อุดมคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[อุดมมะ–, อุดม–] เป็นคำนาม หมายถึง จินตนาการที่ถือว่าเป็นมาตรฐานแห่งความดี ความงาม และความจริง ทางใดทางหนึ่งที่มนุษย์ถือว่าเป็นเป้าหมายแห่งชีวิตของตน.อุดมคติ [อุดมมะ–, อุดม–] น. จินตนาการที่ถือว่าเป็นมาตรฐานแห่งความดี ความงาม และความจริง ทางใดทางหนึ่งที่มนุษย์ถือว่าเป็นเป้าหมายแห่งชีวิตของตน.
อุดมศึกษา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[อุดมมะ–, อุดม–] เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา.อุดมศึกษา [อุดมมะ–, อุดม–] น. การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา.
อุดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ[–ดอน] เป็นคำนาม หมายถึง ทิศเหนือ ใช้ว่า ทิศอุดร; ข้างซ้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.อุดร [–ดอน] น. ทิศเหนือ ใช้ว่า ทิศอุดร; ข้างซ้าย. (ป., ส. อุตฺตร).
อุดหนุน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ช่วยเหลือ, เกื้อกูล.อุดหนุน ก. ช่วยเหลือ, เกื้อกูล.
อุดหนุนจุนเจือ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ช่วยเหลือเกื้อกูล.อุดหนุนจุนเจือ ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล.
อุดากัน, อุนากัน อุดากัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู อุนากัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็บยาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .อุดากัน, อุนากัน ว. เล็บยาว. (ช.).
อุตดม, อุตตมะ, อุตม– อุตดม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า อุตตมะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ อุตม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า [อุดดม, อุดตะมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงสุด, ยิ่ง, เลิศ, มากมาย, บริบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า.อุตดม, อุตตมะ, อุตม– [อุดดม, อุดตะมะ–] ว. สูงสุด, ยิ่ง, เลิศ, มากมาย, บริบูรณ์. (ป., ส. อุตฺตม).
อุตมภาพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะอันสูงสุด, ความสูงสุด; ฐานะอันดี.อุตมภาพ น. ภาวะอันสูงสุด, ความสูงสุด; ฐานะอันดี.
อุตมัตถ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด[อุดตะมัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผลอันยอดเยี่ยม หมายถึง พระนิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุตฺตมตฺถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.อุตมัตถ์ [อุดตะมัด] น. ผลอันยอดเยี่ยม หมายถึง พระนิพพาน. (ป. อุตฺตมตฺถ).
อุตมางค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[อุดตะมาง] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสูงสุดของร่างกาย คือ หัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตมางฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.อุตมางค์ [อุดตะมาง] น. ส่วนสูงสุดของร่างกาย คือ หัว. (ส. อุตฺตมางฺค).
อุตดร, อุตร– อุตดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ อุตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ [อุดดอน, อุดตะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง อุดร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.อุตดร, อุตร– [อุดดอน, อุดตะระ–] น. อุดร. (ป., ส. อุตฺตร).
อุตรกุรุทวีป, อุตรกุรูทวีป อุตรกุรุทวีป เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา อุตรกุรูทวีป เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา [อุดตะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทวีปใหญ่อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ เป็นทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป ได้แก่ อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตรกุร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ + ภาษาสันสกฤต ทวีป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา .อุตรกุรุทวีป, อุตรกุรูทวีป [อุดตะระ–] น. ทวีปใหญ่อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ เป็นทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป ได้แก่ อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป. (ป., ส. อุตฺตรกุร + ส. ทวีป).
อุตตรายัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[อุดตฺรา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จุดสุดทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันยาวที่สุด เรียกว่า อุตตรายัน (summer solstice), คู่กับ ทักษิณายัน, ครีษมายัน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุตฺตร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ + ภาษาสันสกฤต อายน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู .อุตตรายัน [อุดตฺรา–] (ดารา) น. จุดสุดทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันยาวที่สุด เรียกว่า อุตตรายัน (summer solstice), คู่กับ ทักษิณายัน, ครีษมายัน ก็เรียก. (ป. อุตฺตร + ส. อายน).
อุตรนิกาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[อุดตะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนา คือ นิกายฝ่ายเหนือ ซึ่งเรียกว่า มหายาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตรนิกาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.อุตรนิกาย [อุดตะระ–] น. ชื่อนิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนา คือ นิกายฝ่ายเหนือ ซึ่งเรียกว่า มหายาน. (ป., ส. อุตฺตรนิกาย).
อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี อุตรผลคุนี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี อุตตรผลคุนี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี [อุดตะระผนละคุนี] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๑๒ มี ๒ ดวง เห็นเป็นรูปงูเหลือม แรดตัวเมีย หรือเพดานตอนหลัง, ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตรผาลฺคุนี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี อุตฺตรผคฺคุนี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี [อุดตะระผนละคุนี] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๒ มี ๒ ดวง เห็นเป็นรูปงูเหลือม แรดตัวเมีย หรือเพดานตอนหลัง, ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย ก็เรียก. (ส. อุตฺตรผาลฺคุนี; ป. อุตฺตรผคฺคุนี).
อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ อุตรภัทรบท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน อุตตรภัทรบท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน อุตตรภัททะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ [อุดตะระพัดทฺระบด, อุดตะระพัดทะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๖ มี ๒ ดวง เห็นเป็นรูปราชสีห์ตัวเมียหรือเพดานตอนหลัง, ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตรภทฺรปท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาบาลี อุตฺตรภทฺทปท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน.อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ [อุดตะระพัดทฺระบด, อุดตะระพัดทะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๖ มี ๒ ดวง เห็นเป็นรูปราชสีห์ตัวเมียหรือเพดานตอนหลัง, ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า ก็เรียก. (ส. อุตฺตรภทฺรปท; ป. อุตฺตรภทฺทปท).
อุตราภิมุข เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่[อุดตะรา–] เป็นคำกริยา หมายถึง บ่ายหน้าไปทางทิศเหนือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตราภิมุข เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่.อุตราภิมุข [อุดตะรา–] ก. บ่ายหน้าไปทางทิศเหนือ. (ป., ส. อุตฺตราภิมุข).
อุตราวรรต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า[อุดตะรา–] เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนซ้าย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เวียนไปทางซ้าย คือเวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวัฏ ก็ว่า, ตรงข้ามกับ ทักษิณาวรรต หรือ ทักขิณาวัฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตราวรฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี อุตฺตราวฏฺฏ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก.อุตราวรรต [อุดตะรา–] น. การเวียนซ้าย. ว. เวียนไปทางซ้าย คือเวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวัฏ ก็ว่า, ตรงข้ามกับ ทักษิณาวรรต หรือ ทักขิณาวัฏ. (ส. อุตฺตราวรฺต; ป. อุตฺตราวฏฺฏ).
อุตราวัฏ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก[อุดตะรา–] เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนซ้าย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เวียนไปทางซ้าย คือเวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวรรต ก็ว่า, ตรงข้ามกับ ทักขิณาวัฏ หรือ ทักษิณาวรรต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุตฺตราวฏฺฏ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตราวรฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.อุตราวัฏ [อุดตะรา–] น. การเวียนซ้าย. ว. เวียนไปทางซ้าย คือเวียนเลี้ยวทางซ้ายอย่างทวนเข็มนาฬิกา, อุตราวรรต ก็ว่า, ตรงข้ามกับ ทักขิณาวัฏ หรือ ทักษิณาวรรต. (ป. อุตฺตราวฏฺฏ; ส. อุตฺตราวรฺต).
อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ อุตราษาฒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ผู้-เท่า อุตตราอาษาฒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ผู้-เท่า อุตตราสาฬหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [อุดตะราสาด, อุดตะราอาสาด, อุดตะราสานหะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๑ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปครุฑหรือช้างพัง, ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตราษาฒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ผู้-เท่า และมาจากภาษาบาลี อุตฺตราสาฬฺห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-พิน-ทุ-หอ-หีบ.อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ [อุดตะราสาด, อุดตะราอาสาด, อุดตะราสานหะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๑ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปครุฑหรือช้างพัง, ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย ก็เรียก. (ส. อุตฺตราษาฒ; ป. อุตฺตราสาฬฺห).
อุตราสงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[อุดตะรา–] เป็นคำนาม หมายถึง จีวรสําหรับห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตราสงฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.อุตราสงค์ [อุดตะรา–] น. จีวรสําหรับห่ม. (ป., ส. อุตฺตราสงฺค).
อุตตานภาพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[อุดตานะพาบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง นอนหงาย เช่น รวบพระกรกระหวัดทั้งซ้ายขวาให้พระนางอุตตานภาพ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร, เขียนเป็น อุตตานะภาพ ก็มี เช่น ฉวยกระชากชฎาเกษเกล้าให้นางท้าวเธอล้มลงอุตตานะภาพ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำกาพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๙ กัณฑ์กุมารบรรพ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุตฺตาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า หงาย + ภาว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน .อุตตานภาพ [อุดตานะพาบ] (กลอน) ก. นอนหงาย เช่น รวบพระกรกระหวัดทั้งซ้ายขวาให้พระนางอุตตานภาพ. (ม. ร่ายยาว กุมาร), เขียนเป็น อุตตานะภาพ ก็มี เช่น ฉวยกระชากชฎาเกษเกล้าให้นางท้าวเธอล้มลงอุตตานะภาพ. (ม. กาพย์ กุมารบรรพ). (ป. อุตฺตาน ว่า หงาย + ภาว).
อุตบล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง[อุดบน] เป็นคำนาม หมายถึง อุบล, บัวสาย, เช่น นีโลตบล ว่า บัวขาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺปล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี อุปฺปล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง.อุตบล [อุดบน] น. อุบล, บัวสาย, เช่น นีโลตบล ว่า บัวขาบ. (ส. อุตฺปล; ป. อุปฺปล).
อุตพิด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[อุดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Typhonium trilobatum Schott ในวงศ์ Araceae ดอกบานเวลาเย็น กลิ่นเหม็นเหมือนอุจจาระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร อาจม์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด + พิษ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี .อุตพิด [อุดตะ–] น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Typhonium trilobatum Schott ในวงศ์ Araceae ดอกบานเวลาเย็น กลิ่นเหม็นเหมือนอุจจาระ. (ข. อาจม์ + พิษ).
อุตพิดผี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อีดู โหรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.อุตพิดผี ดู โหรา ๒.
อุตมัตถ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาดดู อุตดม, อุตตมะ, อุตม– อุตดม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า อุตตมะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ อุตม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า .อุตมัตถ์ ดู อุตดม, อุตตมะ, อุตม–.
อุตมางค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู อุตดม, อุตตมะ, อุตม– อุตดม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า อุตตมะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ อุตม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า .อุตมางค์ ดู อุตดม, อุตตมะ, อุตม–.
อุตรา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[อุดตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลมชนิดหนึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในต้นฤดูร้อน ว่า ลมอุตรา.อุตรา [อุดตฺรา] น. เรียกลมชนิดหนึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในต้นฤดูร้อน ว่า ลมอุตรา.
อุตราภิมุข เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ดู อุตดร, อุตร– อุตดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ อุตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ .อุตราภิมุข ดู อุตดร, อุตร–.
อุตราวัฏ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตักดู อุตดร, อุตร– อุตดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ อุตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ .อุตราวัฏ ดู อุตดร, อุตร–.
อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ อุตราษาฒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ผู้-เท่า อุตตราอาษาฒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ผู้-เท่า อุตตราสาฬหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ดู อุตดร, อุตร– อุตดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ อุตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ .อุตราษาฒ, อุตตราอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ ดู อุตดร, อุตร–.
อุตราสงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู อุตดร, อุตร– อุตดร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ อุตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ .อุตราสงค์ ดู อุตดร, อุตร–.
อุตริ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ[อุดตะหฺริ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นอกคอก, นอกทาง, นอกรีต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตริ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ว่า ยิ่ง .อุตริ [อุดตะหฺริ] ว. นอกคอก, นอกทาง, นอกรีต. (ป., ส. อุตฺตริ ว่า ยิ่ง).
อุตริมนุสธรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[–มะนุดสะทํา] เป็นคำนาม หมายถึง คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการสําเร็จฌาน สําเร็จมรรคผลเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุตฺตริ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ + มนุสฺส เขียนว่า มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ + ธมฺม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺตริ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ + มนุษฺย เขียนว่า มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .อุตริมนุสธรรม [–มะนุดสะทํา] น. คุณอย่างยวดยิ่งของมนุษย์ ได้แก่ธรรมวิเศษมีการสําเร็จฌาน สําเร็จมรรคผลเป็นต้น. (ป. อุตฺตริ + มนุสฺส + ธมฺม; ส. อุตฺตริ + มนุษฺย + ธรฺม).
อุตลุด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก[อุดตะหฺลุด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชุลมุนวุ่นวาย, พัลวัน, สับสน.อุตลุด [อุดตะหฺลุด] ว. ชุลมุนวุ่นวาย, พัลวัน, สับสน.
อุตสาห–, อุตส่าห์, อุตสาหะ อุตสาห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ อุตส่าห์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด อุตสาหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความบากบั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความอดทน, ใช้ว่า อุษาหะ อุสสาหะ หรือ อุสส่าห์ ก็มี. เป็นคำกริยา หมายถึง บากบั่น, พยายาม, ขยัน, อดทน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุตฺสาห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ และมาจากภาษาบาลี อุสฺสาห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ.อุตสาห–, อุตส่าห์, อุตสาหะ น. ความบากบั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความอดทน, ใช้ว่า อุษาหะ อุสสาหะ หรือ อุสส่าห์ ก็มี. ก. บากบั่น, พยายาม, ขยัน, อดทน. (ส. อุตฺสาห; ป. อุสฺสาห).
อุตสาหกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[อุดสาหะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรม การมาตรฐานเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และทรัพยากรธรณี.อุตสาหกรรม [อุดสาหะกํา] น. กิจกรรมที่ใช้ทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของหรือจัดให้มีบริการ เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรม การมาตรฐานเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และทรัพยากรธรณี.
อุตสาหกรรมศิลป์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด[อุดสาหะกําสิน] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความชํานาญในการประดิษฐ์และเกิดความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือและเครื่องกล.อุตสาหกรรมศิลป์ [อุดสาหะกําสิน] น. วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความชํานาญในการประดิษฐ์และเกิดความคุ้นเคยกับการใช้เครื่องมือและเครื่องกล.
อุตุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ฤดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ฤตุ เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ.อุตุ ๑ น. ฤดู. (ป.; ส. ฤตุ).
อุตุนิยมวิทยา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยเรื่องราวของบรรยากาศ.อุตุนิยมวิทยา น. วิชาว่าด้วยเรื่องราวของบรรยากาศ.
อุตุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สบาย (ใช้แก่กริยานอน) เช่น นอนหลับอุตุ.อุตุ ๒ (ปาก) ว. สบาย (ใช้แก่กริยานอน) เช่น นอนหลับอุตุ.
อุท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน[อุทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุท– [อุทะ–] น. นํ้า. (ป., ส.).
อุทบาตร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[–บาด] เป็นคำนาม หมายถึง หม้อนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน + ปาตฺร เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .อุทบาตร [–บาด] น. หม้อนํ้า. (ส. อุท + ปาตฺร).
อุทบาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–บาน] เป็นคำนาม หมายถึง บ่อนํ้า, สระน้ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน + ปาน เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู .อุทบาน [–บาน] น. บ่อนํ้า, สระน้ำ. (ป., ส. อุท + ปาน).
อุทพินทุ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด[–พิน] เป็นคำนาม หมายถึง หยาดนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน + พินฺทุ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ .อุทพินทุ์ [–พิน] น. หยาดนํ้า. (ป., ส. อุท + พินฺทุ).
อุทัช เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกิดในนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน + ช เขียนว่า ชอ-ช้าง .อุทัช ว. เกิดในนํ้า. (ป., ส. อุท + ช).
อุทก, อุทก– อุทก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ อุทก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ [อุทกกะ–, อุทก–] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทก, อุทก– [อุทกกะ–, อุทก–] น. นํ้า. (ป., ส.).
อุทกธาร, อุทกธารา อุทกธาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ อุทกธารา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สายนํ้า, ท่อนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทกธาร, อุทกธารา น. สายนํ้า, ท่อนํ้า. (ป., ส.).
อุทกภัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ภัยอันตรายที่เกิดจากนํ้าท่วม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ + ภย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก .อุทกภัย น. ภัยอันตรายที่เกิดจากนํ้าท่วม. (ป., ส. อุทก + ภย).
อุทกวิทยา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยนํ้าที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของนํ้า รวมทั้งการนํานํ้ามาใช้ให้เป็นประโยชน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ + ภาษาสันสกฤต วิทฺยา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา .อุทกวิทยา น. วิชาว่าด้วยนํ้าที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของนํ้า รวมทั้งการนํานํ้ามาใช้ให้เป็นประโยชน์. (ป., ส. อุทก + ส. วิทฺยา).
อุทกศาสตร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยนํ้าบนพื้นโลกเกี่ยวกับการวัดหรือการสํารวจแผนที่ทะเล โดยมีความมุ่งหมายเฉพาะเพื่อการเดินเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ + ภาษาสันสกฤต ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .อุทกศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยนํ้าบนพื้นโลกเกี่ยวกับการวัดหรือการสํารวจแผนที่ทะเล โดยมีความมุ่งหมายเฉพาะเพื่อการเดินเรือ. (ป., ส. อุทก + ส. ศาสฺตฺร).
อุททาม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[อุด–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยวรั้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุทฺทาม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.อุททาม [อุด–] ว. คะนอง, ปราศจากความเหนี่ยวรั้ง. (ป. อุทฺทาม).
อุทธรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[อุดทอน] เป็นคำนาม หมายถึง การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, การเคลื่อนที่, การเสนอ, การนำมาให้; ชื่อศาลสูงถัดจากศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น เรียกว่า ศาลอุทธรณ์. เป็นคำกริยา หมายถึง (กฎ) ยื่นฟ้องหรือยื่นคําร้องต่อศาลสูงคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นต้น; ยื่นคําร้องคัดค้านคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่; ร้องเรียน, ร้องทุกข์, เช่น ร้องอุทธรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทฺธรณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน.อุทธรณ์ [อุดทอน] น. การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, การเคลื่อนที่, การเสนอ, การนำมาให้; ชื่อศาลสูงถัดจากศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาบรรดาคดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น เรียกว่า ศาลอุทธรณ์. ก. (กฎ) ยื่นฟ้องหรือยื่นคําร้องต่อศาลสูงคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นต้น; ยื่นคําร้องคัดค้านคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่; ร้องเรียน, ร้องทุกข์, เช่น ร้องอุทธรณ์. (ป., ส. อุทฺธรณ).
อุทธัจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน[อุดทัด] เป็นคำนาม หมายถึง ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุธัจ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุทฺธจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน ว่า ความฟุ้งซ่าน และมาจากภาษาสันสกฤต เอาทฺธตฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อุทธัจ [อุดทัด] น. ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุธัจ ก็ว่า. (ป. อุทฺธจฺจ ว่า ความฟุ้งซ่าน; ส. เอาทฺธตฺย).
อุทยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[อุดทะยาน] เป็นคำนาม หมายถึง สวน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุยฺยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.อุทยาน [อุดทะยาน] น. สวน. (ส.; ป. อุยฺยาน).
อุทยานแห่งชาติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งที่ได้สงวนรักษาไว้ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและความรื่นรมย์ของประชาชน โดยมีพระราชกฤษฎีกาประกาศกําหนดให้เป็น อุทยานแห่งชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ.อุทยานแห่งชาติ (กฎ) น. พื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งที่ได้สงวนรักษาไว้ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและความรื่นรมย์ของประชาชน โดยมีพระราชกฤษฎีกาประกาศกําหนดให้เป็น อุทยานแห่งชาติ ตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ.
อุทร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[–ทอน] เป็นคำนาม หมายถึง ท้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทร [–ทอน] น. ท้อง. (ป., ส.).
อุทริยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[อุทะริยะ] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่กินเข้าไปใหม่ ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุทริย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต อุทรฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อุทริยะ [อุทะริยะ] น. อาหารที่กินเข้าไปใหม่ ๆ. (ป. อุทริย; ส. อุทรฺย).
อุทลุม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[อุดทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผิดประเพณี, ผิดธรรมะ, นอกแบบ, นอกทาง, เช่น คดีอุทลุม คือคดีที่ลูกหลานฟ้องบุพการีของตนต่อศาล, เรียกลูกหลานที่ฟ้องบุพการีของตนต่อศาลว่า คนอุทลุม เช่น ผู้ใดเปนคนอุทลุมหมีได้รู้คุณบิดามานดาปู่หญ้าตายาย แลมันมาฟ้องร้องให้เรียกบิดามานดาปู่ญ่าตายายมัน ท่านให้มีโทษทวนมันด้วยลวดหนังโดยฉกัน. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.อุทลุม [อุดทะ–] ว. ผิดประเพณี, ผิดธรรมะ, นอกแบบ, นอกทาง, เช่น คดีอุทลุม คือคดีที่ลูกหลานฟ้องบุพการีของตนต่อศาล, เรียกลูกหลานที่ฟ้องบุพการีของตนต่อศาลว่า คนอุทลุม เช่น ผู้ใดเปนคนอุทลุมหมีได้รู้คุณบิดามานดาปู่หญ้าตายาย แลมันมาฟ้องร้องให้เรียกบิดามานดาปู่ญ่าตายายมัน ท่านให้มีโทษทวนมันด้วยลวดหนังโดยฉกัน. (สามดวง).
อุทัช เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้างดู อุท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน.อุทัช ดู อุท–.
อุทัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข, การตั้งขึ้น เช่น อรุโณทัย = การตั้งขึ้นแห่งอรุณ. เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มส่องแสง ในคำว่า อาทิตย์อุทัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทัย น. การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข, การตั้งขึ้น เช่น อรุโณทัย = การตั้งขึ้นแห่งอรุณ. ก. เริ่มส่องแสง ในคำว่า อาทิตย์อุทัย. (ป., ส.).
อุทาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงหรือคําที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น; ในไวยากรณ์เรียกคําหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้นว่า คําอุทาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทาน ๑ น. เสียงหรือคําที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ หรือเสียใจ เป็นต้น; ในไวยากรณ์เรียกคําหรือเสียงที่เปล่งออกมาเช่นนั้นว่า คําอุทาน. (ป., ส.).
อุทาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุทาน ๒ น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วนที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
อุทาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–ทาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่งใหญ่; ซื่อตรง, มีความจริงใจ; สุภาพ; ถูกต้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุทาร [–ทาน] ว. สูง, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่งใหญ่; ซื่อตรง, มีความจริงใจ; สุภาพ; ถูกต้อง. (ส.).
อุทาหรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[–หอน] เป็นคำนาม หมายถึง ตัวอย่างที่ยกขึ้นมาอ้างให้เห็น, สิ่งหรือเรื่องที่ยกขึ้นมาเทียบเคียงเป็นตัวอย่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทาหรณ์ [–หอน] น. ตัวอย่างที่ยกขึ้นมาอ้างให้เห็น, สิ่งหรือเรื่องที่ยกขึ้นมาเทียบเคียงเป็นตัวอย่าง. (ป., ส.).
อุทิศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง ให้, ยกให้, เช่น อุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี; ทําเพื่อ, สละให้โดยเจาะจง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุทฺทิศฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี อุทฺทิสฺส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ ว่า เจาะจง .อุทิศ ก. ให้, ยกให้, เช่น อุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี; ทําเพื่อ, สละให้โดยเจาะจง. (ส. อุทฺทิศฺย; ป. อุทฺทิสฺส ว่า เจาะจง).
อุทุมพร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[–พอน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะเดื่อชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู มะเดื่อ เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุทุมพร [–พอน] น. ชื่อมะเดื่อชนิดหนึ่ง. (ดู มะเดื่อ). (ป., ส.).
อุเทศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้นชี้แจง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยกขึ้นแสดง, ที่ยกขึ้นชี้แจง; ที่อ้างอิง เช่น หนังสืออุเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุทฺเทศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี อุทฺเทส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ.อุเทศ น. การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้นชี้แจง. ว. ที่ยกขึ้นแสดง, ที่ยกขึ้นชี้แจง; ที่อ้างอิง เช่น หนังสืออุเทศ. (ส. อุทฺเทศ; ป. อุทฺเทส).
อุเทสิกเจดีย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เจดีย์ที่สร้างอุทิศพระพุทธเจ้า ได้แก่ พระพุทธรูป.อุเทสิกเจดีย์ น. เจดีย์ที่สร้างอุทิศพระพุทธเจ้า ได้แก่ พระพุทธรูป.
อุธัจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุทธัจ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุทฺธจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน ว่า ความฟุ้งซ่าน และมาจากภาษาสันสกฤต เอาทฺธตฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อุธัจ น. ความฟุ้งซ่าน; ความประหม่า, ความขวยเขิน; อุทธัจ ก็ว่า. (ป. อุทฺธจฺจ ว่า ความฟุ้งซ่าน; ส. เอาทฺธตฺย).
อุ่น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ร้อน เช่น อุ่นแกง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้างร้อน เช่น ตัวอุ่น, ไม่ร้อนนักไม่หนาวนัก เช่น อากาศอุ่น, อุ่น ๆ ก็ว่า.อุ่น ก. ทําให้ร้อน เช่น อุ่นแกง. ว. ค่อนข้างร้อน เช่น ตัวอุ่น, ไม่ร้อนนักไม่หนาวนัก เช่น อากาศอุ่น, อุ่น ๆ ก็ว่า.
อุ่นกายสบายใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้สึกสุขสบายทั้งกายและใจ.อุ่นกายสบายใจ ว. มีความรู้สึกสุขสบายทั้งกายและใจ.
อุ่นเครื่อง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เดินเครื่องยนต์ไว้จนถึงระดับที่เครื่องจะทํางานได้ดี; ออกกําลังกายหรือฝึกซ้อมชั่วขณะก่อนเริ่มการแข่งขัน, ฝึกซ้อมก่อนแข่งขันจริง.อุ่นเครื่อง ก. เดินเครื่องยนต์ไว้จนถึงระดับที่เครื่องจะทํางานได้ดี; ออกกําลังกายหรือฝึกซ้อมชั่วขณะก่อนเริ่มการแข่งขัน, ฝึกซ้อมก่อนแข่งขันจริง.
อุ่นใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้สึกสบายใจขึ้น, มีความมั่นใจ, ไม่มีกังวล, เช่น มีเงินมากอยู่ในกระเป๋าทำให้อุ่นใจ.อุ่นใจ ว. มีความรู้สึกสบายใจขึ้น, มีความมั่นใจ, ไม่มีกังวล, เช่น มีเงินมากอยู่ในกระเป๋าทำให้อุ่นใจ.
อุ่นหนาฝาคั่ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, มีหลักฐานเป็นที่พักพิงมั่นคง, เช่น มีฐานะอุ่นหนาฝาคั่ง; มากมายคับคั่ง เช่น งานนี้มีผู้คนมาอุ่นหนาฝาคั่ง.อุ่นหนาฝาคั่ง ว. มั่นคง, มีหลักฐานเป็นที่พักพิงมั่นคง, เช่น มีฐานะอุ่นหนาฝาคั่ง; มากมายคับคั่ง เช่น งานนี้มีผู้คนมาอุ่นหนาฝาคั่ง.
อุ่นอกอุ่นใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้สึกสบายอกสบายใจและมีความมั่นใจขึ้น เช่น อยู่ใกล้ ๆ ผู้ใหญ่รู้สึกอุ่นอกอุ่นใจ.อุ่นอกอุ่นใจ ว. มีความรู้สึกสบายอกสบายใจและมีความมั่นใจขึ้น เช่น อยู่ใกล้ ๆ ผู้ใหญ่รู้สึกอุ่นอกอุ่นใจ.
อุนากัน, อุดากัน อุนากัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู อุดากัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็บยาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .อุนากัน, อุดากัน ว. เล็บยาว. (ช.).
อุบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ดู คางคก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.อุบ ๑ ดู คางคก ๒.
อุบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง นิ่งไว้ไม่เปิดเผย เช่น เรื่องนี้อุบไว้ก่อน; ถือเอา, ริบเอา, เช่น อุบเอามาเป็นของตน, ไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลง เช่น ที่รับปากไว้แล้ว อุบละนะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบ บ่นอุบ, อุบอิบ อุบอิบ ๆ หรือ อุบ ๆ อิบ ๆ ก็ว่า.อุบ ๒ ก. นิ่งไว้ไม่เปิดเผย เช่น เรื่องนี้อุบไว้ก่อน; ถือเอา, ริบเอา, เช่น อุบเอามาเป็นของตน, ไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลง เช่น ที่รับปากไว้แล้ว อุบละนะ. ว. อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบ บ่นอุบ, อุบอิบ อุบอิบ ๆ หรือ อุบ ๆ อิบ ๆ ก็ว่า.
อุบอิบ, อุบอิบ ๆ, อุบ ๆ อิบ ๆ อุบอิบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ อุบอิบ ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก อุบ ๆ อิบ ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบอิบ พูดอุบอิบ ๆ บ่นอุบ ๆ อิบ ๆ, อุบ ก็ว่า.อุบอิบ, อุบอิบ ๆ, อุบ ๆ อิบ ๆ ว. อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบอิบ พูดอุบอิบ ๆ บ่นอุบ ๆ อิบ ๆ, อุบ ก็ว่า.
อุบล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง[–บน] เป็นคำนาม หมายถึง บัวสาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปฺปล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺปล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง.อุบล [–บน] น. บัวสาย. (ป. อุปฺปล; ส. อุตฺปล).
อุบะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เป็นดอกไม้ที่ร้อยเป็นสายแล้วเข้าพวงอย่างพู่สำหรับห้อยกับมาลัย ห้อยระหว่างเฟื่อง หรือห้อยประดับข้างหูเป็นต้น.อุบะ น. เป็นดอกไม้ที่ร้อยเป็นสายแล้วเข้าพวงอย่างพู่สำหรับห้อยกับมาลัย ห้อยระหว่างเฟื่อง หรือห้อยประดับข้างหูเป็นต้น.
อุบ๊ะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือประหลาดใจเป็นต้น, บ๊ะ ก็ว่า.อุบ๊ะ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือประหลาดใจเป็นต้น, บ๊ะ ก็ว่า.
อุบัติ, อุบัติ– อุบัติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ อุบัติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ [อุบัด, อุบัดติ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเกิดขึ้น, กําเนิด, การบังเกิด; รากเหง้า, เหตุ. เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด, เกิดขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปฺปตฺติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺปตฺติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.อุบัติ, อุบัติ– [อุบัด, อุบัดติ–] น. การเกิดขึ้น, กําเนิด, การบังเกิด; รากเหง้า, เหตุ. ก. เกิด, เกิดขึ้น. (ป. อุปฺปตฺติ; ส. อุตฺปตฺติ).
อุบัติภัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ.อุบัติภัย น. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ.
อุบัติเหตุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด, ความบังเอิญเป็น.อุบัติเหตุ น. เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด, ความบังเอิญเป็น.
อุบาท, อุปบาท อุบาท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน อุปบาท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน [อุบาด, อุบบาด] เป็นคำนาม หมายถึง การบังเกิด, กําเนิด, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น พุทธุบาท (พุทธ + อุบาท), พุทธุปบาท (พุทธ + อุปบาท). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปฺปาท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺปาท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน.อุบาท, อุปบาท [อุบาด, อุบบาด] น. การบังเกิด, กําเนิด, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น พุทธุบาท (พุทธ + อุบาท), พุทธุปบาท (พุทธ + อุปบาท). (ป. อุปฺปาท; ส. อุตฺปาท).
อุบาทว์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปทฺทว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน และมาจากภาษาสันสกฤต อุปทฺรว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน.อุบาทว์ ว. อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล. (ป. อุปทฺทว; ส. อุปทฺรว).
อุบาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการอันแยบคาย; เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.อุบาย น. วิธีการอันแยบคาย; เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม. (ป., ส. อุปาย).
อุบาสก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คฤหัสถ์ผู้ชายที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปาสก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่.อุบาสก น. คฤหัสถ์ผู้ชายที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสก).
อุบาสิกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คฤหัสถ์ผู้หญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปาสิกา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.อุบาสิกา น. คฤหัสถ์ผู้หญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคง. (ป., ส. อุปาสิกา).
อุเบกขา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความเที่ยงธรรม, ความวางตัวเป็นกลาง, ความวางใจเฉยอยู่, เป็นข้อ ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุเปกฺขา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา.อุเบกขา น. ความเที่ยงธรรม, ความวางตัวเป็นกลาง, ความวางใจเฉยอยู่, เป็นข้อ ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป. อุเปกฺขา).
อุโบสถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง ความหมายที่ [อุโบสด] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทําสังฆกรรมเช่นสวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท ว่า โรงอุโบสถ หรือ อุโบสถ, เรียกย่อว่า โบสถ์; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกวันพระว่า วันอุโบสถ; เรียกการแสดงพระปาติโมกข์ของพระสงฆ์ทุก ๆ กึ่งเดือน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ค่ำ หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด ว่า การทําอุโบสถ; เรียกการรักษาศีล ๘ ของคฤหัสถ์ว่า การรักษาอุโบสถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุโปสถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาสันสกฤต อุโปษธ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สอ-รือ-สี-ทอ-ทง อุปวสถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ถอ-ถุง .อุโบสถ ๑ [อุโบสด] น. เรียกสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทําสังฆกรรมเช่นสวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท ว่า โรงอุโบสถ หรือ อุโบสถ, เรียกย่อว่า โบสถ์; (ปาก) เรียกวันพระว่า วันอุโบสถ; เรียกการแสดงพระปาติโมกข์ของพระสงฆ์ทุก ๆ กึ่งเดือน คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๕ ค่ำ หรือวันแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด ว่า การทําอุโบสถ; เรียกการรักษาศีล ๘ ของคฤหัสถ์ว่า การรักษาอุโบสถ. (ป. อุโปสถ; ส. อุโปษธ, อุปวสถ).
อุโบสถกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[อุโบสดถะกำ] เป็นคำนาม หมายถึง การทําอุโบสถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุโปสถกมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.อุโบสถกรรม [อุโบสดถะกำ] น. การทําอุโบสถ. (ป. อุโปสถกมฺม).
อุโบสถ ๒, อุโบสถหัตถี อุโบสถ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง อุโบสถหัตถี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี [อุโบสด, อุโบสดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้าง ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีทองคำ, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี สีดำ ๒. คังไคยหัตถี สีเหมือนน้ำไหล ๓. ปัณฑรหัตถี สีขาวดังเขาไกรลาส ๔. ตามพหัตถี สีทองแดง ๕. ปิงคลหัตถี สีทองอ่อนดั่งสีตาแมว ๖. คันธหัตถี สีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม ๗. มงคลหัตถี สีนิลอัญชัน มีกิริยาท่าทางเดินงดงาม ๘. เหมหัตถี สีเหลืองดั่งทอง ๙. อุโบสถหัตถี สีทองคำ ๑๐. ฉัททันตหัตถี กายสีขาวบริสุทธิ์ดั่งเงินยวง แต่ปากและเท้าสีแดง.อุโบสถ ๒, อุโบสถหัตถี [อุโบสด, อุโบสดถะ–] น. ชื่อช้าง ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีทองคำ, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี สีดำ ๒. คังไคยหัตถี สีเหมือนน้ำไหล ๓. ปัณฑรหัตถี สีขาวดังเขาไกรลาส ๔. ตามพหัตถี สีทองแดง ๕. ปิงคลหัตถี สีทองอ่อนดั่งสีตาแมว ๖. คันธหัตถี สีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม ๗. มงคลหัตถี สีนิลอัญชัน มีกิริยาท่าทางเดินงดงาม ๘. เหมหัตถี สีเหลืองดั่งทอง ๙. อุโบสถหัตถี สีทองคำ ๑๐. ฉัททันตหัตถี กายสีขาวบริสุทธิ์ดั่งเงินยวง แต่ปากและเท้าสีแดง.
อุปะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ[อุปะ, อุบปะ]คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปะ [อุปะ, อุบปะ] คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. (ป., ส.).
อุปกรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[อุปะกอน, อุบปะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องช่วย, เครื่องประกอบ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธาน เป็นของใช้ประจําอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดดูแล ใช้สอย หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน และเจ้าของทรัพย์ได้นํามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธานโดยการนํามาติดต่อหรือปรับเข้าไว้ หรือทำโดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปกรณ์ [อุปะกอน, อุบปะกอน] น. เครื่องมือ, เครื่องใช้, เครื่องช่วย, เครื่องประกอบ; (กฎ) สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกตินิยมเฉพาะถิ่นหรือโดยเจตนาชัดแจ้งของเจ้าของทรัพย์ที่เป็นประธาน เป็นของใช้ประจําอยู่กับทรัพย์ที่เป็นประธานเป็นอาจิณเพื่อประโยชน์แก่การจัดดูแล ใช้สอย หรือรักษาทรัพย์ที่เป็นประธาน และเจ้าของทรัพย์ได้นํามาสู่ทรัพย์ที่เป็นประธานโดยการนํามาติดต่อหรือปรับเข้าไว้ หรือทำโดยประการอื่นใดในฐานะเป็นของใช้ประกอบกับทรัพย์ที่เป็นประธานนั้น. (ป., ส.).
อุปกรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[อุปะกฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าใกล้, การตั้งต้น, การพยายาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุปกฺกม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-มอ-ม้า.อุปกรม [อุปะกฺรม] น. การเข้าใกล้, การตั้งต้น, การพยายาม. (ส.; ป. อุปกฺกม).
อุปการ– ๑, อุปการะ อุปการ– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ อุปการะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [อุปะการะ–, อุบปะการะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ. เป็นคำกริยา หมายถึง ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปการ– ๑, อุปการะ [อุปะการะ–, อุบปะการะ–] น. ความช่วยเหลือเกื้อกูล, ความอุดหนุน, คู่กับ ปฏิการะ = การสนองคุณ, การตอบแทนคุณ. ก. ช่วยเหลือเกื้อกูล, อุดหนุน. (ป., ส.).
อุปการี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี.อุปการี [อุปะ–, อุบปะ–] น. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อุดหนุน, หญิงใช้ว่า อุปการิณี.
อุปการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [อุปะกาน, อุบปะกาน] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธว่า ม้าอุปการ.อุปการ ๒ [อุปะกาน, อุบปะกาน] น. เรียกม้าที่ปล่อยในพิธีอัศวเมธว่า ม้าอุปการ.
อุปการี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อีดู อุปการ– ๑, อุปการะ อุปการ– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ อุปการะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .อุปการี ดู อุปการ– ๑, อุปการะ.
อุปกาศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา[อุปะกาด, อุบปะกาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์หิมพานต์.อุปกาศ [อุปะกาด, อุบปะกาด] (กลอน) ก. แจ้งข่าว เรื่อง หรือข้อความ เช่น เขือไปอุปกาศแล้ว เขือมา. (ลอ), ร้องอุปกาศสารแก่กรุงสญชัยปิตุราช. (ม. ร่ายยาว หิมพานต์).
อุปกิณณะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[–ปะกินนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปกคลุมไว้, ปิดบังอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปกิณณะ [–ปะกินนะ] ว. ปกคลุมไว้, ปิดบังอยู่. (ป.).
อุปกิเลส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ[อุปะกิเหฺลด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องทําใจให้เศร้าหมอง มี ๑๖ อย่าง มี อภิชฌาวิสมโลภ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปกฺกิเลส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ.อุปกิเลส [อุปะกิเหฺลด] น. เครื่องทําใจให้เศร้าหมอง มี ๑๖ อย่าง มี อภิชฌาวิสมโลภ เป็นต้น. (ป. อุปกฺกิเลส).
อุปจาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[อุปะจาน] เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าใกล้, ที่ใกล้, บริเวณรอบ ๆ เช่น อุปจารวัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปจาร [อุปะจาน] น. การเข้าใกล้, ที่ใกล้, บริเวณรอบ ๆ เช่น อุปจารวัด. (ป., ส.).
อุปถัมภ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด[อุปะถํา, อุบปะถํา] เป็นคำนาม หมายถึง การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. เป็นคำกริยา หมายถึง คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปตฺถมฺภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาสันสกฤต อุปสฺตมฺภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา.อุปถัมภ์ [อุปะถํา, อุบปะถํา] น. การคํ้าจุน, การคํ้าชู, การสนับสนุน, การเลี้ยงดู. ก. คํ้าจุน, คํ้าชู, สนับสนุน, เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภ; ส. อุปสฺตมฺภ).
อุปถัมภก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่[อุปะถําพก, อุบปะถําพก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนับสนุน, ผู้เลี้ยงดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปตฺถมฺภก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต อุปสฺตมฺภก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่.อุปถัมภก [อุปะถําพก, อุบปะถําพก] น. ผู้คํ้าจุน, ผู้ค้ำชู, ผู้สนับสนุน, ผู้เลี้ยงดู. (ป. อุปตฺถมฺภก; ส. อุปสฺตมฺภก).
อุปทม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า[อุปะทม, อุบปะทม] เป็นคำนาม หมายถึง กามโรค.อุปทม [อุปะทม, อุบปะทม] น. กามโรค.
อุปทูต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า[อุปะทูด, อุบปะทูด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รักษาการในตําแหน่งหรือรักษาการแทนหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูตหรือหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ตําแหน่งรองจากราชทูต.อุปทูต [อุปะทูด, อุบปะทูด] น. ผู้รักษาการในตําแหน่งหรือรักษาการแทนหัวหน้าสถานเอกอัครราชทูตหรือหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต; (โบ) ตําแหน่งรองจากราชทูต.
อุปเทศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา[อุปะเทด, อุบปะเทด] เป็นคำนาม หมายถึง การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนํา; คําสั่งสอน, คําชี้แจง, คําแนะนํา. เป็นคำกริยา หมายถึง สอน, ชี้แจง, แนะนํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุปเทส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ.อุปเทศ [อุปะเทด, อุบปะเทด] น. การชี้แจง, การสั่งสอน, การแนะนํา; คําสั่งสอน, คําชี้แจง, คําแนะนํา. ก. สอน, ชี้แจง, แนะนํา. (ส., ป. อุปเทส).
อุปเท่ห์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[อุปะเท่, อุบปะเท่] เป็นคำนาม หมายถึง อุบายดําเนินการ, วิธีดําเนินการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุปเทศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี อุปเทส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ.อุปเท่ห์ [อุปะเท่, อุบปะเท่] น. อุบายดําเนินการ, วิธีดําเนินการ. (ส. อุปเทศ; ป. อุปเทส).
อุปธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[อุปะทิ] เป็นคำนาม หมายถึง กิเลส, ความพัวพัน, เหตุแห่งการเวียนเกิด; ขันธ์ ๕, ร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปธิ [อุปะทิ] น. กิเลส, ความพัวพัน, เหตุแห่งการเวียนเกิด; ขันธ์ ๕, ร่างกาย. (ป., ส.).
อุปนัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม, คู่กับ นิรนัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ induction เขียนว่า ไอ-เอ็น-ดี-ยู-ซี-ที-ไอ-โอ-เอ็น.อุปนัย [อุปะ–, อุบปะ–] น. วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม, คู่กับ นิรนัย. (อ. induction).
อุปนิกขิต, อุปนิกษิต อุปนิกขิต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า อุปนิกษิต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า [อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด] เป็นคำกริยา หมายถึง เก็บไว้, รักษาไว้. เป็นคำนาม หมายถึง คนสอดแนม, จารชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปนิกฺขิตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต อุปนิกฺษิปฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.อุปนิกขิต, อุปนิกษิต [อุปะนิกขิด, อุปะนิกสิด] ก. เก็บไว้, รักษาไว้. น. คนสอดแนม, จารชน. (ป. อุปนิกฺขิตฺต; ส. อุปนิกฺษิปฺต).
อุปนิษัท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุปนิษัท [อุปะ–, อุบปะ–] น. ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตกลุ่มหนึ่ง คัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรกเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ที่สอนว่าทุกสิ่งทุกอย่างออกมาจากอาตมัน. (ส.).
อุปนิสัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[อุปะนิไส, อุบปะนิไส] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้องทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปนิสฺสย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก.อุปนิสัย [อุปะนิไส, อุบปะนิไส] น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้องทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. (ป. อุปนิสฺสย).
อุปบล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง[อุบบน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อุบล, บัวสาย, ดอกบัว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นีลุปบล ว่า บัวขาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปฺปล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง.อุปบล [อุบบน] (แบบ) น. อุบล, บัวสาย, ดอกบัว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น นีลุปบล ว่า บัวขาบ. (ป. อุปฺปล).
อุปบัติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[อุปะบัด, อุบปะบัด] เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปปตฺติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.อุปบัติ [อุปะบัด, อุบปะบัด] น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. (ป. อุปปตฺติ).
อุปปาติกะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปปาติก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ โอปปาติก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ .อุปปาติกะ [อุปะปาติกะ, อุบปะปาติกะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, โอปปาติกะ ก็เรียก. (ป. อุปปาติก, โอปปาติก).
อุปพัทธ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง เนื่อง, เนื่องกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เนื่องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปพัทธ์ [อุปะ–, อุบปะ–] ก. เนื่อง, เนื่องกัน. ว. ที่เนื่องกัน. (ป., ส.).
อุปพันธ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การติดต่อ, การร่วม; เยื่อใย, เครื่องผูกพัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปพันธ์ [อุปะ–, อุบปะ–] น. การติดต่อ, การร่วม; เยื่อใย, เครื่องผูกพัน. (ป., ส.).
อุปโภค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย[อุปะโพก, อุบปะโพก] เป็นคำกริยา หมายถึง เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์, คู่กับ บริโภค. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในคำว่า เครื่องอุปโภค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปโภค [อุปะโพก, อุบปะโพก] ก. เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์, คู่กับ บริโภค. ว. ที่เอามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในคำว่า เครื่องอุปโภค. (ป., ส.).
อุปมา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ, มักใช้เข้าคู่กับ อุปไมย ในประโยคเช่น เรื่องนี้มีอุปมาฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. เป็นคำกริยา หมายถึง เปรียบเทียบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปมา [อุปะ–, อุบปะ–] น. สิ่งหรือข้อความที่ยกมาเปรียบ, มักใช้เข้าคู่กับ อุปไมย ในประโยคเช่น เรื่องนี้มีอุปมาฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น. ก. เปรียบเทียบ. (ป., ส.).
อุปมาโวหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สํานวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ.อุปมาโวหาร น. สํานวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ.
อุปมาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปมาน [อุปะ–, อุบปะ–] น. การเปรียบเทียบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน. (ป., ส.).
อุปมาอุปไมย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก[อุปะมาอุปะไม, อุบปะมาอุบปะไม] เป็นคำนาม หมายถึง การเปรียบเทียบกัน.อุปมาอุปไมย [อุปะมาอุปะไม, อุบปะมาอุบปะไม] น. การเปรียบเทียบกัน.
อุปไมย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก[อุปะไม, อุบปะไม] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปเมยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อุปไมย [อุปะไม, อุบปะไม] น. สิ่งหรือข้อความที่พึงเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นเพื่อให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, คู่กับ อุปมา. (ป. อุปเมยฺย).
อุปยุวราช เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[อุปะยุวะราด, อุบปะยุวะราด] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งเจ้าในนครล้านช้างรองพระเจ้าแผ่นดิน แต่อยู่เหนืออุปราช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปยุวราช [อุปะยุวะราด, อุบปะยุวะราด] น. ตําแหน่งเจ้าในนครล้านช้างรองพระเจ้าแผ่นดิน แต่อยู่เหนืออุปราช. (ป.).
อุปโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[อุปะโยก, อุบปะโยก] เป็นคำนาม หมายถึง การใช้สอย, การทําให้เกิดประโยชน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปโยค [อุปะโยก, อุบปะโยก] น. การใช้สอย, การทําให้เกิดประโยชน์. (ป., ส.).
อุปโยคบุรพบท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน[อุปะโยคะบุบพะบด, –บุระพะบด] เป็นคำนาม หมายถึง ในไวยากรณ์หมายถึงคํานําหน้ากรรมการก.อุปโยคบุรพบท [อุปะโยคะบุบพะบด, –บุระพะบด] น. ในไวยากรณ์หมายถึงคํานําหน้ากรรมการก.
อุปรากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[อุปะรากอน, อุบปะรากอน] เป็นคำนาม หมายถึง ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ opera เขียนว่า โอ-พี-อี-อา-เอ.อุปรากร [อุปะรากอน, อุบปะรากอน] น. ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์. (อ. opera).
อุปราคา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา[อุปะราคา, อุบปะราคา] เป็นคำนาม หมายถึง การทําให้ดํา, การทําให้มีมลทิน, ในคําว่า จันทรุปราคา สุริยุปราคา.อุปราคา [อุปะราคา, อุบปะราคา] น. การทําให้ดํา, การทําให้มีมลทิน, ในคําว่า จันทรุปราคา สุริยุปราคา.
อุปราช เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[อุปะหฺราด, อุบปะหฺราด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สําเร็จราชการต่างพระองค์ประจําภาคหนึ่ง ๆ ในอาณาจักร.อุปราช [อุปะหฺราด, อุบปะหฺราด] (โบ) น. ผู้สําเร็จราชการต่างพระองค์ประจําภาคหนึ่ง ๆ ในอาณาจักร.
อุปริ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ[อุปะริ, อุบปะริ]คําประกอบหน้าศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เบื้องบน ข้างบน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปริ [อุปะริ, อุบปะริ] คําประกอบหน้าศัพท์ภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เบื้องบน ข้างบน. (ป., ส.).
อุปริจร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-รอ-เรือ[–จอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไปในอากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปริจร [–จอน] ว. เคลื่อนไปในอากาศ. (ป., ส.).
อุปริพุทธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กอบด้วยปัญญาอันสูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุปริพุทธิ ว. กอบด้วยปัญญาอันสูง. (ส.).
อุปริภาค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนบน, ข้างบน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปริภาค น. ส่วนบน, ข้างบน. (ป., ส.).
อุปริภาพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ฐานะหรือความเป็นอยู่อย่างสูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปริภาว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.อุปริภาพ น. ฐานะหรือความเป็นอยู่อย่างสูง. (ป., ส. อุปริภาว).
อุปริวัสน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแต่งกายตอนบน, เสื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปริวสน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-นอ-หนู.อุปริวัสน์ น. เครื่องแต่งกายตอนบน, เสื้อ. (ป. อุปริวสน).
อุปริสัจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมอันสูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปริสจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน.อุปริสัจ น. ธรรมอันสูง. (ป. อุปริสจฺจ).
อุปริม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า[อุปะริมะ–, อุบปะริมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่สูงสุด, เบื้องบนที่สุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปริม– [อุปะริมะ–, อุบปะริมะ–] ว. อยู่สูงสุด, เบื้องบนที่สุด. (ป.).
อุปริมปริยาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[–ปะริยาย] เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อความอันสูงสุด.อุปริมปริยาย [–ปะริยาย] น. เนื้อความอันสูงสุด.
อุปโลกน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกกันขึ้นเป็น เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า, อปโลกน์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อปโลกน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู.อุปโลกน์ [อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก] ก. ยกกันขึ้นเป็น เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า, อปโลกน์ ก็ว่า. (ป. อปโลกน).
อุปเวท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน[อุปะเวด, อุบปะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุปเวท [อุปะเวด, อุบปะเวด] น. คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด). (ส.).
อุปสมบท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน[อุปะสมบด, อุบปะสมบด] เป็นคำกริยา หมายถึง บวชเป็นภิกษุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปสมฺปทา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา.อุปสมบท [อุปะสมบด, อุบปะสมบด] ก. บวชเป็นภิกษุ. (ป. อุปสมฺปทา).
อุปสมบทกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[–บดทะกำ] เป็นคำนาม หมายถึง การบวชเป็นภิกษุ.อุปสมบทกรรม [–บดทะกำ] น. การบวชเป็นภิกษุ.
อุปสมบัน, อุปสัมบัน อุปสมบัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู อุปสัมบัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู [อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อุปสมบทแล้ว, ภิกษุ, คู่กับ อนุปสัมบัน ได้แก่ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบท คือ สามเณรและคฤหัสถ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปสมฺปนฺน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู.อุปสมบัน, อุปสัมบัน [อุปะ–, อุบปะ–] น. ผู้อุปสมบทแล้ว, ภิกษุ, คู่กับ อนุปสัมบัน ได้แก่ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบท คือ สามเณรและคฤหัสถ์. (ป. อุปสมฺปนฺน).
อุปสรรค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย[อุปะสัก, อุบปะสัก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องขัดข้อง, ความขัดข้อง, เครื่องขัดขวาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุปสรฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี อุปสคฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย; คำสำหรับใช้เติมข้างหน้าคำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมายแผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิมเป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตามปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่ายปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู.อุปสรรค [อุปะสัก, อุบปะสัก] น. เครื่องขัดข้อง, ความขัดข้อง, เครื่องขัดขวาง. (ส. อุปสรฺค; ป. อุปสคฺค); คำสำหรับใช้เติมข้างหน้าคำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมายแผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิมเป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตามปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่ายปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู.
อุปสัมปทา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา[อุปะสำปะทา, อุบปะสำปะทา] เป็นคำนาม หมายถึง การบวชเป็นภิกษุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุปสัมปทา [อุปะสำปะทา, อุบปะสำปะทา] น. การบวชเป็นภิกษุ. (ป., ส.).
อุปสัมปทาเปกข์, อุปสัมปทาเปกษ์ อุปสัมปทาเปกข์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด อุปสัมปทาเปกษ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด [อุปะสำปะทาเปก, อุบปะสำปะทาเปก] เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้เพ่งอุปสมบท” คือ นาคที่บรรพชาเป็นสามเณรแล้วและจะขอบวชเป็นภิกษุต่อไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปสมฺปทาเปกฺข เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่ และมาจากภาษาสันสกฤต อุปสมฺปทาเปกฺษ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.อุปสัมปทาเปกข์, อุปสัมปทาเปกษ์ [อุปะสำปะทาเปก, อุบปะสำปะทาเปก] น. “ผู้เพ่งอุปสมบท” คือ นาคที่บรรพชาเป็นสามเณรแล้วและจะขอบวชเป็นภิกษุต่อไป. (ป. อุปสมฺปทาเปกฺข; ส. อุปสมฺปทาเปกฺษ).
อุปฮาด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[อุปะ–, อุบปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง (โบ; ถิ่น–อีสาน) ตำแหน่งรองจากเจ้าเมืองในภาคอีสานสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เช่น พระยาก่ำได้ตั้งให้ท้าวแก้วผู้น้องชายเป็นอุปฮาดอยู่บ้านหนึ่งต่างหาก. (ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ : ว่าด้วยชนชาติภูไทย); (โบ; ถิ่น–พายัพ) ตำแหน่งเจ้าชั้นสูงรองจากตำแหน่งเจ้านครในภาคเหนือ เรียกว่า พระยาอุปราช หรือ เจ้าอุปราช แต่ชาวไทยในภาคเหนือออกเสียงเป็น อุปฮาด.อุปฮาด [อุปะ–, อุบปะ–] น. (โบ; ถิ่น–อีสาน) ตำแหน่งรองจากเจ้าเมืองในภาคอีสานสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เช่น พระยาก่ำได้ตั้งให้ท้าวแก้วผู้น้องชายเป็นอุปฮาดอยู่บ้านหนึ่งต่างหาก. (ลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ : ว่าด้วยชนชาติภูไทย); (โบ; ถิ่น–พายัพ) ตำแหน่งเจ้าชั้นสูงรองจากตำแหน่งเจ้านครในภาคเหนือ เรียกว่า พระยาอุปราช หรือ เจ้าอุปราช แต่ชาวไทยในภาคเหนือออกเสียงเป็น อุปฮาด.
อุปัชฌาย–, อุปัชฌาย์, อุปัชฌายะ อุปัชฌาย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก อุปัชฌาย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด อุปัชฌายะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [อุปัดชายะ–, อุบปัดชายะ–, อุปัดชา, อุบปัดชา] เป็นคำนาม หมายถึง พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปาธฺยาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.อุปัชฌาย–, อุปัชฌาย์, อุปัชฌายะ [อุปัดชายะ–, อุบปัดชายะ–, อุปัดชา, อุบปัดชา] น. พระเถระผู้เป็นประธานการบวชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. อุปาธฺยาย).
อุปัชฌายวัตร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[อุปัดชายะวัด, อุบปัดชายะวัด] เป็นคำนาม หมายถึง กิจที่สัทธิงวิหาริกจะต้องปฏิบัติต่ออุปัชฌาย์ของตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปชฺฌายวตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.อุปัชฌายวัตร [อุปัดชายะวัด, อุบปัดชายะวัด] น. กิจที่สัทธิงวิหาริกจะต้องปฏิบัติต่ออุปัชฌาย์ของตน. (ป. อุปชฺฌายวตฺต).
อุปัฏฐาก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[อุปัดถาก, อุบปัดถาก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อุปถัมภ์บํารุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปัฏฐาก [อุปัดถาก, อุบปัดถาก] น. ผู้อุปถัมภ์บํารุงพระภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นหญิงใช้ อุปัฏฐายิกา. (ป.).
อุปัฏฐานะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[อุปัด–, อุบปัด–] เป็นคำนาม หมายถึง การบํารุง, การรับใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปัฏฐานะ [อุปัด–, อุบปัด–] น. การบํารุง, การรับใช้. (ป.).
อุปัทรพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน[อุปัดทะรบ, อุบปัดทะรบ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อุปัทวะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุปทฺรว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน และมาจากภาษาบาลี อุปทฺทว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน.อุปัทรพ [อุปัดทะรบ, อุบปัดทะรบ] ว. อุปัทวะ. (ส. อุปทฺรว; ป. อุปทฺทว).
อุปัทว–, อุปัทวะ อุปัทว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน อุปัทวะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [อุปัดทะวะ–, อุบปัดทะวะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อุบาทว์, อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล, นิยมใช้คู่กับคำ อันตราย เป็น อุปัทวันตราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปทฺทว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน และมาจากภาษาสันสกฤต อุปทฺรว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน.อุปัทว–, อุปัทวะ [อุปัดทะวะ–, อุบปัดทะวะ–] ว. อุบาทว์, อัปรีย์, จัญไร, ไม่เป็นมงคล, นิยมใช้คู่กับคำ อันตราย เป็น อุปัทวันตราย. (ป. อุปทฺทว; ส. อุปทฺรว).
อุปัทวันตราย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[อุปัดทะวันตะราย, อุบปัดทะวันตะราย] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งอุบาทว์และอันตราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุปทฺทว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน + อนฺตราย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก .อุปัทวันตราย [อุปัดทะวันตะราย, อุบปัดทะวันตะราย] น. สิ่งอุบาทว์และอันตราย. (ป. อุปทฺทว + อนฺตราย).
อุปัทวันตราย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู อุปัทว–, อุปัทวะ อุปัทว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน อุปัทวะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ .อุปัทวันตราย ดู อุปัทว–, อุปัทวะ.
อุปาณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[อุปานะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปรียบเทียบ เช่น อุปาณวาจา ว่า การกล่าวเปรียบเทียบ. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.อุปาณ– [อุปานะ–] ว. เปรียบเทียบ เช่น อุปาณวาจา ว่า การกล่าวเปรียบเทียบ. (ปาเลกัว).
อุปาทาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[อุปาทาน, อุบปาทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การยึดมั่นถือมั่น, การนึกเอาเองแล้วยึดมั่นถือมั่นว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุปาทาน [อุปาทาน, อุบปาทาน] น. การยึดมั่นถือมั่น, การนึกเอาเองแล้วยึดมั่นถือมั่นว่าจะต้องเป็นอย่างนั้น ๆ. (ป.).
อุปาธยาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[อุปาดทะยาย, อุบปาดทะยาย] เป็นคำนาม หมายถึง อุปัชฌาย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุปชฺฌาย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.อุปาธยาย [อุปาดทะยาย, อุบปาดทะยาย] น. อุปัชฌาย์. (ส.; ป. อุปชฺฌาย).
อุปาหนา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[อุปาหะนา, อุบปาหะนา] เป็นคำนาม หมายถึง รองเท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุปานหฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-พิน-ทุ.อุปาหนา [อุปาหะนา, อุบปาหะนา] น. รองเท้า. (ป.; ส. อุปานหฺ).
อุภัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งสอง, ทั้งคู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุภัย ว. ทั้งสอง, ทั้งคู่. (ป., ส.).
อุ้ม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง โอบยกขึ้น, ยกขึ้นไว้กับตัว, เช่น อุ้มเด็ก; หอบไป, พาไป, เช่น เมฆอุ้มฝน. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวัยของเด็กก่อนวัยจูง เรียกว่า วัยอุ้ม.อุ้ม ก. โอบยกขึ้น, ยกขึ้นไว้กับตัว, เช่น อุ้มเด็ก; หอบไป, พาไป, เช่น เมฆอุ้มฝน. น. ชื่อวัยของเด็กก่อนวัยจูง เรียกว่า วัยอุ้ม.
อุ้มชู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง ประคับประคอง, เลี้ยงดูอย่างยกย่อง.อุ้มชู ก. ประคับประคอง, เลี้ยงดูอย่างยกย่อง.
อุ้มท้อง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง มีลูกอยู่ในท้อง.อุ้มท้อง ก. มีลูกอยู่ในท้อง.
อุ้มน้ำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง มีนํ้าซึมซาบชุ่มอยู่ภายใน.อุ้มน้ำ ก. มีนํ้าซึมซาบชุ่มอยู่ภายใน.
อุ้มสม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง อุ้มไปให้สมสู่กัน (ในวรรณคดีใช้แก่การที่เทวดาอุ้มพระเอกไปให้สมสู่กับนางเอกที่ตนเห็นว่าคู่ควรกัน), ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง เปรียบเทียบคู่ผัวเมียที่เหมาะสมกันว่า ราวกับเทวดาอุ้มสม.อุ้มสม ก. อุ้มไปให้สมสู่กัน (ในวรรณคดีใช้แก่การที่เทวดาอุ้มพระเอกไปให้สมสู่กับนางเอกที่ตนเห็นว่าคู่ควรกัน), (สำ) เปรียบเทียบคู่ผัวเมียที่เหมาะสมกันว่า ราวกับเทวดาอุ้มสม.
อุมงค์, อุโมงค์ อุมงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด อุโมงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ทางใต้ดิน, ช่องหรือทางที่ขุดลงไปใต้ดินหรือในภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุมฺมงฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.อุมงค์, อุโมงค์ น. ทางใต้ดิน, ช่องหรือทางที่ขุดลงไปใต้ดินหรือในภูเขา. (ป. อุมฺมงฺค).
อุย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของขนอ่อนหรือขนเพิ่งแรกขึ้น เรียกว่า ขนอุย.อุย ๑ น. ลักษณะของขนอ่อนหรือขนเพิ่งแรกขึ้น เรียกว่า ขนอุย.
อุย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ปลาดุกอุย. ในวงเล็บ ดู ดุก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.อุย ๒ น. ปลาดุกอุย. (ดู ดุก).
อุย ๓, อุ่ย อุย ความหมายที่ ๓ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก อุ่ย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บเช่นถูกหยิก, อูย ก็ใช้.อุย ๓, อุ่ย อ. คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บเช่นถูกหยิก, อูย ก็ใช้.
อุยหน่า, อุ่ยหน่า อุยหน่า เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา อุ่ยหน่า เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บเช่นถูกหยิก.อุยหน่า, อุ่ยหน่า (กลอน) อ. คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บเช่นถูกหยิก.
อุ้ย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนักและแน่น.อุ้ย ว. หนักและแน่น.
อุ้ยยุ้ย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วนท้องพลุ้ย.อุ้ยยุ้ย ว. อ้วนท้องพลุ้ย.
อุ้ยอ้าย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่คล่องแคล่ว, เคลื่อนตัวยากอย่างคนอ้วน.อุ้ยอ้าย ว. ไม่คล่องแคล่ว, เคลื่อนตัวยากอย่างคนอ้วน.
อุ๊ย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจ มักเป็นเสียงผู้หญิง.อุ๊ย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจ มักเป็นเสียงผู้หญิง.
อุยยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อุทยาน, สวนเป็นที่รื่นรมย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทฺยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.อุยยาน น. อุทยาน, สวนเป็นที่รื่นรมย์. (ป.; ส. อุทฺยาน).
อุยยาม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ความหมั่น, ความบากบั่น, ความขยันขันแข็ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุทฺยาม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.อุยยาม น. ความหมั่น, ความบากบั่น, ความขยันขันแข็ง. (ป.; ส. อุทฺยาม).
อุยโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง การจากไป, ความเสื่อมสิ้น; ความตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุยโยค น. การจากไป, ความเสื่อมสิ้น; ความตาย. (ป.).
อุร–, อุระ, อุรา อุร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ อุระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ อุรา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง อก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุรสฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ.อุร–, อุระ, อุรา ๑ น. อก. (ป.; ส. อุรสฺ).
อุรคะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้ที่ไปด้วยอก” คือ งู, นาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุรค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย ว่า ไปด้วยอก .อุรคะ น. “ผู้ที่ไปด้วยอก” คือ งู, นาค. (ป. อุรค ว่า ไปด้วยอก).
อุรเคนทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พญานาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุรค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย + ภาษาสันสกฤต อินฺทร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .อุรเคนทร์ น. พญานาค. (ป. อุรค + ส. อินฺทร).
อุรส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–รด] เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้ที่เกิดแต่อก” คือ ลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุรสฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.อุรส [–รด] น. “ผู้ที่เกิดแต่อก” คือ ลูก. (ส. อุรสฺย).
อุรณะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[อุระนะ] เป็นคำนาม หมายถึง แกะตัวผู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุรณะ [อุระนะ] น. แกะตัวผู้. (ป., ส.).
อุรพี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้กว้างใหญ่” คือ แผ่นดิน, โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุรฺวี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี.อุรพี น. “ผู้กว้างใหญ่” คือ แผ่นดิน, โลก. (ส. อุรฺวี).
อุรส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือดู อุร–, อุระ, อุรา ๑ อุร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ อุระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ อุรา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา .อุรส ดู อุร–, อุระ, อุรา ๑.
อุรังอุตัง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลิงขนาดใหญ่ชนิด Pongo pygmaeus ในวงศ์ Pongidae รูปร่างคล้ายคน ขนตามลําตัวยาวสีนํ้าตาลแดง แขนยาว ขาสั้นและค่อนข้างเล็ก ใบหูเล็กมาก ตัวผู้มีถุงลมขนาดใหญ่ตรงคอหอยและกระพุ้งแก้มทั้ง ๒ ข้างพองห้อย นิ้วตีนนิ้วแรกไม่มีเล็บ อาศัยอยู่บนต้นไม้ กินผลไม้ ยอดและหน่อของต้นไม้ มี ๒ พันธุ์ย่อย คือ พันธุ์สุมาตรา (Pongo pygmaeus abeli) และพันธุ์บอร์เนียว (P. pygmaeus pygmaeus) มีถิ่นกําเนิดเฉพาะในเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวเท่านั้น.อุรังอุตัง น. ชื่อลิงขนาดใหญ่ชนิด Pongo pygmaeus ในวงศ์ Pongidae รูปร่างคล้ายคน ขนตามลําตัวยาวสีนํ้าตาลแดง แขนยาว ขาสั้นและค่อนข้างเล็ก ใบหูเล็กมาก ตัวผู้มีถุงลมขนาดใหญ่ตรงคอหอยและกระพุ้งแก้มทั้ง ๒ ข้างพองห้อย นิ้วตีนนิ้วแรกไม่มีเล็บ อาศัยอยู่บนต้นไม้ กินผลไม้ ยอดและหน่อของต้นไม้ มี ๒ พันธุ์ย่อย คือ พันธุ์สุมาตรา (Pongo pygmaeus abeli) และพันธุ์บอร์เนียว (P. pygmaeus pygmaeus) มีถิ่นกําเนิดเฉพาะในเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวเท่านั้น.
อุรัจฉทะ, อุรัจฉัท อุรัจฉทะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ อุรัจฉัท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน [อุรัดฉะทะ, อุรัดฉัด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกําบังอก, เกราะ; เครื่องประดับอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุรศฺฉท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน.อุรัจฉทะ, อุรัจฉัท [อุรัดฉะทะ, อุรัดฉัด] น. เครื่องกําบังอก, เกราะ; เครื่องประดับอก. (ป.; ส. อุรศฺฉท).
อุรา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดู อุร–, อุระ อุร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ อุระ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .อุรา ๑ ดู อุร–, อุระ.
อุรา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แกะตัวเมีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุรา ๒ น. แกะตัวเมีย. (ส.).
อุรุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เลิศ, ประเสริฐ. เป็นคำนาม หมายถึง ทราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุรุ ว. ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เลิศ, ประเสริฐ. น. ทราย. (ป., ส.).
อุไร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทองคํา.อุไร (กลอน) น. ทองคํา.
อุลกมณี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[อุนละกะมะนี] เป็นคำนาม หมายถึง อุกกาบาตที่นำมาเจียระไนทำเป็นเครื่องประดับ เชื่อว่าเป็นเครื่องรางอย่างหนึ่ง.อุลกมณี [อุนละกะมะนี] น. อุกกาบาตที่นำมาเจียระไนทำเป็นเครื่องประดับ เชื่อว่าเป็นเครื่องรางอย่างหนึ่ง.
อุลปนะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[อุนละปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การกล่าวอ้าง, การเรียกร้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุลฺลปน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-นอ-หนู.อุลปนะ [อุนละปะ–] น. การกล่าวอ้าง, การเรียกร้อง. (ป. อุลฺลปน).
อุลโลจ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-จอ-จาน[อุนโลด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกั้นข้างบน, เพดาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุลโลจ [อุนโลด] น. เครื่องกั้นข้างบน, เพดาน. (ป., ส.).
อุลโลละ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[อุน–] เป็นคำนาม หมายถึง คลื่น; ความปั่นป่วน, ความไม่ราบคาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุลโลละ [อุน–] น. คลื่น; ความปั่นป่วน, ความไม่ราบคาบ. (ป., ส.).
อุลามก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลวทรามต่ำช้า, อุจาดลามก.อุลามก ว. เลวทรามต่ำช้า, อุจาดลามก.
อุลิด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แตงโม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โอวฬึก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่.อุลิด น. แตงโม. (ข. โอวฬึก).
อุลูกะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง นกเค้าแมว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อุลูกะ น. นกเค้าแมว. (ป., ส.).
อุโลก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. ในวงศ์ Rubiaceae เนื้อไม้สีขาว ใช้ทํายาได้.อุโลก น. ชื่อไม้ต้นชนิด Hymenodictyon orixense (Roxb.) Mabb. ในวงศ์ Rubiaceae เนื้อไม้สีขาว ใช้ทํายาได้.
อุแว้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ร้อง (ใช้แก่เด็กแดง ๆ) เช่น เด็กคนนี้ พออุแว้ออกมาก็มีเงินเป็นล้านแล้ว, แว้ ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงเด็กแดง ๆ ร้อง เช่น เสียงลูกร้องอุแว้, แว้ ก็ว่า.อุแว้ ก. ร้อง (ใช้แก่เด็กแดง ๆ) เช่น เด็กคนนี้ พออุแว้ออกมาก็มีเงินเป็นล้านแล้ว, แว้ ก็ว่า. ว. เสียงอย่างเสียงเด็กแดง ๆ ร้อง เช่น เสียงลูกร้องอุแว้, แว้ ก็ว่า.
อุษณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน[อุดสะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความร้อน; ฤดูร้อน; ของร้อน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้อน, อบอุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุณฺห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ.อุษณ– [อุดสะนะ–] น. ความร้อน; ฤดูร้อน; ของร้อน. ว. ร้อน, อบอุ่น. (ส., ป. อุณฺห).
อุษณกร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–กอน] เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้กระทําความร้อน” หมายถึง พระอาทิตย์.อุษณกร [–กอน] น. “ผู้กระทําความร้อน” หมายถึง พระอาทิตย์.
อุษณกาล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูร้อน.อุษณกาล น. ฤดูร้อน.
อุษณรัศมี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์, คู่กับ สีตลรัศมี มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์.อุษณรัศมี ว. มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์, คู่กับ สีตลรัศมี มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์.
อุษณรุจี เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงอันร้อน หมายถึง พระอาทิตย์.อุษณรุจี ว. มีแสงอันร้อน หมายถึง พระอาทิตย์.
อุษณาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[อุดสะนา–] เป็นคำนาม หมายถึง อาการเร่าร้อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อุษฺณาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี อุณฺหาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.อุษณาการ [อุดสะนา–] น. อาการเร่าร้อน. (ส. อุษฺณาการ; ป. อุณฺหาการ).
อุษณาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู อุษณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน.อุษณาการ ดู อุษณ–.
อุษณีษ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง มงกุฎ; กรอบหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุณฺหีส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ.อุษณีษ์ น. มงกุฎ; กรอบหน้า. (ส.; ป. อุณฺหีส).
อุษมะ, อุษมัน อุษมะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ อุษมัน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู [อุดสะมะ, อุดสะมัน] เป็นคำนาม หมายถึง ไอ, ไออุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุสุม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า อุสุมา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา .อุษมะ, อุษมัน [อุดสะมะ, อุดสะมัน] น. ไอ, ไออุ่น. (ส.; ป. อุสุม, อุสุมา).
อุษา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แสงเงินแสงทอง, เช้าตรู่, รุ่งเช้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .อุษา น. แสงเงินแสงทอง, เช้าตรู่, รุ่งเช้า. (ส.).
อุษาโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง เวลาใกล้รุ่ง.อุษาโยค น. เวลาใกล้รุ่ง.
อุสภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา ความหมายที่ [อุสบ] เป็นคำนาม หมายถึง วัวผู้ (เป็นเครื่องหมายแสดงความสามารถของบุรุษผู้นักรบ), เขียนเป็น อุสุภ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ฤษภ เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา วฺฤษฺภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา .อุสภ ๑ [อุสบ] น. วัวผู้ (เป็นเครื่องหมายแสดงความสามารถของบุรุษผู้นักรบ), เขียนเป็น อุสุภ ก็มี. (ป.; ส. ฤษภ, วฺฤษฺภ).
อุสภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา ความหมายที่ [อุสบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดความยาวของอินเดียโบราณเท่ากับ ๑ เส้น ๕ วา, ๘๐ อุสภ เป็น ๑ คาวุต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุสภ ๒ [อุสบ] น. ชื่อมาตราวัดความยาวของอินเดียโบราณเท่ากับ ๑ เส้น ๕ วา, ๘๐ อุสภ เป็น ๑ คาวุต. (ป.).
อุสวะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[อุดสะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง การฉลอง, การรื่นเริง, การเล่นสนุก, มหรสพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุสฺสว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-วอ-แหวน และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺสว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-วอ-แหวน.อุสวะ [อุดสะวะ] น. การฉลอง, การรื่นเริง, การเล่นสนุก, มหรสพ. (ป. อุสฺสว; ส. อุตฺสว).
อุสส่าห์, อุสสาหะ อุสส่าห์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด อุสสาหะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [อุด–] เป็นคำนาม หมายถึง อุตสาหะ. เป็นคำกริยา หมายถึง อุตส่าห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุตฺสาห เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ.อุสส่าห์, อุสสาหะ [อุด–] น. อุตสาหะ. ก. อุตส่าห์. (ป.; ส. อุตฺสาห).
อุสา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อสมัน. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาชวา รุสา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ว่า กวาง, เนื้อสมัน .อุสา น. เนื้อสมัน. (เทียบ ช. รุสา ว่า กวาง, เนื้อสมัน).
อุสุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ธนู, หน้าไม้, เครื่องยิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อิษุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ.อุสุ น. ธนู, หน้าไม้, เครื่องยิง. (ป.; ส. อิษุ).
อุสุการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช่างทําธนู.อุสุการ น. ช่างทําธนู.
อุสุภ, อุสุภ อุสุภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา อุสุภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา – [อุสุบ, อุสุพะ–, อุสุบพะ–] น. วัวผู้, อุสภ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อุสภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาสันสกฤต ฤษภ เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา วฺฤษฺภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา .อุสุภ, อุสุภ – [อุสุบ, อุสุพะ–, อุสุบพะ–] น. วัวผู้, อุสภ ก็ว่า. (ป. อุสภ; ส. ฤษภ, วฺฤษฺภ).
อุสุภราช เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[อุสุพะราด, อุสุบพะราด] เป็นคำนาม หมายถึง พญาวัว.อุสุภราช [อุสุพะราด, อุสุบพะราด] น. พญาวัว.
อุสุม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไอ, ไออุ่น; ความร้อน; ฤดูร้อน, แผลงใช้เป็น อรสุม ก็มี เช่น อรสุมพล = กําลังไอนํ้า; ในไวยากรณ์เรียกเสียงพยัญชนะที่มีลมเสียดแทรกออกมาระหว่างลิ้นกับฟัน ว่า มีเสียงอุสุม ได้แก่เสียง ศ ษ ส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อุษฺมนฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ.อุสุม น. ไอ, ไออุ่น; ความร้อน; ฤดูร้อน, แผลงใช้เป็น อรสุม ก็มี เช่น อรสุมพล = กําลังไอนํ้า; ในไวยากรณ์เรียกเสียงพยัญชนะที่มีลมเสียดแทรกออกมาระหว่างลิ้นกับฟัน ว่า มีเสียงอุสุม ได้แก่เสียง ศ ษ ส. (ป.; ส. อุษฺมนฺ).
อุหรับ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผงกระแจะจันทน์ปนทองสําหรับเจิมในการอภิเษกรดนํ้า เช่น อบอุหรับจับกลิ่นหอมหวน. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู .อุหรับ น. ผงกระแจะจันทน์ปนทองสําหรับเจิมในการอภิเษกรดนํ้า เช่น อบอุหรับจับกลิ่นหอมหวน. (อิเหนา). (ม.).
อุหลบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[อุหฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง ระดู, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระอุหลบ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต อุลฺพ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-พอ-พาน อุลฺว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-วอ-แหวน ว่า รกหุ้มทารก, ครรภ์ .อุหลบ [อุหฺลบ] น. ระดู, (ราชา) พระอุหลบ. (เทียบ ส. อุลฺพ, อุลฺว ว่า รกหุ้มทารก, ครรภ์).
อุเหม่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความโกรธเพื่อขู่หรือตวาด, เหม่ หรือ เหม่ ๆ ก็ว่า.อุเหม่ (กลอน) อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความโกรธเพื่อขู่หรือตวาด, เหม่ หรือ เหม่ ๆ ก็ว่า.
อุฬาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–ลาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี; แผลงเป็น โอฬาร หรือ เอาฬาร ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .อุฬาร [–ลาน] ว. ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี; แผลงเป็น โอฬาร หรือ เอาฬาร ก็ได้. (ป.).
อู เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่กว่าไก่แจ้ หงอนเล็ก ตัวผู้มีหลายสีแต่สีขนไม่สดใสเหมือนไก่แจ้ ตัวเมียมีสีดําเหลือบเขียวเท่านั้น, เรียกไก่อูชนิดที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน.อู น. ชื่อไก่ชนิดหนึ่ง ตัวใหญ่กว่าไก่แจ้ หงอนเล็ก ตัวผู้มีหลายสีแต่สีขนไม่สดใสเหมือนไก่แจ้ ตัวเมียมีสีดําเหลือบเขียวเท่านั้น, เรียกไก่อูชนิดที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน.
อู่ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เปลเด็ก, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระอู่; ที่เดิม ในคำว่า มดลูกเข้าอู่; แหล่งที่เกิด เช่น อู่ข้าว อู่นํ้า; ที่ที่ต่อหรือซ่อมรถหรือเรือ; ที่ที่ไขนํ้าเข้าออกได้ สําหรับเก็บเรือหรือซุง.อู่ น. เปลเด็ก, (ราชา) พระอู่; ที่เดิม ในคำว่า มดลูกเข้าอู่; แหล่งที่เกิด เช่น อู่ข้าว อู่นํ้า; ที่ที่ต่อหรือซ่อมรถหรือเรือ; ที่ที่ไขนํ้าเข้าออกได้ สําหรับเก็บเรือหรือซุง.
อู่น้ำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง เมื่อนําเรือเข้าในอู่แล้ว ปรับระดับนํ้าภายในอู่ให้เรือลอยอยู่ในระดับที่ต้องการเพื่อให้ซ่อมได้โดยสะดวก.อู่น้ำ น. อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง เมื่อนําเรือเข้าในอู่แล้ว ปรับระดับนํ้าภายในอู่ให้เรือลอยอยู่ในระดับที่ต้องการเพื่อให้ซ่อมได้โดยสะดวก.
อู่ลอย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายแพ เคลื่อนที่ได้ และสามารถปรับระดับให้จมหรือลอยอยู่ในระดับลึกที่ต้องการ เมื่อนําเรือเข้าอู่แล้ว ปรับระดับอู่ให้ลอยตัวยกเรือขึ้นพ้นนํ้าเพื่อซ่อมท้องเรือภายนอก.อู่ลอย น. อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายแพ เคลื่อนที่ได้ และสามารถปรับระดับให้จมหรือลอยอยู่ในระดับลึกที่ต้องการ เมื่อนําเรือเข้าอู่แล้ว ปรับระดับอู่ให้ลอยตัวยกเรือขึ้นพ้นนํ้าเพื่อซ่อมท้องเรือภายนอก.
อู่แห้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง เมื่อนําเรือเข้าอู่แล้ว สูบนํ้าภายในอู่ออกให้หมด ทําให้สามารถซ่อมท้องเรือภายนอกได้.อู่แห้ง น. อู่ซ่อมเรือชนิดหนึ่ง เมื่อนําเรือเข้าอู่แล้ว สูบนํ้าภายในอู่ออกให้หมด ทําให้สามารถซ่อมท้องเรือภายนอกได้.
อู้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงอย่างเสียงลมพัด; มาก ในคำว่า บ่นอู้. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อซอ ๒ สายชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกซอทำด้วยกะลามะพร้าวชนิดกลมรี ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัวขึงขึ้นหน้า คันสีหรือคันชักทำด้วยไม้จริงหรืองา สายทำด้วยขนหางม้า มีเสียงทุ้มในเวลาสี เรียกว่า ซออู้.อู้ ๑ ว. มีเสียงอย่างเสียงลมพัด; มาก ในคำว่า บ่นอู้. น. ชื่อซอ ๒ สายชนิดหนึ่ง ตัวกะโหลกซอทำด้วยกะลามะพร้าวชนิดกลมรี ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัวขึงขึ้นหน้า คันสีหรือคันชักทำด้วยไม้จริงหรืองา สายทำด้วยขนหางม้า มีเสียงทุ้มในเวลาสี เรียกว่า ซออู้.
อู้อี้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงไม่ชัดเจนอย่างเสียงคนจมูกบี้หรือคนบ่น.อู้อี้ ว. มีเสียงไม่ชัดเจนอย่างเสียงคนจมูกบี้หรือคนบ่น.
อู้ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่วง, แกล้งทําให้เสร็จช้าลง, เช่น อู้งาน, รอเวลาไว้เพื่อหวังเอาประโยชน์ ในความว่า อู้ไว้กินบ้อ (ในการเล่นบ้อหุ้น).อู้ ๒ ก. ถ่วง, แกล้งทําให้เสร็จช้าลง, เช่น อู้งาน, รอเวลาไว้เพื่อหวังเอาประโยชน์ ในความว่า อู้ไว้กินบ้อ (ในการเล่นบ้อหุ้น).
อูฐ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ถอ-ถาน[อูด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Camelidae หัว คอ และขาทั้ง ๔ ยาว มีนิ้วตีนข้างละ ๒ นิ้ว กระเพาะมี ๓ ส่วน ไม่มีถุงนํ้าดี มี ๒ ชนิด คือ ชนิด ๒ หนอก (Camelus bactrianus) มีในประเทศจีน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน, ชนิดหนอกเดียว (C. dromedarius) มีในทวีปแอฟริกาตอนเหนือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอฏฺ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาสันสกฤต อุษฺฏฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-รอ-เรือ.อูฐ [อูด] น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Camelidae หัว คอ และขาทั้ง ๔ ยาว มีนิ้วตีนข้างละ ๒ นิ้ว กระเพาะมี ๓ ส่วน ไม่มีถุงนํ้าดี มี ๒ ชนิด คือ ชนิด ๒ หนอก (Camelus bactrianus) มีในประเทศจีน ปากีสถาน และอัฟกานิสถาน, ชนิดหนอกเดียว (C. dromedarius) มีในทวีปแอฟริกาตอนเหนือ. (ป. โอฏฺ; ส. อุษฺฏฺร).
อูด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องที่ทําให้ว่าวมีเสียงดังเมื่อถูกลมพัด เช่น อูดที่หัวว่าวจุฬา.อูด ๑ น. เครื่องที่ทําให้ว่าวมีเสียงดังเมื่อถูกลมพัด เช่น อูดที่หัวว่าวจุฬา.
อูด เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง นูนขึ้น เช่น นํ้าอูด, นูนเบ่งขึ้นมาในลักษณะอย่างดินอูด.อูด ๒ ก. นูนขึ้น เช่น นํ้าอูด, นูนเบ่งขึ้นมาในลักษณะอย่างดินอูด.
อูม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โป่งพอง เช่น หน้าอูม, เบ่งนูนขึ้น เช่น บวมอูม.อูม ว. โป่งพอง เช่น หน้าอูม, เบ่งนูนขึ้น เช่น บวมอูม.
อูย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บหรือถูกหยิก, อุย หรือ อุ่ย ก็ใช้.อูย ว. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกเจ็บหรือถูกหยิก, อุย หรือ อุ่ย ก็ใช้.
อูรุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง โคนขา, ขาอ่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .อูรุ น. โคนขา, ขาอ่อน. (ป., ส.).
อู๋อี๋ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงชักคันซอ.อู๋อี๋ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงชักคันซอ.
เอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. (ตัดมาจาก เอก).เอ ๑ ว. หนึ่ง; เปลี่ยว, เดี่ยว, เช่น เอองค์. (ตัดมาจาก เอก).
เอ ๒, เอ๊ เอ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง เอ๊ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.เอ ๒, เอ๊ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ สงสัย เป็นต้น.
เอ้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําคัญ, หัวโจก, (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น เขาเป็นตัวเอ้ในการชวนเพื่อนหนีโรงเรียน.เอ้ ว. สําคัญ, หัวโจก, (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น เขาเป็นตัวเอ้ในการชวนเพื่อนหนีโรงเรียน.
เอก, เอก– เอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เอก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ [เอกะ–, เอกกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่ง (จํานวน); ชั้นที่ ๑ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้น หรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือวิทยฐานะ สูงกว่า โท) เช่น ร้อยเอก ข้าราชการชั้นเอก ปริญญาเอก; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้  ่ ว่า ไม้เอก; ดีเลิศ เช่น กวีเอก, สําคัญ เช่น ตัวเอก; เรียกระนาดที่มีเสียงแกร่งกร้าวกว่าระนาดทุ้ม มีไม้แข็ง ๒ อันสําหรับตี ว่า ระนาดเอก. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกหญิงคนที่ ๗ ว่า ลูกเอก, คู่กับลูกชายคนที่ ๗ ว่า ลูกเจ็ด. (กฎ.). (ป., ส.).เอก, เอก– [เอกะ–, เอกกะ–] ว. หนึ่ง (จํานวน); ชั้นที่ ๑ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้น หรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือวิทยฐานะ สูงกว่า โท) เช่น ร้อยเอก ข้าราชการชั้นเอก ปริญญาเอก; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้  ่ ว่า ไม้เอก; ดีเลิศ เช่น กวีเอก, สําคัญ เช่น ตัวเอก; เรียกระนาดที่มีเสียงแกร่งกร้าวกว่าระนาดทุ้ม มีไม้แข็ง ๒ อันสําหรับตี ว่า ระนาดเอก. (โบ) น. เรียกลูกหญิงคนที่ ๗ ว่า ลูกเอก, คู่กับลูกชายคนที่ ๗ ว่า ลูกเจ็ด. (กฎ.). (ป., ส.).
เอกจิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[เอกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความคิดจําเพาะถึงสิ่งอย่างเดียว, ความคิดอันหนึ่งอันเดียว, ความคิดต้องกัน, ความเห็นพ้องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เอกจิตฺต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.เอกจิต [เอกะ–] น. ความคิดจําเพาะถึงสิ่งอย่างเดียว, ความคิดอันหนึ่งอันเดียว, ความคิดต้องกัน, ความเห็นพ้องกัน. (ป., ส. เอกจิตฺต).
เอกฉันท์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด[เอกกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความเห็นเป็นอย่างเดียวกันหมด.เอกฉันท์ [เอกกะ–] ว. มีความเห็นเป็นอย่างเดียวกันหมด.
เอกชน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-นอ-หนู[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลคนหนึ่ง ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ส่วนบุคคล, ไม่ใช่ของรัฐ, เช่น โรงพยาบาลเอกชน.เอกชน [เอกกะ–] น. บุคคลคนหนึ่ง ๆ. ว. ส่วนบุคคล, ไม่ใช่ของรัฐ, เช่น โรงพยาบาลเอกชน.
เอกเทศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา[เอกกะเทด] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งต่างหาก, เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น เขาแยกตัวไปทำงานเป็นเอกเทศ.เอกเทศ [เอกกะเทด] น. ส่วนหนึ่งต่างหาก, เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น เขาแยกตัวไปทำงานเป็นเอกเทศ.
เอกโทษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี[เอกโทด] เป็นคำนาม หมายถึง คําที่เคยใช้ไม้โทโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้เอกเสียงเดียวกันในบทร้อยกรองประเภทโคลงที่บังคับใช้ไม้เอก เช่น เข้า เป็น เค่า, ถ้า เป็น ท่า.เอกโทษ [เอกโทด] น. คําที่เคยใช้ไม้โทโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้เอกเสียงเดียวกันในบทร้อยกรองประเภทโคลงที่บังคับใช้ไม้เอก เช่น เข้า เป็น เค่า, ถ้า เป็น ท่า.
เอกนัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[เอกะ–, เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง นัยอันหนึ่ง, นัยอันเดียวกัน.เอกนัย [เอกะ–, เอกกะ–] น. นัยอันหนึ่ง, นัยอันเดียวกัน.
เอกบุคคล, เอกบุรุษ เอกบุคคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เอกบุรุษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี [เอกกะบุกคน, เอกะบุกคน, เอกกะบุหฺรุด, เอกบุหฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง คนเยี่ยมยอด, คนประเสริฐ.เอกบุคคล, เอกบุรุษ [เอกกะบุกคน, เอกะบุกคน, เอกกะบุหฺรุด, เอกบุหฺรุด] น. คนเยี่ยมยอด, คนประเสริฐ.
เอกพจน์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[เอกกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คําที่กล่าวถึงสิ่งเดียว.เอกพจน์ [เอกกะ–] (ไว) น. คําที่กล่าวถึงสิ่งเดียว.
เอกภพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน[เอกกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ universe เขียนว่า ยู-เอ็น-ไอ-วี-อี-อา-เอส-อี; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสถิติ หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมดที่นํามาพิจารณาหรือหาตัวอย่าง.เอกภพ [เอกกะ–] (ดารา) น. ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด. (อ. universe); (สถิติ) จํานวนประชากรทั้งหมดที่นํามาพิจารณาหรือหาตัวอย่าง.
เอกภริยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[เอกกะพะริยา, เอกพะริยา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เมียหลวง.เอกภริยา [เอกกะพะริยา, เอกพะริยา] (โบ) น. เมียหลวง.
เอกภักดิ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[เอกกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จงรักต่อคนคนเดียว, ซื่อตรง.เอกภักดิ์ [เอกกะ–] ว. จงรักต่อคนคนเดียว, ซื่อตรง.
เอกภาคี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี[เอกะ–, เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่ายเดียว หมายถึง ประเทศที่ปลีกตัวปฏิบัติการทางการเมืองเป็นต้นโดยลําพัง ไม่มีประเทศอื่นร่วมหรือรับรู้ด้วย.เอกภาคี [เอกะ–, เอกกะ–] น. ฝ่ายเดียว หมายถึง ประเทศที่ปลีกตัวปฏิบัติการทางการเมืองเป็นต้นโดยลําพัง ไม่มีประเทศอื่นร่วมหรือรับรู้ด้วย.
เอกภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน; ความสอดคล้องกลมกลืนกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ unity เขียนว่า ยู-เอ็น-ไอ-ที-วาย.เอกภาพ [เอกกะ–] น. ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน; ความสอดคล้องกลมกลืนกัน. (อ. unity).
เอกม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-มอ-ม้า[เอก–มอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอกอย่างกลาง. (ตัดมาจาก เอกมัธยม).เอกม [เอก–มอ] ว. เอกอย่างกลาง. (ตัดมาจาก เอกมัธยม).
เอกมัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[เอกกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นแบบเหมือนกัน.เอกมัย [เอกกะ–] ว. เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นแบบเหมือนกัน.
เอกรรถประโยค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[เอกัดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ประโยคที่มีเนื้อความเดียว มีบทกริยาสําคัญเพียงบทเดียว.เอกรรถประโยค [เอกัดถะ–] น. ประโยคที่มีเนื้อความเดียว มีบทกริยาสําคัญเพียงบทเดียว.
เอกรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รสอันเอก ได้แก่ วิมุตติรส คือ รสที่เกิดจากการหลุดพ้นจากกิเลส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เอกรส [เอกกะ–] น. รสอันเอก ได้แก่ วิมุตติรส คือ รสที่เกิดจากการหลุดพ้นจากกิเลส. (ป.).
เอกระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[เอกกะหฺระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ถือตัวไม่กลัวใคร, ไม่ขึ้นแก่ใคร.เอกระ [เอกกะหฺระ] (ปาก) ก. ถือตัวไม่กลัวใคร, ไม่ขึ้นแก่ใคร.
เอกราช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[เอกกะราด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นอิสระแก่ตน, ไม่ขึ้นแก่ใคร.เอกราช [เอกกะราด] ว. เป็นอิสระแก่ตน, ไม่ขึ้นแก่ใคร.
เอกรูป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รูปแบบอย่างเดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ uniform เขียนว่า ยู-เอ็น-ไอ-เอฟ-โอ-อา-เอ็ม.เอกรูป [เอกกะ–] น. รูปแบบอย่างเดียวกัน. (อ. uniform).
เอกลักษณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ สําหรับทุกค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ identity เขียนว่า ไอ-ดี-อี-เอ็น-ที-ไอ-ที-วาย.เอกลักษณ์ [เอกกะ–] น. ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน; (คณิต) ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ สําหรับทุกค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ. (อ. identity).
เอกศก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑.เอกศก [เอกกะ–] น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๑ เช่น ปีมะแมเอกศก จุลศักราช ๑๓๔๑.
เอกส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง [เอก–สอ] ว. เอกอย่างสามัญ. (ตัดมาจาก เอกสามัญ).เอกส (โบ) [เอก–สอ] ว. เอกอย่างสามัญ. (ตัดมาจาก เอกสามัญ).
เอกสาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่เป็นหลักฐาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง กระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งได้ทําให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น จะเป็นโดยวิธีพิมพ์ ถ่ายภาพ หรือวิธีอื่น อันเป็นหลักฐานแห่งความหมายนั้น.เอกสาร [เอกกะ–] น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน; (กฎ) กระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งได้ทําให้ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น จะเป็นโดยวิธีพิมพ์ ถ่ายภาพ หรือวิธีอื่น อันเป็นหลักฐานแห่งความหมายนั้น.
เอกสารราชการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[เอกกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทําขึ้นหรือรับรองในหน้าที่ และหมายความรวมถึงสําเนาเอกสารนั้น ๆ ที่เจ้าพนักงานได้รับรองในหน้าที่ด้วย.เอกสารราชการ [เอกกะ–] (กฎ) น. เอกสารซึ่งเจ้าพนักงานได้ทําขึ้นหรือรับรองในหน้าที่ และหมายความรวมถึงสําเนาเอกสารนั้น ๆ ที่เจ้าพนักงานได้รับรองในหน้าที่ด้วย.
เอกสารสิทธิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[เอกกะสานสิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารที่เป็นหลักฐานแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ.เอกสารสิทธิ [เอกกะสานสิด] (กฎ) น. เอกสารที่เป็นหลักฐานแห่งการก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ.
เอกสิทธิ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[เอกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิทธิพิเศษที่ให้แก่บุคคลโดยเฉพาะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ privilege เขียนว่า พี-อา-ไอ-วี-ไอ-แอล-อี-จี-อี.เอกสิทธิ์ [เอกกะ–] น. สิทธิพิเศษที่ให้แก่บุคคลโดยเฉพาะ. (อ. privilege).
เอกอัครราชทูต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า[เอกอักคฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทูตอันดับหนึ่งซึ่งประมุขของรัฐแต่งตั้งไปประจํายังสํานักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อให้เป็นตัวแทนในการเจรจากิจการต่าง ๆ และดูแลผลประโยชน์คนในชาติของตนในรัฐนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ambassador เขียนว่า เอ-เอ็ม-บี-เอ-เอส-เอส-เอ-ดี-โอ-อา.เอกอัครราชทูต [เอกอักคฺระ–] น. ทูตอันดับหนึ่งซึ่งประมุขของรัฐแต่งตั้งไปประจํายังสํานักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อให้เป็นตัวแทนในการเจรจากิจการต่าง ๆ และดูแลผลประโยชน์คนในชาติของตนในรัฐนั้น ๆ. (อ. ambassador).
เอกอัครสมณทูต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า[เอกอักคฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สมณทูตอันดับหนึ่งที่สันตะปาปาทรงแต่งตั้งไปประจําสํานักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อเป็นตัวแทนทางการทูต รวมทั้งทําหน้าที่ดูแลและประสานงานกับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในส่วนที่เกี่ยวกับศาสนา มีฐานะระดับเดียวกับเอกอัครราชทูต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ nuncio เขียนว่า เอ็น-ยู-เอ็น-ซี-ไอ-โอ.เอกอัครสมณทูต [เอกอักคฺระ–] น. สมณทูตอันดับหนึ่งที่สันตะปาปาทรงแต่งตั้งไปประจําสํานักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อเป็นตัวแทนทางการทูต รวมทั้งทําหน้าที่ดูแลและประสานงานกับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในส่วนที่เกี่ยวกับศาสนา มีฐานะระดับเดียวกับเอกอัครราชทูต. (อ. nuncio).
เอกอุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ[เอก–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอกเป็นเลิศ. (ตัดมาจาก เอกอุดม); มากมาย, หนักหนา, เช่น ทำผิดอย่างเอกอุ.เอกอุ [เอก–] ว. เอกเป็นเลิศ. (ตัดมาจาก เอกอุดม); มากมาย, หนักหนา, เช่น ทำผิดอย่างเอกอุ.
เอกัคตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[เอกักคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง “ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว” หมายถึง ความมีจิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์อันเดียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เอกคฺคตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.เอกัคตา [เอกักคะ–] น. “ความมีอารมณ์เป็นอันเดียว” หมายถึง ความมีจิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์อันเดียว. (ป. เอกคฺคตา).
เอกาธิปไตย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก[–ทิปะไต, –ทิบปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง ระบอบการปกครองโดยคนคนเดียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ monocracy เขียนว่า เอ็ม-โอ-เอ็น-โอ-ซี-อา-เอ-ซี-วาย.เอกาธิปไตย [–ทิปะไต, –ทิบปะไต] น. ระบอบการปกครองโดยคนคนเดียว. (อ. monocracy).
เอกเขนก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-กอ-ไก่[–ขะเหฺนก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เอนตัวลงเอาศอกข้างหนึ่งเท้าหมอนหรือพื้น.เอกเขนก [–ขะเหฺนก] ว. อาการที่เอนตัวลงเอาศอกข้างหนึ่งเท้าหมอนหรือพื้น.
เอกซเรย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ระหว่างประมาณ ๕ x ๑๐-๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐-๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ รังสีเอกซ์ ก็เรียก; เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้เอกซเรย์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้เอกซเรย์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพ ว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ X-rays เขียนว่า เอ็กซ์-??45??-อา-เอ-วาย-เอส.เอกซเรย์ น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ระหว่างประมาณ ๕ x ๑๐-๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐-๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ รังสีเอกซ์ ก็เรียก; เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้เอกซเรย์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้เอกซเรย์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพ ว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง. (อ. X-rays).
เอกรรถประโยค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควายดู เอก, เอก– เอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เอก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ .เอกรรถประโยค ดู เอก, เอก–.
เอกัคตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อาดู เอก, เอก– เอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เอก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ .เอกัคตา ดู เอก, เอก–.
เอกังสพยากรณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[–สะพะยากอน] เป็นคำนาม หมายถึง “การพยากรณ์โดยส่วนเดียว” หมายถึง การพยากรณ์เด็ดขาดเพียงสถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้ เช่น พราหมณ์โกณฑัญญะพยากรณ์สิทธัตถราชกุมารว่าจะต้องออกบวชและตรัสรู้เป็นศาสดาเอกของโลกอย่างแน่นอน จัดเป็น เอกังสพยากรณ์, การตอบปัญหาที่ผู้ถามถามอย่างชัดเจน สามารถตอบได้อย่างแจ่มแจ้งทันที.เอกังสพยากรณ์ [–สะพะยากอน] น. “การพยากรณ์โดยส่วนเดียว” หมายถึง การพยากรณ์เด็ดขาดเพียงสถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้ เช่น พราหมณ์โกณฑัญญะพยากรณ์สิทธัตถราชกุมารว่าจะต้องออกบวชและตรัสรู้เป็นศาสดาเอกของโลกอย่างแน่นอน จัดเป็น เอกังสพยากรณ์, การตอบปัญหาที่ผู้ถามถามอย่างชัดเจน สามารถตอบได้อย่างแจ่มแจ้งทันที.
เอกังสวาที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี[–สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้กล่าวโดยส่วนเดียว” หมายถึง ผู้กล่าวยืนยันเด็ดขาดเพียงสถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้.เอกังสวาที [–สะ–] น. “ผู้กล่าวโดยส่วนเดียว” หมายถึง ผู้กล่าวยืนยันเด็ดขาดเพียงสถานเดียวโดยไม่มีข้อแม้.
เอกา, เอ้กา เอกา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เอ้กา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่ง, คนเดียว, โดดเดี่ยว; ถือกินข้าวหนเดียวในเวลาระหว่างเช้าถึงเที่ยงเป็นกิจวัตร เรียกว่า ถือเอ้กา.เอกา, เอ้กา ว. หนึ่ง, คนเดียว, โดดเดี่ยว; ถือกินข้าวหนเดียวในเวลาระหว่างเช้าถึงเที่ยงเป็นกิจวัตร เรียกว่า ถือเอ้กา.
เอกาธิปไตย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยักดู เอก, เอก– เอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เอก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ .เอกาธิปไตย ดู เอก, เอก–.
เอเคอร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดพื้นที่ ๑ เอเคอร์ เท่ากับ ๔,๘๔๐ ตารางหลา หรือ ประมาณ ๔,๐๐๐ ตารางเมตร หรือ ประมาณ ๒ ไร่ครึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acre เขียนว่า เอ-ซี-อา-อี.เอเคอร์ น. หน่วยวัดพื้นที่ ๑ เอเคอร์ เท่ากับ ๔,๘๔๐ ตารางหลา หรือ ประมาณ ๔,๐๐๐ ตารางเมตร หรือ ประมาณ ๒ ไร่ครึ่ง. (อ. acre).
เอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําเน้นแสดงว่าไม่ใช่ผู้อื่นหรือสิ่งอื่น เช่น ฉันเอง เป็นธรรมดาอยู่เอง; ตามลําพัง, เฉพาะตน, เช่น ไปกันเอง; แหละ, นี่แหละ, นั่นแหละ, เช่น แค่นั้นเอง.เอง ว. คําเน้นแสดงว่าไม่ใช่ผู้อื่นหรือสิ่งอื่น เช่น ฉันเอง เป็นธรรมดาอยู่เอง; ตามลําพัง, เฉพาะตน, เช่น ไปกันเอง; แหละ, นี่แหละ, นั่นแหละ, เช่น แค่นั้นเอง.
เอ็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย มักใช้พูดกับผู้น้อยหรือใช้พูดกับเพื่อนฝูงที่อยู่ในวัยเดียวกัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.เอ็ง ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย มักใช้พูดกับผู้น้อยหรือใช้พูดกับเพื่อนฝูงที่อยู่ในวัยเดียวกัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
เอ๋ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงหมาร้องเมื่อถูกตีเป็นต้น.เอ๋ง ว. เสียงอย่างเสียงหมาร้องเมื่อถูกตีเป็นต้น.
เอ็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่ง (ใช้เรียกจํานวนเลขที่มี ๑ อยู่ท้าย เช่น ๑๑ ว่า สิบเอ็ด ๑๐๑ ว่า ร้อยเอ็ด หรือหนึ่งร้อยเอ็ด).เอ็ด ๑ ว. หนึ่ง (ใช้เรียกจํานวนเลขที่มี ๑ อยู่ท้าย เช่น ๑๑ ว่า สิบเอ็ด ๑๐๑ ว่า ร้อยเอ็ด หรือหนึ่งร้อยเอ็ด).
เอ็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเสียงดัง, ดุ, ดุเสียงดัง; แพร่งพราย; มักใช้ในความปฏิเสธว่า อย่าเอ็ดไป. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอะอะ, อึกทึก.เอ็ด ๒ ก. ทําเสียงดัง, ดุ, ดุเสียงดัง; แพร่งพราย; มักใช้ในความปฏิเสธว่า อย่าเอ็ดไป. ว. เอะอะ, อึกทึก.
เอ็ดตะโร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเสียงอึกทึกครึกโครม, ดุด้วยเสียงดังลั่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึกทึกครึกโครม.เอ็ดตะโร ก. ทําเสียงอึกทึกครึกโครม, ดุด้วยเสียงดังลั่น. ว. อึกทึกครึกโครม.
เอ็ดอึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอะอะอื้ออึง.เอ็ดอึง ว. เอะอะอื้ออึง.
เอดส์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันเสื่อมเหตุไวรัส HIV, กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acquired เขียนว่า เอ-ซี-คิว-ยู-ไอ-อา-อี-ดี immune เขียนว่า ไอ-เอ็ม-เอ็ม-ยู-เอ็น-อี deficiency เขียนว่า ดี-อี-เอฟ-ไอ-ซี-ไอ-อี-เอ็น-ซี-วาย syndrome เขียนว่า เอส-วาย-เอ็น-ดี-อา-โอ-เอ็ม-อี acquired เขียนว่า เอ-ซี-คิว-ยู-ไอ-อา-อี-ดี immunodeficiency เขียนว่า ไอ-เอ็ม-เอ็ม-ยู-เอ็น-โอ-ดี-อี-เอฟ-ไอ-ซี-ไอ-อี-เอ็น-ซี-วาย syndrome เขียนว่า เอส-วาย-เอ็น-ดี-อา-โอ-เอ็ม-อี AIDS เขียนว่า เอ-ไอ-ดี-เอส .เอดส์ น. กลุ่มอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันเสื่อมเหตุไวรัส HIV, กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม ก็ว่า. (อ. acquired immune deficiency syndrome, acquired immunodeficiency syndrome, AIDS).
เอตทัคคะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ[เอตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เอตทัคคะ [เอตะ–] น. ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ. (ป.).
เอ้เต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นั่งหรือนอนปล่อยตัวตามสบายมีท่าสง่าผ่าเผย.เอ้เต ว. นั่งหรือนอนปล่อยตัวตามสบายมีท่าสง่าผ่าเผย.
เอทิลแอลกอฮอล์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C2H5OH ลักษณะเป็นของเหลว ใสไม่มีสี มีขีดเดือด ๗๘.๕°ซ. จุดไฟติด ดื่มเข้าไปทําให้เกิดอาการมึนเมา เป็นองค์ประกอบสําคัญของสุราเมรัยทุกประเภท ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําละลาย เป็นเชื้อเพลิงและใช้สังเคราะห์สารเคมีอื่นได้มากมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ethyl เขียนว่า อี-ที-เอช-วาย-แอล alcohol เขียนว่า เอ-แอล-ซี-โอ-เอช-โอ-แอล .เอทิลแอลกอฮอล์ น. แอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C2H5OH ลักษณะเป็นของเหลว ใสไม่มีสี มีขีดเดือด ๗๘.๕°ซ. จุดไฟติด ดื่มเข้าไปทําให้เกิดอาการมึนเมา เป็นองค์ประกอบสําคัญของสุราเมรัยทุกประเภท ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําละลาย เป็นเชื้อเพลิงและใช้สังเคราะห์สารเคมีอื่นได้มากมาย. (อ. ethyl alcohol).
เอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของสิ่งที่มีลักษณะยาวหรือเป็นแผ่นเป็นต้น ตั้งอยู่ แต่ไม่ตรง เช่น เสาเอน ต้นไม้เอน ฝาเอน.เอน ว. อาการของสิ่งที่มีลักษณะยาวหรือเป็นแผ่นเป็นต้น ตั้งอยู่ แต่ไม่ตรง เช่น เสาเอน ต้นไม้เอน ฝาเอน.
เอนกาย, เอนตัว, เอนหลัง เอนกาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เอนตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เอนหลัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง นอน.เอนกาย, เอนตัว, เอนหลัง ก. นอน.
เอนเอียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอียงเอน ก็ว่า.เอนเอียง ว. โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอียงเอน ก็ว่า.
เอ็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียวเห็นได้ชัด และไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย, ชาวบ้านเรียก เส้นเอ็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ligament เขียนว่า แอล-ไอ-จี-เอ-เอ็ม-อี-เอ็น-ที.เอ็น น. กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียวเห็นได้ชัด และไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย, ชาวบ้านเรียก เส้นเอ็น. (อ. ligament).
เอ็นกล้ามเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เอ็นชนิดที่ปลายใดปลายหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tendon เขียนว่า ที-อี-เอ็น-ดี-โอ-เอ็น sinew เขียนว่า เอส-ไอ-เอ็น-อี-ดับเบิลยู .เอ็นกล้ามเนื้อ น. เอ็นชนิดที่ปลายใดปลายหนึ่งยึดกับกล้ามเนื้อ. (อ. tendon, sinew).
เอนไซม์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทําหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่าง ๆ ทางชีววิทยา เช่น การย่อยอาหาร การหมัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ enzyme เขียนว่า อี-เอ็น-แซด-วาย-เอ็ม-อี.เอนไซม์ น. สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทําหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่าง ๆ ทางชีววิทยา เช่น การย่อยอาหาร การหมัก. (อ. enzyme).
เอ็นดู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง มีใจรักใคร่, ปรานี.เอ็นดู ก. มีใจรักใคร่, ปรานี.
เอ็นอ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Cryptolepis buchanani Burm. et Schult. ในวงศ์ Asclepiadaceae ดอกสีนวล เถาใช้ทํายาได้.เอ็นอ่อน น. ชื่อไม้เถาชนิด Cryptolepis buchanani Burm. et Schult. ในวงศ์ Asclepiadaceae ดอกสีนวล เถาใช้ทํายาได้.
เอม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวาน; ชื่นใจ.เอม ว. หวาน; ชื่นใจ.
เอมอร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ[–ออน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามอ่อนหวาน, โดยปริยายใช้เรียกหญิงสาวที่งามละมุนละไม.เอมอร [–ออน] ว. งามอ่อนหวาน, โดยปริยายใช้เรียกหญิงสาวที่งามละมุนละไม.
เอมโอช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง[–โอด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง รสหวาน, รสอร่อย.เอมโอช [–โอด] (กลอน) น. รสหวาน, รสอร่อย.
เอ็มบริโอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง[–บฺริ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตัวอ่อนของสัตว์หรือต้นอ่อนของพืชที่ยังไม่เจริญเติบโตจนถึงขั้นที่มีอวัยวะครบบริบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ embryo เขียนว่า อี-เอ็ม-บี-อา-วาย-โอ.เอ็มบริโอ [–บฺริ–] น. ตัวอ่อนของสัตว์หรือต้นอ่อนของพืชที่ยังไม่เจริญเติบโตจนถึงขั้นที่มีอวัยวะครบบริบูรณ์. (อ. embryo).
เอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ คำกล่าวประกอบหลังคำจำแนกรายละเอียด เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีค่าน้ำเอย ค่าไฟเอย.เอย ๑ คำกล่าวประกอบหลังคำจำแนกรายละเอียด เช่น ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีค่าน้ำเอย ค่าไฟเอย.
เอย ๒, เอ่ย เอย ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เอ่ย ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ยอ-ยัก คํากล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคํากลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง. ในวงเล็บ มาจาก บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่องมโนห์รา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ, เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร, ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย. ในวงเล็บ มาจาก บทดอกสร้อยสุภาษิต สำหรับโรงเลี้ยงเด็ก ของ พระอรรคชายาเธอ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.เอย ๒, เอ่ย ๑ คํากล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคํากลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง. (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล. (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย. (บทดอกสร้อย).