เส้นผ่านศูนย์กลาง, เส้นผ่าศูนย์กลาง เส้นผ่านศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เส้นผ่าศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง คอร์ดของวงกลมหรือของวงรี ซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลาง.เส้นผ่านศูนย์กลาง, เส้นผ่าศูนย์กลาง (คณิต) น. คอร์ดของวงกลมหรือของวงรี ซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลาง.
เส้นแผลง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-งอ-งู[–แผฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่เยื้องไปเยื้องมามีลักษณะเหมือนฟันปลา ใช้เขียนแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนัง.เส้นแผลง [–แผฺลง] น. เส้นที่เยื้องไปเยื้องมามีลักษณะเหมือนฟันปลา ใช้เขียนแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนัง.
เส้นยาแดงผ่าแปด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นยาแดงผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นยาแดงผ่าแปด, เส้นผมผ่าแปด ก็ว่า.เส้นยาแดงผ่าแปด (ปาก) ว. เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นยาแดงผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นยาแดงผ่าแปด, เส้นผมผ่าแปด ก็ว่า.
เส้นยึด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่เส้นตึงหรือแข็งยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก.เส้นยึด น. อาการที่เส้นตึงหรือแข็งยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก.
เส้นใย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วัสดุที่เป็นเส้น ใช้ประโยชน์นําไปทําสิ่งทอเช่นเสื้อผ้า พรม แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติ ประเภทนี้มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น เส้นใยที่ได้จากขนสัตว์ ฝ้าย นุ่น ป่าน ปอ ไหม แร่ซิลิเกต และเส้นใยสังเคราะห์ ประเภทนี้ไม่มีในธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่สร้างขึ้นโดยวิธีทางเคมี เช่น ไนลอน ไหมเทียม เส้นใยแก้ว.เส้นใย น. วัสดุที่เป็นเส้น ใช้ประโยชน์นําไปทําสิ่งทอเช่นเสื้อผ้า พรม แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติ ประเภทนี้มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น เส้นใยที่ได้จากขนสัตว์ ฝ้าย นุ่น ป่าน ปอ ไหม แร่ซิลิเกต และเส้นใยสังเคราะห์ ประเภทนี้ไม่มีในธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่สร้างขึ้นโดยวิธีทางเคมี เช่น ไนลอน ไหมเทียม เส้นใยแก้ว.
เส้นใยแก้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เส้นใยสังเคราะห์ทําจากแก้วให้เป็นเส้นเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า (รูปภาพ เศษ ๑ ส่วน ๔๐๐) เซนติเมตร นําไปทอให้เป็นแผ่นแล้วชุบฉาบด้วยเรซินซึ่งเป็นสารประเภทพลาสติก ผลที่ได้เป็นแผ่นวัสดุที่เหนียวแข็งแรง ใช้ประโยชน์ทําเป็นแผ่นฉนวนความร้อน กันเสียง เสื้อเกราะกันกระสุน สร้างเรือขนาดเล็ก สร้างส่วนตัวถังรถยนต์ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ glass เขียนว่า จี-แอล-เอ-เอส-เอส fibre เขียนว่า เอฟ-ไอ-บี-อา-อี .เส้นใยแก้ว น. เส้นใยสังเคราะห์ทําจากแก้วให้เป็นเส้นเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า (รูปภาพ เศษ ๑ ส่วน ๔๐๐) เซนติเมตร นําไปทอให้เป็นแผ่นแล้วชุบฉาบด้วยเรซินซึ่งเป็นสารประเภทพลาสติก ผลที่ได้เป็นแผ่นวัสดุที่เหนียวแข็งแรง ใช้ประโยชน์ทําเป็นแผ่นฉนวนความร้อน กันเสียง เสื้อเกราะกันกระสุน สร้างเรือขนาดเล็ก สร้างส่วนตัวถังรถยนต์ เป็นต้น. (อ. glass fibre).
เส้นรอบวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นโค้งที่เป็นแนวขอบทั้งหมดของรูปวงกลมหรือของวงรี.เส้นรอบวง (คณิต) น. เส้นโค้งที่เป็นแนวขอบทั้งหมดของรูปวงกลมหรือของวงรี.
เส้นรัศมี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวง.เส้นรัศมี (คณิต) น. เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวง.
เส้นรุ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ละติจูด.เส้นรุ้ง น. ละติจูด.
เส้นแร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะ.เส้นแร น. เส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะ.
เส้นลายมือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง รอยเส้นที่ฝ่ามือและนิ้ว, ลายมือ ก็ว่า, ราชาศัพท์ใช้ว่า เส้นลายพระหัตถ์.เส้นลายมือ น. รอยเส้นที่ฝ่ามือและนิ้ว, ลายมือ ก็ว่า, ราชาศัพท์ใช้ว่า เส้นลายพระหัตถ์.
เส้นลึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ยาก เช่น เขาเป็นคนเส้นลึก แม้จะได้ยินเรื่องขำขันอย่างไรก็ไม่หัวเราะ; อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่อยู่ในตำแหน่งลึกของร่างกาย เช่นอยู่ชิดหรือใกล้ซอกกระดูกหรือในท้อง ทำให้กดหรือจับยาก.เส้นลึก ว. ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ยาก เช่น เขาเป็นคนเส้นลึก แม้จะได้ยินเรื่องขำขันอย่างไรก็ไม่หัวเราะ; อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. น. เส้นที่อยู่ในตำแหน่งลึกของร่างกาย เช่นอยู่ชิดหรือใกล้ซอกกระดูกหรือในท้อง ทำให้กดหรือจับยาก.
เส้นเลือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง หลอดเลือด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ blood เขียนว่า บี-แอล-โอ-โอ-ดี vessel เขียนว่า วี-อี-เอส-เอส-อี-แอล , โดยปริยายหมายถึงเส้นทางนําความสมบูรณ์ไปหล่อเลี้ยงแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่นํ้าเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงภาคกลางของประเทศไทย.เส้นเลือด น. หลอดเลือด. (อ. blood vessel), โดยปริยายหมายถึงเส้นทางนําความสมบูรณ์ไปหล่อเลี้ยงแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่นํ้าเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงภาคกลางของประเทศไทย.
เส้นวันที่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในภูมิศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นสมมุติซึ่งนานาชาติได้ตกลงกันโดยกําหนดให้ใช้เป็นเขตการเปลี่ยนวันที่เมื่อเดินทางข้ามเส้นนี้ไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ date เขียนว่า ดี-เอ-ที-อี line เขียนว่า แอล-ไอ-เอ็น-อี .เส้นวันที่ (ภูมิ) น. เส้นสมมุติซึ่งนานาชาติได้ตกลงกันโดยกําหนดให้ใช้เป็นเขตการเปลี่ยนวันที่เมื่อเดินทางข้ามเส้นนี้ไป. (อ. date line).
เส้นแวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลองจิจูด.เส้นแวง น. ลองจิจูด.
เส้นศูนย์สูตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นวงกลมสมมุติที่ลากรอบโลก และแบ่งโลกออกเป็นส่วนซีกโลกเหนือกับส่วนซีกโลกใต้.เส้นศูนย์สูตร น. เส้นวงกลมสมมุติที่ลากรอบโลก และแบ่งโลกออกเป็นส่วนซีกโลกเหนือกับส่วนซีกโลกใต้.
เส้นสมมาตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงซึ่งแบ่งรูปใด ๆ ออกเป็น ๒ ส่วนที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากันทุกประการ.เส้นสมมาตร น. เส้นตรงซึ่งแบ่งรูปใด ๆ ออกเป็น ๒ ส่วนที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากันทุกประการ.
เส้นสัมผัส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ตัดเส้นโค้งเส้นหนึ่ง ณ ตำแหน่งที่จุดตัดทั้ง ๒ ใกล้ชิดกันมากจนถือได้ว่าเป็นจุดเดียวกัน.เส้นสัมผัส (คณิต) น. เส้นตรงที่ตัดเส้นโค้งเส้นหนึ่ง ณ ตำแหน่งที่จุดตัดทั้ง ๒ ใกล้ชิดกันมากจนถือได้ว่าเป็นจุดเดียวกัน.
เส้นสาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ระบบเส้นของร่างกาย โดยปริยายหมายความว่า พวกพ้องหรือผู้ช่วยเหลือที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ได้.เส้นสาย น. ระบบเส้นของร่างกาย โดยปริยายหมายความว่า พวกพ้องหรือผู้ช่วยเหลือที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ได้.
เส้นเสียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นเอ็นบาง ๆ ที่อยู่ในกล่องเสียง เป็นส่วนสำคัญในการเปล่งเสียง.เส้นเสียง น. แผ่นเอ็นบาง ๆ ที่อยู่ในกล่องเสียง เป็นส่วนสำคัญในการเปล่งเสียง.
เส้นหมี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง แป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้ง.เส้นหมี่ น. แป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้ง.
เส้นเอ็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เอ็น.เส้นเอ็น น. เอ็น.
เส้นฮ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง, ลายฮ่อ ก็เรียก.เส้นฮ่อ น. ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง, ลายฮ่อ ก็เรียก.
เสนง, เสน่ง เสนง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู เสน่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-งอ-งู [สะเหฺนง, สะเหฺน่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เขาสัตว์, เขนง, แสนง ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .เสนง, เสน่ง [สะเหฺนง, สะเหฺน่ง] น. เขาสัตว์, เขนง, แสนง ก็ใช้. (ข.).
เส้นด้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิชนิด Enterobius vermicularis ในวงศ์ Oxyuridae ลําตัวเรียวยาว สีขาวหม่น ตัวผู้ยาว ๒–๕ มิลลิเมตร ตัวเมียยาว ๘–๑๓ มิลลิเมตร หางแหลม เป็นปรสิตอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และลิงชิมแปนซี.เส้นด้าย น. ชื่อพยาธิชนิด Enterobius vermicularis ในวงศ์ Oxyuridae ลําตัวเรียวยาว สีขาวหม่น ตัวผู้ยาว ๒–๕ มิลลิเมตร ตัวเมียยาว ๘–๑๓ มิลลิเมตร หางแหลม เป็นปรสิตอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และลิงชิมแปนซี.
เสนห–, เสนหา, เสน่หา เสนห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ เสนหา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เสน่หา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา [สะเนหะ–, สะเน–, สะเหฺน่–] เป็นคำนาม หมายถึง ความรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เสนห–, เสนหา, เสน่หา [สะเนหะ–, สะเน–, สะเหฺน่–] น. ความรัก. (ส.).
เสน่ห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[สะเหฺน่] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่ชวนให้รัก เช่น เธอเป็นคนมีเสน่ห์; วิธีการทางไสยศาสตร์ที่ทำให้คนอื่นรัก เช่น เขาถูกเสน่ห์.เสน่ห์ [สะเหฺน่] น. ลักษณะที่ชวนให้รัก เช่น เธอเป็นคนมีเสน่ห์; วิธีการทางไสยศาสตร์ที่ทำให้คนอื่นรัก เช่น เขาถูกเสน่ห์.
เสน่ห์ปลายจวัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เสน่ห์ที่เกิดจากฝีมือปรุงอาหารให้โอชารส.เสน่ห์ปลายจวัก (สำ) น. เสน่ห์ที่เกิดจากฝีมือปรุงอาหารให้โอชารส.
เสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Alocasia lindenii Rod. ในวงศ์ Araceae, ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ก็เรียก.เสน่ห์จันทร์ขาว น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Alocasia lindenii Rod. ในวงศ์ Araceae, ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ก็เรียก.
เสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena rubescens Kunth ในวงศ์ Araceae เหง้ามีกลิ่นหอมใช้ทํายาได้, ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ก็เรียก.เสน่ห์จันทร์แดง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena rubescens Kunth ในวงศ์ Araceae เหง้ามีกลิ่นหอมใช้ทํายาได้, ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ก็เรียก.
เสนอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง[สะเหฺนอ] เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เป็นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรือให้สั่งการ เช่น เสนอรายงานการเดินทางให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เสนอโครงการให้พิจารณา เสนอบันทึกความเห็นเพื่อพิจารณาสั่งการ ลูก ๆ เสนอให้ไปพักผ่อนชายทะเล, แสดงให้เห็น เช่น เสนอตัวอย่างสินค้า เสนอละครเรื่องใหม่.เสนอ [สะเหฺนอ] ก. ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เป็นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรือให้สั่งการ เช่น เสนอรายงานการเดินทางให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เสนอโครงการให้พิจารณา เสนอบันทึกความเห็นเพื่อพิจารณาสั่งการ ลูก ๆ เสนอให้ไปพักผ่อนชายทะเล, แสดงให้เห็น เช่น เสนอตัวอย่างสินค้า เสนอละครเรื่องใหม่.
เสนอตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความจำนงมอบตัวให้พิจารณาเพื่อแต่งตั้งหรือรับไว้ทำงานเป็นต้น เช่น เขาเสนอตัวรับใช้ประชาชน เขาเสนอตัวเป็นนายกสมาคม.เสนอตัว ก. แสดงความจำนงมอบตัวให้พิจารณาเพื่อแต่งตั้งหรือรับไว้ทำงานเป็นต้น เช่น เขาเสนอตัวรับใช้ประชาชน เขาเสนอตัวเป็นนายกสมาคม.
เสนอหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงตัวให้ผู้มีอำนาจเหนือเห็นอยู่เสมอทั้ง ๆ ที่ตนเองมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ตอบแทน, พยายามแสดงตัวให้ปรากฏต่อสาธารณชนอยู่เสมอ เช่น เวลาเขาถ่ายรูปกันจะต้องเสนอหน้าเข้าไปร่วมถ่ายรูปด้วย.เสนอหน้า ก. แสดงตัวให้ผู้มีอำนาจเหนือเห็นอยู่เสมอทั้ง ๆ ที่ตนเองมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ตอบแทน, พยายามแสดงตัวให้ปรากฏต่อสาธารณชนอยู่เสมอ เช่น เวลาเขาถ่ายรูปกันจะต้องเสนอหน้าเข้าไปร่วมถ่ายรูปด้วย.
เสนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[เส–นะ] เป็นคำนาม หมายถึง เหยี่ยว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-นอ-หนู.เสนะ [เส–นะ] น. เหยี่ยว. (ป.; ส. เศฺยน).
เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [เส–นา] เป็นคำนาม หมายถึง ไพร่พล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสนา ๑ [เส–นา] น. ไพร่พล. (ป., ส.).
เสนาธิการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ตำแหน่งนายทหารผู้ทำหน้าที่หาและให้ข่าวสารประมาณการ ให้ข้อเสนอแนะ ทำแผนและคำสั่ง กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ และติดต่อประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยทหาร แต่ไม่มีหน้าที่สั่งการบังคับบัญชาหน่วยทหาร.เสนาธิการ น. ตำแหน่งนายทหารผู้ทำหน้าที่หาและให้ข่าวสารประมาณการ ให้ข้อเสนอแนะ ทำแผนและคำสั่ง กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ และติดต่อประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยทหาร แต่ไม่มีหน้าที่สั่งการบังคับบัญชาหน่วยทหาร.
เสนาธิปัต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ฉัตรผ้าขาวองค์ ๑ ใน ๓ องค์ ซึ่งเป็นชุดที่เรียกว่า พระกรรภิรมย์, เสมาธิปัต ก็ว่า.เสนาธิปัต น. ฉัตรผ้าขาวองค์ ๑ ใน ๓ องค์ ซึ่งเป็นชุดที่เรียกว่า พระกรรภิรมย์, เสมาธิปัต ก็ว่า.
เสนาบดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[–บอดี] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง แม่ทัพ; ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่; เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสนาบดี [–บอดี] (โบ) น. แม่ทัพ; ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่; เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน. (ป., ส.).
เสนาพยุห์, เสนาพยูห์ เสนาพยุห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เสนาพยูห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด [–พะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสนาพยุห์, เสนาพยูห์ [–พะ–] น. กระบวนทัพ. (ป., ส.).
เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [เส–นา] เป็นคำนาม หมายถึง วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร แสฺร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ = นา .เสนา ๒ [เส–นา] น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. (เทียบ ข. แสฺร = นา).
เสน่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[สะเหฺน่า] เป็นคำนาม หมายถึง มีดสั้นสำหรับเหน็บประจำตัว.เสน่า [สะเหฺน่า] น. มีดสั้นสำหรับเหน็บประจำตัว.
เสนากุฎ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา[เส–นากุด] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สําหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง.เสนากุฎ [เส–นากุด] น. เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สําหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง.
เสนางค์, เสนางคนิกร เสนางค์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เสนางคนิกร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ [เส–นาง, –คะนิกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เสนางค์, เสนางคนิกร [เส–นาง, –คะนิกอน] น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. (ป.).
เสนานี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นําทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสนานี น. ผู้นําทัพ. (ป., ส.).
เสนาสนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[เส–นาสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู + อาสน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู .เสนาสนะ [เส–นาสะ–] น. ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). (ป. เสน + อาสน).
เสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะเหฺนาะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรโณะ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง .เสนาะ ๑ [สะเหฺนาะ] ว. น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู; (กลอน) วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว. (นิ. นรินทร์). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง).
เสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะเหฺนาะ] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.เสนาะ ๒ [สะเหฺนาะ] น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย. (ขุนช้างขุนแผน).
เสนี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เสนา.เสนี (กลอน) น. เสนา.
เสนีย์, เสนียะ เสนีย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เสนียะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง จอมทัพ, ผู้นําทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เสนีย์, เสนียะ น. จอมทัพ, ผู้นําทัพ. (ป.).
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะเหฺนียด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Justicia adhatoda L. ในวงศ์ Acanthaceae ใบยาวรีออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวออกเป็นช่อตามยอด มีกาบหุ้ม ใบใช้ทํายาได้, กระเหนียด ก็เรียก.เสนียด ๑ [สะเหฺนียด] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Justicia adhatoda L. ในวงศ์ Acanthaceae ใบยาวรีออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวออกเป็นช่อตามยอด มีกาบหุ้ม ใบใช้ทํายาได้, กระเหนียด ก็เรียก.
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะเหฺนียด] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหวีที่มีซี่ละเอียดทั้ง ๒ ข้างว่า หวีเสนียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนิต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.เสนียด ๒ [สะเหฺนียด] น. เรียกหวีที่มีซี่ละเอียดทั้ง ๒ ข้างว่า หวีเสนียด. (ข. สฺนิต).
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะเหฺนียด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จัญไร, อัปมงคล, เช่น อย่าทำตัวเป็นเสนียดแผ่นดิน.เสนียด ๓ [สะเหฺนียด] ว. จัญไร, อัปมงคล, เช่น อย่าทำตัวเป็นเสนียดแผ่นดิน.
เสบย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก[สะเบย] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สบาย เช่น วันนี้ดูหน้าตาไม่เสบย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เสฺบิย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.เสบย [สะเบย] (ปาก) ก. สบาย เช่น วันนี้ดูหน้าตาไม่เสบย. (ข. เสฺบิย).
เสบียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู[สะเบียง] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่จะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล, อาหารที่เก็บไว้สำหรับบริโภค, มักใช้เข้าคู่กับคำ อาหาร เป็น เสบียงอาหาร, เขียนว่า สะเบียง ก็มี.เสบียง [สะเบียง] น. อาหารที่จะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล, อาหารที่เก็บไว้สำหรับบริโภค, มักใช้เข้าคู่กับคำ อาหาร เป็น เสบียงอาหาร, เขียนว่า สะเบียง ก็มี.
เสบียงกรัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ๆ, อาหารรองรัง, เช่น ในยามสงครามต้องเตรียมเสบียงกรังไว้มาก ๆ.เสบียงกรัง น. อาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ๆ, อาหารรองรัง, เช่น ในยามสงครามต้องเตรียมเสบียงกรังไว้มาก ๆ.
เสพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง คบ เช่น ซ่องเสพ; กิน, บริโภค, เช่น เสพสุรา; ร่วมประเวณี เช่น เสพเมถุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสพ ก. คบ เช่น ซ่องเสพ; กิน, บริโภค, เช่น เสพสุรา; ร่วมประเวณี เช่น เสพเมถุน. (ป., ส.).
เสเพล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง[–เพฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบประพฤติเหลวไหล, ไม่เอางานเอาการ, เช่น คนเสเพล, มีความประพฤติเหลวแหลก ในคำว่า หญิงเสเพล.เสเพล [–เพฺล] ว. ชอบประพฤติเหลวไหล, ไม่เอางานเอาการ, เช่น คนเสเพล, มีความประพฤติเหลวแหลก ในคำว่า หญิงเสเพล.
เสภา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลอนชนิดหนึ่ง นิยมแต่งเล่าเรื่องค่อนข้างยาว ใช้ขับ เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน, เวลาขับมีกรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ต่อมาใช้ปี่พาทย์รับ.เสภา น. ชื่อกลอนชนิดหนึ่ง นิยมแต่งเล่าเรื่องค่อนข้างยาว ใช้ขับ เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน, เวลาขับมีกรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ต่อมาใช้ปี่พาทย์รับ.
เสภาทรงเครื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสภาที่ใช้ปี่พาทย์บรรเลงรับเวลาร้องส่ง บางทีมีเพลงหน้าพาทย์ประกอบ, เสภาส่งเครื่อง ก็ว่า.เสภาทรงเครื่อง น. เสภาที่ใช้ปี่พาทย์บรรเลงรับเวลาร้องส่ง บางทีมีเพลงหน้าพาทย์ประกอบ, เสภาส่งเครื่อง ก็ว่า.
เสภารำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เสภาทรงเครื่องที่มีตัวละครออกมารำประกอบการขับ.เสภารำ น. เสภาทรงเครื่องที่มีตัวละครออกมารำประกอบการขับ.
เสม็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก[สะเหฺม็ด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Melaleuca cajuputi (Powell) L. ในวงศ์ Myrtaceae ใช้เปลือกและเนื้อไม้ผุคลุกกับนํ้ามันยางทําไต้ เรียกว่า ไต้เสม็ด ใบให้น้ำมันเขียว ใช้ทํายาได้.เสม็ด [สะเหฺม็ด] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Melaleuca cajuputi (Powell) L. ในวงศ์ Myrtaceae ใช้เปลือกและเนื้อไม้ผุคลุกกับนํ้ามันยางทําไต้ เรียกว่า ไต้เสม็ด ใบให้น้ำมันเขียว ใช้ทํายาได้.
เสมหะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ[เสม–] เป็นคำนาม หมายถึง เสลด, เมือกที่ออกจากลำคอ ทรวงอก และลำไส้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺลษฺม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า.เสมหะ [เสม–] น. เสลด, เมือกที่ออกจากลำคอ ทรวงอก และลำไส้. (ป.; ส. เศฺลษฺม).
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะเหฺมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ; เพียง, แค่, เช่น ราคาของ ๔๐,๐๐๐ บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก ๓๐,๐๐๐ บาท ก็พอจะสู้ได้.เสมอ ๑ [สะเหฺมอ] ว. เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ; เพียง, แค่, เช่น ราคาของ ๔๐,๐๐๐ บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก ๓๐,๐๐๐ บาท ก็พอจะสู้ได้.
เสมอใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนใจ, ได้ดังใจ.เสมอใจ ว. เหมือนใจ, ได้ดังใจ.
เสมอต้นเสมอปลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมํ่าเสมอ, คงเส้นคงวา, ไม่เปลี่ยนแปลง, มักใช้ในทางดี เช่น แม้เขาจะมีอำนาจวาสนา เขาก็ยังไปเยี่ยมเยียนครูบาอาจารย์เสมอต้นเสมอปลาย.เสมอต้นเสมอปลาย ว. สมํ่าเสมอ, คงเส้นคงวา, ไม่เปลี่ยนแปลง, มักใช้ในทางดี เช่น แม้เขาจะมีอำนาจวาสนา เขาก็ยังไปเยี่ยมเยียนครูบาอาจารย์เสมอต้นเสมอปลาย.
เสมอตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร.เสมอตัว ว. ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร.
เสมอบ่าเสมอไหล่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า.เสมอบ่าเสมอไหล่ ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า.
เสมอภาค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน.เสมอภาค ว. มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน.
เสมอสอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่า, เทียบคู่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พระสังข์ครั้งนี้จะถอดเงาะ งามเหมาะไม่มีเสมอสอง. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.เสมอสอง (วรรณ) ว. เทียบเท่า, เทียบคู่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พระสังข์ครั้งนี้จะถอดเงาะ งามเหมาะไม่มีเสมอสอง. (สังข์ทอง).
เสมอหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน, ทัดเทียม, ไม่โอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, เช่น รักลูกเสมอหน้ากัน.เสมอหน้า ว. ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน, ทัดเทียม, ไม่โอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, เช่น รักลูกเสมอหน้ากัน.
เสมอเหมือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่า, เทียบเหมือน, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ผู้หญิงคนนี้งามไม่มีใครเสมอเหมือน เด็กคนนั้นซนไม่มีใครเสมอเหมือน.เสมอเหมือน ว. เทียบเท่า, เทียบเหมือน, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ผู้หญิงคนนี้งามไม่มีใครเสมอเหมือน เด็กคนนั้นซนไม่มีใครเสมอเหมือน.
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะเหฺมอ] เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าข้าง, คาดว่าจะชนะ, เช่น มวยคู่นี้คุณจะเสมอฝ่ายไหน.เสมอ ๒ [สะเหฺมอ] ก. เข้าข้าง, คาดว่าจะชนะ, เช่น มวยคู่นี้คุณจะเสมอฝ่ายไหน.
เสมอนอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้าข้างอยู่ภายนอก เช่น ในการแข่งขันชกมวย ผู้ดูเป็นฝ่ายเสมอนอก.เสมอนอก ว. เข้าข้างอยู่ภายนอก เช่น ในการแข่งขันชกมวย ผู้ดูเป็นฝ่ายเสมอนอก.
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะเหฺมอ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงหน้าพาทย์เกี่ยวกับอาการเยื้องกราย และการเดินของตัวละครในนาฏกรรมไทย เรียกว่า เพลงเสมอ เช่น เสมอบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เสมอนาง เสมอมาร.เสมอ ๓ [สะเหฺมอ] น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์เกี่ยวกับอาการเยื้องกราย และการเดินของตัวละครในนาฏกรรมไทย เรียกว่า เพลงเสมอ เช่น เสมอบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เสมอนาง เสมอมาร.
เสมอ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก [สะเหฺมอสะเหฺมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียบราบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, เช่น ปรับพื้นให้เสมอ ๆ กัน; ตลอดไป, บ่อยและเป็นประจำ, เช่น เขามาหาเสมอ ๆ.เสมอ ๆ [สะเหฺมอสะเหฺมอ] ว. เรียบราบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, เช่น ปรับพื้นให้เสมอ ๆ กัน; ตลอดไป, บ่อยและเป็นประจำ, เช่น เขามาหาเสมอ ๆ.
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [เส–มา] เป็นคำนาม หมายถึง สีมา, เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์; เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายใบสีมาที่เรียงกันอยู่บนกําแพงอย่างกําแพงเมืองว่า ใบเสมา; เครื่องประดับหรือเครื่องรางสําหรับห้อยคอ มีรูปร่างอย่างใบเสมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สีมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา.เสมา ๑ [เส–มา] น. สีมา, เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์; เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายใบสีมาที่เรียงกันอยู่บนกําแพงอย่างกําแพงเมืองว่า ใบเสมา; เครื่องประดับหรือเครื่องรางสําหรับห้อยคอ มีรูปร่างอย่างใบเสมา. (ป., ส. สีมา).
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [เส–มา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Opuntia วงศ์ Cactaceae ลําต้นแบนอวบนํ้า มีหนามแข็งเป็นกระจุกทั่วไป คือ ชนิด O. elatior Miller และชนิด O. vulgaris Miller.เสมา ๒ [เส–มา] น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Opuntia วงศ์ Cactaceae ลําต้นแบนอวบนํ้า มีหนามแข็งเป็นกระจุกทั่วไป คือ ชนิด O. elatior Miller และชนิด O. vulgaris Miller.
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [สะเหฺมา] เป็นคำนาม หมายถึง หญ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เสฺมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา.เสมา ๓ [สะเหฺมา] น. หญ้า. (ข. เสฺมา).
เสมียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู[สะเหฺมียน] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับล่างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเขียนหนังสือเป็นต้น.เสมียน [สะเหฺมียน] น. เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ, (โบ) ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับล่างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเขียนหนังสือเป็นต้น.
เสมียนตรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–ตฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตำแหน่งเจ้ากรมหนึ่งในกระทรวงกลาโหมว่า เจ้ากรมเสมียนตรา.เสมียนตรา [–ตฺรา] (โบ) น. เรียกตำแหน่งเจ้ากรมหนึ่งในกระทรวงกลาโหมว่า เจ้ากรมเสมียนตรา.
เสมือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู[สะเหฺมือน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนกับ, เหมือนกัน, คล้ายคลึงกัน, เช่น รักกันเสมือนญาติ.เสมือน [สะเหฺมือน] ว. เหมือนกับ, เหมือนกัน, คล้ายคลึงกัน, เช่น รักกันเสมือนญาติ.
เสย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ช้อนขึ้น เช่น ช้างเสยงา, เอาหวีหรือนิ้วมือไสผมขึ้นไป ในคำว่า เสยผม, เกย เช่น เสยหัวเรือเข้าตลิ่ง, โดยปริยายหมายถึงอาการอย่างอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น เอาหมัดเสยคาง.เสย ก. ช้อนขึ้น เช่น ช้างเสยงา, เอาหวีหรือนิ้วมือไสผมขึ้นไป ในคำว่า เสยผม, เกย เช่น เสยหัวเรือเข้าตลิ่ง, โดยปริยายหมายถึงอาการอย่างอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น เอาหมัดเสยคาง.
เสร็จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน[เส็ด] เป็นคำกริยา หมายถึง จบ, สิ้น, เช่น พอเสร็จงานเขาก็กลับบ้าน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สมใจหมาย เช่น ถ้าเขาเชื่อเรา เขาก็เสร็จเราแน่; เสียที, เสียรู้, เช่น ถ้าเราไว้ใจคนขี้โกง เราก็เสร็จเขาแน่; เสียหาย, พัง, เช่น เกิดพายุใหญ่ นาเสร็จไปหลายร้อยไร่; ตาย เช่น ใครที่ป่วยเป็นมะเร็งถึงขั้นนี้แล้ว อีกไม่นานก็เสร็จแน่; เกิดผลร้าย เช่น ขืนเสนอเรื่องนี้ขึ้นไป มีหวังเสร็จแน่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แล้ว เช่น พอพูดเสร็จก็เดินออกไป.เสร็จ [เส็ด] ก. จบ, สิ้น, เช่น พอเสร็จงานเขาก็กลับบ้าน; (ปาก) สมใจหมาย เช่น ถ้าเขาเชื่อเรา เขาก็เสร็จเราแน่; เสียที, เสียรู้, เช่น ถ้าเราไว้ใจคนขี้โกง เราก็เสร็จเขาแน่; เสียหาย, พัง, เช่น เกิดพายุใหญ่ นาเสร็จไปหลายร้อยไร่; ตาย เช่น ใครที่ป่วยเป็นมะเร็งถึงขั้นนี้แล้ว อีกไม่นานก็เสร็จแน่; เกิดผลร้าย เช่น ขืนเสนอเรื่องนี้ขึ้นไป มีหวังเสร็จแน่. ว. แล้ว เช่น พอพูดเสร็จก็เดินออกไป.
เสร็จกัน, เสร็จเลย เสร็จกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เสร็จเลย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา.เสร็จกัน, เสร็จเลย (ปาก) คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา.
เสร็จสรรพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสร็จหมดทุกอย่าง เช่น เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสรรพ เขาก็ไปพักผ่อน.เสร็จสรรพ ว. เสร็จหมดทุกอย่าง เช่น เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสรรพ เขาก็ไปพักผ่อน.
เสร็จสิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สำเร็จแล้ว, หมดแล้ว, เช่น ภารกิจที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้นแล้ว.เสร็จสิ้น ก. สำเร็จแล้ว, หมดแล้ว, เช่น ภารกิจที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้นแล้ว.
เสริด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[เสิด] เป็นคำกริยา หมายถึง ห่าง, หนี, หลีกหนี, หนีรอด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้น, เร็ว.เสริด [เสิด] ก. ห่าง, หนี, หลีกหนี, หนีรอด. ว. พ้น, เร็ว.
เสริม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า[เสิม] เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่ม, เติม, ต่อเติม, หนุน, เช่น เสริมคันกั้นน้ำ เสริมกราบเรือให้สูงขึ้น เสริมจมูก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เพิ่มเติม เช่น อาหารเสริม เก้าอี้เสริม พูดเสริม.เสริม [เสิม] ก. เพิ่ม, เติม, ต่อเติม, หนุน, เช่น เสริมคันกั้นน้ำ เสริมกราบเรือให้สูงขึ้น เสริมจมูก. ว. ที่เพิ่มเติม เช่น อาหารเสริม เก้าอี้เสริม พูดเสริม.
เสริมส่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เกื้อหนุนให้เจริญขึ้น เช่น ครอบครัวที่ดีย่อมเสริมส่งให้หัวหน้าครอบครัวประสบความสำเร็จ.เสริมส่ง ก. เกื้อหนุนให้เจริญขึ้น เช่น ครอบครัวที่ดีย่อมเสริมส่งให้หัวหน้าครอบครัวประสบความสำเร็จ.
เสริมสร้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มพูนให้ดีหรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันดี.เสริมสร้าง ก. เพิ่มพูนให้ดีหรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันดี.
เสริมสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตกแต่งให้ดูสวยงามขึ้น (มักใช้แก่สตรี). เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสถานที่รับแต่งผม แต่งหน้า แต่งเล็บ เป็นต้น ว่า ห้องเสริมสวย หรือ ร้านเสริมสวย.เสริมสวย ก. ตกแต่งให้ดูสวยงามขึ้น (มักใช้แก่สตรี). น. เรียกสถานที่รับแต่งผม แต่งหน้า แต่งเล็บ เป็นต้น ว่า ห้องเสริมสวย หรือ ร้านเสริมสวย.
เสรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไสฺวรินฺ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.เสรี ว. ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. (ป.; ส. ไสฺวรินฺ).
เสรีไทย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ขบวนการของชาวไทยที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มีความมุ่งหมายที่จะช่วยให้ประเทศชาติรอดพ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔–๒๔๘๘).เสรีไทย น. ขบวนการของชาวไทยที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มีความมุ่งหมายที่จะช่วยให้ประเทศชาติรอดพ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔–๒๔๘๘).
เสรีธรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หลักเสรีภาพ.เสรีธรรม น. หลักเสรีภาพ.
เสรีนิยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิเศรษฐกิจสังคมที่ต้องการให้รัฐเข้าไปยุ่งเกี่ยวควบคุมการดำเนินการทางเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตของเอกชนน้อยที่สุด; ทัศนคติทางสังคมที่ต้องการให้บุคคลมีสวัสดิการในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้นและกระจายไปยังคนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบเสรีภาพ, ที่เป็นไปในทางส่งเสริมเสรีภาพ.เสรีนิยม น. ลัทธิเศรษฐกิจสังคมที่ต้องการให้รัฐเข้าไปยุ่งเกี่ยวควบคุมการดำเนินการทางเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตของเอกชนน้อยที่สุด; ทัศนคติทางสังคมที่ต้องการให้บุคคลมีสวัสดิการในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้นและกระจายไปยังคนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง. ว. ชอบเสรีภาพ, ที่เป็นไปในทางส่งเสริมเสรีภาพ.
เสรีภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น.เสรีภาพ น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น.
เสล–, เสลา เสล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง เสลา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา [–ละ–, –ลา] เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา, หิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มไปด้วยหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไศล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง.เสล–, เสลา ๑ [–ละ–, –ลา] น. ภูเขา, หิน. ว. เต็มไปด้วยหิน. (ป.; ส. ไศล).
เสลบรรพต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขาหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เสลปพฺพต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต ไศลปรฺวต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า.เสลบรรพต น. ภูเขาหิน. (ป. เสลปพฺพต; ส. ไศลปรฺวต).
เสลด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก[สะเหฺลด] เป็นคำนาม หมายถึง เสมหะ, เมือกที่ออกจากลําคอ ทรวงอก และลำไส้. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต เศฺลษฺม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า.เสลด [สะเหฺลด] น. เสมหะ, เมือกที่ออกจากลําคอ ทรวงอก และลำไส้. (เทียบ ส. เศฺลษฺม).
เสลดหางวัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เมือกข้นเหนียวที่ตีขึ้นมาจุกที่คอและปิดหลอดลม ทําให้หายใจไม่ออก, เสลดหางงัว ก็เรียก.เสลดหางวัว น. เมือกข้นเหนียวที่ตีขึ้นมาจุกที่คอและปิดหลอดลม ทําให้หายใจไม่ออก, เสลดหางงัว ก็เรียก.
เสลดพังพอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-พอ-พาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria lupulina Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae มีหนามแหลมสีแดงตามข้อ เส้นกลางใบสีแดง ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง.เสลดพังพอน น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria lupulina Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae มีหนามแหลมสีแดงตามข้อ เส้นกลางใบสีแดง ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง.
เสลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [สะเหฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Lagerstroemia tomentosa Presl ในวงศ์ Lythraceae ใบมีขน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง.เสลา ๒ [สะเหฺลา] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Lagerstroemia tomentosa Presl ในวงศ์ Lythraceae ใบมีขน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง.
เสลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [สะเหฺลา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย, งาม, เกลี้ยงเกลา, เปลา, โปร่ง, เฉลา ก็ว่า.เสลา ๓ [สะเหฺลา] ว. สวย, งาม, เกลี้ยงเกลา, เปลา, โปร่ง, เฉลา ก็ว่า.
เสลี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู[สะเหฺลี่ยง] เป็นคำนาม หมายถึง ที่นั่งมีคานหามคู่หนึ่งสอดรับ เป็นเครื่องแสดงอิสริยยศ, ถ้าหามไป เรียกว่า เสลี่ยงหาม, ถ้าหิ้วไป เรียกว่า เสลี่ยงหิ้ว.เสลี่ยง [สะเหฺลี่ยง] น. ที่นั่งมีคานหามคู่หนึ่งสอดรับ เป็นเครื่องแสดงอิสริยยศ, ถ้าหามไป เรียกว่า เสลี่ยงหาม, ถ้าหิ้วไป เรียกว่า เสลี่ยงหิ้ว.
เสลี่ยงกง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ.เสลี่ยงกง น. เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ.
เสลี่ยงกลีบบัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เสลี่ยงชนิดที่เชิงแคร่ที่นั่งแกะไม้เป็นลายกลีบบัวโดยรอบ.เสลี่ยงกลีบบัว น. เสลี่ยงชนิดที่เชิงแคร่ที่นั่งแกะไม้เป็นลายกลีบบัวโดยรอบ.
เสลือกสลน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-นอ-หนู[สะเหฺลือกสะหฺลน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เถลือกถลน.เสลือกสลน [สะเหฺลือกสะหฺลน] ว. เถลือกถลน.
เสโล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกันอาวุธ, โล่.เสโล น. เครื่องกันอาวุธ, โล่.
เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่[–วก] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการในราชสํานัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ = คนใช้ .เสวก [–วก] น. ข้าราชการในราชสํานัก. (ป.; ส. เสวก = คนใช้).
เสวกามาตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[–วะกามาด] เป็นคำนาม หมายถึง เสวกและอํามาตย์.เสวกามาตย์ [–วะกามาด] น. เสวกและอํามาตย์.
เสวกามาตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาดดู เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่.เสวกามาตย์ ดู เสวก.
เสวนะ, เสวนา เสวนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เสวนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา [เสวะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. เป็นคำนาม หมายถึง การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เสวนะ, เสวนา [เสวะ–] ก. คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, (ปาก) พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. น. การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. (ป.).
เสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ [สะเหฺวย] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง กิน, เสพ, เช่น เสวยพระกระยาหาร เสวยพระสุธารส; ครอง เช่น เสวยราชย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โสฺวย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก.เสวย ๑ [สะเหฺวย] (ราชา) ก. กิน, เสพ, เช่น เสวยพระกระยาหาร เสวยพระสุธารส; ครอง เช่น เสวยราชย์. (ข. โสฺวย).
เสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ [สะเหฺวย] เป็นคำกริยา หมายถึง ได้รับ, ได้ประสบ, เช่น เสวยทุกขเวทนา, ได้รับประโยชน์ เช่น เสวยสิทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โสฺวย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก.เสวย ๒ [สะเหฺวย] ก. ได้รับ, ได้ประสบ, เช่น เสวยทุกขเวทนา, ได้รับประโยชน์ เช่น เสวยสิทธิ์. (ข. โสฺวย).
เสวยกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.เสวยกรรม (วรรณ) ก. ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. (ลอ).
เสวยพระชาติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด (ใช้แก่พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเกิดเป็นพระโพธิสัตว์).เสวยพระชาติ ก. เกิด (ใช้แก่พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเกิดเป็นพระโพธิสัตว์).
เสวียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู[สะเหฺวียน] เป็นคำนาม หมายถึง ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยหญ้า หวาย หรือฟาง เป็นต้น ถักหรือมัดเป็นวงกลม มักมีหู ๒ ข้างสำหรับหิ้ว ใช้รองก้นหม้อที่หุงต้มด้วยเตาฟืนหรือเตาถ่าน, ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่สานเป็นแผ่นกลม สำหรับรองหรือรับสิ่งต่าง ๆ มีพ้อมข้าวเป็นต้น.เสวียน [สะเหฺวียน] น. ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยหญ้า หวาย หรือฟาง เป็นต้น ถักหรือมัดเป็นวงกลม มักมีหู ๒ ข้างสำหรับหิ้ว ใช้รองก้นหม้อที่หุงต้มด้วยเตาฟืนหรือเตาถ่าน, ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่สานเป็นแผ่นกลม สำหรับรองหรือรับสิ่งต่าง ๆ มีพ้อมข้าวเป็นต้น.
เสสรวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู[–สวง] เป็นคำกริยา หมายถึง บน, บูชา, เซ่น, สรวงเส ก็ใช้.เสสรวง [–สวง] ก. บน, บูชา, เซ่น, สรวงเส ก็ใช้.
เสสรวล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[–สวน] เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะเล่น.เสสรวล [–สวน] ก. หัวเราะเล่น.
เสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น.เสา ๑ น. ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น.
เสากระโดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาสําหรับกางใบเรือ, เสาในเรือเดินทะเลใหญ่ ๆ ที่ไม่ใช้ใบเช่นเรือรบ สำหรับติดไฟ ธงเครื่องหมาย ธงสัญญาณ และธงรหัสต่าง ๆ ติดเรดาร์ ติดเสาอากาศสำหรับรับส่งคลื่นวิทยุ บนยอดเสามีรังกาเป็นที่สำหรับยามยืนเฝ้าตรวจสิ่งต่าง ๆ มีข้าศึก หินโสโครก เรืออื่น ๆ เป็นต้น.เสากระโดง น. เสาสําหรับกางใบเรือ, เสาในเรือเดินทะเลใหญ่ ๆ ที่ไม่ใช้ใบเช่นเรือรบ สำหรับติดไฟ ธงเครื่องหมาย ธงสัญญาณ และธงรหัสต่าง ๆ ติดเรดาร์ ติดเสาอากาศสำหรับรับส่งคลื่นวิทยุ บนยอดเสามีรังกาเป็นที่สำหรับยามยืนเฝ้าตรวจสิ่งต่าง ๆ มีข้าศึก หินโสโครก เรืออื่น ๆ เป็นต้น.
เสาเกียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่ปักขึ้นเป็นหลักกลางลาน สำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ, เกียด ก็ว่า.เสาเกียด น. ไม้ที่ปักขึ้นเป็นหลักกลางลาน สำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ, เกียด ก็ว่า.
เสาเข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เสี้ยมให้แหลมหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น สําหรับฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, เข็ม ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู เข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.เสาเข็ม น. ไม้ที่เสี้ยมให้แหลมหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น สําหรับฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, เข็ม ก็ว่า. (ดู เข็ม ๑).
เสาเขื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือวัสดุอย่างอื่น มีลักษณะเป็นท่อนกลมหรือเป็นเหลี่ยม ปักล้อมเป็นรั้วกั้นเขตในวัดเป็นต้น.เสาเขื่อน น. ไม้หรือวัสดุอย่างอื่น มีลักษณะเป็นท่อนกลมหรือเป็นเหลี่ยม ปักล้อมเป็นรั้วกั้นเขตในวัดเป็นต้น.
เสาค่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือไม้ไผ่ปักรายล้อมหมู่บ้าน เมือง หรือที่ตั้งค่ายทหารในสมัยโบราณ, เสาระเนียด ก็ว่า.เสาค่าย น. ไม้หรือไม้ไผ่ปักรายล้อมหมู่บ้าน เมือง หรือที่ตั้งค่ายทหารในสมัยโบราณ, เสาระเนียด ก็ว่า.
เสาโคม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ ไม้ไผ่ หรือเสาหินเป็นต้น ที่ปักสำหรับติดตั้งโคมหรือชักโคมขึ้นไปแขวนให้แสงสว่าง.เสาโคม น. ไม้ ไม้ไผ่ หรือเสาหินเป็นต้น ที่ปักสำหรับติดตั้งโคมหรือชักโคมขึ้นไปแขวนให้แสงสว่าง.
เสาชี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ยื่นออกไปทางหัวเรือ.เสาชี้ น. เสาที่ยื่นออกไปทางหัวเรือ.
เสาดั้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า.เสาดั้ง น. เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า.
เสาโด่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนเครื่องผูก มักใช้ไม้ไผ่ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่.เสาโด่ น. เสาเรือนเครื่องผูก มักใช้ไม้ไผ่ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่.
เสาตรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนที่ตั้งถัดเสาโทไปทางทิศตะวันตก.เสาตรี น. เสาเรือนที่ตั้งถัดเสาโทไปทางทิศตะวันตก.
เสาตอม่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, ตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนเสาตอม่อ; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า.เสาตอม่อ น. เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, ตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนเสาตอม่อ; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า.
เสาตะเกียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้, ตะเกียบ ก็ว่า.เสาตะเกียบ น. เสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้, ตะเกียบ ก็ว่า.
เสาตะลุง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น, ตะลุง ก็ว่า.เสาตะลุง น. ไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น, ตะลุง ก็ว่า.
เสาโตงเตง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออก, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, โตงเตง ก็ว่า.เสาโตงเตง น. เสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออก, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, โตงเตง ก็ว่า.
เสาไต้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักขึ้นไว้สำหรับปักไต้จุดให้แสงสว่างในสมัยโบราณ.เสาไต้ น. เสาที่ปักขึ้นไว้สำหรับปักไต้จุดให้แสงสว่างในสมัยโบราณ.
เสาทุบเปลือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสาไม้เนื้ออ่อนลำขนาดย่อม ซึ่งทุบแล้วลอกเอาเปลือกออก แต่ไม่ได้ถากแต่ง ใช้ทำเสาเข็ม เสารั้ว เป็นต้น.เสาทุบเปลือก น. เสาไม้เนื้ออ่อนลำขนาดย่อม ซึ่งทุบแล้วลอกเอาเปลือกออก แต่ไม่ได้ถากแต่ง ใช้ทำเสาเข็ม เสารั้ว เป็นต้น.
เสาโท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเสาเอก.เสาโท น. เสาเรือนที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเสาเอก.
เสาธง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ใช้ชักธงขึ้นสู่ยอดเสา.เสาธง น. เสาที่ใช้ชักธงขึ้นสู่ยอดเสา.
เสานางจรัล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สำหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางเรียง ก็ว่า.เสานางจรัล น. เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สำหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางเรียง ก็ว่า.
เสานางแนบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสาบังอวด ก็ว่า.เสานางแนบ น. เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสาบังอวด ก็ว่า.
เสานางเรียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สําหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางจรัล ก็ว่า.เสานางเรียง น. เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สําหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางจรัล ก็ว่า.
เสาในประธาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำขึ้นเป็น ๒ แถวเรียงเป็นคู่ ๆ ต่อออกมาทางด้านหน้าฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานในอุโบสถ วิหาร เป็นต้น.เสาในประธาน น. เสาที่ทำขึ้นเป็น ๒ แถวเรียงเป็นคู่ ๆ ต่อออกมาทางด้านหน้าฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานในอุโบสถ วิหาร เป็นต้น.
เสาบังอวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสานางแนบ ก็ว่า.เสาบังอวด น. เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสานางแนบ ก็ว่า.
เสาประโคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น, ประโคน ก็ว่า.เสาประโคน น. เสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น, ประโคน ก็ว่า.
เสาปอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาเตี้ย ๆ สำหรับผูกเท้าหลังช้าง เช่น ผูกช้างยืนโรง ผูกช้างในการเล่นผัดช้าง, ปอง ก็ว่า.เสาปอง น. เสาเตี้ย ๆ สำหรับผูกเท้าหลังช้าง เช่น ผูกช้างยืนโรง ผูกช้างในการเล่นผัดช้าง, ปอง ก็ว่า.
เสาพล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนทั้งหมดที่มิใช่เสาเอก เสาโท และเสาตรี.เสาพล น. เสาเรือนทั้งหมดที่มิใช่เสาเอก เสาโท และเสาตรี.
เสาแพนก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู-กอ-ไก่[–พะแนก] เป็นคำนาม หมายถึง ฝาผนังส่วนนอกที่ก่อให้นูนหนาขึ้นดูคล้ายเสาเพื่อช่วยเสริมฝาผนังให้มั่นคงสำหรับรับขื่อ.เสาแพนก [–พะแนก] น. ฝาผนังส่วนนอกที่ก่อให้นูนหนาขึ้นดูคล้ายเสาเพื่อช่วยเสริมฝาผนังให้มั่นคงสำหรับรับขื่อ.
เสาระเนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เสาค่าย.เสาระเนียด น. เสาค่าย.
เสาราย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำตั้งขึ้นเป็นแถวเพื่อรับชายคาอุโบสถ วิหาร ระเบียง เป็นต้น.เสาราย น. เสาที่ทำตั้งขึ้นเป็นแถวเพื่อรับชายคาอุโบสถ วิหาร ระเบียง เป็นต้น.
เสาหงส์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำรูปหงส์ติดไว้ที่ยอด มักปักอยู่ตามหน้าวัดของชาวรามัญ.เสาหงส์ น. เสาที่ทำรูปหงส์ติดไว้ที่ยอด มักปักอยู่ตามหน้าวัดของชาวรามัญ.
เสาหมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เสาขนาดสั้นสําหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก; เสานําสําหรับปักเสาใหญ่ลงในนํ้า; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาตอม่อ ก็ว่า; เสาที่มั่นคงสําหรับผูกช้าง.เสาหมอ น. เสาขนาดสั้นสําหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก; เสานําสําหรับปักเสาใหญ่ลงในนํ้า; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาตอม่อ ก็ว่า; เสาที่มั่นคงสําหรับผูกช้าง.
เสาหลัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่สังคมยอมรับนับถือว่าเป็นหลักของบ้านเมืองในด้านสติปัญญาหรือด้านวิทยาการต่าง ๆ เป็นต้น.เสาหลัก (สำ) น. บุคคลที่สังคมยอมรับนับถือว่าเป็นหลักของบ้านเมืองในด้านสติปัญญาหรือด้านวิทยาการต่าง ๆ เป็นต้น.
เสาหลักเมือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่สร้างขึ้นเป็นสัญลักษณ์ของเมือง มักทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์.เสาหลักเมือง น. เสาที่สร้างขึ้นเป็นสัญลักษณ์ของเมือง มักทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์.
เสาหาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสาเล็กตั้งอยู่เหนือบัลลังก์ รายเป็นวงล้อมก้านฉัตรรองรับขอบบัวฝาละมีในเจดีย์ทรงลังกา; เสาคู่ที่ตั้งอยู่หน้าสุดของมุขเด็จสำหรับรับหน้าบัน.เสาหาน น. เสาเล็กตั้งอยู่เหนือบัลลังก์ รายเป็นวงล้อมก้านฉัตรรองรับขอบบัวฝาละมีในเจดีย์ทรงลังกา; เสาคู่ที่ตั้งอยู่หน้าสุดของมุขเด็จสำหรับรับหน้าบัน.
เสาเอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนต้นแรกที่ยกขึ้นตามฤกษ์ในการปลูกเรือน มักนิยมตั้งไว้ทางทิศตะวันออก.เสาเอก น. เสาเรือนต้นแรกที่ยกขึ้นตามฤกษ์ในการปลูกเรือน มักนิยมตั้งไว้ทางทิศตะวันออก.
เสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มันเสา. ในวงเล็บ ดู มันเสา เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ที่ มัน เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.เสา ๒ น. มันเสา. (ดู มันเสา ที่ มัน ๑).
เส้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หลักหรือวัตถุที่ตั้งหรือปักเป็น ๓ มุมสําหรับรองรับ เช่น เอาก้อนอิฐมาวางให้เป็น ๓ เส้า.เส้า น. ไม้หลักหรือวัตถุที่ตั้งหรือปักเป็น ๓ มุมสําหรับรองรับ เช่น เอาก้อนอิฐมาวางให้เป็น ๓ เส้า.
เสาร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โสร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ; ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๖ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑,๔๒๗ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร ๑๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร มีวงแหวนล้อมรอบที่เห็นได้ในกล้องโทรทรรศน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เสาร์ น. ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์. (ส.; ป. โสร); ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๖ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑,๔๒๗ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร ๑๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร มีวงแหวนล้อมรอบที่เห็นได้ในกล้องโทรทรรศน์. (ส.).
เสารภย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[–รบ] เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสารภฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สุรภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี.เสารภย์ [–รบ] น. กลิ่นหอม. (ส. เสารภฺย; ป. สุรภี).
เสารี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์; ชื่อดาวพระเสาร์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ หมายถึง ชื่อยามหนึ่งใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาริ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.เสารี น. ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์; ชื่อดาวพระเสาร์; (โหร) ชื่อยามหนึ่งใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. (ดู ยาม). (ส. เสาริ).
เสาว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[–วะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา).เสาว– [–วะ–] ว. ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา).
เสาวคนธ์ ๑, เสาวคันธ์ เสาวคนธ์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เสาวคันธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ของหอม, เครื่องหอม, กลิ่นหอม.เสาวคนธ์ ๑, เสาวคันธ์ น. ของหอม, เครื่องหอม, กลิ่นหอม.
เสาวธาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าหอม.เสาวธาร น. นํ้าหอม.
เสาวภา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โสภา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา.เสาวภา ว. งาม. (ป. โสภา).
เสาวภาคย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความสุขเกษม, ความเจริญ, โชคลาภ, ความสําเร็จ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาวภาคฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี โสภคฺค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.เสาวภาคย์ น. ความสุขเกษม, ความเจริญ, โชคลาภ, ความสําเร็จ. (ส. เสาวภาคฺย; ป. โสภคฺค).
เสาวภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุภาพ, เรียบร้อย, อ่อนโยน, ประพฤติดี, ละมุนละม่อม.เสาวภาพ ว. สุภาพ, เรียบร้อย, อ่อนโยน, ประพฤติดี, ละมุนละม่อม.
เสาวรภย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เสารภย์, กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เสาวรภย์ น. เสารภย์, กลิ่นหอม. (ส.).
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรสอร่อย, มีรสดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ.เสาวรส ๑ ว. มีรสอร่อย, มีรสดี. (ป., ส. สุรส).
เสาวลักษณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะดี, ลักษณะงาม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะดี, มีลักษณะงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุลกฺษณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน.เสาวลักษณ์ น. ลักษณะดี, ลักษณะงาม. ว. มีลักษณะดี, มีลักษณะงาม. (ส. สุลกฺษณ).
เสาวคนธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ดูใน เสาว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.เสาวคนธ์ ๑ ดูใน เสาว–.
เสาวคนธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ดู รสสุคนธ์ เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด.เสาวคนธ์ ๒ ดู รสสุคนธ์.
เสาวณิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ฟังแล้ว, รับสั่ง.เสาวณิต ก. ฟังแล้ว, รับสั่ง.
เสาวนะ, เสาวนา, เสาวนาการ เสาวนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เสาวนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เสาวนาการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การฟัง, การได้ฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สวน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู สวนาการ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .เสาวนะ, เสาวนา, เสาวนาการ น. การฟัง, การได้ฟัง. (ป. สวน, สวนาการ).
เสาวนีย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งของพระราชินี, ใช้ว่า พระราชเสาวนีย์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง คําสั่งของท้าวพระยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สวนีย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.เสาวนีย์ น. คําสั่งของพระราชินี, ใช้ว่า พระราชเสาวนีย์; (กลอน) คําสั่งของท้าวพระยา. (ป. สวนีย).
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ดูใน เสาว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.เสาวรส ๑ ดูใน เสาว–.
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม.เสาวรส ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม.
เสาหฤท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน[–หะริด] เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน, ผู้มีใจดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาหฺฤท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน.เสาหฤท [–หะริด] น. เพื่อน, ผู้มีใจดี. (ส. เสาหฺฤท).
เสาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้น, สืบ, แสวง, เช่น เสาะหา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เข้มแข็ง ในคำว่า ใจเสาะ.เสาะ ๑ ก. ค้น, สืบ, แสวง, เช่น เสาะหา. ว. ไม่เข้มแข็ง ในคำว่า ใจเสาะ.
เสาะด้าย, เสาะไหม เสาะด้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เสาะไหม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สาวด้ายหรือไหมที่จะเอามาทอผ้า.เสาะด้าย, เสาะไหม ก. สาวด้ายหรือไหมที่จะเอามาทอผ้า.
เสาะท้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้ท้องเสีย เช่น กินของเปรี้ยวจัดหรือเผ็ดจัดทำให้เสาะท้อง.เสาะท้อง ว. ที่ทำให้ท้องเสีย เช่น กินของเปรี้ยวจัดหรือเผ็ดจัดทำให้เสาะท้อง.
เสาะป่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สาวเชือกป่านว่าวจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อให้หายยุ่ง.เสาะป่าน ก. สาวเชือกป่านว่าวจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อให้หายยุ่ง.
เสาะแสวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ความพยายามมากเพื่อค้นหา เช่น ของชิ้นนี้เป็นของหายาก เขาอุตส่าห์ไปเสาะแสวงมาให้.เสาะแสวง ก. ใช้ความพยายามมากเพื่อค้นหา เช่น ของชิ้นนี้เป็นของหายาก เขาอุตส่าห์ไปเสาะแสวงมาให้.
เสาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ (โบ; วรรณ) ก. ทรุดลง, ห่อเหี่ยวลง, ใช้ว่า เสราะ ก็มี เช่น ก็เสาะและเสราะใจจง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร โสะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ = จืด, ชืด, ขาดรสชาติ, หมด .เสาะ ๒ (โบ; วรรณ) ก. ทรุดลง, ห่อเหี่ยวลง, ใช้ว่า เสราะ ก็มี เช่น ก็เสาะและเสราะใจจง. (สมุทรโฆษ). (เทียบ ข. โสะ = จืด, ชืด, ขาดรสชาติ, หมด).
เสาะแสะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ป่วยอยู่บ่อย ๆ, กระเสาะกระแสะ ก็ว่า.เสาะแสะ ว. อาการที่ป่วยอยู่บ่อย ๆ, กระเสาะกระแสะ ก็ว่า.
เสิร์จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผ้าเนื้อลายสองชนิดหนึ่ง มักทําด้วยขนแกะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ serge เขียนว่า เอส-อี-อา-จี-อี.เสิร์จ น. ชื่อผ้าเนื้อลายสองชนิดหนึ่ง มักทําด้วยขนแกะ. (อ. serge).
เสิร์ฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ฟอ-ฟัน เป็นคำกริยา หมายถึง ยกอาหารหรือเครื่องดื่มมาบริการ เช่น บริกรเสิร์ฟอาหารให้ลูกค้า; (กีฬา) เริ่มส่งลูกให้ฝ่ายตรงข้ามรับ เช่น ฝ่ายไทยเป็นฝ่ายได้เสิร์ฟก่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ serve เขียนว่า เอส-อี-อา-วี-อี.เสิร์ฟ ก. ยกอาหารหรือเครื่องดื่มมาบริการ เช่น บริกรเสิร์ฟอาหารให้ลูกค้า; (กีฬา) เริ่มส่งลูกให้ฝ่ายตรงข้ามรับ เช่น ฝ่ายไทยเป็นฝ่ายได้เสิร์ฟก่อน. (อ. serve).
เสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น ถนนเสีย ทางเสีย; ใช้ไม่ได้ เช่น เครื่องไฟฟ้าเสียหมดทุกอย่าง รถเสียกลางทาง; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนแล้งจัดเรือกสวนไร่นาเสียหมด, เสียหาย ก็ว่า; บูด เช่น แกงหม้อนี้เสียหมดทั้งหม้อ, เน่า เช่น ผลไม้เข่งนี้เสียแล้ว; ไม่ดี เช่น ราขึ้น ขนมปังจึงเสียหมดทั้งแถว เธอดัดผมบ่อยเกินไป ทำให้ผมเสีย; จ่ายเงิน, ชำระเงิน, เช่น เสียภาษี เสียค่าโทรศัพท์; หมดทรัพย์สินไปเพราะการพนัน เช่น เสียไพ่ เสียม้า; ตาย เช่น เขาเสียไปหลายปีแล้ว; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ทิ้ง เช่น ที่ขวากหนามอย่าเสียเกือก. (สุภาษิตพระร่วง), เสียไฟเป่าหิ่งห้อย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่ดี เช่น นิสัยเสีย น้ำเสีย; พิการ เช่น ตาเสีย ขาเสีย; บูด เช่น อย่ากินแกงเสีย จะปวดท้อง.เสีย ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น ถนนเสีย ทางเสีย; ใช้ไม่ได้ เช่น เครื่องไฟฟ้าเสียหมดทุกอย่าง รถเสียกลางทาง; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนแล้งจัดเรือกสวนไร่นาเสียหมด, เสียหาย ก็ว่า; บูด เช่น แกงหม้อนี้เสียหมดทั้งหม้อ, เน่า เช่น ผลไม้เข่งนี้เสียแล้ว; ไม่ดี เช่น ราขึ้น ขนมปังจึงเสียหมดทั้งแถว เธอดัดผมบ่อยเกินไป ทำให้ผมเสีย; จ่ายเงิน, ชำระเงิน, เช่น เสียภาษี เสียค่าโทรศัพท์; หมดทรัพย์สินไปเพราะการพนัน เช่น เสียไพ่ เสียม้า; ตาย เช่น เขาเสียไปหลายปีแล้ว; (โบ) ทิ้ง เช่น ที่ขวากหนามอย่าเสียเกือก. (สุภาษิตพระร่วง), เสียไฟเป่าหิ่งห้อย. (ลอ). ว. ที่ไม่ดี เช่น นิสัยเสีย น้ำเสีย; พิการ เช่น ตาเสีย ขาเสีย; บูด เช่น อย่ากินแกงเสีย จะปวดท้อง.
เสียกบาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีเซ่นผีโดยเอาเครื่องเซ่นพร้อมตุ๊กตาดินปั้นเป็นต้นใส่กระบะกาบกล้วยไปทิ้งที่ทางสามแพร่งหรือลอยน้ำ เพื่อมิให้ผีร้ายมานำตัวเด็กที่เจ็บป่วยไป, เรียกตุ๊กตาที่ใช้ในการนี้ว่า ตุ๊กตาเสียกบาล.เสียกบาล น. กรรมวิธีเซ่นผีโดยเอาเครื่องเซ่นพร้อมตุ๊กตาดินปั้นเป็นต้นใส่กระบะกาบกล้วยไปทิ้งที่ทางสามแพร่งหรือลอยน้ำ เพื่อมิให้ผีร้ายมานำตัวเด็กที่เจ็บป่วยไป, เรียกตุ๊กตาที่ใช้ในการนี้ว่า ตุ๊กตาเสียกบาล.
เสียกระบวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เป็นกระบวน เช่น กองทัพถูกตีร่นจนเสียกระบวน, ไม่เป็นไปตามลำดับรูปแบบที่กำหนด เช่น จัดรถบุปผชาติให้เป็นไปตามลำดับ อย่าให้เสียกระบวน.เสียกระบวน ก. ไม่เป็นกระบวน เช่น กองทัพถูกตีร่นจนเสียกระบวน, ไม่เป็นไปตามลำดับรูปแบบที่กำหนด เช่น จัดรถบุปผชาติให้เป็นไปตามลำดับ อย่าให้เสียกระบวน.
เสียกล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดไปเพราะรู้ไม่ทันเล่ห์กลของเขา เช่น บัดนี้สุครีพฤทธิรณ เสียกลกุมภัณฑ์ยักษา. (รามเกียรติ์).เสียกล ก. พลาดไปเพราะรู้ไม่ทันเล่ห์กลของเขา เช่น บัดนี้สุครีพฤทธิรณ เสียกลกุมภัณฑ์ยักษา. (รามเกียรติ์).
เสียการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สิ่งที่มุ่งหมายไว้ไม่เป็นผล เช่น ขอให้กำชับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างรอบคอบ อย่าให้เสียการได้.เสียการ ก. ทำให้สิ่งที่มุ่งหมายไว้ไม่เป็นผล เช่น ขอให้กำชับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างรอบคอบ อย่าให้เสียการได้.
เสียการเสียงาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น อยากจะไปเที่ยวก็ไม่ว่า แต่อย่าให้เสียการเสียงาน, เสียงานเสียการ ก็ว่า.เสียการเสียงาน (สำ) ก. ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น อยากจะไปเที่ยวก็ไม่ว่า แต่อย่าให้เสียการเสียงาน, เสียงานเสียการ ก็ว่า.
เสียกำซ้ำกอบ, เสียกำแล้วซ้ำกอบ เสียกำซ้ำกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เสียกำแล้วซ้ำกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียน้อยแล้วยังจะต้องเสียมากอีก เช่น พระองค์ช่างเชื่อฟังคำคนชั่วโฉด ชาวเมืองมันกล่าวโทษพลอยโกรธตอบ เสียกำแล้วจะซ้ำกอบกระมังหนา. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์.เสียกำซ้ำกอบ, เสียกำแล้วซ้ำกอบ (สำ) ก. เสียน้อยแล้วยังจะต้องเสียมากอีก เช่น พระองค์ช่างเชื่อฟังคำคนชั่วโฉด ชาวเมืองมันกล่าวโทษพลอยโกรธตอบ เสียกำแล้วจะซ้ำกอบกระมังหนา. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
เสียกำได้กอบ, เสียกำแล้วได้กอบ เสียกำได้กอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เสียกำแล้วได้กอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียน้อยไปก่อนแล้วจะได้มากในภายหลัง เช่น เสียหนึ่งนิ่งไว้นานไปคงได้สอง เสมือนหนึ่งของท่านหายมีที่ไว้ ข้าพเจ้าคงจะหามาให้ไม่ให้เดือดร้อน ยอมเสียกำไปก่อนนั่นแหละ จึงจะได้กอบ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.เสียกำได้กอบ, เสียกำแล้วได้กอบ (สำ) ก. เสียน้อยไปก่อนแล้วจะได้มากในภายหลัง เช่น เสียหนึ่งนิ่งไว้นานไปคงได้สอง เสมือนหนึ่งของท่านหายมีที่ไว้ ข้าพเจ้าคงจะหามาให้ไม่ให้เดือดร้อน ยอมเสียกำไปก่อนนั่นแหละ จึงจะได้กอบ. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
เสียกำลังใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้กำลังใจตกหรือลดลง, รู้สึกท้อใจ, เช่น นักมวยชกแพ้เพราะเสียกำลังใจ.เสียกำลังใจ ก. ทำให้กำลังใจตกหรือลดลง, รู้สึกท้อใจ, เช่น นักมวยชกแพ้เพราะเสียกำลังใจ.
เสียกิริยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียมารยาท ก็ว่า.เสียกิริยา ก. แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียมารยาท ก็ว่า.
เสียขวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง เสียผี, ให้ผีกินเปล่าเสียก่อนเพื่อให้หมดเคราะห์.เสียขวง (ถิ่น–พายัพ) ก. เสียผี, ให้ผีกินเปล่าเสียก่อนเพื่อให้หมดเคราะห์.
เสียขวัญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง หมดกำลังใจเพราะสิ้นหวังและหวาดกลัว เช่น ทหารตกอยู่ในที่ล้อม ขาดเสบียง ทำให้เสียขวัญ.เสียขวัญ ก. หมดกำลังใจเพราะสิ้นหวังและหวาดกลัว เช่น ทหารตกอยู่ในที่ล้อม ขาดเสบียง ทำให้เสียขวัญ.
เสียคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็นคนเสื่อมเสียเพราะประพฤติไม่ดีเป็นต้น เช่น เขาติดการพนันจนเสียคน.เสียคน ก. กลายเป็นคนเสื่อมเสียเพราะประพฤติไม่ดีเป็นต้น เช่น เขาติดการพนันจนเสียคน.
เสียคำพูด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ทําตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคําพูด.เสียคำพูด ก. ไม่ทําตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคําพูด.
เสียงาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สิ่งหรือเรื่องที่กำหนดไว้ไม่สำเร็จหรือบกพร่อง เช่น เพื่อน ๆ รับปากว่าจะมาช่วยแล้วไม่มา ทำให้เสียงานหมด.เสียงาน ก. ทำให้สิ่งหรือเรื่องที่กำหนดไว้ไม่สำเร็จหรือบกพร่อง เช่น เพื่อน ๆ รับปากว่าจะมาช่วยแล้วไม่มา ทำให้เสียงานหมด.
เสียงานเสียการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น เขามัวแต่ไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ จนเสียงานเสียการ, เสียการเสียงาน ก็ว่า.เสียงานเสียการ (สำ) ก. ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น เขามัวแต่ไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ จนเสียงานเสียการ, เสียการเสียงาน ก็ว่า.
เสียจริต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นบ้า, มีสติวิปลาส, วิกลจริต.เสียจริต ว. เป็นบ้า, มีสติวิปลาส, วิกลจริต.
เสียใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่สบายใจเพราะมีเรื่องไม่สมประสงค์หรือผิดประสงค์ เช่น เด็กเสียใจเมื่อรู้ว่าทำผิด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง คลุ้มคลั่ง เช่น กลัวศัตรูฝ่ายหน้า หลังพระเสียใจข้า ดุจดับแก้วสองดวง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.เสียใจ ก. ไม่สบายใจเพราะมีเรื่องไม่สมประสงค์หรือผิดประสงค์ เช่น เด็กเสียใจเมื่อรู้ว่าทำผิด; (วรรณ) คลุ้มคลั่ง เช่น กลัวศัตรูฝ่ายหน้า หลังพระเสียใจข้า ดุจดับแก้วสองดวง. (ลอ).
เสียโฉม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ฉอ-ฉิ่ง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง มีตำหนิตามร่างกายโดยเฉพาะที่ใบหน้า ทำให้ความงามลดลง เช่น เธอประสบอุบัติเหตุ ถูกกระจกบาดหน้า เลยเสียโฉม, โดยปริยายใช้แก่สิ่งของที่มีตำหนิ เช่น แจกันใบนี้ปากบิ่นไปหน่อย เลยเสียโฉม.เสียโฉม ก. มีตำหนิตามร่างกายโดยเฉพาะที่ใบหน้า ทำให้ความงามลดลง เช่น เธอประสบอุบัติเหตุ ถูกกระจกบาดหน้า เลยเสียโฉม, โดยปริยายใช้แก่สิ่งของที่มีตำหนิ เช่น แจกันใบนี้ปากบิ่นไปหน่อย เลยเสียโฉม.
เสียชาติเกิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดมาแล้วควรจะทำให้ได้ แต่กลับไม่ได้ทำหรือทำไม่สำเร็จ หรือทำความดีไม่ได้ ก็ไม่น่าจะเกิดมาเป็นคน เช่น เกิดเป็นไทย ใจเป็นทาส เสียชาติเกิด เกิดมาเป็นคนทั้งที ต้องทำความดีให้ได้ จะได้ไม่เสียชาติเกิด.เสียชาติเกิด (ปาก) ก. เกิดมาแล้วควรจะทำให้ได้ แต่กลับไม่ได้ทำหรือทำไม่สำเร็จ หรือทำความดีไม่ได้ ก็ไม่น่าจะเกิดมาเป็นคน เช่น เกิดเป็นไทย ใจเป็นทาส เสียชาติเกิด เกิดมาเป็นคนทั้งที ต้องทำความดีให้ได้ จะได้ไม่เสียชาติเกิด.
เสียชีพ, เสียชีวิต เสียชีพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เสียชีวิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น เขาประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตเมื่อวานนี้.เสียชีพ, เสียชีวิต ก. ตาย เช่น เขาประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตเมื่อวานนี้.
เสียชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ชื่อเสียงไม่ดี เช่น เขาติดยาเสพติดและเป็นนักการพนัน เลยทำให้เสียชื่อ.เสียชื่อ ก. ทําให้ชื่อเสียงไม่ดี เช่น เขาติดยาเสพติดและเป็นนักการพนัน เลยทำให้เสียชื่อ.
เสียเช่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกำเนิดไม่ดี เช่น บ้างก็ดุเดือดด่าขู่เขี้ยวเข็ญ ว่าอีชาติชั่วอีเสียเช่นชาติมันไม่ดี. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.เสียเช่น (วรรณ) ว. มีกำเนิดไม่ดี เช่น บ้างก็ดุเดือดด่าขู่เขี้ยวเข็ญ ว่าอีชาติชั่วอีเสียเช่นชาติมันไม่ดี. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
เสียเชิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เสียท่า, พลาดท่า, เช่น ผู้ใหญ่ยังอาจเสียเชิงเด็กได้.เสียเชิง ก. เสียท่า, พลาดท่า, เช่น ผู้ใหญ่ยังอาจเสียเชิงเด็กได้.
เสียเชิงชาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียชั้นเชิงที่ผู้ชายพึงมีให้ผู้หญิงดูแคลน เช่น ถูกผู้หญิงหลอกจนขายหน้าอย่างนี้ เสียเชิงชายหมด.เสียเชิงชาย ก. เสียชั้นเชิงที่ผู้ชายพึงมีให้ผู้หญิงดูแคลน เช่น ถูกผู้หญิงหลอกจนขายหน้าอย่างนี้ เสียเชิงชายหมด.
เสียดาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกอยากได้สิ่งที่เสียไปพลาดไปเป็นต้น ให้กลับคืนมา เช่น เธอเสียดายแหวนเพชรที่หายไป, รู้สึกว่าพลาดโอกาสที่ควรจะมีจะได้ เช่น เสียดายที่เขาไม่เชิญฉันไปงานนี้ด้วย, รู้สึกไม่อยากให้เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น เปิดน้ำเปิดไฟทิ้งไว้ น่าเสียดาย; อาลัยถึงสิ่งที่จากไป เช่น เขาเสียดายที่คนดี ๆ ตายในอุบัติเหตุครั้งนี้หลายคน.เสียดาย ก. รู้สึกอยากได้สิ่งที่เสียไปพลาดไปเป็นต้น ให้กลับคืนมา เช่น เธอเสียดายแหวนเพชรที่หายไป, รู้สึกว่าพลาดโอกาสที่ควรจะมีจะได้ เช่น เสียดายที่เขาไม่เชิญฉันไปงานนี้ด้วย, รู้สึกไม่อยากให้เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น เปิดน้ำเปิดไฟทิ้งไว้ น่าเสียดาย; อาลัยถึงสิ่งที่จากไป เช่น เขาเสียดายที่คนดี ๆ ตายในอุบัติเหตุครั้งนี้หลายคน.
เสียเด็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็นเด็กนิสัยไม่ดี ทำตามใจตัว เป็นต้น เช่น อย่าตามใจลูกมากนัก จะเสียเด็ก.เสียเด็ก ก. กลายเป็นเด็กนิสัยไม่ดี ทำตามใจตัว เป็นต้น เช่น อย่าตามใจลูกมากนัก จะเสียเด็ก.
เสียตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียเนื้อเสียตัว ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง ตาย.เสียตัว ก. ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียเนื้อเสียตัว ก็ว่า; (ถิ่น–อีสาน) ตาย.
เสียตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียนัยน์ตาไป; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่อยากดูให้เสียตาหรอก, เสียสายตา ก็ว่า.เสียตา ก. สูญเสียนัยน์ตาไป; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่อยากดูให้เสียตาหรอก, เสียสายตา ก็ว่า.
เสียตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียตีนไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น บ้านของเขา ฉันไม่ไปเหยียบให้เสียตีนหรอก.เสียตีน ก. สูญเสียตีนไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น บ้านของเขา ฉันไม่ไปเหยียบให้เสียตีนหรอก.
เสียแต่, เสียที่ เสียแต่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เสียที่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำสันธาน หมายถึง เสียตรงที่, บกพร่องตรงที่, มีตำหนิตรงที่, เช่น หน้าตาก็สวยดี เสียแต่พูดไม่เพราะ.เสียแต่, เสียที่ สัน. เสียตรงที่, บกพร่องตรงที่, มีตำหนิตรงที่, เช่น หน้าตาก็สวยดี เสียแต่พูดไม่เพราะ.
เสียแต้ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เสียคะแนน เช่น นักกีฬาทำผิดกติกาเลยเสียแต้ม, ขายหน้า เช่น วันนี้เสียแต้ม นัดไปเลี้ยงเพื่อนแล้วลืมเอากระเป๋าสตางค์ไป, เสียความนิยม เช่น ถ้านักการเมืองพูดไม่ถูกใจประชาชน ก็จะเสียแต้ม.เสียแต้ม ก. เสียคะแนน เช่น นักกีฬาทำผิดกติกาเลยเสียแต้ม, ขายหน้า เช่น วันนี้เสียแต้ม นัดไปเลี้ยงเพื่อนแล้วลืมเอากระเป๋าสตางค์ไป, เสียความนิยม เช่น ถ้านักการเมืองพูดไม่ถูกใจประชาชน ก็จะเสียแต้ม.
เสียเถอะ, เสียเถิด เสียเถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เสียเถิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด.เสียเถอะ, เสียเถิด ว. คําประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด.
เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ยอมยกสามีให้หญิงอื่นแม้จะแลกกับทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากก็ตาม.เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร (สำ) ก. ไม่ยอมยกสามีให้หญิงอื่นแม้จะแลกกับทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากก็ตาม.
เสียท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดท่า เช่น ตั้งใจจะไปต่อว่าเขา แต่เสียท่าถูกเขาว่ากลับมา.เสียท่า ก. พลาดท่า เช่น ตั้งใจจะไปต่อว่าเขา แต่เสียท่าถูกเขาว่ากลับมา.
เสียที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียแรง, เสียโอกาส, เสียเที่ยว, เช่น เสียทีที่มาหาแล้วก็ไม่พบ.เสียที ๑ ก. พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน. ว. เสียแรง, เสียโอกาส, เสียเที่ยว, เช่น เสียทีที่มาหาแล้วก็ไม่พบ.
เสียเที่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เดินทางไปหรือมาแล้วไม่ได้ผลตามที่คาดหวังไว้ เช่น เดินทางไปหาเพื่อนแล้วไม่พบ เสียเที่ยวเปล่า.เสียเที่ยว ก. เดินทางไปหรือมาแล้วไม่ได้ผลตามที่คาดหวังไว้ เช่น เดินทางไปหาเพื่อนแล้วไม่พบ เสียเที่ยวเปล่า.
เสียธรรมเนียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม.เสียธรรมเนียม ก. ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม.
เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเพียงเล็กน้อยไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องเสียมากกว่าเดิม เช่น ตอนที่เบรกรถยนต์เริ่มไม่ดี ก็ไม่รีบไปซ่อม พอเบรกแตกไปชนต้นไม้เข้า เลยต้องเสียค่าซ่อมมาก เข้าทำนองเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย.เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย (สำ) ก. เสียเพียงเล็กน้อยไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องเสียมากกว่าเดิม เช่น ตอนที่เบรกรถยนต์เริ่มไม่ดี ก็ไม่รีบไปซ่อม พอเบรกแตกไปชนต้นไม้เข้า เลยต้องเสียค่าซ่อมมาก เข้าทำนองเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย.
เสียน้ำใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกน้อยใจเนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งไม่เห็นคุณค่าหรือความตั้งใจดีของตนเป็นต้น เช่น เขาอุตส่าห์เอาของมาให้แต่ไม่รับ ทำให้เขาเสียน้ำใจ.เสียน้ำใจ ก. รู้สึกน้อยใจเนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งไม่เห็นคุณค่าหรือความตั้งใจดีของตนเป็นต้น เช่น เขาอุตส่าห์เอาของมาให้แต่ไม่รับ ทำให้เขาเสียน้ำใจ.
เสียน้ำตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้ เช่น ละครเรื่องนี้เศร้าจริง ๆ ทำให้ฉันต้องเสียน้ำตา คนเลว ๆ อย่างนี้ตายไปก็ไม่น่าจะเสียน้ำตาให้.เสียน้ำตา ก. ร้องไห้ เช่น ละครเรื่องนี้เศร้าจริง ๆ ทำให้ฉันต้องเสียน้ำตา คนเลว ๆ อย่างนี้ตายไปก็ไม่น่าจะเสียน้ำตาให้.
เสียนิสัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง มีนิสัยไม่ดี เช่น พ่อแม่มีลูกคนเดียว จึงตามใจจนลูกเสียนิสัย เอาแต่ใจตัวเอง.เสียนิสัย ก. มีนิสัยไม่ดี เช่น พ่อแม่มีลูกคนเดียว จึงตามใจจนลูกเสียนิสัย เอาแต่ใจตัวเอง.
เสียเนื้อเสียตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียตัว ก็ว่า.เสียเนื้อเสียตัว ก. ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียตัว ก็ว่า.
เสียบน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้บน, แก้บนแก่ผีสางเทวดา.เสียบน ก. ใช้บน, แก้บนแก่ผีสางเทวดา.
เสียปาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดออกไปเปล่าประโยชน์ เช่น เด็กดื้ออย่างนี้เตือนไปก็เสียปากเปล่า ๆ; ไม่คู่ควรที่จะกิน เช่น ของอย่างนี้ฉันไม่กินให้เสียปาก.เสียปาก ก. พูดออกไปเปล่าประโยชน์ เช่น เด็กดื้ออย่างนี้เตือนไปก็เสียปากเปล่า ๆ; ไม่คู่ควรที่จะกิน เช่น ของอย่างนี้ฉันไม่กินให้เสียปาก.
เสียเปรียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นรอง, ด้อยกว่า, เช่น คนซื่อมักเสียเปรียบคนโกง.เสียเปรียบ ก. เป็นรอง, ด้อยกว่า, เช่น คนซื่อมักเสียเปรียบคนโกง.
เสียเปล่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น อย่าปล่อยเวลาให้เสียเปล่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียแรงที่ (เป็นสำนวนใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น เป็นลูกผู้หญิงเสียเปล่า ไม่รู้จักการบ้านการเรือน มีสมองเสียเปล่า แต่ไม่รู้จักคิด.เสียเปล่า ก. เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น อย่าปล่อยเวลาให้เสียเปล่า. ว. เสียแรงที่ (เป็นสำนวนใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น เป็นลูกผู้หญิงเสียเปล่า ไม่รู้จักการบ้านการเรือน มีสมองเสียเปล่า แต่ไม่รู้จักคิด.
เสียผี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพิธีเซ่นผีเพื่อขอขมาในความผิดเชิงชู้สาวตามประเพณีท้องถิ่น.เสียผี ก. ทำพิธีเซ่นผีเพื่อขอขมาในความผิดเชิงชู้สาวตามประเพณีท้องถิ่น.
เสียผู้ใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียคุณลักษณะของผู้ใหญ่ ทําให้ไม่เป็นที่เคารพเชื่อถือของผู้อื่น เช่น เธอมาขอให้ฉันไปตกลงหมั้นกับฝ่ายโน้นเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนใจเสียเช่นนี้ ฉันก็เสียผู้ใหญ่.เสียผู้ใหญ่ ก. เสียคุณลักษณะของผู้ใหญ่ ทําให้ไม่เป็นที่เคารพเชื่อถือของผู้อื่น เช่น เธอมาขอให้ฉันไปตกลงหมั้นกับฝ่ายโน้นเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนใจเสียเช่นนี้ ฉันก็เสียผู้ใหญ่.
เสียแผน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากแผนการที่วางไว้ เช่น วางแผนจะไปเที่ยว แต่ฝนตกหนักจนไปไม่ได้ เลยเสียแผนหมด.เสียแผน ก. ผิดไปจากแผนการที่วางไว้ เช่น วางแผนจะไปเที่ยว แต่ฝนตกหนักจนไปไม่ได้ เลยเสียแผนหมด.
เสียพรหมจรรย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดจากความเป็นนักบวชเพราะล่วงละเมิดการประพฤติพรหมจรรย์.เสียพรหมจรรย์ ก. ขาดจากความเป็นนักบวชเพราะล่วงละเมิดการประพฤติพรหมจรรย์.
เสียพรหมจารี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียสาว ก็ว่า.เสียพรหมจารี ก. ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียสาว ก็ว่า.
เสียเพศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนภาวะจากคฤหัสถ์เป็นนักบวช เช่น ซัดยังเมืองมัทรบุรี เสียเพศเทพี เป็นดาบสศรีโสภา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, เปลี่ยนภาวะจากนักบวชเป็นคฤหัสถ์ เช่น เสียฤษีพรตเพศ ห้องหิมเวศนาจลจรหล่ำน้นน ราชเวสมธารยิ ทรงเพศเป็นพญามหากระษัตราธิราช. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.เสียเพศ (วรรณ) ก. เปลี่ยนภาวะจากคฤหัสถ์เป็นนักบวช เช่น ซัดยังเมืองมัทรบุรี เสียเพศเทพี เป็นดาบสศรีโสภา. (สมุทรโฆษ), เปลี่ยนภาวะจากนักบวชเป็นคฤหัสถ์ เช่น เสียฤษีพรตเพศ ห้องหิมเวศนาจลจรหล่ำน้นน ราชเวสมธารยิ ทรงเพศเป็นพญามหากระษัตราธิราช. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
เสียภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกลบฐานะ, เสียฐานะท่าที, เช่น เป็นถึงนักมวยชั้นครู มาแพ้นักมวยหัดใหม่ เสียภูมิหมด ปัญหาง่าย ๆ ที่นักเรียนถาม ครูตอบไม่ได้ เสียภูมิหมด.เสียภูมิ ก. ถูกลบฐานะ, เสียฐานะท่าที, เช่น เป็นถึงนักมวยชั้นครู มาแพ้นักมวยหัดใหม่ เสียภูมิหมด ปัญหาง่าย ๆ ที่นักเรียนถาม ครูตอบไม่ได้ เสียภูมิหมด.
เสียมารยาท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียกิริยา ก็ว่า.เสียมารยาท ก. แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียกิริยา ก็ว่า.
เสียมือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียมือไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น คนอย่างนี้ ฉันไม่ไหว้ให้เสียมือหรอก.เสียมือ ก. สูญเสียมือไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น คนอย่างนี้ ฉันไม่ไหว้ให้เสียมือหรอก.
เสียมือเสียตีน, เสียมือเสียเท้า เสียมือเสียตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เสียมือเสียเท้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียมือและตีนไป, สูญเสียมือและเท้าไป, โดยปริยายหมายถึงเสียบุคคลที่รับใช้ใกล้ชิดหรือไว้วางใจไป เช่น เด็กคนนี้รับใช้ใกล้ชิดจนรู้ใจท่านสมภารมานาน ตายไปก็เท่ากับท่านเสียมือเสียตีนไป.เสียมือเสียตีน, เสียมือเสียเท้า ก. สูญเสียมือและตีนไป, สูญเสียมือและเท้าไป, โดยปริยายหมายถึงเสียบุคคลที่รับใช้ใกล้ชิดหรือไว้วางใจไป เช่น เด็กคนนี้รับใช้ใกล้ชิดจนรู้ใจท่านสมภารมานาน ตายไปก็เท่ากับท่านเสียมือเสียตีนไป.
เสียยุบเสียยับ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เสียแล้วเสียอีก (มักใช้แก่เงินทอง) เช่น ไปเที่ยวงานคราวนี้เสียยุบเสียยับ.เสียยุบเสียยับ ก. เสียแล้วเสียอีก (มักใช้แก่เงินทอง) เช่น ไปเที่ยวงานคราวนี้เสียยุบเสียยับ.
เสียรอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ทํารอยให้หลงเข้าใจผิด เช่น แล้วเสียรอยถอยหลังลงสู่สระศรี. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร.เสียรอย (วรรณ) ก. ทํารอยให้หลงเข้าใจผิด เช่น แล้วเสียรอยถอยหลังลงสู่สระศรี. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
เสียรังวัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง พลอยได้รับผิดด้วยในเหตุที่เกิดขึ้น, พลอยเสียหายไปด้วย, เช่น เด็กในบ้านไปขโมยมะม่วงของเพื่อนบ้าน เขามาต่อว่า เจ้าของบ้านก็พลอยเสียรังวัดไปด้วย.เสียรังวัด ก. พลอยได้รับผิดด้วยในเหตุที่เกิดขึ้น, พลอยเสียหายไปด้วย, เช่น เด็กในบ้านไปขโมยมะม่วงของเพื่อนบ้าน เขามาต่อว่า เจ้าของบ้านก็พลอยเสียรังวัดไปด้วย.
เสียราศี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เสียสง่า, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี, เสียสิริมงคล, เช่น คบคนชั่วทำให้เสียราศี.เสียราศี ก. เสียสง่า, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี, เสียสิริมงคล, เช่น คบคนชั่วทำให้เสียราศี.
เสียรำคาญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเซ้าซี้ขอให้ช่วยซื้อของก็เลยต้องซื้อเพราะอดเสียรำคาญไม่ได้, ตัดรำคาญ ก็ว่า.เสียรำคาญ ก. ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเซ้าซี้ขอให้ช่วยซื้อของก็เลยต้องซื้อเพราะอดเสียรำคาญไม่ได้, ตัดรำคาญ ก็ว่า.
เสียรู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง แพ้เพราะโง่กว่าเขาหรือไม่ทันชั้นเชิงเขา.เสียรู้ ก. แพ้เพราะโง่กว่าเขาหรือไม่ทันชั้นเชิงเขา.
เสียรูป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดรูปผิดร่างไป เช่น กระเป๋าใบนี้ใส่ของอัดแน่นจนเกินไป ทำให้เสียรูปหมด.เสียรูป ก. ผิดรูปผิดร่างไป เช่น กระเป๋าใบนี้ใส่ของอัดแน่นจนเกินไป ทำให้เสียรูปหมด.
เสียรูปคดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นผลให้คดีเปลี่ยนไปในทางที่เสียเปรียบ.เสียรูปคดี (ปาก) ก. เป็นผลให้คดีเปลี่ยนไปในทางที่เสียเปรียบ.
เสียรูปทรง, เสียรูปเสียทรง เสียรูปทรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู เสียรูปเสียทรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากรูปทรงเดิม, ผิดไปจากรูปทรงที่ถือว่างาม, เช่น เขาป่วยหนักมา ๓ เดือน ผอมมากจนเสียรูปเสียทรงหมด ตอนสาว ๆ ก็รูปร่างดี พอมีอายุมากขึ้น อ้วนเผละจนเสียรูปทรงหมด.เสียรูปทรง, เสียรูปเสียทรง ก. ผิดไปจากรูปทรงเดิม, ผิดไปจากรูปทรงที่ถือว่างาม, เช่น เขาป่วยหนักมา ๓ เดือน ผอมมากจนเสียรูปเสียทรงหมด ตอนสาว ๆ ก็รูปร่างดี พอมีอายุมากขึ้น อ้วนเผละจนเสียรูปทรงหมด.
เสียแรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเรี่ยวแรง เช่น งานนี้ทำไปก็เสียแรงเปล่า ๆ ได้ผลประโยชน์ไม่คุ้ม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่น้อยใจหรือผิดหวังที่ลงแรงไปแล้วแต่ไม่ได้ผลสมประสงค์ เช่น เสียแรงไว้วางใจให้รู้ความลับของบริษัท กลับเอาไปเปิดเผยให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ได้.เสียแรง ก. เสียเรี่ยวแรง เช่น งานนี้ทำไปก็เสียแรงเปล่า ๆ ได้ผลประโยชน์ไม่คุ้ม. ว. ที่น้อยใจหรือผิดหวังที่ลงแรงไปแล้วแต่ไม่ได้ผลสมประสงค์ เช่น เสียแรงไว้วางใจให้รู้ความลับของบริษัท กลับเอาไปเปิดเผยให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ได้.
เสียฤกษ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ทำไม่ได้ในระหว่างเวลามงคลที่กำหนดไว้ (ใช้ในทางโหราศาสตร์) เช่น เจ้าสาวเป็นลมหมดสติในระหว่างพิธีรดน้ำสังข์ เลยทำให้เสียฤกษ์; ไม่ทันเวลาที่นัดหมาย เช่น นัดกันจะไปธุระแต่เขามาไม่ทัน เสียฤกษ์หมด.เสียฤกษ์ ก. ทำไม่ได้ในระหว่างเวลามงคลที่กำหนดไว้ (ใช้ในทางโหราศาสตร์) เช่น เจ้าสาวเป็นลมหมดสติในระหว่างพิธีรดน้ำสังข์ เลยทำให้เสียฤกษ์; ไม่ทันเวลาที่นัดหมาย เช่น นัดกันจะไปธุระแต่เขามาไม่ทัน เสียฤกษ์หมด.
เสียเลือดเนื้อ, เสียเลือดเสียเนื้อ เสียเลือดเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เสียเลือดเสียเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง บาดเจ็บล้มตาย เช่น ในการสู้รบกัน ย่อมเสียเลือดเสียเนื้อเป็นธรรมดา.เสียเลือดเนื้อ, เสียเลือดเสียเนื้อ ก. บาดเจ็บล้มตาย เช่น ในการสู้รบกัน ย่อมเสียเลือดเสียเนื้อเป็นธรรมดา.
เสียเวลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เวลาหมดไป เช่น วันหนึ่ง ๆ เขาเสียเวลาคอยรถประจำทางเป็นชั่วโมง, โดยปริยายหมายความว่า หมดเวลาไปโดยไม่ได้ประโยชน์คุ้ม เช่น หนังสือเล่มนี้เสียเวลาอ่าน.เสียเวลา ก. ใช้เวลาหมดไป เช่น วันหนึ่ง ๆ เขาเสียเวลาคอยรถประจำทางเป็นชั่วโมง, โดยปริยายหมายความว่า หมดเวลาไปโดยไม่ได้ประโยชน์คุ้ม เช่น หนังสือเล่มนี้เสียเวลาอ่าน.
เสียศูนย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดจากแนวที่ถูกต้อง เช่น ปืนเสียศูนย์ ยิงได้ไม่แม่นยำ.เสียศูนย์ ก. ผิดจากแนวที่ถูกต้อง เช่น ปืนเสียศูนย์ ยิงได้ไม่แม่นยำ.
เสียเศวตฉัตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เสียความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, เสียราชสมบัติ, เสียบ้านเสียเมือง, เสียเอกราช, ใช้พูดย่อว่า เสียฉัตร ก็มี.เสียเศวตฉัตร ก. เสียความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, เสียราชสมบัติ, เสียบ้านเสียเมือง, เสียเอกราช, ใช้พูดย่อว่า เสียฉัตร ก็มี.
เสียสติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสติฟั่นเฟือน, คุ้มดีคุ้มร้าย.เสียสติ ว. มีสติฟั่นเฟือน, คุ้มดีคุ้มร้าย.
เสียสมอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นเปลืองความคิด เช่น เรื่องนี้คิดไปก็เสียสมองเปล่า ๆ ปัญหาข้อนี้ยากมาก เสียสมองอยู่นานกว่าจะคิดออก, เสียหัว ก็ว่า.เสียสมอง ก. สิ้นเปลืองความคิด เช่น เรื่องนี้คิดไปก็เสียสมองเปล่า ๆ ปัญหาข้อนี้ยากมาก เสียสมองอยู่นานกว่าจะคิดออก, เสียหัว ก็ว่า.
เสียสละ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ให้โดยยินยอม, ให้ด้วยความเต็มใจ, เช่น ทหารเสียสละชีวิตเพื่อปกป้องเอกราชของชาติ พ่อแม่เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างได้เพื่อลูก.เสียสละ ก. ให้โดยยินยอม, ให้ด้วยความเต็มใจ, เช่น ทหารเสียสละชีวิตเพื่อปกป้องเอกราชของชาติ พ่อแม่เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างได้เพื่อลูก.
เสียสัตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ละทิ้งคำมั่นสัญญา เช่น ยอมเสียชีวิตดีกว่าเสียสัตย์.เสียสัตย์ ก. ละทิ้งคำมั่นสัญญา เช่น ยอมเสียชีวิตดีกว่าเสียสัตย์.
เสียสันดาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียอุปนิสัยที่มีมาแต่กำเนิด (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น เด็กคนนี้เสียสันดาน ชอบลักขโมยของคนอื่น.เสียสันดาน (ปาก) ก. เสียอุปนิสัยที่มีมาแต่กำเนิด (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น เด็กคนนี้เสียสันดาน ชอบลักขโมยของคนอื่น.
เสียสายตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สายตาเสื่อมลงหรือเลวลง เช่น อย่าอ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างน้อย จะทำให้เสียสายตา; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า.เสียสายตา ก. ทำให้สายตาเสื่อมลงหรือเลวลง เช่น อย่าอ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างน้อย จะทำให้เสียสายตา; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า.
เสียสาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียพรหมจารี ก็ว่า.เสียสาว ก. ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียพรหมจารี ก็ว่า.
เสียเส้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เสียจังหวะ เช่น เขากำลังเล่าเรื่องตื่นเต้น เธอก็พูดขัดคอขึ้นมา ทำให้เสียเส้นหมด, พลาดโอกาสที่หวังไว้หรือที่ตั้งใจไว้ เช่น เตรียมจัดงานใหญ่โตเพื่อต้อนรับผู้ใหญ่ แต่ปรากฏว่าท่านไม่มา ทำให้เสียเส้นหมด.เสียเส้น ก. เสียจังหวะ เช่น เขากำลังเล่าเรื่องตื่นเต้น เธอก็พูดขัดคอขึ้นมา ทำให้เสียเส้นหมด, พลาดโอกาสที่หวังไว้หรือที่ตั้งใจไว้ เช่น เตรียมจัดงานใหญ่โตเพื่อต้อนรับผู้ใหญ่ แต่ปรากฏว่าท่านไม่มา ทำให้เสียเส้นหมด.
เสียหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ขายหน้า เช่น ลูกประพฤติตัวไม่ดี พลอยทำให้พ่อแม่เสียหน้าไปด้วย.เสียหน้า ก. ขายหน้า เช่น ลูกประพฤติตัวไม่ดี พลอยทำให้พ่อแม่เสียหน้าไปด้วย.
เสียหลัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากหลักการ หลักเกณฑ์ หรือความถูกต้องเป็นต้น เช่น เป็นผู้ใหญ่มีคนเขานับถือ ทำสิ่งใดอย่าให้เสียหลัก; ซวดเซ, พลาดท่า, ทรงตัวไม่ได้, เช่น คนเมาเสียหลักเลยพลัดตกลงไปในคลอง.เสียหลัก ก. ผิดไปจากหลักการ หลักเกณฑ์ หรือความถูกต้องเป็นต้น เช่น เป็นผู้ใหญ่มีคนเขานับถือ ทำสิ่งใดอย่าให้เสียหลัก; ซวดเซ, พลาดท่า, ทรงตัวไม่ได้, เช่น คนเมาเสียหลักเลยพลัดตกลงไปในคลอง.
เสียหลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียทรัพย์สินเงินทองเป็นต้นไปมาก เช่น งานนี้เสียหลายแล้ว ยังไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย; เสียเปล่า (ใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กกำพร้าคนนี้ เลี้ยงไว้จนโตก็พึ่งได้ ไม่เสียหลาย งานวิจัยชิ้นนี้ทำไปก็ได้ประโยชน์ ไม่เสียหลาย.เสียหลาย ก. เสียทรัพย์สินเงินทองเป็นต้นไปมาก เช่น งานนี้เสียหลายแล้ว ยังไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย; เสียเปล่า (ใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กกำพร้าคนนี้ เลี้ยงไว้จนโตก็พึ่งได้ ไม่เสียหลาย งานวิจัยชิ้นนี้ทำไปก็ได้ประโยชน์ ไม่เสียหลาย.
เสียหัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหัวไป; สิ้นเปลืองความคิด เช่น ปัญหาโลกแตกอย่างนี้ อย่าคิดให้เสียหัวเลย เลขข้อนี้กว่าจะทำได้ก็เสียหัวไปหลายชั่วโมง, เสียสมอง ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง เสียภาษี.เสียหัว ก. สูญเสียหัวไป; สิ้นเปลืองความคิด เช่น ปัญหาโลกแตกอย่างนี้ อย่าคิดให้เสียหัวเลย เลขข้อนี้กว่าจะทำได้ก็เสียหัวไปหลายชั่วโมง, เสียสมอง ก็ว่า; (ถิ่น–อีสาน) เสียภาษี.
เสียหาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมเสีย เช่น เขาประพฤติตัวไม่ดี ทำให้วงศ์ตระกูลพลอยเสียหายไปด้วย; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนตกหนัก น้ำท่วมไร่นาเสียหายหมด, เสีย ก็ว่า.เสียหาย ก. เสื่อมเสีย เช่น เขาประพฤติตัวไม่ดี ทำให้วงศ์ตระกูลพลอยเสียหายไปด้วย; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนตกหนัก น้ำท่วมไร่นาเสียหายหมด, เสีย ก็ว่า.
เสียหู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหูไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น เรื่องไร้สาระเช่นนี้ ฉันไม่ฟังให้เสียหูหรอก.เสียหู ก. สูญเสียหูไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น เรื่องไร้สาระเช่นนี้ ฉันไม่ฟังให้เสียหูหรอก.
เสียหูเสียตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหูและตาไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยากดูไม่อยากฟัง เช่น ละครไม่มีคุณภาพอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียหูเสียตาหรอก.เสียหูเสียตา ก. สูญเสียหูและตาไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยากดูไม่อยากฟัง เช่น ละครไม่มีคุณภาพอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียหูเสียตาหรอก.
เสียเหลี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เสียชั้นเชิงท่าที เช่น ในการเจรจาอย่าให้เสียเหลี่ยมเขาได้, ถูกลบเหลี่ยม เช่น นักเลงโตเสียเหลี่ยม ถูกนักเลงรุ่นน้องดักตีหัว, เสียเหลี่ยมเสียคม ก็ว่า.เสียเหลี่ยม ก. เสียชั้นเชิงท่าที เช่น ในการเจรจาอย่าให้เสียเหลี่ยมเขาได้, ถูกลบเหลี่ยม เช่น นักเลงโตเสียเหลี่ยม ถูกนักเลงรุ่นน้องดักตีหัว, เสียเหลี่ยมเสียคม ก็ว่า.
เสียเหลี่ยมเสียคม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเหลี่ยม.เสียเหลี่ยมเสียคม ก. เสียเหลี่ยม.
เสียอารมณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง หงุดหงิด เช่น รถติดมากเลยทำให้เสียอารมณ์.เสียอารมณ์ ก. หงุดหงิด เช่น รถติดมากเลยทำให้เสียอารมณ์.
เสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ คําประกอบท้ายกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อให้เน้นความหมายหรือให้เสร็จไป เช่น กินเสีย มัวไปช้าเสีย.เสีย ๒ คําประกอบท้ายกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อให้เน้นความหมายหรือให้เสร็จไป เช่น กินเสีย มัวไปช้าเสีย.
เสียซิ, เสียซี เสียซิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ เสียซี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี คำประกอบท้ายกริยา แสดงคำสั่งหรือแนะนำเป็นต้น เช่น กินเสียซิ ไปเสียซี.เสียซิ, เสียซี คำประกอบท้ายกริยา แสดงคำสั่งหรือแนะนำเป็นต้น เช่น กินเสียซิ ไปเสียซี.
เสียได้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โทคำประกอบท้ายกริยา แสดงความผิดหวังเป็นต้น เช่น ตั้งใจมาหาเพื่อนทั้งที กลับไม่อยู่เสียได้.เสียได้ คำประกอบท้ายกริยา แสดงความผิดหวังเป็นต้น เช่น ตั้งใจมาหาเพื่อนทั้งที กลับไม่อยู่เสียได้.
เสียเถอะ, เสียเถิด เสียเถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เสียเถิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด.เสียเถอะ, เสียเถิด คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด.
เสียที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ คำประกอบท้ายกริยา แสดงความตั้งใจมั่นหมาย เช่น วันนี้มีเวลาว่าง จะได้จัดโต๊ะหนังสือเสียที, คำประกอบท้ายกริยา แสดงความโล่งใจ เช่น เขามานั่งคุยอยู่นานกลับไปเสียที เราจะได้ทำอย่างอื่นบ้าง.เสียที ๒ คำประกอบท้ายกริยา แสดงความตั้งใจมั่นหมาย เช่น วันนี้มีเวลาว่าง จะได้จัดโต๊ะหนังสือเสียที, คำประกอบท้ายกริยา แสดงความโล่งใจ เช่น เขามานั่งคุยอยู่นานกลับไปเสียที เราจะได้ทำอย่างอื่นบ้าง.
เสียแล้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวนคำประกอบท้ายกริยา แสดงความเป็นอดีต เช่น ยังไม่ทันได้พูดคุยกันเลย เขาก็กลับไปเสียแล้ว.เสียแล้ว คำประกอบท้ายกริยา แสดงความเป็นอดีต เช่น ยังไม่ทันได้พูดคุยกันเลย เขาก็กลับไปเสียแล้ว.
เสียหน่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยักคำประกอบท้ายกริยา แสดงความอ้อนวอนหรือความไม่เต็มใจเป็นต้น เช่น กินเสียหน่อยนะ ไปงานเขาเสียหน่อย ทำเสียหน่อย.เสียหน่อย คำประกอบท้ายกริยา แสดงความอ้อนวอนหรือความไม่เต็มใจเป็นต้น เช่น กินเสียหน่อยนะ ไปงานเขาเสียหน่อย ทำเสียหน่อย.
เสียหนัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่คำประกอบท้ายกริยา หมายความว่า มาก เช่น งานอย่างนี้ ทำมาเสียหนักแล้ว.เสียหนัก คำประกอบท้ายกริยา หมายความว่า มาก เช่น งานอย่างนี้ ทำมาเสียหนักแล้ว.
เสียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก.เสียง น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก.
เสียงกระเส่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เสียงสั่นเครือและเบา.เสียงกระเส่า น. เสียงสั่นเครือและเบา.
เสียงกร้าว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดด้วยเสียงแข็งกระด้าง เช่น เขาพูดเสียงกร้าว ไม่ยำเกรงใคร.เสียงกร้าว ว. อาการที่พูดด้วยเสียงแข็งกระด้าง เช่น เขาพูดเสียงกร้าว ไม่ยำเกรงใคร.
เสียงก้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงดังมากอย่างเสียงในที่จำกัด เช่นในโบสถ์; เสียงดังไปได้ไกล.เสียงก้อง น. เสียงดังมากอย่างเสียงในที่จำกัด เช่นในโบสถ์; เสียงดังไปได้ไกล.
เสียงกังวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงแผ่กระจายอยู่ได้นาน; กระแสเสียงแจ่มใส.เสียงกังวาน น. เสียงแผ่กระจายอยู่ได้นาน; กระแสเสียงแจ่มใส.
เสียงเกรี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาคงกำลังโกรธอยู่ เราพูดด้วยดี ๆ กลับตวาดเสียงเกรี้ยว, เสียงเขียว ก็ว่า.เสียงเกรี้ยว ว. อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาคงกำลังโกรธอยู่ เราพูดด้วยดี ๆ กลับตวาดเสียงเกรี้ยว, เสียงเขียว ก็ว่า.
เสียงเขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาเข้าไปผิดจังหวะ หัวหน้ากำลังโกรธอยู่ เลยถูกตวาดเสียงเขียว, เสียงเกรี้ยว ก็ว่า.เสียงเขียว ว. อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาเข้าไปผิดจังหวะ หัวหน้ากำลังโกรธอยู่ เลยถูกตวาดเสียงเขียว, เสียงเกรี้ยว ก็ว่า.
เสียงแข็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว; อาการที่พูดด้วยน้ำเสียงไม่สุภาพ เช่น อย่าพูดเสียงแข็งกับพ่อแม่. เป็นคำนาม หมายถึง คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่.เสียงแข็ง ว. อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว; อาการที่พูดด้วยน้ำเสียงไม่สุภาพ เช่น อย่าพูดเสียงแข็งกับพ่อแม่. น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่.
เสียงเงียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด.เสียงเงียบ (สำ) น. กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด.
เสียงดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เสียงเพราะ; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ.เสียงดี น. เสียงเพราะ; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ.
เสียงตก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถในการร้องเพลงต่ำกว่าระดับเดิม เพราะร้องมากไปหรืออายุมากขึ้นเป็นต้น เช่น นักร้องคนนี้เคยเสียงดี แต่เวลานี้เสียงตกไปมาก เพราะอายุมากขึ้น; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก.เสียงตก น. ความสามารถในการร้องเพลงต่ำกว่าระดับเดิม เพราะร้องมากไปหรืออายุมากขึ้นเป็นต้น เช่น นักร้องคนนี้เคยเสียงดี แต่เวลานี้เสียงตกไปมาก เพราะอายุมากขึ้น; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก.
เสียงตามสาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่ส่งออกไปโดยใช้สายเป็นสื่อ.เสียงตามสาย น. เสียงที่ส่งออกไปโดยใช้สายเป็นสื่อ.
เสียงแตก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดในตอนแตกเนื้อหนุ่ม เช่น เด็กคนนี้พูดเสียงแตก แสดงว่าเริ่มจะเป็นหนุ่มแล้ว; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน.เสียงแตก น. เสียงพูดในตอนแตกเนื้อหนุ่ม เช่น เด็กคนนี้พูดเสียงแตก แสดงว่าเริ่มจะเป็นหนุ่มแล้ว; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน.
เสียงแตกพร่า, เสียงพร่า เสียงแตกพร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เสียงพร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่ไม่ชัดเจนแจ่มใส แหบเครือ ไม่สม่ำเสมอ คล้ายมี ๒ เสียงปนกัน เช่น เปิดวิทยุไม่ตรงคลื่น ทำให้เสียงแตกพร่า ฟังไม่รู้เรื่อง.เสียงแตกพร่า, เสียงพร่า น. น้ำเสียงที่ไม่ชัดเจนแจ่มใส แหบเครือ ไม่สม่ำเสมอ คล้ายมี ๒ เสียงปนกัน เช่น เปิดวิทยุไม่ตรงคลื่น ทำให้เสียงแตกพร่า ฟังไม่รู้เรื่อง.
เสียงทอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงเพราะเป็นพิเศษทำให้มีคนนิยมมาก เช่น เขาเป็นนักร้องเสียงทอง.เสียงทอง ว. มีเสียงเพราะเป็นพิเศษทำให้มีคนนิยมมาก เช่น เขาเป็นนักร้องเสียงทอง.
เสียงเท่าฟ้าหน้าเท่ากลอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เสียงอึกทึกครึกโครมแสดงว่ามีความสนุกสนานร่าเริงเต็มที่, เสียงดังมาก.เสียงเท่าฟ้าหน้าเท่ากลอง (สำ) น. เสียงอึกทึกครึกโครมแสดงว่ามีความสนุกสนานร่าเริงเต็มที่, เสียงดังมาก.
เสียงนกเสียงกา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็นของคนที่ไม่มีอำนาจ เช่น เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ น่าจะฟังเสียงนกเสียงกาบ้าง.เสียงนกเสียงกา (สำ) น. ความเห็นของคนที่ไม่มีอำนาจ เช่น เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ น่าจะฟังเสียงนกเสียงกาบ้าง.
เสียงปร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริง, เสียงตอบรับที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ.เสียงปร่า น. เสียงพูดที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริง, เสียงตอบรับที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ.
เสียงแปร่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ.เสียงแปร่ง น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ.
เสียงแปร่งหู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่.เสียงแปร่งหู น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่.
เสียงพยัญชนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก.เสียงพยัญชนะ น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก.
เสียงเพี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย.เสียงเพี้ยน น. เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย.
เสียงเล็กเสียงน้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เล็กหรือเบากว่าปรกติในลักษณะออดอ้อนเป็นต้น.เสียงเล็กเสียงน้อย น. น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เล็กหรือเบากว่าปรกติในลักษณะออดอ้อนเป็นต้น.
เสียงเลื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงร้องเพลงที่ผิดระดับไปทีละน้อย ๆ.เสียงเลื่อน น. เสียงร้องเพลงที่ผิดระดับไปทีละน้อย ๆ.
เสียงเลื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง).เสียงเลื้อน (โบ) น. เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง).
เสียงสระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก.เสียงสระ น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก.
เสียงสวรรค์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์.เสียงสวรรค์ น. เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์.
เสียงสะท้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง.เสียงสะท้อน น. เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง.
เสียงหลง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่แผดดังผิดปรกติ เช่น เธอตกใจร้องจนเสียงหลง; เสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรี เช่น เขาเป็นนักร้องไม่ได้ เพราะร้องเสียงหลงอยู่เสมอ.เสียงหลง น. เสียงที่แผดดังผิดปรกติ เช่น เธอตกใจร้องจนเสียงหลง; เสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรี เช่น เขาเป็นนักร้องไม่ได้ เพราะร้องเสียงหลงอยู่เสมอ.
เสียงหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงไพเราะนุ่มนวลน่าฟัง.เสียงหวาน น. น้ำเสียงไพเราะนุ่มนวลน่าฟัง.
เสียงห้าว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เสียงใหญ่ เช่น ผู้ชายมักมีเสียงห้าวกว่าผู้หญิง.เสียงห้าว น. เสียงใหญ่ เช่น ผู้ชายมักมีเสียงห้าวกว่าผู้หญิง.
เสียงเหน่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน.เสียงเหน่อ น. เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน.
เสียงแหบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่แห้งไม่แจ่มใส; ชื่อของกลุ่มเสียงที่บีบให้สูงเป็นพิเศษของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยเฉพาะปี่ใน.เสียงแหบ น. เสียงที่แห้งไม่แจ่มใส; ชื่อของกลุ่มเสียงที่บีบให้สูงเป็นพิเศษของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยเฉพาะปี่ใน.
เสียงอ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คําพูดที่เพลาความแข็งลง.เสียงอ่อน น. คําพูดที่เพลาความแข็งลง.
เสียงอ่อนเสียงหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่ไพเราะน่าฟัง, น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เบา ช้าลง และไพเราะน่าฟัง เพื่อประจบเป็นต้น.เสียงอ่อนเสียงหวาน น. น้ำเสียงที่ไพเราะน่าฟัง, น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เบา ช้าลง และไพเราะน่าฟัง เพื่อประจบเป็นต้น.
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง.เสี่ยง ๑ น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง.
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู.เสี่ยง ๒ ก. ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู.
เสี่ยงบุญเสี่ยงกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ลองทำดูโดยเชื่อว่าสุดแต่บุญหรือบาปจะบันดาลให้เป็นไป เช่น ลองเสี่ยงบุญเสี่ยงกรรมขอเด็กกำพร้ามาเลี้ยงดู ถ้าเขามีบุญก็จะได้ดิบได้ดีต่อไป.เสี่ยงบุญเสี่ยงกรรม ก. ลองทำดูโดยเชื่อว่าสุดแต่บุญหรือบาปจะบันดาลให้เป็นไป เช่น ลองเสี่ยงบุญเสี่ยงกรรมขอเด็กกำพร้ามาเลี้ยงดู ถ้าเขามีบุญก็จะได้ดิบได้ดีต่อไป.
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง มีโอกาสจะได้รับทุกข์หรืออันตรายเป็นต้น เช่น พูดอย่างนี้เสี่ยงคุกเสี่ยงตะราง.เสี่ยง ๓ ก. มีโอกาสจะได้รับทุกข์หรืออันตรายเป็นต้น เช่น พูดอย่างนี้เสี่ยงคุกเสี่ยงตะราง.
เสี่ยงชีวิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมทำสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต เช่น ทหารเสี่ยงชีวิตเข้ากู้กับระเบิด.เสี่ยงชีวิต ก. ยอมทำสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต เช่น ทหารเสี่ยงชีวิตเข้ากู้กับระเบิด.
เสี่ยงภัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทำลงไปโดยไม่เกรงอันตราย เช่น ตำรวจดับเพลิงเสี่ยงภัยเข้าไปช่วยคนที่ติดอยู่ในบ้านที่ไฟกำลังไหม้.เสี่ยงภัย ก. ทำลงไปโดยไม่เกรงอันตราย เช่น ตำรวจดับเพลิงเสี่ยงภัยเข้าไปช่วยคนที่ติดอยู่ในบ้านที่ไฟกำลังไหม้.
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา.เสี่ยง ๔ ก. ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา.
เสี่ยงทาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง หาคำทำนายโชคชะตาของตนจากสลากหรือใบเซียมซีโดยการสั่นติ้วหรือโยนไม้เสี่ยงทายเป็นต้น.เสี่ยงทาย ก. หาคำทำนายโชคชะตาของตนจากสลากหรือใบเซียมซีโดยการสั่นติ้วหรือโยนไม้เสี่ยงทายเป็นต้น.
เสียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์; เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า; อาการที่รู้สึกอึดอัดหรือแทงยอกในท้องหรืออกเนื่องจากมีลมอยู่ ในคำว่า เสียดท้อง เสียดอก.เสียด ก. เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด. (นิ. นรินทร์); เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า; อาการที่รู้สึกอึดอัดหรือแทงยอกในท้องหรืออกเนื่องจากมีลมอยู่ ในคำว่า เสียดท้อง เสียดอก.
เสียดแทง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร.เสียดแทง ว. อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร.
เสียดแทรก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เบียดเข้าไปในระหว่างกลุ่มคนหรือของจำนวนมากที่อยู่ชิด ๆ กัน.เสียดแทรก ก. เบียดเข้าไปในระหว่างกลุ่มคนหรือของจำนวนมากที่อยู่ชิด ๆ กัน.
เสียดใบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง แล่นก้าวให้ใบเฉียงลม.เสียดใบ ก. แล่นก้าวให้ใบเฉียงลม.
เสียดสี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกัน เช่น กิ่งไม้เสียดสีกันจนเกิดไฟไหม้ป่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ว่ากระทบกระเทียบเหน็บแนมด้วยความอิจฉาเป็นต้น เช่น เธอไม่ชอบเขา จึงพูดเสียดสีเขาเสมอ ๆ.เสียดสี ก. ถูกัน เช่น กิ่งไม้เสียดสีกันจนเกิดไฟไหม้ป่า. ว. อาการที่ว่ากระทบกระเทียบเหน็บแนมด้วยความอิจฉาเป็นต้น เช่น เธอไม่ชอบเขา จึงพูดเสียดสีเขาเสมอ ๆ.
เสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อไม้ที่แตกเป็นเส้นเล็ก ๆ ปลายแหลมอย่างหนาม, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หน่อไม้แก่มีเนื้อเป็นเสี้ยน; ข้าศึก เช่น สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์, เหือดเสี้ยนศึกสยาม สิ้นนาฯ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.เสี้ยน ๑ น. เนื้อไม้ที่แตกเป็นเส้นเล็ก ๆ ปลายแหลมอย่างหนาม, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หน่อไม้แก่มีเนื้อเป็นเสี้ยน; ข้าศึก เช่น สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน. (นิ. นรินทร์), เหือดเสี้ยนศึกสยาม สิ้นนาฯ. (ตะเลงพ่าย).
เสี้ยนแผ่นดิน, เสี้ยนหนามแผ่นดิน เสี้ยนแผ่นดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เสี้ยนหนามแผ่นดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึก, ผู้ที่คิดคดทรยศต่อแผ่นดิน.เสี้ยนแผ่นดิน, เสี้ยนหนามแผ่นดิน น. ข้าศึก, ผู้ที่คิดคดทรยศต่อแผ่นดิน.
เสี้ยนศึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย.เสี้ยนศึก (โบ) น. ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย.
เสี้ยนหนาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึกศัตรูที่ก่อความเดือดร้อนให้.เสี้ยนหนาม น. ข้าศึกศัตรูที่ก่อความเดือดร้อนให้.
เสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Diplospora singularis Korth. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ ผลกลม.เสี้ยน ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diplospora singularis Korth. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ ผลกลม.
เสียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แทงคาไว้ เช่น เอาไม้แหลมเสียบปลา เอามีดเสียบพุง, เอาของดันลงบนปลายสิ่งที่แหลม ๆ เช่น เอากระดาษเสียบบนที่เสียบกระดาษ, เหน็บ เช่น เอาจดหมายเสียบไว้ที่ประตู; ยืนตัวแข็งทื่อต่อหน้าผู้ใหญ่เป็นการแสดงกิริยาไม่อ่อนน้อม เรียกว่า ยืนเสียบ.เสียบ ๑ ก. แทงคาไว้ เช่น เอาไม้แหลมเสียบปลา เอามีดเสียบพุง, เอาของดันลงบนปลายสิ่งที่แหลม ๆ เช่น เอากระดาษเสียบบนที่เสียบกระดาษ, เหน็บ เช่น เอาจดหมายเสียบไว้ที่ประตู; ยืนตัวแข็งทื่อต่อหน้าผู้ใหญ่เป็นการแสดงกิริยาไม่อ่อนน้อม เรียกว่า ยืนเสียบ.
เสียบยอด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง โดยตัดกิ่งต้นที่จะขยายซึ่งมีตาติดอยู่ ปาดปลายให้เป็นรูปลิ่มแล้วนำไปเสียบที่กิ่งของอีกต้นหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยผ่าบากกิ่งไว้ให้เสียบได้ พันด้วยแถบพลาสติกให้แน่น. เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเช่นนั้น.เสียบยอด น. วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง โดยตัดกิ่งต้นที่จะขยายซึ่งมีตาติดอยู่ ปาดปลายให้เป็นรูปลิ่มแล้วนำไปเสียบที่กิ่งของอีกต้นหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยผ่าบากกิ่งไว้ให้เสียบได้ พันด้วยแถบพลาสติกให้แน่น. ก. ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเช่นนั้น.
เสียบหนู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน; ไม้ฝนทองที่เขียนบนพินทุอิ เป็น สระอี.เสียบหนู น. ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน; ไม้ฝนทองที่เขียนบนพินทุอิ เป็น สระอี.
เสียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Donax faba ในวงศ์ Donacidae เปลือกรูปสามเหลี่ยมสีเหลืองนวล ลายสลับสีเข้มหลากสี เช่น นํ้าตาลเข้ม ฝังตัวอยู่ตามหาดทรายในระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง นํามาดองนํ้าปลา.เสียบ ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Donax faba ในวงศ์ Donacidae เปลือกรูปสามเหลี่ยมสีเหลืองนวล ลายสลับสีเข้มหลากสี เช่น นํ้าตาลเข้ม ฝังตัวอยู่ตามหาดทรายในระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง นํามาดองนํ้าปลา.
เสียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องมือสําหรับขุด แซะ และพรวนดินชนิดหนึ่ง ทำด้วยเหล็ก มีด้ามยาว.เสียม ๑ น. ชื่อเครื่องมือสําหรับขุด แซะ และพรวนดินชนิดหนึ่ง ทำด้วยเหล็ก มีด้ามยาว.
เสียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เมืองไทย, ไทย. (เป็นสําเนียงที่ชาวต่างประเทศเรียกเพี้ยนจากคํา สยาม).เสียม ๒ น. เมืองไทย, ไทย. (เป็นสําเนียงที่ชาวต่างประเทศเรียกเพี้ยนจากคํา สยาม).
เสี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสงี่ยม.เสี่ยม (โบ) ว. เสงี่ยม.
เสี่ยมสาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสงี่ยมงาม.เสี่ยมสาร ว. เสงี่ยมงาม.
เสี้ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แหลม เช่น เสี้ยมไม้; โดยปริยายหมายความว่า ยุแหย่ให้เขาแตกกันหรือทะเลาะกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะค่อนข้างแหลม ในคำว่า หน้าเสี้ยม คางเสี้ยม.เสี้ยม ก. ทําให้แหลม เช่น เสี้ยมไม้; โดยปริยายหมายความว่า ยุแหย่ให้เขาแตกกันหรือทะเลาะกัน. ว. มีลักษณะค่อนข้างแหลม ในคำว่า หน้าเสี้ยม คางเสี้ยม.
เสี้ยมเขาควายให้ชนกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยุยงให้โกรธ เกลียด หรือวิวาทกัน.เสี้ยมเขาควายให้ชนกัน (สำ) ก. ยุยงให้โกรธ เกลียด หรือวิวาทกัน.
เสี้ยมสอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สอนโดยยุยงให้ใช้เล่ห์กล เช่น เขาถูกเสี้ยมสอนให้กระด้างกระเดื่องต่อฝ่ายปกครอง เขาเสี้ยมสอนลูกให้เป็นโจร.เสี้ยมสอน ก. สอนโดยยุยงให้ใช้เล่ห์กล เช่น เขาถูกเสี้ยมสอนให้กระด้างกระเดื่องต่อฝ่ายปกครอง เขาเสี้ยมสอนลูกให้เป็นโจร.
เสียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทําให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกําหนัด; โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกเกรง เช่น เขาไม่ได้ส่งการบ้านเสียวอยู่ตลอดเวลาว่าครูจะเรียกไปลงโทษ.เสียว ก. รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทําให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกําหนัด; โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกเกรง เช่น เขาไม่ได้ส่งการบ้านเสียวอยู่ตลอดเวลาว่าครูจะเรียกไปลงโทษ.
เสียวซ่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกวาบวับเข้าไปในหัวใจด้วยความกำหนัดยินดี.เสียวซ่าน ก. รู้สึกวาบวับเข้าไปในหัวใจด้วยความกำหนัดยินดี.
เสียวฟัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกแปลบที่ฟันเพราะเคลือบฟันสึกหรือฟันเป็นรูเป็นต้น.เสียวฟัน ก. รู้สึกแปลบที่ฟันเพราะเคลือบฟันสึกหรือฟันเป็นรูเป็นต้น.
เสียวสยอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหวาดกลัวจนขนลุกขนชัน เช่น เกิดอุบัติเหตุรถชนกัน คนตายเป็นจำนวนมาก เห็นแล้วเสียวสยอง.เสียวสยอง ก. รู้สึกหวาดกลัวจนขนลุกขนชัน เช่น เกิดอุบัติเหตุรถชนกัน คนตายเป็นจำนวนมาก เห็นแล้วเสียวสยอง.
เสียวสันหลัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกหวาดกลัว เช่น เดินในป่าช้ายามดึก รู้สึกเสียวสันหลัง, หนาวสันหลัง ก็ว่า.เสียวสันหลัง ว. รู้สึกหวาดกลัว เช่น เดินในป่าช้ายามดึก รู้สึกเสียวสันหลัง, หนาวสันหลัง ก็ว่า.
เสียวไส้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เด็กเอาปืนมาเล่นกัน เห็นแล้วเสียวไส้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เขาขับรถเร็วมากจนน่าเสียวไส้.เสียวไส้ ก. รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เด็กเอาปืนมาเล่นกัน เห็นแล้วเสียวไส้. ว. อาการที่รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เขาขับรถเร็วมากจนน่าเสียวไส้.
เสี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน, เกลอ.เสี่ยว ๑ (ถิ่น–อีสาน) น. เพื่อน, เกลอ.
เสี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เฉี่ยว, ขวิด.เสี่ยว ๒ (โบ) ก. เฉี่ยว, ขวิด.
เสี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วน ๑ ใน ๔ เช่น เขาผ่าแตงโมออกเป็น ๔ เสี้ยว, ส่วนย่อย เช่น เขาผ่าฟักทองเป็นเสี้ยวเล็ก ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉ, ไม่ตรง, เช่น เธอตัดผ้าเสี้ยว.เสี้ยว น. ส่วน ๑ ใน ๔ เช่น เขาผ่าแตงโมออกเป็น ๔ เสี้ยว, ส่วนย่อย เช่น เขาผ่าฟักทองเป็นเสี้ยวเล็ก ๆ. ว. เฉ, ไม่ตรง, เช่น เธอตัดผ้าเสี้ยว.
เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว แต่ตัวใหญ่กว่า เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินเวลากลางคืน มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง (Panthera tigris) เสือดาว หรือ เสือดํา (P. pardus), โดยปริยายใช้เรียกคนเก่งคนดุร้าย; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวต่อมนํ้า ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวไต้ไฟ ก็เรียก.เสือ ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว แต่ตัวใหญ่กว่า เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินเวลากลางคืน มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง (Panthera tigris) เสือดาว หรือ เสือดํา (P. pardus), โดยปริยายใช้เรียกคนเก่งคนดุร้าย; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวต่อมนํ้า ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวไต้ไฟ ก็เรียก.
เสือกระดาษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ประเทศ องค์การ หรือผู้ที่ทําท่าทีประหนึ่งมีอํานาจมากแต่ความจริงไม่มี.เสือกระดาษ (ปาก) น. ประเทศ องค์การ หรือผู้ที่ทําท่าทีประหนึ่งมีอํานาจมากแต่ความจริงไม่มี.
เสือกระต่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู แมวป่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ที่ แมว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.เสือกระต่าย ดู แมวป่า ที่ แมว ๑.
เสือกินวัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสขีดเป็นตา ๑๖ ตา มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย ฝ่ายเสือมี ๔ ตัว ฝ่ายวัวมี ๑๒ ตัว โดยฝ่ายเสือวางเสือ ๔ ตัวไว้ที่มุมทั้ง ๔ แล้วฝ่ายวัวจะวางวัวลงในช่องทีละตัว พยายามไม่ให้เสือกินได้ การเดินต้องเดินทางตรงทีละช่อง เวลาเสือกินวัวต้องข้ามวัวไป ๑ ช่อง ถ้าเสือถูกล้อมจนเดินไม่ได้ ฝ่ายเสือก็แพ้ ถ้าฝ่ายวัวถูกเสือกินหมด ฝ่ายวัวก็แพ้.เสือกินวัว น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสขีดเป็นตา ๑๖ ตา มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย ฝ่ายเสือมี ๔ ตัว ฝ่ายวัวมี ๑๒ ตัว โดยฝ่ายเสือวางเสือ ๔ ตัวไว้ที่มุมทั้ง ๔ แล้วฝ่ายวัวจะวางวัวลงในช่องทีละตัว พยายามไม่ให้เสือกินได้ การเดินต้องเดินทางตรงทีละช่อง เวลาเสือกินวัวต้องข้ามวัวไป ๑ ช่อง ถ้าเสือถูกล้อมจนเดินไม่ได้ ฝ่ายเสือก็แพ้ ถ้าฝ่ายวัวถูกเสือกินหมด ฝ่ายวัวก็แพ้.
เสือเก่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถหรือมีอํานาจมาก่อน.เสือเก่า (ปาก) น. คนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถหรือมีอํานาจมาก่อน.
เสือข้ามห้วย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นโดยใช้วิธีกระโดดข้ามกัน.เสือข้ามห้วย น. ชื่อการเล่นโดยใช้วิธีกระโดดข้ามกัน.
เสือจนท่า ข้าจนทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง จำเป็นต้องยอมเพื่อเอาตัวรอด.เสือจนท่า ข้าจนทาง (สำ) จำเป็นต้องยอมเพื่อเอาตัวรอด.
เสือซ่อนเล็บ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มีความเก่งกล้าสามารถแต่ไม่ยอมแสดงออกมาให้ปรากฏ, ผู้มีเล่ห์กลอยู่ในใจ, ผู้เก็บความรู้สึกไว้ได้ดี; ชื่อเรียกอาวุธชนิดหนึ่ง อย่างมีดพก ๒ เล่ม สอดประกบกันสนิทดูเหมือนว่าเป็นไม้แท่งเดียว.เสือซ่อนเล็บ (สำ) น. ผู้ที่มีความเก่งกล้าสามารถแต่ไม่ยอมแสดงออกมาให้ปรากฏ, ผู้มีเล่ห์กลอยู่ในใจ, ผู้เก็บความรู้สึกไว้ได้ดี; ชื่อเรียกอาวุธชนิดหนึ่ง อย่างมีดพก ๒ เล่ม สอดประกบกันสนิทดูเหมือนว่าเป็นไม้แท่งเดียว.
เสือเฒ่าจำศีล, เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ เสือเฒ่าจำศีล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ชายสูงอายุที่มีท่าทีสงบเสงี่ยมน่านับถือ แต่เจ้ามารยามีเล่ห์เหลี่ยมมาก.เสือเฒ่าจำศีล, เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ (สำ) น. ชายสูงอายุที่มีท่าทีสงบเสงี่ยมน่านับถือ แต่เจ้ามารยามีเล่ห์เหลี่ยมมาก.
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒.เสือดาว ๑ ดู ดาว ๒.
เสือดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒.เสือดำ ดู ดาว ๒.
เสือตกถัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีเหยื่อห้อยไว้เหนือแผ่นกระดก เมื่อหนูไปเหยียบปลายแผ่นกระดกเพื่อจะกินเหยื่อ ปลายแผ่นก็กระดกลงเพราะน้ำหนักตัวของหนู เมื่อหนูตกลง แผ่นกระดกก็กลับคืนที่ ปิดช่องไว้ หนูออกไม่ได้; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง วิธีเล่นต้องขีดเส้นตรง ๒ เส้นตัดกัน แล้วเขียนวงกลมไว้ระหว่างเส้นแห่งใดแห่งหนึ่ง สมมุติให้เป็นถัง ผู้เล่นมี ๒ ฝ่าย สมมุติเป็นเสือฝ่ายละ ๒ ตัว แต่ละฝ่ายจะสลับกันเดิน โดยเดินจากปลายเส้นหนึ่งไปยังปลายอีกเส้นหนึ่ง หรือจากปลายเส้นมายังจุดกลางก็ได้ ถ้าเสือฝ่ายใดเดินแล้วตกถัง ก็เป็นฝ่ายแพ้.เสือตกถัง น. ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีเหยื่อห้อยไว้เหนือแผ่นกระดก เมื่อหนูไปเหยียบปลายแผ่นกระดกเพื่อจะกินเหยื่อ ปลายแผ่นก็กระดกลงเพราะน้ำหนักตัวของหนู เมื่อหนูตกลง แผ่นกระดกก็กลับคืนที่ ปิดช่องไว้ หนูออกไม่ได้; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง วิธีเล่นต้องขีดเส้นตรง ๒ เส้นตัดกัน แล้วเขียนวงกลมไว้ระหว่างเส้นแห่งใดแห่งหนึ่ง สมมุติให้เป็นถัง ผู้เล่นมี ๒ ฝ่าย สมมุติเป็นเสือฝ่ายละ ๒ ตัว แต่ละฝ่ายจะสลับกันเดิน โดยเดินจากปลายเส้นหนึ่งไปยังปลายอีกเส้นหนึ่ง หรือจากปลายเส้นมายังจุดกลางก็ได้ ถ้าเสือฝ่ายใดเดินแล้วตกถัง ก็เป็นฝ่ายแพ้.
เสือตบก้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีไม้ตบตัวหนูให้ติดอยู่กับปากกระบอกเมื่อไกลั่น.เสือตบก้น น. ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีไม้ตบตัวหนูให้ติดอยู่กับปากกระบอกเมื่อไกลั่น.
เสือติดจั่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินงุ่นง่านวนไปมาเหมือนเสือที่ติดอยู่ในจั่นหับ.เสือติดจั่น (สำ) ว. อาการที่เดินงุ่นง่านวนไปมาเหมือนเสือที่ติดอยู่ในจั่นหับ.
เสือทลายห้าง ช้างทลายโรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่แสดงกิริยาเอะอะตึงตัง.เสือทลายห้าง ช้างทลายโรง (สำ) น. คนที่แสดงกิริยาเอะอะตึงตัง.
เสือนอนกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ได้รับผลประโยชน์หรือผลกําไรโดยไม่ต้องลงทุนลงแรง.เสือนอนกิน (สำ) น. คนที่ได้รับผลประโยชน์หรือผลกําไรโดยไม่ต้องลงทุนลงแรง.
เสือในร่างสมัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนร้ายที่แฝงมาในร่างของคนดี.เสือในร่างสมัน (สำ) น. คนร้ายที่แฝงมาในร่างของคนดี.
เสือบอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งูดู แมวป่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ที่ แมว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.เสือบอง ดู แมวป่า ที่ แมว ๑.
เสือปลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสือชนิด Felis viverrina ในวงศ์ Felidae พื้นลําตัวสีเทา มีลายสีดําเป็นจุดกระจายอยู่ทั่วตัว กินปลาและสัตว์ขนาดเล็ก, ทางภาคตะวันออกเรียกเสือปลาที่มีขนาดใหญ่ว่า เสือแผ้ว.เสือปลา น. ชื่อเสือชนิด Felis viverrina ในวงศ์ Felidae พื้นลําตัวสีเทา มีลายสีดําเป็นจุดกระจายอยู่ทั่วตัว กินปลาและสัตว์ขนาดเล็ก, ทางภาคตะวันออกเรียกเสือปลาที่มีขนาดใหญ่ว่า เสือแผ้ว.
เสือป่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ช่วยพลรบซึ่งมีหน้าที่สอดแนมเพื่อสนับสนุนกองทหาร.เสือป่า (เลิก) น. ผู้ช่วยพลรบซึ่งมีหน้าที่สอดแนมเพื่อสนับสนุนกองทหาร.
เสือป่าแมวเซา, เสือป่าแมวมอง เสือป่าแมวเซา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา เสือป่าแมวมอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง กองทหารโบราณ มีหน้าที่สอดแนมและซุ่มคอยดักตีข้าศึกเพื่อตัดเสบียงอาหาร.เสือป่าแมวเซา, เสือป่าแมวมอง (เลิก) น. กองทหารโบราณ มีหน้าที่สอดแนมและซุ่มคอยดักตีข้าศึกเพื่อตัดเสบียงอาหาร.
เสือไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสือชนิด Felis temmincki ในวงศ์ Felidae รูปร่างเพรียว สูงขนาดสุนัข ขนสีนํ้าตาลแกมแดงตลอดตัว หรือที่หายากมีสีดำ หางยาวไล่เลี่ยกับลำตัว เวลาเดินยกหางขนานกับพื้น อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง กินสัตว์ขนาดเล็ก.เสือไฟ น. ชื่อเสือชนิด Felis temmincki ในวงศ์ Felidae รูปร่างเพรียว สูงขนาดสุนัข ขนสีนํ้าตาลแกมแดงตลอดตัว หรือที่หายากมีสีดำ หางยาวไล่เลี่ยกับลำตัว เวลาเดินยกหางขนานกับพื้น อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง กินสัตว์ขนาดเล็ก.
เสือแมลงภู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ไม้-เอกดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒.เสือแมลงภู่ ดู ดาว ๒.
เสือร้องไห้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อส่วนคอของวัวหรือควายที่มีพังผืดมาก, อาหารชนิดหนึ่งปรุงด้วยเนื้อส่วนที่เรียกว่า เสือร้องไห้.เสือร้องไห้ น. เนื้อส่วนคอของวัวหรือควายที่มีพังผืดมาก, อาหารชนิดหนึ่งปรุงด้วยเนื้อส่วนที่เรียกว่า เสือร้องไห้.
เสือรู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีไหวพริบหรือฉลาดรู้จักเอาตัวรอด.เสือรู้ (สำ) น. คนที่มีไหวพริบหรือฉลาดรู้จักเอาตัวรอด.
เสือลากหาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําท่าทีเป็นเซื่องซึม เป็นกลอุบายให้ผู้อื่นตายใจแล้วเข้าทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ทันให้รู้ตัว, คนที่ทําท่าอย่างเสือลากหาง เพื่อขู่ให้กลัว เช่น ถือไม้เท้าก้าวเดินเป็นท่าทาง ทีเสือลากหางให้นางกลัว. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.เสือลากหาง (สำ) น. คนที่ทําท่าทีเป็นเซื่องซึม เป็นกลอุบายให้ผู้อื่นตายใจแล้วเข้าทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ทันให้รู้ตัว, คนที่ทําท่าอย่างเสือลากหาง เพื่อขู่ให้กลัว เช่น ถือไม้เท้าก้าวเดินเป็นท่าทาง ทีเสือลากหางให้นางกลัว. (สังข์ทอง).
เสือลำบาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสือที่ถูกทำร้ายบาดเจ็บ มีความดุร้ายมากกว่าปรกติ, โดยปริยายหมายถึงคนที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.เสือลำบาก น. เสือที่ถูกทำร้ายบาดเจ็บ มีความดุร้ายมากกว่าปรกติ, โดยปริยายหมายถึงคนที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
เสือสมิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้, เสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้.เสือสมิง น. เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้, เสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้.
เสือสิ้นตวัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ฮึดสู้อย่างไม่คิดชีวิต, มักพูดเข้าคู่กับ สุนัขจนตรอก ว่า เสือสิ้นตวัก สุนัขจนตรอก.เสือสิ้นตวัก (สำ) น. คนที่ฮึดสู้อย่างไม่คิดชีวิต, มักพูดเข้าคู่กับ สุนัขจนตรอก ว่า เสือสิ้นตวัก สุนัขจนตรอก.
เสือสิ้นลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เสือแก่ที่หมดลายดูคล้ายเสือขาวออกหากินตามปรกติไม่ได้, โดยปริยายหมายถึงคนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถมาก่อน ต่อมาเมื่อร่างกายทุพพลภาพหรืออายุมากขึ้น ความเก่งกล้าสามารถก็เสื่อมลง.เสือสิ้นลาย น. เสือแก่ที่หมดลายดูคล้ายเสือขาวออกหากินตามปรกติไม่ได้, โดยปริยายหมายถึงคนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถมาก่อน ต่อมาเมื่อร่างกายทุพพลภาพหรืออายุมากขึ้น ความเก่งกล้าสามารถก็เสื่อมลง.
เสือหิว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คนที่อยากได้ผลประโยชน์หรือลาภสักการะโดยไม่เลือกว่าควรหรือไม่ควร.เสือหิว (ปาก) น. คนที่อยากได้ผลประโยชน์หรือลาภสักการะโดยไม่เลือกว่าควรหรือไม่ควร.
เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาหลายชนิดและหลายวงศ์ซึ่งมีลายพาดขวางลําตัว เช่น เสือพ่นนํ้า (Toxotes jaculator) ในวงศ์ Toxotidae เสือตอ (Datnioides microlepis) ในวงศ์ Lobotidae.เสือ ๒ น. ชื่อปลาหลายชนิดและหลายวงศ์ซึ่งมีลายพาดขวางลําตัว เช่น เสือพ่นนํ้า (Toxotes jaculator) ในวงศ์ Toxotidae เสือตอ (Datnioides microlepis) ในวงศ์ Lobotidae.
เสื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สาด, เครื่องสานชนิดหนึ่งสําหรับปูนั่งและนอน.เสื่อ น. สาด, เครื่องสานชนิดหนึ่งสําหรับปูนั่งและนอน.
เสื่อกก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกก ทอหรือสานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.เสื่อกก น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกก ทอหรือสานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.
เสื่อกระจูด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกระจูด สานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.เสื่อกระจูด น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกระจูด สานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.
เสื่อเงิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่ง ทำด้วยแผ่นเงินตัดเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นผืนตามขนาดพื้นที่ที่ปูลาด.เสื่อเงิน น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่ง ทำด้วยแผ่นเงินตัดเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นผืนตามขนาดพื้นที่ที่ปูลาด.
เสื่อน้ำมัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พรมนํ้ามัน. ในวงเล็บ ดู พรมนํ้ามัน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.เสื่อน้ำมัน น. พรมนํ้ามัน. (ดู พรมนํ้ามัน ที่ พรม ๑).
เสื่อผืนหมอนใบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สำนวนที่เนื่องมาจากการที่คนจีนจากเมืองจีนเดินทางโดยเรือสำเภาเข้ามาทำมาหากินในเมืองไทย โดยไม่มีทรัพย์สมบัติหรือข้าวของติดตัวมานอกจากเสื่อกับหมอนเท่านั้นแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้; โดยปริยายหมายถึงมีสมบัติติดตัวเพียงเล็กน้อย แต่มีวิริยอุตสาหะแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้.เสื่อผืนหมอนใบ น. สำนวนที่เนื่องมาจากการที่คนจีนจากเมืองจีนเดินทางโดยเรือสำเภาเข้ามาทำมาหากินในเมืองไทย โดยไม่มีทรัพย์สมบัติหรือข้าวของติดตัวมานอกจากเสื่อกับหมอนเท่านั้นแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้; โดยปริยายหมายถึงมีสมบัติติดตัวเพียงเล็กน้อย แต่มีวิริยอุตสาหะแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้.
เสื่อไม้ไผ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนอน ทำด้วยไม้ไผ่ สับเป็นริ้วละเอียดอย่างฟาก คลี่ออกและต่อกันเป็นผืน.เสื่อไม้ไผ่ น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนอน ทำด้วยไม้ไผ่ สับเป็นริ้วละเอียดอย่างฟาก คลี่ออกและต่อกันเป็นผืน.
เสื่อลวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด.เสื่อลวด น. เครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด.
เสื่อลำแพน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจักสานชนิดหนึ่ง มักสานด้วยตอกไม้ไผ่เส้นใหญ่ ๆ แบน ๆ ซึ่งเรียกว่า ตอกปื้น ที่ทําด้วยหวายหรือเส้นใยเปลือกไม้ก็มี ใช้ปูหรือทําเป็นแผงใช้กั้นหรือกรุเป็นฝาเรือนเป็นต้น.เสื่อลำแพน น. เครื่องจักสานชนิดหนึ่ง มักสานด้วยตอกไม้ไผ่เส้นใหญ่ ๆ แบน ๆ ซึ่งเรียกว่า ตอกปื้น ที่ทําด้วยหวายหรือเส้นใยเปลือกไม้ก็มี ใช้ปูหรือทําเป็นแผงใช้กั้นหรือกรุเป็นฝาเรือนเป็นต้น.
เสื่ออ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยใบเตยหรือใบลำเจียก จักเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.เสื่ออ่อน น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยใบเตยหรือใบลำเจียก จักเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า.
เสื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมกายท่อนบนทําด้วยผ้าเป็นต้น เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เสื้อกั๊ก เสื้อเชิ้ต.เสื้อ ๑ น. เครื่องสวมกายท่อนบนทําด้วยผ้าเป็นต้น เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เสื้อกั๊ก เสื้อเชิ้ต.
เสื้อกระบอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง.เสื้อกระบอก น. เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง.
เสื้อกล้าม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชั้นในมักทําด้วยผ้ายืด ไม่มีแขน ไม่มีปก.เสื้อกล้าม น. เสื้อชั้นในมักทําด้วยผ้ายืด ไม่มีแขน ไม่มีปก.
เสื้อกั๊ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต.เสื้อกั๊ก น. เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต.
เสื้อกุยเฮง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อแบบจีนชนิดหนึ่ง คอกลม มีแขน ผ่าอกตลอด ติดกระดุม มีกระเป๋าล่าง ๒ ข้าง.เสื้อกุยเฮง น. เสื้อแบบจีนชนิดหนึ่ง คอกลม มีแขน ผ่าอกตลอด ติดกระดุม มีกระเป๋าล่าง ๒ ข้าง.
เสื้อเกราะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อที่ใช้สวมใส่สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย.เสื้อเกราะ น. เสื้อที่ใช้สวมใส่สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย.
เสื้อครุย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง มีหลายแบบ ใช้สวมหรือคลุม เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ.เสื้อครุย น. เสื้อชนิดหนึ่ง มีหลายแบบ ใช้สวมหรือคลุม เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ.
เสื้อสามารถ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อที่มอบให้เพื่อแสดงว่าผู้รับมีคุณสมบัติดีเด่นในด้านกีฬา.เสื้อสามารถ น. เสื้อที่มอบให้เพื่อแสดงว่าผู้รับมีคุณสมบัติดีเด่นในด้านกีฬา.
เสื้อแสง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อและกางเกง, เครื่องนุ่งห่ม.เสื้อแสง น. เสื้อและกางเกง, เครื่องนุ่งห่ม.
เสื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย; ผีหรืออมนุษย์จําพวกหนึ่ง เรียกเต็มว่า ผีเสื้อ, ถ้าอยู่ในนํ้า เรียกว่า ผีเสื้อนํ้า หรือ เสื้อนํ้า, ถ้าเป็นยักษ์ เรียกว่า ผีเสื้อยักษ์, ถ้าอยู่รักษาเมือง เรียกว่า ผีเสื้อเมือง เสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง.เสื้อ ๒ น. เชื้อสาย; ผีหรืออมนุษย์จําพวกหนึ่ง เรียกเต็มว่า ผีเสื้อ, ถ้าอยู่ในนํ้า เรียกว่า ผีเสื้อนํ้า หรือ เสื้อนํ้า, ถ้าเป็นยักษ์ เรียกว่า ผีเสื้อยักษ์, ถ้าอยู่รักษาเมือง เรียกว่า ผีเสื้อเมือง เสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง.
เสื้อน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาที่รักษาน่านน้ำ, ผีเสื้อน้ำ ก็เรียก.เสื้อน้ำ น. เทวดาที่รักษาน่านน้ำ, ผีเสื้อน้ำ ก็เรียก.
เสื้อเมือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง ก็เรียก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง พระเชื้อเมือง.เสื้อเมือง น. เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง ก็เรียก; (โบ) พระเชื้อเมือง.
เสือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไสไป, ผลักไป; สาระแน, (เป็นคำไม่สุภาพ).เสือก ก. ไสไป, ผลักไป; สาระแน, (เป็นคำไม่สุภาพ).
เสือกกะโหลก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[–กะโหฺลก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาระแนเข้าไปทําการโดยไม่มีใครต้องการให้ทํา.เสือกกะโหลก [–กะโหฺลก] (ปาก) ว. สาระแนเข้าไปทําการโดยไม่มีใครต้องการให้ทํา.
เสือกคลาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู เลื้อยคลาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.เสือกคลาน ดู เลื้อยคลาน.
เสือกสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระเสือกกระสน.เสือกสน ก. กระเสือกกระสน.
เสือกไส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งไปที่อื่นเพื่อให้พ้นไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไล่ส่ง เป็น เสือกไสไล่ส่ง.เสือกไส ก. ส่งไปที่อื่นเพื่อให้พ้นไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไล่ส่ง เป็น เสือกไสไล่ส่ง.
เสือข้างลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิด Puntius partipentazona ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างและลักษณะคล้ายปลาตะเพียน มีลายดำ ๕ แถบ พาดขวางได้จังหวะกัน.เสือข้างลาย น. ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิด Puntius partipentazona ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างและลักษณะคล้ายปลาตะเพียน มีลายดำ ๕ แถบ พาดขวางได้จังหวะกัน.
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ดูใน เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑.เสือดาว ๑ ดูใน เสือ ๑.
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ดู ตะกรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๓ (๑).เสือดาว ๒ ดู ตะกรับ ๓ (๑).
เสือทะเล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิงดู พิมพา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา.เสือทะเล ดู พิมพา.
เสือนั่งร่ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-มอ-ม้าดู กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.เสือนั่งร่ม ดู กาสัก ๒.
เสื่อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง น้อยลง, หย่อนลง, เช่น เครื่องจักรเมื่อใช้ไปนาน ๆ คุณภาพก็ค่อย ๆ เสื่อมไป, เสีย เช่น เสื่อมเกียรติ, ค่อย ๆ ลดลง เช่น ความจำเสื่อม, ต่ำกว่าระดับเดิม เช่น เมื่อความเจริญทางวัตถุมีมากขึ้น คุณธรรมของคนก็เสื่อมลง, ถอยความขลัง เช่น มนตร์เสื่อม.เสื่อม ก. น้อยลง, หย่อนลง, เช่น เครื่องจักรเมื่อใช้ไปนาน ๆ คุณภาพก็ค่อย ๆ เสื่อมไป, เสีย เช่น เสื่อมเกียรติ, ค่อย ๆ ลดลง เช่น ความจำเสื่อม, ต่ำกว่าระดับเดิม เช่น เมื่อความเจริญทางวัตถุมีมากขึ้น คุณธรรมของคนก็เสื่อมลง, ถอยความขลัง เช่น มนตร์เสื่อม.
เสื่อมคลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น้อยลง, ลดลง, เช่น มิตรภาพเสื่อมคลายลงเพราะต่างฝ่ายต่างเอาเปรียบกัน.เสื่อมคลาย ว. น้อยลง, ลดลง, เช่น มิตรภาพเสื่อมคลายลงเพราะต่างฝ่ายต่างเอาเปรียบกัน.
เสื่อมถอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หย่อนลง, ไม่ดีเหมือนเดิม, เช่น เขาป่วยคราวนี้ทำให้สมรรถภาพในการทำงานเสื่อมถอยไปมาก.เสื่อมถอย ว. หย่อนลง, ไม่ดีเหมือนเดิม, เช่น เขาป่วยคราวนี้ทำให้สมรรถภาพในการทำงานเสื่อมถอยไปมาก.
เสื่อมทราม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น ตั้งแต่เขาไปมั่วสุมกับคนพาล ชีวิตของเขาก็เสื่อมทรามลง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมทราม.เสื่อมทราม ก. เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น ตั้งแต่เขาไปมั่วสุมกับคนพาล ชีวิตของเขาก็เสื่อมทรามลง. ว. ที่เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมทราม.
เสื่อมโทรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เลวลง, มีฐานะตกต่ำกว่าเดิม, เช่น ภาวะเศรษฐกิจกำลังเสื่อมโทรม.เสื่อมโทรม ก. เลวลง, มีฐานะตกต่ำกว่าเดิม, เช่น ภาวะเศรษฐกิจกำลังเสื่อมโทรม.
เสื่อมสลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ แปรสภาพไป เช่น อาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้เสื่อมสลายไปแล้ว.เสื่อมสลาย ก. ค่อย ๆ แปรสภาพไป เช่น อาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้เสื่อมสลายไปแล้ว.
เสื่อมสิทธิ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง มีสิทธิน้อยลง, ทําให้สิทธิเสียไป.เสื่อมสิทธิ์ ก. มีสิทธิน้อยลง, ทําให้สิทธิเสียไป.
เสื่อมสูญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ ลดน้อยลงไปจนหมดสิ้น เช่น มีผู้พยากรณ์ว่า พระพุทธศาสนากำลังเสื่อมสูญไป พอครบ ๕,๐๐๐ ปีก็สูญสิ้น.เสื่อมสูญ ก. ค่อย ๆ ลดน้อยลงไปจนหมดสิ้น เช่น มีผู้พยากรณ์ว่า พระพุทธศาสนากำลังเสื่อมสูญไป พอครบ ๕,๐๐๐ ปีก็สูญสิ้น.
เสื่อมเสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียหาย เช่น เพราะถูกกล่าวหาว่าฉ้อราษฎร์บังหลวง จึงทำให้ชื่อเสียงของเขาเสื่อมเสียไปมาก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เสียหาย เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมเสีย ไม่ควรจ้างให้มาทำงานด้วย.เสื่อมเสีย ก. เสียหาย เช่น เพราะถูกกล่าวหาว่าฉ้อราษฎร์บังหลวง จึงทำให้ชื่อเสียงของเขาเสื่อมเสียไปมาก. ว. ที่เสียหาย เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมเสีย ไม่ควรจ้างให้มาทำงานด้วย.
เสือแมลงวัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แมงมุมตัวขนาดเล็ก กินแมลงวัน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.เสือแมลงวัน น. แมงมุมตัวขนาดเล็ก กินแมลงวัน. (พจน. ๒๔๙๓).
เสือหมอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ดู สาบเสือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง.เสือหมอบ ดู สาบเสือ.
แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แฉ, ชําระ, สะสาง. เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคํา สาว ว่า สาวแส.แส ๑ ก. แฉ, ชําระ, สะสาง. น. หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคํา สาว ว่า สาวแส.
แสนา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง วัดนา, ตรวจสอบที่นา, เสนา ก็ว่า.แสนา ก. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, เสนา ก็ว่า.
แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก.แส ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก.
แส่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตนอยู่เนือง ๆ (เป็นคำไม่สุภาพ) เช่น แส่ไม่เข้าเรื่อง แส่หาเรื่อง.แส่ ก. เข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตนอยู่เนือง ๆ (เป็นคำไม่สุภาพ) เช่น แส่ไม่เข้าเรื่อง แส่หาเรื่อง.
แส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออุปกรณ์สำหรับปัดยุงหรือแมลง ทำด้วยขนหางม้า หรือทางจากที่ทุบปลายข้างหนึ่งเป็นเส้น เป็นต้น ลักษณะเป็นพู่ยาว มีด้าม; ชื่ออุปกรณ์สำหรับตีม้า ทำด้วยหวายหรือหนังสัตว์ถักหรือฟั่นเป็นเกลียว ยาวอย่างไม้เรียว เรียกว่า แส้ม้า, ไม้หรือเหล็กกลมยาวสําหรับกระทุ้งดินในลํากล้องปืนให้แน่น เรียกว่า แส้ปืน; ใช้ประกอบกับคํา สาว เป็น สาวแส้ หมายความว่า หญิงสาว.แส้ น. ชื่ออุปกรณ์สำหรับปัดยุงหรือแมลง ทำด้วยขนหางม้า หรือทางจากที่ทุบปลายข้างหนึ่งเป็นเส้น เป็นต้น ลักษณะเป็นพู่ยาว มีด้าม; ชื่ออุปกรณ์สำหรับตีม้า ทำด้วยหวายหรือหนังสัตว์ถักหรือฟั่นเป็นเกลียว ยาวอย่างไม้เรียว เรียกว่า แส้ม้า, ไม้หรือเหล็กกลมยาวสําหรับกระทุ้งดินในลํากล้องปืนให้แน่น เรียกว่า แส้ปืน; ใช้ประกอบกับคํา สาว เป็น สาวแส้ หมายความว่า หญิงสาว.
แส้จามรี เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แส้ที่ทำด้วยขนหางจามรี เป็น ๑ ในเครื่องเบญจกกุธภัณฑ์.แส้จามรี น. แส้ที่ทำด้วยขนหางจามรี เป็น ๑ ในเครื่องเบญจกกุธภัณฑ์.
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ผมแผงคอม้า.แส้ม้า ๑ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ผมแผงคอม้า.
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แนวที่อยู่ระหว่างกลาง ในคำว่า แสกผม แสกหน้า. เป็นคำกริยา หมายถึง แบ่งผมออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กัน เรียกว่า แสกกลาง, ถ้าไม่เท่ากัน เรียกว่า แสกข้าง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กันว่า ผมแสกกลาง, เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนไม่เท่ากันว่า ผมแสกข้าง.แสก ๑ น. แนวที่อยู่ระหว่างกลาง ในคำว่า แสกผม แสกหน้า. ก. แบ่งผมออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กัน เรียกว่า แสกกลาง, ถ้าไม่เท่ากัน เรียกว่า แสกข้าง. ว. เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กันว่า ผมแสกกลาง, เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนไม่เท่ากันว่า ผมแสกข้าง.
แสกหน้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหน้าผากกึ่งกลางระหว่างคิ้ว.แสกหน้า น. ส่วนหน้าผากกึ่งกลางระหว่างคิ้ว.
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Tytonidae ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ แสก (Tyto alba) พบอาศัยหลบพักตามต้นไม้หรือชายคา และ แสกแดง (Phodilus badius) ชนิดนี้ไม่พบอาศัยตามบ้านเรือน.แสก ๒ น. ชื่อนกในวงศ์ Tytonidae ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ แสก (Tyto alba) พบอาศัยหลบพักตามต้นไม้หรือชายคา และ แสกแดง (Phodilus badius) ชนิดนี้ไม่พบอาศัยตามบ้านเรือน.
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร.แสก ๓ น. เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญ–เขมร.
แสก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แจ้ง ๆ เช่น กลางวันแสก ๆ.แสก ๆ ว. แจ้ง ๆ เช่น กลางวันแสก ๆ.
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ความสว่าง, สิ่งที่ทําให้ดวงตาแลเห็น; เพชรพลอย เช่น ตาวจิ้มแสง ว่า ดาบฝังพลอย.แสง ๑ น. ความสว่าง, สิ่งที่ทําให้ดวงตาแลเห็น; เพชรพลอย เช่น ตาวจิ้มแสง ว่า ดาบฝังพลอย.
แสงเงินแสงทอง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่ปรากฏบนขอบฟ้าทางทิศตะวันออก เมื่อเวลาจะรุ่งสว่าง เมื่อแรกเป็นสีขาว เรียกว่า แสงเงิน แล้วแปรเป็นสีแดง เรียกว่า แสงทอง.แสงเงินแสงทอง น. แสงที่ปรากฏบนขอบฟ้าทางทิศตะวันออก เมื่อเวลาจะรุ่งสว่าง เมื่อแรกเป็นสีขาว เรียกว่า แสงเงิน แล้วแปรเป็นสีแดง เรียกว่า แสงทอง.
แสงสว่าง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่มีความสว่าง.แสงสว่าง น. แสงที่มีความสว่าง.
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธ, ศัสตรา, เครื่องมีคม, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระแสง เช่น พระแสงดาบ พระแสงปืน.แสง ๒ น. อาวุธ, ศัสตรา, เครื่องมีคม, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระแสง เช่น พระแสงดาบ พระแสงปืน.
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กางเกง, มักใช้เข้าคู่กับคํา เสื้อ เป็น เสื้อแสง หมายความว่า เสื้อและกางเกง.แสง ๓ น. กางเกง, มักใช้เข้าคู่กับคํา เสื้อ เป็น เสื้อแสง หมายความว่า เสื้อและกางเกง.
แสงจันทร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Pisonia grandis R. Br. ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบบาง สีเหลืองอมเขียว.แสงจันทร์ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Pisonia grandis R. Br. ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบบาง สีเหลืองอมเขียว.
แสงอาทิตย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูชนิด Xenopeltis unicolor ในวงศ์ Xenopeltidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ตัวสีนํ้าตาลม่วงเป็นเงามัน ท้องขาว หัวแบน ตาเล็ก ออกหากินเวลากลางคืน ไม่มีพิษ.แสงอาทิตย์ น. ชื่องูชนิด Xenopeltis unicolor ในวงศ์ Xenopeltidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ตัวสีนํ้าตาลม่วงเป็นเงามัน ท้องขาว หัวแบน ตาเล็ก ออกหากินเวลากลางคืน ไม่มีพิษ.
แสด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีเหลืองปนแดง เรียกว่า สีแสด.แสด ๑ ว. มีสีเหลืองปนแดง เรียกว่า สีแสด.
แสด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ดู คําแสด เขียนว่า คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก (๑).แสด ๒ ดู คําแสด (๑).
แสดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-งอ-งู[สะแดง] เป็นคำกริยา หมายถึง ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทําให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน; เล่น เช่น แสดงละคร แสดงภาพยนตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แสฺฎง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู.แสดง [สะแดง] ก. ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทําให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน; เล่น เช่น แสดงละคร แสดงภาพยนตร์. (ข. แสฺฎง).
แสดงออก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น หรือความสามารถเป็นต้นให้ปรากฏ เช่น ภาพวาดนี้ย่อมแสดงออกซึ่งอารมณ์และความสามารถของเขาได้เป็นอย่างดี.แสดงออก ก. แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น หรือความสามารถเป็นต้นให้ปรากฏ เช่น ภาพวาดนี้ย่อมแสดงออกซึ่งอารมณ์และความสามารถของเขาได้เป็นอย่างดี.
แสตมป์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด[สะแตม] เป็นคำนาม หมายถึง ดวงตราไปรษณียากร, ตราไปรษณียากร ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ stamp เขียนว่า เอส-ที-เอ-เอ็ม-พี.แสตมป์ [สะแตม] น. ดวงตราไปรษณียากร, ตราไปรษณียากร ก็เรียก. (อ. stamp).
แสเถา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อาดู แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒.แสเถา ดู แส ๒.
แสน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สิบหมื่น; มากยิ่ง, เหลือเกิน, เช่น แสนลําบาก. เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งนายทหารครั้งโบราณทางภาคพายัพ.แสน ว. สิบหมื่น; มากยิ่ง, เหลือเกิน, เช่น แสนลําบาก. น. ตําแหน่งนายทหารครั้งโบราณทางภาคพายัพ.
แสนกล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล่ห์เหลี่ยมกลอุบายมาก, เจ้าเล่ห์แสนกล ก็ว่า.แสนกล ว. มีเล่ห์เหลี่ยมกลอุบายมาก, เจ้าเล่ห์แสนกล ก็ว่า.
แสนเข็ญ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-ยอ-หยิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากเหลือเกิน (มักใช้เกี่ยวกับความยากจน) เช่น เขาเป็นคนยากแค้นแสนเข็ญ.แสนเข็ญ ว. มากเหลือเกิน (มักใช้เกี่ยวกับความยากจน) เช่น เขาเป็นคนยากแค้นแสนเข็ญ.
แสนเข็น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากแก่การที่จะอบรมสั่งสอนให้ดีได้ เช่น เด็กคนนี้ดื้อแสนเข็น.แสนเข็น ว. ยากแก่การที่จะอบรมสั่งสอนให้ดีได้ เช่น เด็กคนนี้ดื้อแสนเข็น.
แสนงอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแง่งอนมาก เช่น เธอมีนิสัยแสนงอนมาตั้งแต่เด็ก.แสนงอน ว. มีแง่งอนมาก เช่น เธอมีนิสัยแสนงอนมาตั้งแต่เด็ก.
แสนรู้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาดช่างรู้ เช่น ช้างแสนรู้ สุนัขแสนรู้.แสนรู้ ว. ฉลาดช่างรู้ เช่น ช้างแสนรู้ สุนัขแสนรู้.
แสนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู[สะแหฺนง] เป็นคำนาม หมายถึง เสนง.แสนง [สะแหฺนง] น. เสนง.
แสนย–, แสนย์ แสนย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [แสนยะ–, แสน] เป็นคำนาม หมายถึง คนในกองทัพ, ทหาร เช่น จ่าแสนย์ ว่า ผู้ควบคุมทหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.แสนย–, แสนย์ [แสนยะ–, แสน] น. คนในกองทัพ, ทหาร เช่น จ่าแสนย์ ว่า ผู้ควบคุมทหาร. (ส. ไสนฺย).
แสนยากร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–กอน] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่ทหาร, กองทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ .แสนยากร [–กอน] น. หมู่ทหาร, กองทัพ. (ส. ไสนฺย + อากร).
แสนยานุภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจทางทหาร เช่น ทหารเดินสวนสนามเพื่อแสดงแสนยานุภาพของกองทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อานุภาว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน .แสนยานุภาพ น. อํานาจทางทหาร เช่น ทหารเดินสวนสนามเพื่อแสดงแสนยานุภาพของกองทัพ. (ส. ไสนฺย + อานุภาว).
แสนยากร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือดู แสนย–, แสนย์ แสนย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .แสนยากร ดู แสนย–, แสนย์.
แสนยานุภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พานดู แสนย–, แสนย์ แสนย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .แสนยานุภาพ ดู แสนย–, แสนย์.
แสนเสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ[–สะเหฺนาะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.แสนเสนาะ [–สะเหฺนาะ] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
แสบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคือง เช่น แสบตา แสบตัว แสบหน้า, อาการที่รู้สึกเผ็ดร้อน เช่น แสบปาก แสบลิ้น.แสบ ก. อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคือง เช่น แสบตา แสบตัว แสบหน้า, อาการที่รู้สึกเผ็ดร้อน เช่น แสบปาก แสบลิ้น.
แสบแก้วหู, แสบหู แสบแก้วหู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู แสบหู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายหูเพราะเสียงดังหรือเสียงแหลมเกินขนาด เช่น เสียงรถจักรยานยนต์ดังแสบแก้วหู เสียงร้องกรี๊ด ๆ ฟังแล้วแสบหู.แสบแก้วหู, แสบหู ก. อาการที่รู้สึกระคายหูเพราะเสียงดังหรือเสียงแหลมเกินขนาด เช่น เสียงรถจักรยานยนต์ดังแสบแก้วหู เสียงร้องกรี๊ด ๆ ฟังแล้วแสบหู.
แสบตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคืองตา, โดยปริยายหมายถึงลักษณะของสีบางชนิดที่จัดจ้าบาดลูกนัยน์ตา เช่น เขาใส่เสื้อสีแดงสดแสบตา.แสบตา ก. อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคืองตา, โดยปริยายหมายถึงลักษณะของสีบางชนิดที่จัดจ้าบาดลูกนัยน์ตา เช่น เขาใส่เสื้อสีแดงสดแสบตา.
แสบท้อง, แสบท้องแสบไส้ แสบท้อง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู แสบท้องแสบไส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบท้อง, แสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า.แสบท้อง, แสบท้องแสบไส้ ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบท้อง, แสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า.
แสบเนื้อแสบตัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง เช่น เดินตากแดดร้อนจัด แสบเนื้อแสบตัวไปหมด.แสบเนื้อแสบตัว ก. อาการที่รู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง เช่น เดินตากแดดร้อนจัด แสบเนื้อแสบตัวไปหมด.
แสบร้อน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกทั้งแสบทั้งร้อน.แสบร้อน ก. อาการที่รู้สึกทั้งแสบทั้งร้อน.
แสบไส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า; มีรสจัด ในคำว่า หวานแสบไส้, โดยปริยายหมายถึงรุนแรงอย่างยิ่ง เช่น ด่าได้แสบไส้จริง ๆ.แสบไส้ ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า; มีรสจัด ในคำว่า หวานแสบไส้, โดยปริยายหมายถึงรุนแรงอย่างยิ่ง เช่น ด่าได้แสบไส้จริง ๆ.
แสบไส้แสบพุง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้แสบพุง, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้ ก็ว่า.แสบไส้แสบพุง ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้แสบพุง, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้ ก็ว่า.
แสบหูแสบตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายเคืองตาอย่างมาก เช่น ข้างบ้านสุมไฟเผาขยะ ควันเต็มไปหมด ทำให้แสบหูแสบตา.แสบหูแสบตา ก. อาการที่รู้สึกระคายเคืองตาอย่างมาก เช่น ข้างบ้านสุมไฟเผาขยะ ควันเต็มไปหมด ทำให้แสบหูแสบตา.
แสบก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[สะแบก] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสัตว์ เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ เปนบรรพบุรณะ นเรนทรราชบรรหาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .แสบก [สะแบก] น. หนังสัตว์ เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ เปนบรรพบุรณะ นเรนทรราชบรรหาร. (สมุทรโฆษ). (ข.).
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Avicennia วงศ์ Avicenniaceae คือ แสมขาว (A. alba Blume) แสมทะเล (A. marina Vierh.) และ แสมดํา (A. officinalis L.) มีรากหายใจลักษณะเป็นแท่งตั้งตรง. (๒) ดู โปรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-งอ-งู.แสม ๑ [สะแหฺม] น. (๑) ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Avicennia วงศ์ Avicenniaceae คือ แสมขาว (A. alba Blume) แสมทะเล (A. marina Vierh.) และ แสมดํา (A. officinalis L.) มีรากหายใจลักษณะเป็นแท่งตั้งตรง. (๒) ดู โปรง.
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปูหลายชนิดในสกุล Neoepisesarma วงศ์ Grapsidae อยู่ตามป่าแสม.แสม ๒ [สะแหฺม] น. ชื่อปูหลายชนิดในสกุล Neoepisesarma วงศ์ Grapsidae อยู่ตามป่าแสม.
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลิงชนิด Macaca fascicularis ในวงศ์ Cercopithecidae เป็นลิงไทยที่มีหางยาวที่สุด คือ ยาวเท่ากับความยาวของหัวและลําตัวรวมกัน ตัวสีนํ้าตาลอมเทา ขนหัวสั้นและวนเป็นรูปขวัญ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง พบทุกภาคของประเทศไทย กินพืช แมลง และปูแสม.แสม ๓ [สะแหฺม] น. ชื่อลิงชนิด Macaca fascicularis ในวงศ์ Cercopithecidae เป็นลิงไทยที่มีหางยาวที่สุด คือ ยาวเท่ากับความยาวของหัวและลําตัวรวมกัน ตัวสีนํ้าตาลอมเทา ขนหัวสั้นและวนเป็นรูปขวัญ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง พบทุกภาคของประเทศไทย กินพืช แมลง และปูแสม.
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งทะเลหลายชนิดในสกุล Parapenaeopsis วงศ์ Penaeidae ลักษณะคล้ายกุ้งแชบ๊วย แต่มีสันกลางด้านหลังปล้องท้อง เช่น ชนิด P. hungerfordi.แสม ๔ [สะแหฺม] น. ชื่อกุ้งทะเลหลายชนิดในสกุล Parapenaeopsis วงศ์ Penaeidae ลักษณะคล้ายกุ้งแชบ๊วย แต่มีสันกลางด้านหลังปล้องท้อง เช่น ชนิด P. hungerfordi.
แสมสาร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[สะแหฺมสาน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia garrettiana Craib ในวงศ์ Leguminosae แก่นใช้ทําลูกประสักเรือ ใบและแก่นใช้ทํายาได้.แสมสาร [สะแหฺมสาน] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia garrettiana Craib ในวงศ์ Leguminosae แก่นใช้ทําลูกประสักเรือ ใบและแก่นใช้ทํายาได้.
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดูใน แส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท.แส้ม้า ๑ ดูใน แส้.
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิตัวกลมในวงศ์ Trichuridae ลักษณะคล้ายแส้ตีม้า ตัวสีขาว ยาวประมาณ ๕ เซนติเมตร ส่วนหัวและลำตัวบางเรียวยาวคล้ายเส้นผม ส่วนท้ายหนา อาศัยดูดกินเลือดอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และสัตว์ เช่น ชนิด Trichuris trichiura.แส้ม้า ๒ น. ชื่อพยาธิตัวกลมในวงศ์ Trichuridae ลักษณะคล้ายแส้ตีม้า ตัวสีขาว ยาวประมาณ ๕ เซนติเมตร ส่วนหัวและลำตัวบางเรียวยาวคล้ายเส้นผม ส่วนท้ายหนา อาศัยดูดกินเลือดอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และสัตว์ เช่น ชนิด Trichuris trichiura.
แส้ม้าทะลาย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู ชิงชี่ เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก.แส้ม้าทะลาย ดู ชิงชี่.
แสยก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะแหฺยก] เป็นคำกริยา หมายถึง แยกเขี้ยวแสดงอาการให้เห็นน่ากลัว.แสยก ๑ [สะแหฺยก] ก. แยกเขี้ยวแสดงอาการให้เห็นน่ากลัว.
แสยก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะแหฺยก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Pedilanthus tithymaloides Poit. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบหนา ดอกสีแดง ใช้ปลูกทําเป็นขอบสนาม, กะแหยก ก็เรียก.แสยก ๒ [สะแหฺยก] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Pedilanthus tithymaloides Poit. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบหนา ดอกสีแดง ใช้ปลูกทําเป็นขอบสนาม, กะแหยก ก็เรียก.
แสยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-งอ-งู[สะแหฺยง] เป็นคำกริยา หมายถึง หวาดเกรง เช่น ตับตายหลายเหลือสังขยา ศพสูงเพียงผา แลดูพันฦกนิเห็นแสยง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, มักใช้ว่า แหยง.แสยง [สะแหฺยง] ก. หวาดเกรง เช่น ตับตายหลายเหลือสังขยา ศพสูงเพียงผา แลดูพันฦกนิเห็นแสยง. (สมุทรโฆษ), มักใช้ว่า แหยง.
แสยงขน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-งอ-งู-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขนลุกด้วยความกลัวหรือเกลียดเป็นต้น.แสยงขน ก. ขนลุกด้วยความกลัวหรือเกลียดเป็นต้น.
แสยะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[สะแหฺยะ] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการของปากที่แบะออก แสดงให้รู้ว่า เกลียด เกลียดกลัว เยาะเย้ย หรือ ดูแคลน.แสยะ [สะแหฺยะ] ก. อาการของปากที่แบะออก แสดงให้รู้ว่า เกลียด เกลียดกลัว เยาะเย้ย หรือ ดูแคลน.
แสรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่[สะแหฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง สาแหรก เช่น กรนนเช้าแสรกคานก็พลัดจากอังษา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สงฺแรก เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่.แสรก [สะแหฺรก] น. สาแหรก เช่น กรนนเช้าแสรกคานก็พลัดจากอังษา. (ม. คำหลวง มัทรี). (ข. สงฺแรก).
แสร้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู[แส้ง] เป็นคำกริยา หมายถึง แกล้ง, จงใจทําให้ผิดจากความจริง, จงใจทํา, เช่น รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแสร้งทำรังรวง. (กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน).แสร้ง [แส้ง] ก. แกล้ง, จงใจทําให้ผิดจากความจริง, จงใจทํา, เช่น รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแสร้งทำรังรวง. (กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน).
แสร้งว่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยกุ้งปรุงเป็นเครื่องจิ้ม.แสร้งว่า น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยกุ้งปรุงเป็นเครื่องจิ้ม.
แสลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู[สะแหฺลง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ถูกกับโรค เช่น แสลงโรค, ขัด เช่น แสลงหู แสลงตา.แสลง [สะแหฺลง] ว. ไม่ถูกกับโรค เช่น แสลงโรค, ขัด เช่น แสลงหู แสลงตา.
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกกระทบกระเทือนใจเหมือนถูกของมีคมบาดหัวใจ เช่น พอเห็นคนรักเก่าเดินไปกับหญิงคนใหม่ ก็รู้สึกแสลงใจ.แสลงใจ ๑ ก. อาการที่รู้สึกกระทบกระเทือนใจเหมือนถูกของมีคมบาดหัวใจ เช่น พอเห็นคนรักเก่าเดินไปกับหญิงคนใหม่ ก็รู้สึกแสลงใจ.
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ดูใน แสลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู.แสลงใจ ๑ ดูใน แสลง.
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ [สะแหฺลง–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Strychnos nux—vomica L. ในวงศ์ Strychnaceae ผลกลม สุกสีเหลือง เมล็ดกลมแบน มีแอลคาลอยด์หลัก ๒ ชนิด คือ สตริกนิน และ บรูซีน เป็นสารพิษ, ตูมกาแดง ก็เรียก, อีสาน เรียก แสลงเบื่อ, เมล็ดแก่แห้งใช้ทํายาได้ เรียก โกฐกะกลิ้ง.แสลงใจ ๒ [สะแหฺลง–] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Strychnos nux—vomica L. ในวงศ์ Strychnaceae ผลกลม สุกสีเหลือง เมล็ดกลมแบน มีแอลคาลอยด์หลัก ๒ ชนิด คือ สตริกนิน และ บรูซีน เป็นสารพิษ, ตูมกาแดง ก็เรียก, อีสาน เรียก แสลงเบื่อ, เมล็ดแก่แห้งใช้ทํายาได้ เรียก โกฐกะกลิ้ง.
แสลงเบื่อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง[สะแหฺลง–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นแสลงใจ. ในวงเล็บ ดู แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ๒.แสลงเบื่อ [สะแหฺลง–] (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นแสลงใจ. (ดู แสลงใจ ๒).
แสล้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า[สะแล่ม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย, งดงาม, แช่มช้อย, แฉล้ม หรือ แชล่ม ก็ใช้.แสล้ม [สะแล่ม] ว. สวย, งดงาม, แช่มช้อย, แฉล้ม หรือ แชล่ม ก็ใช้.
แสวง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-งอ-งู[สะแหฺวง] เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวหา, ค้นหา, เสาะหา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .แสวง [สะแหฺวง] ก. เที่ยวหา, ค้นหา, เสาะหา. (ข.).
แสอก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[สะแอก] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาพรุ่งนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แสฺอก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่.แสอก [สะแอก] น. เวลาพรุ่งนี้. (ข. แสฺอก).
แสะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .แสะ น. ม้า. (ข.).
โสก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โศก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .โสก ๑ น. โศก. (ป.).
โสก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง โฉลก, ลักษณะซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนไม่ดี ถ้าดีเรียกว่า ถูกโสก ถ้าไม่ดีเรียกว่า ไม่ถูกโสก มักกำหนดด้วยการดูลักษณะ วัดขนาด นับจำนวน เป็นต้น ของคน สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล.โสก ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. โฉลก, ลักษณะซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนไม่ดี ถ้าดีเรียกว่า ถูกโสก ถ้าไม่ดีเรียกว่า ไม่ถูกโสก มักกำหนดด้วยการดูลักษณะ วัดขนาด นับจำนวน เป็นต้น ของคน สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล.
โสกโดก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[โสกกะโดก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สัปดน, หยาบโลน.โสกโดก [โสกกะโดก] ว. สัปดน, หยาบโลน.
โสกันต์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง โกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าขึ้นไป).โสกันต์ (ราชา) ก. โกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าขึ้นไป).
โสกาดานา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คนใช้, ขอเฝ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .โสกาดานา น. คนใช้, ขอเฝ้า. (ช.).
โสโครก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-กอ-ไก่[โสโคฺรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สกปรก, เปื้อนเปรอะน่ารังเกียจ, โดยปริยายหมายความว่า เลว เช่น คนโสโครก ของโสโครก เรื่องโสโครก. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแนวพืดหินหรือโขดหินใต้นํ้าใกล้ ๆ ผิวพื้นน้ำทะเล อาจมีบางส่วนโผล่พ้นน้ำหรือปริ่มน้ำก็ได้ เป็นอันตรายแก่การเดินเรือ ว่า หินโสโครก.โสโครก [โสโคฺรก] ว. สกปรก, เปื้อนเปรอะน่ารังเกียจ, โดยปริยายหมายความว่า เลว เช่น คนโสโครก ของโสโครก เรื่องโสโครก. น. เรียกแนวพืดหินหรือโขดหินใต้นํ้าใกล้ ๆ ผิวพื้นน้ำทะเล อาจมีบางส่วนโผล่พ้นน้ำหรือปริ่มน้ำก็ได้ เป็นอันตรายแก่การเดินเรือ ว่า หินโสโครก.