สิทธา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ฤษี.สิทธา (กลอน) น. ฤษี.
สิทธาจารย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้สําเร็จ, ฤษี.สิทธาจารย์ น. อาจารย์ผู้สําเร็จ, ฤษี.
สิทธานต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิหรือความเห็นที่ตกลงกันแล้ว; หลัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สิทธานต์ น. ลัทธิหรือความเห็นที่ตกลงกันแล้ว; หลัก. (ส.).
สิทธารถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง[สิดทาด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่สําเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สิทฺธารฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สิทธารถ [สิดทาด] น. ผู้ที่สําเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ส. สิทฺธารฺถ).
สิทธา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อาดู สิทธ–, สิทธ์ สิทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด .สิทธา ดู สิทธ–, สิทธ์.
สิทธาจารย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาดดู สิทธ–, สิทธ์ สิทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด .สิทธาจารย์ ดู สิทธ–, สิทธ์.
สิทธานต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาดดู สิทธ–, สิทธ์ สิทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด .สิทธานต์ ดู สิทธ–, สิทธ์.
สิทธารถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุงดู สิทธ–, สิทธ์ สิทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด .สิทธารถ ดู สิทธ–, สิทธ์.
สิทธิ, สิทธิ์ สิทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ สิทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด [สิดทิ, สิด] เป็นคำนาม หมายถึง อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง อํานาจที่จะกระทําการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ right เขียนว่า อา-ไอ-จี-เอช-ที.สิทธิ, สิทธิ์ [สิดทิ, สิด] น. อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.); (กฎ) อํานาจที่จะกระทําการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองจากกฎหมาย. (อ. right).
สิทธิกร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ให้ผล, ให้ความสําเร็จ.สิทธิกร ว. ให้ผล, ให้ความสําเร็จ.
สิทธิการิยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะคำขึ้นต้นในตำราโบราณ เช่น ตำรายา ตำราหมอดู หรือคาถาเมตตามหานิยม เป็นการอธิษฐานขอให้การกระทำนั้น ๆ ประสบความสำเร็จ.สิทธิการิยะ คำขึ้นต้นในตำราโบราณ เช่น ตำรายา ตำราหมอดู หรือคาถาเมตตามหานิยม เป็นการอธิษฐานขอให้การกระทำนั้น ๆ ประสบความสำเร็จ.
สิทธิ์ขาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เด็ดขาด เช่น ในสมัยโบราณแม่ทัพมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการบัญชาการรบ.สิทธิ์ขาด ว. เด็ดขาด เช่น ในสมัยโบราณแม่ทัพมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการบัญชาการรบ.
สิทธิชัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความรู้ขลังในเวทมนตร์; ใช้เรียกหัวหน้าพราหมณ์พฤฒิบาศ.สิทธิชัย น. ผู้มีความรู้ขลังในเวทมนตร์; ใช้เรียกหัวหน้าพราหมณ์พฤฒิบาศ.
สิทธิโชค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ฤกษ์ยามที่จะนําความสําเร็จมาให้.สิทธิโชค น. ฤกษ์ยามที่จะนําความสําเร็จมาให้.
สิทธิบัตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสําคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามที่กําหนดโดยกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ patent เขียนว่า พี-เอ-ที-อี-เอ็น-ที.สิทธิบัตร (กฎ) น. หนังสือสําคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามที่กําหนดโดยกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตร. (อ. patent).
สิทธิสภาพนอกอาณาเขต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สิทธิพิเศษที่จะใช้กฎหมายของประเทศหนึ่งบังคับแก่บุคคลที่เป็นพลเมืองของตนที่ไปอยู่ในดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง.สิทธิสภาพนอกอาณาเขต (กฎ) น. สิทธิพิเศษที่จะใช้กฎหมายของประเทศหนึ่งบังคับแก่บุคคลที่เป็นพลเมืองของตนที่ไปอยู่ในดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง.
สิธยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[สิดทะยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.สิธยะ [สิดทะยะ] น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.
สิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เงิน, ทรัพย์, เช่น ทรัพย์ในดิน สินในน้ำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทรัพย์ เป็น ทรัพย์สิน หรือ สินทรัพย์.สิน ๑ น. เงิน, ทรัพย์, เช่น ทรัพย์ในดิน สินในน้ำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทรัพย์ เป็น ทรัพย์สิน หรือ สินทรัพย์.
สินค้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของที่ซื้อขายกัน เช่น ร้านนี้มีสินค้านานาชนิด.สินค้า น. สิ่งของที่ซื้อขายกัน เช่น ร้านนี้มีสินค้านานาชนิด.
สินค้าเข้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สินค้าที่นําเข้ามาจากต่างประเทศ เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องจักร เป็นสินค้าเข้าที่สำคัญ.สินค้าเข้า น. สินค้าที่นําเข้ามาจากต่างประเทศ เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องจักร เป็นสินค้าเข้าที่สำคัญ.
สินค้าออก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สินค้าที่ส่งออกต่างประเทศ เช่น ข้าว เสื้อผ้าสำเร็จรูป อัญมณี เป็นสินค้าออกที่สำคัญ.สินค้าออก น. สินค้าที่ส่งออกต่างประเทศ เช่น ข้าว เสื้อผ้าสำเร็จรูป อัญมณี เป็นสินค้าออกที่สำคัญ.
สินจ้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เงินค่าบําเหน็จตอบแทน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือผู้ว่าจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้รับจ้าง.สินจ้าง น. เงินค่าบําเหน็จตอบแทน; (กฎ) ค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือผู้ว่าจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้รับจ้าง.
สินเชื่อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ให้เป็นหนี้ไว้ด้วยความเชื่อ.สินเชื่อ น. เงินที่ให้เป็นหนี้ไว้ด้วยความเชื่อ.
สินใช้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ต้องรับผิดชอบจ่ายตามมูลค่าของหุ้น.สินใช้ น. เงินที่ต้องรับผิดชอบจ่ายตามมูลค่าของหุ้น.
สินเดิม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิงมีอยู่แล้วก่อนสมรส หรือทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างเป็นสามีภรรยาโดยทางพินัยกรรม หรือมีผู้ยกให้โดยเสน่หาเมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้นั้นแสดงไว้ว่าให้เป็นสินเดิม.สินเดิม (กฎ; เลิก) น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายชายหรือฝ่ายหญิงมีอยู่แล้วก่อนสมรส หรือทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างเป็นสามีภรรยาโดยทางพินัยกรรม หรือมีผู้ยกให้โดยเสน่หาเมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้นั้นแสดงไว้ว่าให้เป็นสินเดิม.
สินไถ่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง (กฎ) จํานวนเงินที่ชําระเป็นค่าไถ่ทรัพย์ ที่ทําสัญญาขายฝากไว้คืน; เรียกทาสที่เอาเงินไปซื้อมาว่า ทาสสินไถ่.สินไถ่ น. (กฎ) จํานวนเงินที่ชําระเป็นค่าไถ่ทรัพย์ ที่ทําสัญญาขายฝากไว้คืน; เรียกทาสที่เอาเงินไปซื้อมาว่า ทาสสินไถ่.
สินทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาทรัพย์สินซึ่งบุคคลเป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ asset เขียนว่า เอ-เอส-เอส-อี-ที.สินทรัพย์ น. บรรดาทรัพย์สินซึ่งบุคคลเป็นเจ้าของ. (อ. asset).
สินน้ำใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง เงินหรือทรัพย์ที่ให้เป็นรางวัล.สินน้ำใจ น. เงินหรือทรัพย์ที่ให้เป็นรางวัล.
สินบน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์หรือสิ่งของที่จะให้เป็นเครื่องบูชาคุณหรือตอบแทนผู้ที่จะช่วยให้สําเร็จตามประสงค์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่ให้แก่บุคคลเพื่อจูงใจให้ผู้นั้นกระทําการหรือไม่กระทําการอย่างใดในตําแหน่ง ไม่ว่าการนั้นชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่; เงินตราที่จ่ายให้แก่ผู้นําจับ.สินบน (โบ) น. ทรัพย์หรือสิ่งของที่จะให้เป็นเครื่องบูชาคุณหรือตอบแทนผู้ที่จะช่วยให้สําเร็จตามประสงค์; (กฎ) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่ให้แก่บุคคลเพื่อจูงใจให้ผู้นั้นกระทําการหรือไม่กระทําการอย่างใดในตําแหน่ง ไม่ว่าการนั้นชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่; เงินตราที่จ่ายให้แก่ผู้นําจับ.
สินบริคณห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-นอ-เนน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง สินเดิมและสินสมรส.สินบริคณห์ (กฎ; เลิก) น. สินเดิมและสินสมรส.
สินระบาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์ของผู้ตายที่กระจัดกระจายอยู่.สินระบาด น. ทรัพย์ของผู้ตายที่กระจัดกระจายอยู่.
สินแร่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง แร่จากเหมืองที่ยังไม่ได้ถลุง.สินแร่ น. แร่จากเหมืองที่ยังไม่ได้ถลุง.
สินสมรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรม หรือโดยการให้เป็นหนังสือ เมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่าเป็นสินสมรส รวมทั้งทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว.สินสมรส (กฎ) น. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มาระหว่างสมรส หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยพินัยกรรม หรือโดยการให้เป็นหนังสือ เมื่อพินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่าเป็นสินสมรส รวมทั้งทรัพย์สินที่เป็นดอกผลของสินส่วนตัว.
สินส่วนตัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส หรือที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จําเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการให้โดยเสน่หา หรือทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น.สินส่วนตัว (กฎ) น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส หรือที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จําเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการให้โดยเสน่หา หรือทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น.
สินสอด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดาหญิงที่จะแต่งงานเป็นค่านํ้านม ข้าวป้อน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง แล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง สินบน.สินสอด น. เงินที่ฝ่ายชายให้แก่บิดามารดาหญิงที่จะแต่งงานเป็นค่านํ้านม ข้าวป้อน; (กฎ) ทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง แล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส; (โบ) สินบน.
สินหัวบัวนาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สินสอดที่ตกเป็นของหญิงในกรณีที่หญิงได้เสียตัวแก่ชายและชายนั้นได้ตายไปโดยยังมิได้แต่งการมงคล ตามข้อความที่ว่า ถ้าหญิงได้เสียตัวแก่ชาย ๆ ตายสีนสอดนั้นให้ตกอยู่แก่หญิงจงสิ้น เพราะว่าสีนนั้นเปนสีนหัวบัวนาง. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.สินหัวบัวนาง (กฎ; โบ) น. สินสอดที่ตกเป็นของหญิงในกรณีที่หญิงได้เสียตัวแก่ชายและชายนั้นได้ตายไปโดยยังมิได้แต่งการมงคล ตามข้อความที่ว่า ถ้าหญิงได้เสียตัวแก่ชาย ๆ ตายสีนสอดนั้นให้ตกอยู่แก่หญิงจงสิ้น เพราะว่าสีนนั้นเปนสีนหัวบัวนาง. (สามดวง).
สินไหม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เงินค่าปรับ.สินไหม (โบ) น. เงินค่าปรับ.
สินไหมทดแทน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู ค่าสินไหมทดแทน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู.สินไหมทดแทน (กฎ) ดู ค่าสินไหมทดแทน.
สิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด, ฟันให้ขาด, เช่น สินมือสินเท้า, ใช้ของมีคมตัดและแต่งให้เรียบร้อย เช่น สินหัวไม้.สิน ๒ ก. ตัด, ฟันให้ขาด, เช่น สินมือสินเท้า, ใช้ของมีคมตัดและแต่งให้เรียบร้อย เช่น สินหัวไม้.
สิ้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หมด, จบ, เช่น กินอาหารมื้อนี้สิ้นเงินไป ๕๐๐ บาท สิ้นปีนี้เขาจะย้ายไปอยู่เชียงใหม่; ตาย เช่น พ่อแม่เขาสิ้นไปหมดแล้ว.สิ้น ก. หมด, จบ, เช่น กินอาหารมื้อนี้สิ้นเงินไป ๕๐๐ บาท สิ้นปีนี้เขาจะย้ายไปอยู่เชียงใหม่; ตาย เช่น พ่อแม่เขาสิ้นไปหมดแล้ว.
สิ้นกรรม, สิ้นกรรมสิ้นเวร, สิ้นเวร, สิ้นเวรสิ้นกรรม สิ้นกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า สิ้นกรรมสิ้นเวร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ สิ้นเวร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ สิ้นเวรสิ้นกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นสุดในการที่ต้องรับทุกข์อีกต่อไป เช่น เมื่อเขามีชีวิตอยู่ มีภาระมากหรือเจ็บป่วยทรมาน ตายไปก็ถือว่าสิ้นเวรสิ้นกรรม, หมดกรรม หมดกรรมหมดเวร หมดเวร หรือ หมดเวรหมดกรรม ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ตาย.สิ้นกรรม, สิ้นกรรมสิ้นเวร, สิ้นเวร, สิ้นเวรสิ้นกรรม ก. สิ้นสุดในการที่ต้องรับทุกข์อีกต่อไป เช่น เมื่อเขามีชีวิตอยู่ มีภาระมากหรือเจ็บป่วยทรมาน ตายไปก็ถือว่าสิ้นเวรสิ้นกรรม, หมดกรรม หมดกรรมหมดเวร หมดเวร หรือ หมดเวรหมดกรรม ก็ว่า; (ปาก) ตาย.
สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หมดอำนาจวาสนา, สิ้นฤทธิ์, หมดเขี้ยวหมดงา หรือ หมดเขี้ยวหมดเล็บ ก็ว่า.สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ (สำ) ก. หมดอำนาจวาสนา, สิ้นฤทธิ์, หมดเขี้ยวหมดงา หรือ หมดเขี้ยวหมดเล็บ ก็ว่า.
สิ้นคิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น บางคนพอสิ้นคิดเข้าจริง ๆ ก็ฆ่าตัวตาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, ที่หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น เขาทำตัวเหมือนคนสิ้นคิด เที่ยวลักขโมยเขากิน.สิ้นคิด ก. หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น บางคนพอสิ้นคิดเข้าจริง ๆ ก็ฆ่าตัวตาย. ว. ที่หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, ที่หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น เขาทำตัวเหมือนคนสิ้นคิด เที่ยวลักขโมยเขากิน.
สิ้นใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดใจ, ตาย, เช่น เขาพึ่งสิ้นใจเมื่อเที่ยงนี้เอง, สิ้นลม หมดลม หรือ หมดอายุ ก็ว่า.สิ้นใจ ก. ขาดใจ, ตาย, เช่น เขาพึ่งสิ้นใจเมื่อเที่ยงนี้เอง, สิ้นลม หมดลม หรือ หมดอายุ ก็ว่า.
สิ้นชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเอกราช เช่น ถ้าโกงกินกันมาก ๆ วันหนึ่งจะต้องสิ้นชาติอย่างแน่นอน; โดยปริยายหมายความว่า ตัดความสัมพันธ์, ตัดไมตรี, เช่น สิ้นชาติขาดกันจนวันตาย.สิ้นชาติ ก. เสียเอกราช เช่น ถ้าโกงกินกันมาก ๆ วันหนึ่งจะต้องสิ้นชาติอย่างแน่นอน; โดยปริยายหมายความว่า ตัดความสัมพันธ์, ตัดไมตรี, เช่น สิ้นชาติขาดกันจนวันตาย.
สิ้นชีพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น เขาสิ้นชีพในสงคราม.สิ้นชีพ ก. ตาย เช่น เขาสิ้นชีพในสงคราม.
สิ้นชีพตักษัย, สิ้นชีพิตักษัย สิ้นชีพตักษัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก สิ้นชีพิตักษัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้เฉพาะหม่อมเจ้า), ถึงชีพิตักษัย ก็ใช้.สิ้นชีพตักษัย, สิ้นชีพิตักษัย (ราชา) ก. ตาย (ใช้เฉพาะหม่อมเจ้า), ถึงชีพิตักษัย ก็ใช้.
สิ้นชีวิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น บิดามารดาเขาสิ้นชีวิตไปนานแล้ว.สิ้นชีวิต ก. ตาย เช่น บิดามารดาเขาสิ้นชีวิตไปนานแล้ว.
สิ้นชื่อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง หมดชื่อเสียง เช่น เขาชกแพ้หลายครั้งติด ๆ กัน เลยสิ้นชื่อ; ตาย เช่น เขาถูกแทงทะลุหัวใจ เลยสิ้นชื่อ.สิ้นชื่อ ก. หมดชื่อเสียง เช่น เขาชกแพ้หลายครั้งติด ๆ กัน เลยสิ้นชื่อ; ตาย เช่น เขาถูกแทงทะลุหัวใจ เลยสิ้นชื่อ.
สิ้นเชิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นท่า, หมดท่า, หมดชั้นเชิง, เช่น อันธพาลเมื่อเจอนักสู้เข้าก็สิ้นเชิงนักเลง, โดยปริยายมักใช้กับคำ โดย หรือ อย่าง เป็น โดยสิ้นเชิง อย่างสิ้นเชิง หมายความว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุกประการ, เช่น ข่าวลือนี้ไม่มีมูลความจริงโดยสิ้นเชิง โครงการนี้ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง.สิ้นเชิง ก. สิ้นท่า, หมดท่า, หมดชั้นเชิง, เช่น อันธพาลเมื่อเจอนักสู้เข้าก็สิ้นเชิงนักเลง, โดยปริยายมักใช้กับคำ โดย หรือ อย่าง เป็น โดยสิ้นเชิง อย่างสิ้นเชิง หมายความว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุกประการ, เช่น ข่าวลือนี้ไม่มีมูลความจริงโดยสิ้นเชิง โครงการนี้ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง.
สิ้นซาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีร่องรอยเหลืออยู่ เช่น รื้อตลาดเก่าออกไปจนสิ้นซาก.สิ้นซาก ก. ไม่มีร่องรอยเหลืออยู่ เช่น รื้อตลาดเก่าออกไปจนสิ้นซาก.
สิ้นตำรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จนปัญญา, หมดทาง, หมดฝีมือ, เช่น หมอช่วยคนไข้จนสิ้นตำรา คนไข้ก็ไม่ฟื้น, หมดตํารา ก็ว่า.สิ้นตำรา (สำ) ว. จนปัญญา, หมดทาง, หมดฝีมือ, เช่น หมอช่วยคนไข้จนสิ้นตำรา คนไข้ก็ไม่ฟื้น, หมดตํารา ก็ว่า.
สิ้นแต้ม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง หมดตาเดิน, ไม่มีตาเดิน, (มักใช้แก่การเล่นสกา), โดยปริยายหมายความว่า หมดหนทางคิดอ่าน เช่น พอมีปัญหาประดังกันเข้ามามาก ๆ เขาก็สิ้นแต้ม ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร.สิ้นแต้ม ก. หมดตาเดิน, ไม่มีตาเดิน, (มักใช้แก่การเล่นสกา), โดยปริยายหมายความว่า หมดหนทางคิดอ่าน เช่น พอมีปัญหาประดังกันเข้ามามาก ๆ เขาก็สิ้นแต้ม ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร.
สิ้นท่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หมดกระบวนท่าในการต่อสู้, ไม่มีทางต่อสู้, เช่น เขาเป็นคนเก่งแต่ปาก พอประสบปัญหาเข้าจริง ๆ ก็สิ้นท่า.สิ้นท่า ก. หมดกระบวนท่าในการต่อสู้, ไม่มีทางต่อสู้, เช่น เขาเป็นคนเก่งแต่ปาก พอประสบปัญหาเข้าจริง ๆ ก็สิ้นท่า.
สิ้นเนื้อประดาตัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีทรัพย์สมบัติเหลือติดตัว เช่น เขากลายเป็นคนสิ้นเนื้อประดาตัวเพราะหมกมุ่นในการพนัน กิจการค้าของเขาล้มเหลวจนสิ้นเนื้อประดาตัว.สิ้นเนื้อประดาตัว ว. ไม่มีทรัพย์สมบัติเหลือติดตัว เช่น เขากลายเป็นคนสิ้นเนื้อประดาตัวเพราะหมกมุ่นในการพนัน กิจการค้าของเขาล้มเหลวจนสิ้นเนื้อประดาตัว.
สิ้นบุญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง หมดบุญ, ตาย, เช่น เขาเป็นลูกกำพร้า พ่อแม่สิ้นบุญไปหลายปีแล้ว.สิ้นบุญ ก. หมดบุญ, ตาย, เช่น เขาเป็นลูกกำพร้า พ่อแม่สิ้นบุญไปหลายปีแล้ว.
สิ้นประตู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีทาง.สิ้นประตู (สำ) ว. ไม่มีทาง.
สิ้นแผ่นดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีแผ่นดินอยู่ เช่น บ้านเมืองที่เสียเอกราช คนในชาติก็สิ้นแผ่นดิน; สิ้นรัชสมัย เช่น สิ้นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.สิ้นแผ่นดิน ก. ไม่มีแผ่นดินอยู่ เช่น บ้านเมืองที่เสียเอกราช คนในชาติก็สิ้นแผ่นดิน; สิ้นรัชสมัย เช่น สิ้นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.
สิ้นฝีมือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มความสามารถที่มีอยู่; หมดความสามารถ; หมดฝีมือ ก็ว่า; ไม่มีใครเทียบความสามารถได้ เช่น ม่านนี้ฝีมือวันทองทำ จำได้ไม่ผิดนัยน์ตาพี่ เส้นไหมแม้นเขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแล้วแต่นางเดียว. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.สิ้นฝีมือ ว. เต็มความสามารถที่มีอยู่; หมดความสามารถ; หมดฝีมือ ก็ว่า; ไม่มีใครเทียบความสามารถได้ เช่น ม่านนี้ฝีมือวันทองทำ จำได้ไม่ผิดนัยน์ตาพี่ เส้นไหมแม้นเขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแล้วแต่นางเดียว. (ขุนช้างขุนแผน).
สิ้นพระชนม์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และสมเด็จพระสังฆราช).สิ้นพระชนม์ (ราชา) ก. ตาย (ใช้แก่เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และสมเด็จพระสังฆราช).
สิ้นไร้ไม้ตอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากไร้, ขัดสนถึงที่สุด, เช่น เขาเป็นคนสิ้นไร้ไม้ตอก บ้านไม่มีจะอยู่ เสื้อผ้าแทบไม่มีจะใส่.สิ้นไร้ไม้ตอก ว. ยากไร้, ขัดสนถึงที่สุด, เช่น เขาเป็นคนสิ้นไร้ไม้ตอก บ้านไม่มีจะอยู่ เสื้อผ้าแทบไม่มีจะใส่.
สิ้นฤทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง หมดฤทธิ์ เช่น เสือโคร่งพอถูกยิงด้วยลูกดอกยาสลบก็สิ้นฤทธิ์, หมดพยศ เช่น เด็กทำฤทธิ์ไม่ยอมกินข้าว พอหิวก็สิ้นฤทธิ์ จึงยอมกินแต่โดยดี.สิ้นฤทธิ์ ก. หมดฤทธิ์ เช่น เสือโคร่งพอถูกยิงด้วยลูกดอกยาสลบก็สิ้นฤทธิ์, หมดพยศ เช่น เด็กทำฤทธิ์ไม่ยอมกินข้าว พอหิวก็สิ้นฤทธิ์ จึงยอมกินแต่โดยดี.
สิ้นลม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดใจ, ตาย, เช่น เขาสิ้นลมไปด้วยอาการสงบ, สิ้นใจ หมดลม หรือ หมดอายุ ก็ว่า.สิ้นลม ก. ขาดใจ, ตาย, เช่น เขาสิ้นลมไปด้วยอาการสงบ, สิ้นใจ หมดลม หรือ หมดอายุ ก็ว่า.
สิ้นลมปราณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น เขาสิ้นลมปราณไปตั้งแต่เมื่อคืนนี้.สิ้นลมปราณ ก. ตาย เช่น เขาสิ้นลมปราณไปตั้งแต่เมื่อคืนนี้.
สิ้นลาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง หมดชั้นเชิง, ไม่มีชั้นเชิงเหลืออยู่, เช่น เสือปล้นธนาคารถูกตำรวจจับ เลยสิ้นลาย.สิ้นลาย ก. หมดชั้นเชิง, ไม่มีชั้นเชิงเหลืออยู่, เช่น เสือปล้นธนาคารถูกตำรวจจับ เลยสิ้นลาย.
สิ้นสติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง สลบ, หมดความรู้สึก, เช่น เขาตกใจแทบสิ้นสติ เขาถูกต่อยจนสิ้นสติ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขาดความรู้สึกตัว เช่น เที่ยวดึก ๆ ทุกคืน พอกลับถึงบ้านก็นอนหลับเหมือนสิ้นสติ.สิ้นสติ ก. สลบ, หมดความรู้สึก, เช่น เขาตกใจแทบสิ้นสติ เขาถูกต่อยจนสิ้นสติ. ว. อาการที่ขาดความรู้สึกตัว เช่น เที่ยวดึก ๆ ทุกคืน พอกลับถึงบ้านก็นอนหลับเหมือนสิ้นสติ.
สิ้นสังขาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น ร้องประกาศแก่พหลพลยักษ์ อันรามลักษมณ์สุดสิ้นสังขาร. (รามเกียรติ์).สิ้นสังขาร (วรรณ) ก. ตาย เช่น ร้องประกาศแก่พหลพลยักษ์ อันรามลักษมณ์สุดสิ้นสังขาร. (รามเกียรติ์).
สิ้นสุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงที่สุด, จบ, เช่น การแข่งขันบาสเกตบอลสิ้นสุดลงเมื่อเวลา ๑๘.๐๐ เป็นคำนาม หมายถึง การเจรจายุติสงครามสิ้นสุดลงแล้ว, สุดสิ้น ก็ว่า.สิ้นสุด ก. ถึงที่สุด, จบ, เช่น การแข่งขันบาสเกตบอลสิ้นสุดลงเมื่อเวลา ๑๘.๐๐ น. การเจรจายุติสงครามสิ้นสุดลงแล้ว, สุดสิ้น ก็ว่า.
สิ้นไส้สิ้นพุง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เปิดเผยโดยมิได้ปิดบังอำพราง เช่น ผู้ร้ายสารภาพจนสิ้นไส้สิ้นพุง; หมดความรู้; ที่ออกมาจนหมดท้อง เช่น เขาเมารถ อาเจียนเสียสิ้นไส้สิ้นพุง, หมดไส้หมดพุง ก็ว่า.สิ้นไส้สิ้นพุง ว. อาการที่เปิดเผยโดยมิได้ปิดบังอำพราง เช่น ผู้ร้ายสารภาพจนสิ้นไส้สิ้นพุง; หมดความรู้; ที่ออกมาจนหมดท้อง เช่น เขาเมารถ อาเจียนเสียสิ้นไส้สิ้นพุง, หมดไส้หมดพุง ก็ว่า.
สิ้นหวัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีความหวังเหลืออยู่เลย, หมดหวัง ก็ว่า.สิ้นหวัง ก. ไม่มีความหวังเหลืออยู่เลย, หมดหวัง ก็ว่า.
สิ้นอายุขัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (มักใช้แก่ผู้สูงอายุ).สิ้นอายุขัย ก. ตาย (มักใช้แก่ผู้สูงอายุ).
สินทูระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชาด, เสน, ตะกั่วแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สินทูระ น. ชาด, เสน, ตะกั่วแดง. (ส.).
สินเทา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่ว่างซึ่งกันไว้เป็นพื้นหลังของรูปภาพเพื่อแบ่งภาพเป็นตอน ๆ โดยเขียนล้อมด้วยเส้นแผลงหรือด้วยเส้นฮ่อเป็นต้น มักเขียนในงานจิตรกรรมฝาผนัง. ในวงเล็บ รูปภาพ สินเทา.สินเทา น. พื้นที่ว่างซึ่งกันไว้เป็นพื้นหลังของรูปภาพเพื่อแบ่งภาพเป็นตอน ๆ โดยเขียนล้อมด้วยเส้นแผลงหรือด้วยเส้นฮ่อเป็นต้น มักเขียนในงานจิตรกรรมฝาผนัง. (รูปภาพ สินเทา).
สินธพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ม้าพันธุ์ดี, เดิมหมายถึงม้าพันธุ์ดีที่เกิดในลุ่มแม่น้ำสินธุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สินฺธว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-วอ-แหวน และมาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺธว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-วอ-แหวน.สินธพ น. ม้าพันธุ์ดี, เดิมหมายถึงม้าพันธุ์ดีที่เกิดในลุ่มแม่น้ำสินธุ. (ป. สินฺธว; ส. ไสนฺธว).
สินธุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ลํานํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร, ใช้ว่า สินธุ์ หรือ สินธู ก็มี เช่น สุวรรณหงส์เหินเห็จฟ้า ชมสินธุ์ (พยุหยาตรา), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกว่ายสายสินธู. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗; ชื่อแม่นํ้าสําคัญสายหนึ่งในชมพูทวีป ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดียและปากีสถาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สินธุ น. ลํานํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร, ใช้ว่า สินธุ์ หรือ สินธู ก็มี เช่น สุวรรณหงส์เหินเห็จฟ้า ชมสินธุ์ (พยุหยาตรา), สินสมุทรสุดรักพระธิดา เอาใส่บ่าแบกว่ายสายสินธู. (อภัย); ชื่อแม่นํ้าสําคัญสายหนึ่งในชมพูทวีป ปัจจุบันอยู่ในประเทศอินเดียและปากีสถาน. (ป., ส.).
สินธุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น เหาะข้ามสินธุ์ไปยังขุนยุคุนธร. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สมบัติอัมรินทร์ ในวชิรญาณรายเดือน เล่ม ๑๑, ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธู ก็มี.สินธุ์ (กลอน) น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น เหาะข้ามสินธุ์ไปยังขุนยุคุนธร. (สมบัติอัมรินทร์), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธู ก็มี.
สินธุระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สินธุระ น. ช้าง. (ป., ส.).
สินธู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี.สินธู (กลอน) น. ลำน้ำ, แม่น้ำ, สายน้ำ, น้ำ, ทะเล, มหาสมุทร, เช่น มังกรเกี่ยวเลี้ยวล่องท้องสินธู เป็นคู่คู่เคียงมาในวารี. (อภัย), ใช้ว่า สินธุ หรือ สินธุ์ ก็มี.
สินเธาว์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่ได้จากดินเค็มที่ห่างไกลจากฝั่งทะเล เรียกว่า เกลือสินเธาว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สินฺธว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-วอ-แหวน.สินเธาว์ น. เกลือที่ได้จากดินเค็มที่ห่างไกลจากฝั่งทะเล เรียกว่า เกลือสินเธาว์. (ป. สินฺธว).
สินาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง หน้าไม้, ปืน.สินาด น. หน้าไม้, ปืน.
สินิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนิท, เกลี้ยงเกลา, อ่อนโยน, รักใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺนิคฺธ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ทอ-ทง.สินิทธ์ ว. สนิท, เกลี้ยงเกลา, อ่อนโยน, รักใคร่. (ป.; ส. สฺนิคฺธ).
สินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง นางผู้มีผิวเนื้อขาวงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สินี น. นางผู้มีผิวเนื้อขาวงาม. (ส.).
สิเนรุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ[–เน–รุ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของเขาพระสุเมรุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิเนรุ [–เน–รุ] น. ชื่อหนึ่งของเขาพระสุเมรุ. (ป.).
สิเนหก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิเนหก น. เพื่อน. (ป.).
สิเนหนียะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[–หะนียะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ารัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิเนหนียะ [–หะนียะ] ว. น่ารัก. (ป.).
สิเนหะ, สิเนหา, สิเน่หา สิเนหะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ สิเนหา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา สิเน่หา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา [สิเหฺน่หา] เป็นคำนาม หมายถึง ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เสฺนห เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-หอ-หีบ.สิเนหะ, สิเนหา, สิเน่หา [สิเหฺน่หา] น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
สิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเก้าบวกหนึ่ง; เรียกเดือนที่ ๑๐ ทางจันทรคติว่า เดือน ๑๐ ตกในราวเดือนกันยายน.สิบ ๑ น. จํานวนเก้าบวกหนึ่ง; เรียกเดือนที่ ๑๐ ทางจันทรคติว่า เดือน ๑๐ ตกในราวเดือนกันยายน.
สิบเบี้ยใกล้มือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ของเล็กน้อยที่จะได้แน่ ๆ ควรเอาไว้ก่อน.สิบเบี้ยใกล้มือ (สำ) น. ของเล็กน้อยที่จะได้แน่ ๆ ควรเอาไว้ก่อน.
สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง การได้ยินได้ฟังจากผู้อื่นหลาย ๆ คน ก็ไม่เท่ากับพบเห็นด้วยตนเอง.สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น (สำ) น. การได้ยินได้ฟังจากผู้อื่นหลาย ๆ คน ก็ไม่เท่ากับพบเห็นด้วยตนเอง.
สิบแปดมงกุฎ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา เป็นคำนาม หมายถึง เหล่าเสนาวานรของกองทัพพระรามในเรื่องรามเกียรติ์ มี ๑๘ ตน; โดยปริยายหมายถึงพวกมิจฉาชีพที่ทำมาหากินโดยใช้เล่ห์เหลี่ยมกลอุบายหลอกลวงผู้อื่น.สิบแปดมงกุฎ น. เหล่าเสนาวานรของกองทัพพระรามในเรื่องรามเกียรติ์ มี ๑๘ ตน; โดยปริยายหมายถึงพวกมิจฉาชีพที่ทำมาหากินโดยใช้เล่ห์เหลี่ยมกลอุบายหลอกลวงผู้อื่น.
สิบพ่อค้าไม่เท่าพระยาเลี้ยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พ่อค้าหลายคนเลี้ยงก็สู้ขุนนางผู้ใหญ่คนเดียวเลี้ยงไม่ได้.สิบพ่อค้าไม่เท่าพระยาเลี้ยง (สำ; โบ) น. พ่อค้าหลายคนเลี้ยงก็สู้ขุนนางผู้ใหญ่คนเดียวเลี้ยงไม่ได้.
สิบสองพระกำนัล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กำนัลที่มีหน้าที่รับใช้พระมหากษัตริย์ มี ๑๒ ตำแหน่ง ได้แก่ กำนัลรับพระหัตถ์ กำนัลพระขันหมาก กำนัลน้ำเสวย กำนัลพัชนี กำนัลพระสำอาง กำนัลพระมาลา กำนัลพระบังคน กำนัลพระไสยาสน์ กำนัลทิพยรส กำนัลพระโภชน์ กำนัลพระโอษฐ์ และกำนัลทาพระองค์. (กาพย์ขับไม้).สิบสองพระกำนัล (โบ) น. กำนัลที่มีหน้าที่รับใช้พระมหากษัตริย์ มี ๑๒ ตำแหน่ง ได้แก่ กำนัลรับพระหัตถ์ กำนัลพระขันหมาก กำนัลน้ำเสวย กำนัลพัชนี กำนัลพระสำอาง กำนัลพระมาลา กำนัลพระบังคน กำนัลพระไสยาสน์ กำนัลทิพยรส กำนัลพระโภชน์ กำนัลพระโอษฐ์ และกำนัลทาพระองค์. (กาพย์ขับไม้).
สิบห้าหยก ๆ สิบหกหย่อน ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยแรกรุ่น.สิบห้าหยก ๆ สิบหกหย่อน ๆ น. หญิงที่อยู่ในวัยแรกรุ่น.
สิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ยศทหารบกหรือตำรวจชั้นประทวน ต่ำกว่าจ่า เช่น สิบตรี สิบตำรวจโท.สิบ ๒ น. ยศทหารบกหรือตำรวจชั้นประทวน ต่ำกว่าจ่า เช่น สิบตรี สิบตำรวจโท.
สิปปะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิลฺป เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.สิปปะ น. ศิลปะ. (ป.; ส. ศิลฺป).
สิพนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สิบพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเย็บ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิพฺพน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-นอ-หนู.สิพนะ [สิบพะ–] น. การเย็บ. (ป. สิพฺพน).
สิมพลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–พะลี] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้งิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาลฺมลี เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี.สิมพลี [–พะลี] น. ไม้งิ้ว. (ป.; ส. ศาลฺมลี).
สิร–, สิระ สิร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ สิระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [–ระ–] เป็นคำนาม หมายถึง หัว, ยอด, ที่สุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิรา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.สิร–, สิระ [–ระ–] น. หัว, ยอด, ที่สุด. (ป.; ส. ศิรา).
สิโรดม, สิโรตม์ สิโรดม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า สิโรตม์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หัว, เบื้องสูงสุดของหัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ + อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า .สิโรดม, สิโรตม์ น. หัว, เบื้องสูงสุดของหัว. (ป. สิร + อุตฺตม).
สิริ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ผสม เช่น สามีภรรยาสิริอายุเข้าด้วยกัน ๑๕๐ ปี, รวม เช่น สิริอายุได้ ๗๒ ปี.สิริ ๑ ก. ผสม เช่น สามีภรรยาสิริอายุเข้าด้วยกัน ๑๕๐ ปี, รวม เช่น สิริอายุได้ ๗๒ ปี.
สิริ ๒, สิรี สิริ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ สิรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ศรี, มิ่งขวัญ, มงคล, เช่น สิริราชสมบัติ, มักใช้เข้าคู่กับคำ มงคล เป็น สิริมงคล; สวย, งาม, เช่น ทรงมีพระสิริโฉม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรี เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี.สิริ ๒, สิรี น. ศรี, มิ่งขวัญ, มงคล, เช่น สิริราชสมบัติ, มักใช้เข้าคู่กับคำ มงคล เป็น สิริมงคล; สวย, งาม, เช่น ทรงมีพระสิริโฉม. (ป.; ส. ศฺรี).
สิโรดม, สิโรตม์ สิโรดม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า สิโรตม์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด ดู สิร–, สิระ สิร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ สิระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .สิโรดม, สิโรตม์ ดู สิร–, สิระ.
สิลา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หิน, หินก้อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิลา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา.สิลา น. หิน, หินก้อน. (ป.; ส. ศิลา).
สิโลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โศลก, บทสรรเสริญยกย่อง; ชื่อเสียง, เกียรติยศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โศฺลก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่.สิโลก น. โศลก, บทสรรเสริญยกย่อง; ชื่อเสียง, เกียรติยศ. (ป.; ส. โศฺลก).
สิว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตุ่มเม็ดเล็ก ๆ ที่มีหนองเป็นไตสีขาว ๆ อยู่ข้างใน มักขึ้นตามหน้า.สิว ๑ น. ตุ่มเม็ดเล็ก ๆ ที่มีหนองเป็นไตสีขาว ๆ อยู่ข้างใน มักขึ้นตามหน้า.
สิวเสี้ยน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิวเม็ดเล็ก ๆ หัวสิวมักขาว เมื่อบีบหัวสิวจะเคลื่อนออกมาลักษณะเหมือนเสี้ยน มีมากบริเวณจมูก.สิวเสี้ยน น. สิวเม็ดเล็ก ๆ หัวสิวมักขาว เมื่อบีบหัวสิวจะเคลื่อนออกมาลักษณะเหมือนเสี้ยน มีมากบริเวณจมูก.
สิวหัวช้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิวที่เป็นตุ่มใหญ่ มีสีแดง เพราะอักเสบค่อนข้างรุนแรงจากเชื้อแบคทีเรีย อาจมีหนองและปวด มักขึ้นบริเวณแก้มและจมูก.สิวหัวช้าง น. สิวที่เป็นตุ่มใหญ่ มีสีแดง เพราะอักเสบค่อนข้างรุนแรงจากเชื้อแบคทีเรีย อาจมีหนองและปวด มักขึ้นบริเวณแก้มและจมูก.
สิว– ๒, สิวะ สิว– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน สิวะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [สิวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความดี, สิริมงคล; พระศิวะ, พระอิศวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิว เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน.สิว– ๒, สิวะ [สิวะ–] น. ความดี, สิริมงคล; พระศิวะ, พระอิศวร. (ป.; ส. ศิว).
สิวาลัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ศิวาลัย, ที่ประทับของพระศิวะ; ที่อยู่อันเกษมสุข.สิวาลัย น. ศิวาลัย, ที่ประทับของพระศิวะ; ที่อยู่อันเกษมสุข.
สิ่ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องมือของช่างไม้ช่างทองเป็นต้น มีทั้งชนิดมีคมและไม่มีคม สําหรับใช้ตอก เจาะ สลัก เซาะ ดุน แร เป็นต้น.สิ่ว น. ชื่อเครื่องมือของช่างไม้ช่างทองเป็นต้น มีทั้งชนิดมีคมและไม่มีคม สําหรับใช้ตอก เจาะ สลัก เซาะ ดุน แร เป็นต้น.
สิ่วน่อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่วชนิดหนึ่งตัวหนาเป็นสี่เหลี่ยม มีคม.สิ่วน่อง น. สิ่วชนิดหนึ่งตัวหนาเป็นสี่เหลี่ยม มีคม.
สิวาลัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู สิว– ๒, สิวะ สิว– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน สิวะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ .สิวาลัย ดู สิว– ๒, สิวะ.
สิวิกา, สีวิกา สิวิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา สีวิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วอ, เสลี่ยง, คานหาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิวิกา, สีวิกา น. วอ, เสลี่ยง, คานหาม. (ป.).
สี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องสําหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. เป็นคำกริยา หมายถึง ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่, ครูด, รู่, ชัก เช่น สีซอ; ทำให้เปลือกออกด้วยเครื่องอย่างสีข้าว.สี ๑ น. ชื่อเครื่องสําหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่, ครูด, รู่, ชัก เช่น สีซอ; ทำให้เปลือกออกด้วยเครื่องอย่างสีข้าว.
สีซอให้ควายฟัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สั่งสอนแนะนำคนโง่มักไม่ได้ผล เสียเวลาเปล่า.สีซอให้ควายฟัง (สำ) ก. สั่งสอนแนะนำคนโง่มักไม่ได้ผล เสียเวลาเปล่า.
สีผึ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ขี้ผึ้งที่ปรุงแล้วใช้สําหรับสีปาก, บางทีเรียกว่า สีผึ้งสีปาก.สีผึ้ง น. ขี้ผึ้งที่ปรุงแล้วใช้สําหรับสีปาก, บางทีเรียกว่า สีผึ้งสีปาก.
สีฝัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องฝัดข้าวโดยใช้หมุนกงพัดให้เกิดลมพัดแกลบและรําออกจากเมล็ดข้าว.สีฝัด น. ชื่อเครื่องฝัดข้าวโดยใช้หมุนกงพัดให้เกิดลมพัดแกลบและรําออกจากเมล็ดข้าว.
สีไฟ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไม้ไผ่แห้ง ๒ อันถูกันให้เกิดเป็นไฟ.สีไฟ ๑ ก. เอาไม้ไผ่แห้ง ๒ อันถูกันให้เกิดเป็นไฟ.
สีไฟ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้ที่สีให้เกิดไฟว่า ไม้สีไฟ.สีไฟ ๒ น. เรียกไม้ที่สีให้เกิดไฟว่า ไม้สีไฟ.
สีไฟ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกโรงงานที่สีข้าวด้วยเครื่องจักรว่า โรงสีไฟ.สีไฟ ๓ น. เรียกโรงงานที่สีข้าวด้วยเครื่องจักรว่า โรงสีไฟ.
สีลม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องสีข้าวซึ่งใช้กําลังลมหมุนใบพัดให้หมุนเครื่องจักร.สีลม น. ชื่อเครื่องสีข้าวซึ่งใช้กําลังลมหมุนใบพัดให้หมุนเครื่องจักร.
สี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็น ขาว ดํา แดง เขียว เป็นต้น; สิ่งที่ทําให้ตาเห็นเป็น ขาว ดํา แดง เขียว เป็นต้น เช่น สีทาบ้าน สีย้อมผ้า สีวาดภาพ.สี ๒ น. ลักษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็น ขาว ดํา แดง เขียว เป็นต้น; สิ่งที่ทําให้ตาเห็นเป็น ขาว ดํา แดง เขียว เป็นต้น เช่น สีทาบ้าน สีย้อมผ้า สีวาดภาพ.
สีจาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู(ศิลปะ) น. สีที่เจือสีขาวเพื่อลดประกายสดใสให้อ่อนลง อย่างสีแดงเจือสีขาว เป็นสีชมพู.สีจาง (ศิลปะ) น. สีที่เจือสีขาวเพื่อลดประกายสดใสให้อ่อนลง อย่างสีแดงเจือสีขาว เป็นสีชมพู.
สีชอล์ก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับวาดเขียนชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีผสมกับยางสนหรือกาวบางชนิด อัดเป็นแท่งกลม ขนาดสั้น ๆ.สีชอล์ก น. สีสำหรับวาดเขียนชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีผสมกับยางสนหรือกาวบางชนิด อัดเป็นแท่งกลม ขนาดสั้น ๆ.
สีถ่าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ถ่านสำหรับวาดเขียน ทำขึ้นจากไม้เนื้ออ่อนชิ้นเล็ก ๆ ที่เผาหรืออบด้วยความร้อนจนเป็นสีดำสนิท มีทั้งชนิดเป็นแท่งและเป็นผง.สีถ่าน น. ถ่านสำหรับวาดเขียน ทำขึ้นจากไม้เนื้ออ่อนชิ้นเล็ก ๆ ที่เผาหรืออบด้วยความร้อนจนเป็นสีดำสนิท มีทั้งชนิดเป็นแท่งและเป็นผง.
สีเทียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับวาดเขียนชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีผสมกับขี้ผึ้ง อัดเป็นแท่งกลมขนาดสั้น ๆ.สีเทียน น. สีสำหรับวาดเขียนชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีผสมกับขี้ผึ้ง อัดเป็นแท่งกลมขนาดสั้น ๆ.
สีน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ใช้น้ำเจือให้ละลายก่อนจะใช้ระบาย.สีน้ำ น. สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ใช้น้ำเจือให้ละลายก่อนจะใช้ระบาย.
สีน้ำมัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับระบายรูปหรือใช้ทาผนังชนิดหนึ่ง ทำขึ้นมาจากผงสีผสมกับน้ำมันลินสีดเป็นต้น มีลักษณะข้นและเหนียวไม่ละลายน้ำ.สีน้ำมัน น. สีสำหรับระบายรูปหรือใช้ทาผนังชนิดหนึ่ง ทำขึ้นมาจากผงสีผสมกับน้ำมันลินสีดเป็นต้น มีลักษณะข้นและเหนียวไม่ละลายน้ำ.
สีโปสเตอร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีชนิดที่เรียกว่า สีฝุ่น ผสมกับกาวหนังสัตว์ ยางไม้ หรือ ไข่แดง เนื้อสีค่อนข้างข้น.สีโปสเตอร์ น. สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีชนิดที่เรียกว่า สีฝุ่น ผสมกับกาวหนังสัตว์ ยางไม้ หรือ ไข่แดง เนื้อสีค่อนข้างข้น.
สีฝุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีซึ่งมีลักษณะละเอียด เนื้อสีค่อนข้างข้น.สีฝุ่น น. สีสำหรับระบายชนิดหนึ่ง ทำขึ้นจากผงสีซึ่งมีลักษณะละเอียด เนื้อสีค่อนข้างข้น.
สีสด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก(ศิลปะ) น. สีแท้หรือสีที่เปล่งประกายสดใสอย่างสีแดง เหลือง ส้ม เขียว.สีสด (ศิลปะ) น. สีแท้หรือสีที่เปล่งประกายสดใสอย่างสีแดง เหลือง ส้ม เขียว.
สีสวรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สีสําหรับย้อมผ้าหรือกระดาษ ลักษณะเป็นผงละเอียด ละลายนํ้าได้ มีสมบัติติดทน และสีสดใส.สีสวรรค์ น. สีสําหรับย้อมผ้าหรือกระดาษ ลักษณะเป็นผงละเอียด ละลายนํ้าได้ มีสมบัติติดทน และสีสดใส.
สีหม่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-นอ-หนู(ศิลปะ) น. สีที่เจือสีดำเพื่อลดประกายสดใสให้คล้ำลง อย่างสีแดงเจือสีดำ เป็นสีแดงเลือดหมู.สีหม่น (ศิลปะ) น. สีที่เจือสีดำเพื่อลดประกายสดใสให้คล้ำลง อย่างสีแดงเจือสีดำ เป็นสีแดงเลือดหมู.
สี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ปีมะโรง.สี ๓ (ถิ่น–พายัพ) น. ปีมะโรง.
สี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนสามบวกหนึ่ง; เรียกเดือนที่ ๔ ทางจันทรคติว่า เดือน ๔ ตกในราวเดือนมีนาคม.สี่ น. จํานวนสามบวกหนึ่ง; เรียกเดือนที่ ๔ ทางจันทรคติว่า เดือน ๔ ตกในราวเดือนมีนาคม.
สี่เหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๔ เส้นปลายเส้นจดกัน.สี่เหลี่ยม น. รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๔ เส้นปลายเส้นจดกัน.
สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านทั้ง ๔ ยาวเท่ากัน แต่ไม่มีมุมภายในเป็นมุมฉาก, สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ก็เรียก.สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน น. รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านทั้ง ๔ ยาวเท่ากัน แต่ไม่มีมุมภายในเป็นมุมฉาก, สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ก็เรียก.
สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน.สี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด น. สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน.
สี่เหลี่ยมคางหมู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านขนานกันเพียงคู่เดียว.สี่เหลี่ยมคางหมู น. รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านขนานกันเพียงคู่เดียว.
สี่เหลี่ยมจัตุรัส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมด้านเท่าที่มีมุมภายในเป็นมุมฉาก.สี่เหลี่ยมจัตุรัส น. รูปสี่เหลี่ยมด้านเท่าที่มีมุมภายในเป็นมุมฉาก.
สี่เหลี่ยมด้านขนาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านคู่ตรงข้ามขนานกัน.สี่เหลี่ยมด้านขนาน น. รูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านคู่ตรงข้ามขนานกัน.
สี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมที่ไม่มีด้านเท่ากันเลย.สี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า น. รูปสี่เหลี่ยมที่ไม่มีด้านเท่ากันเลย.
สี่เหลี่ยมผืนผ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านขนานคู่หนึ่งยาวกว่าอีกคู่หนึ่ง และมีมุมภายในเป็นมุมฉาก.สี่เหลี่ยมผืนผ้า น. รูปสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านขนานคู่หนึ่งยาวกว่าอีกคู่หนึ่ง และมีมุมภายในเป็นมุมฉาก.
สี้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ยาสีฟันโบราณ ใช้สีเพื่อให้ฟันดํา, ชี่ ก็เรียก.สี้ น. ยาสีฟันโบราณ ใช้สีเพื่อให้ฟันดํา, ชี่ ก็เรียก.
สีกรุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Pomadasys maculatum ในวงศ์ Pomadasyidae ลักษณะคล้ายปลาจวด ใต้คางมีรู ๒ รู ลําตัวสีเงิน แนวสันหลังสีเข้มเป็นแถบและจุดยาว ส่งเสียงดังเมื่อถูกจับพ้นผิวนํ้า, มโหรี กระต่ายขูด กะทิขูด หรือ หัวขวาน ก็เรียก.สีกรุด น. ชื่อปลาทะเลชนิด Pomadasys maculatum ในวงศ์ Pomadasyidae ลักษณะคล้ายปลาจวด ใต้คางมีรู ๒ รู ลําตัวสีเงิน แนวสันหลังสีเข้มเป็นแถบและจุดยาว ส่งเสียงดังเมื่อถูกจับพ้นผิวนํ้า, มโหรี กระต่ายขูด กะทิขูด หรือ หัวขวาน ก็เรียก.
สีกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คําที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง, คู่กับ ประสก. (ตัดมาจาก อุบาสิกา).สีกา (ปาก) น. คําที่บรรพชิตเรียกคฤหัสถ์ผู้หญิง, คู่กับ ประสก. (ตัดมาจาก อุบาสิกา).
สีกุน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของปลาทะเลหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Carangidae อยู่ในกลุ่มปลาหางแข็ง หางกิ่ว หรือม่ง ลําตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย มักมีจุดดําใหญ่ที่มุมแผ่นปิดเหงือก โดยเฉพาะชนิดที่มีแถบสีเหลืองพาดจากตาถึงคอดหาง หรือมีสีเหลือบเหลืองพาดข้างตัว โดยเฉพาะสีกุนข้างเหลือง (Selaroides leptolepis) สีกุนทอง อันได้แก่ ชนิด Selar boops, S. crumenopthalmus, Alepis melanoptera และ A. djeddaba เป็นต้น.สีกุน น. ชื่อหนึ่งของปลาทะเลหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Carangidae อยู่ในกลุ่มปลาหางแข็ง หางกิ่ว หรือม่ง ลําตัวเพรียว แบนข้างเล็กน้อย มักมีจุดดําใหญ่ที่มุมแผ่นปิดเหงือก โดยเฉพาะชนิดที่มีแถบสีเหลืองพาดจากตาถึงคอดหาง หรือมีสีเหลือบเหลืองพาดข้างตัว โดยเฉพาะสีกุนข้างเหลือง (Selaroides leptolepis) สีกุนทอง อันได้แก่ ชนิด Selar boops, S. crumenopthalmus, Alepis melanoptera และ A. djeddaba เป็นต้น.
สีขน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-นอ-หนูดู หางกิ่ว เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน (๑).สีขน ดู หางกิ่ว (๑).
สีข้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ข้างทั้ง ๒ ของร่างกาย ถัดรักแร้ลงมาถึงสะเอว.สีข้าง น. ข้างทั้ง ๒ ของร่างกาย ถัดรักแร้ลงมาถึงสะเอว.
สีฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-คอ-ระ-คัง[–คะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เร็ว, ไว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สีฆ– [–คะ–] ว. เร็ว, ไว. (ป.).
สีจัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ขวัญที่แสกหน้า ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, ฝีจัก ก็ว่า.สีจัก น. ขวัญที่แสกหน้า ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, ฝีจัก ก็ว่า.
สีชมพูดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-งอ-งูดู กระติ๊ด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก.สีชมพูดง ดู กระติ๊ด.
สีชมพูสวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Dicaeum cruentatum ในวงศ์ Dicaeidae ตัวเล็ก ปากเล็กแหลม ตัวผู้สีขาว มีสีแดงเป็นแถบตั้งแต่หัวถึงโคนหางด้านล่าง ตัวเมียสีนํ้าตาลอมเทา ตะโพกแดง กินแมลง.สีชมพูสวน น. ชื่อนกชนิด Dicaeum cruentatum ในวงศ์ Dicaeidae ตัวเล็ก ปากเล็กแหลม ตัวผู้สีขาว มีสีแดงเป็นแถบตั้งแต่หัวถึงโคนหางด้านล่าง ตัวเมียสีนํ้าตาลอมเทา ตะโพกแดง กินแมลง.
สีด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สูดเข้าไป เช่น สีดน้ำมูก.สีด (โบ) ก. สูดเข้าไป เช่น สีดน้ำมูก.
สีดอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกช้างตัวผู้ที่ไม่มีงาหรืองาสั้น.สีดอ น. ชื่อเรียกช้างตัวผู้ที่ไม่มีงาหรืองาสั้น.
สีดา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นมเหสีของพระราม.สีดา น. ชื่อตัวเอกในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นมเหสีของพระราม.
สีต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า[–ตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เย็น, หนาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สีต– [–ตะ–] ว. เย็น, หนาว. (ป.).
สีโตทก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สีโตทก น. นํ้าเย็น. (ป.).
สีต้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชีต้น, พระสงฆ์.สีต้น น. ชีต้น, พระสงฆ์.
สีตล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง[–ตะละ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เย็น, หนาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สีตล– [–ตะละ–] ว. เย็น, หนาว. (ป.).
สีตลรัศมี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์ คู่กับ อุษณรัศมี มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์.สีตลรัศมี ว. มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์ คู่กับ อุษณรัศมี มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์.
สีตลหฤทัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีใจเยือกเย็น.สีตลหฤทัย ว. มีใจเยือกเย็น.
สีตโลทก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าเย็น.สีตโลทก น. นํ้าเย็น.
สีตโลทก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู สีตล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง.สีตโลทก ดู สีตล–.
สีโตทก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู สีต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า.สีโตทก ดู สีต–.
สีทันดร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ[–ดอน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อทะเล ๗ แห่ง อยู่ระหว่างภูเขาพระสุเมรุกับภูเขายุคนธร ๑ ระหว่างภูเขายุคนธรกับภูเขาอิสินธร ๑ ระหว่างภูเขาอิสินธรกับภูเขากรวิก ๑ ระหว่างภูเขากรวิกกับภูเขาสุทัสนะ ๑ ระหว่างภูเขาสุทัสนะกับภูเขาเนมินธร ๑ ระหว่างภูเขาเนมินธรกับภูเขาวินตกะ ๑ ระหว่างภูเขาวินตกะกับภูเขาอัสกัณ ๑. ในวงเล็บ ดู บริภัณฑ์ เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๑.สีทันดร [–ดอน] น. ชื่อทะเล ๗ แห่ง อยู่ระหว่างภูเขาพระสุเมรุกับภูเขายุคนธร ๑ ระหว่างภูเขายุคนธรกับภูเขาอิสินธร ๑ ระหว่างภูเขาอิสินธรกับภูเขากรวิก ๑ ระหว่างภูเขากรวิกกับภูเขาสุทัสนะ ๑ ระหว่างภูเขาสุทัสนะกับภูเขาเนมินธร ๑ ระหว่างภูเขาเนมินธรกับภูเขาวินตกะ ๑ ระหว่างภูเขาวินตกะกับภูเขาอัสกัณ ๑. (ดู บริภัณฑ์ ๑).
สี่บท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สี่บท น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สีฟันคนทา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อาดู คนทา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา.สีฟันคนทา ดู คนทา.
สีฟันนางแอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่างดู เฉียงพร้านางแอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง.สีฟันนางแอ ดู เฉียงพร้านางแอ.
สีมันต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เขต, แดน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สีมันต์ น. เขต, แดน. (ป.).
สีมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เขต, แดน; เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์ มักทําด้วยแผ่นหินหรือหลักหินเป็นต้น เรียกว่า ใบพัทธสีมา, ใบสีมา หรือ ใบเสมา ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สีมา น. เขต, แดน; เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์ มักทําด้วยแผ่นหินหรือหลักหินเป็นต้น เรียกว่า ใบพัทธสีมา, ใบสีมา หรือ ใบเสมา ก็ว่า. (ป., ส.).
สีละมัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนูดู ลิ้นจี่ เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก.สีละมัน ดู ลิ้นจี่.
สีวิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สิวิกา, วอ, เสลี่ยง, คานหาม.สีวิกา น. สิวิกา, วอ, เสลี่ยง, คานหาม.
สีสอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ออ-อ่างดู คนทีสอ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ออ-อ่าง ที่ คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒.สีสอ ดู คนทีสอ ที่ คนที ๒.
สีสะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตะกั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สีสะ ๑ น. ตะกั่ว. (ป., ส.).
สีสะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ศีรษะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศีรฺษ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.สีสะ ๒ น. ศีรษะ. (ป.; ส. ศีรฺษ).
สีสา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประสีประสา (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น เด็กคนนี้พูดจาไม่รู้สีสา อย่าถือสาเลย.สีสา (ปาก) ว. ประสีประสา (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น เด็กคนนี้พูดจาไม่รู้สีสา อย่าถือสาเลย.
สีสุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไผ่ ๒ ชนิดในสกุล Bambusa วงศ์ Gramineae แขนงมีหนาม คือ ชนิด B. blumeana Schult. ลําต้นใหญ่ตรง และชนิด B. flexuosa Munro ลําต้นเล็กไม่ค่อยตรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฤสฺสีสฺรุก เขียนว่า รอ-รึ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.สีสุก น. ชื่อไผ่ ๒ ชนิดในสกุล Bambusa วงศ์ Gramineae แขนงมีหนาม คือ ชนิด B. blumeana Schult. ลําต้นใหญ่ตรง และชนิด B. flexuosa Munro ลําต้นเล็กไม่ค่อยตรง. (ข. ฤสฺสีสฺรุก).
สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Acacia catechu Willd. ในวงศ์ Leguminosae กิ่งมีหนาม เนื้อไม้ให้สารที่เรียกว่า สีเสียด ใช้ผสมปูนกินกับหมาก ย้อมผ้า และฟอกหนัง, สีเสียดแก่น หรือ สีเสียดเหนือ ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Pentace burmanica Kurz ในวงศ์ Tiliaceae เปลือกรสขมฝาดใช้กินกับหมาก, สีเสียดเปลือก ก็เรียก.สีเสียด ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Acacia catechu Willd. ในวงศ์ Leguminosae กิ่งมีหนาม เนื้อไม้ให้สารที่เรียกว่า สีเสียด ใช้ผสมปูนกินกับหมาก ย้อมผ้า และฟอกหนัง, สีเสียดแก่น หรือ สีเสียดเหนือ ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Pentace burmanica Kurz ในวงศ์ Tiliaceae เปลือกรสขมฝาดใช้กินกับหมาก, สีเสียดเปลือก ก็เรียก.
สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สารที่สกัดได้จากเนื้อไม้ของต้นสีเสียด (Acacia catechu Willd.) และใบกิ่งของต้นกะเมีย (Uncaria gambier Roxb.) ชนิดหลัง สีเสียดเทศ ก็เรียก.สีเสียด ๒ น. สารที่สกัดได้จากเนื้อไม้ของต้นสีเสียด (Acacia catechu Willd.) และใบกิ่งของต้นกะเมีย (Uncaria gambier Roxb.) ชนิดหลัง สีเสียดเทศ ก็เรียก.
สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides tol ในวงศ์ Carangidae ตัวเรียวเล็กกว่าปลาสละ ตาโต ลําตัวด้านบนสีนํ้าเงิน ด้านข้างสีเงิน โคนหางสีเหลือง ปลายครีบหลังและครีบหางสีดํา ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, ขานกยาง ก็เรียก.สีเสียด ๓ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides tol ในวงศ์ Carangidae ตัวเรียวเล็กกว่าปลาสละ ตาโต ลําตัวด้านบนสีนํ้าเงิน ด้านข้างสีเงิน โคนหางสีเหลือง ปลายครีบหลังและครีบหางสีดํา ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, ขานกยาง ก็เรียก.
สีเสียดแก่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนูดู สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ (๑).สีเสียดแก่น ดู สีเสียด ๑ (๑).
สีเสียดเปลือก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ดู สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ (๒).สีเสียดเปลือก ดู สีเสียด ๑ (๒).
สีเสียดเหนือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่างดู สีเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ (๑).สีเสียดเหนือ ดู สีเสียด ๑ (๑).
สีเสื้อน้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นคนทีสอ. ในวงเล็บ ดู คนทีสอ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ออ-อ่าง ที่ คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒.สีเสื้อน้อย (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นคนทีสอ. (ดู คนทีสอ ที่ คนที ๒).
สีห–, สีห์, สีหะ สีห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ สีห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด สีหะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ราชสีห์ เช่น ราชสีห์อาจจะตั้งใจหมายความว่า สีหะ ตัวที่เป็นนายฝูง. ในวงเล็บ มาจาก สาส์นสมเด็จ ภาค ๑-๕ สำนักพิมพ์คลังวิทยา พ.ศ. ๒๔๙๙. ในวงเล็บ ดู สิงห–, สิงห์ ๑ สิงห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด . (ป.).สีห–, สีห์, สีหะ น. ราชสีห์ เช่น ราชสีห์อาจจะตั้งใจหมายความว่า สีหะ ตัวที่เป็นนายฝูง. (สาส์นสมเด็จ). (ดู สิงห–, สิงห์ ๑). (ป.).
สีหนาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง สิงหนาท.สีหนาท น. สิงหนาท.
สีหบัญชร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สิงหบัญชร ก็ว่า.สีหบัญชร น. หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สิงหบัญชร ก็ว่า.
สีหราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง พญาราชสีห์, สิงหราช ก็ว่า.สีหราช น. พญาราชสีห์, สิงหราช ก็ว่า.
สีหไสยา, สีหไสยาสน์ สีหไสยา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา สีหไสยาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ท่านอนอย่างราชสีห์ คือ นอนตะแคงขวา แขนซ้ายพาดไปตามลำตัว เท้าซ้ายซ้อนบนเท้าขวา มือขวารองรับศีรษะด้านข้าง.สีหไสยา, สีหไสยาสน์ น. ท่านอนอย่างราชสีห์ คือ นอนตะแคงขวา แขนซ้ายพาดไปตามลำตัว เท้าซ้ายซ้อนบนเท้าขวา มือขวารองรับศีรษะด้านข้าง.
สีหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง อารมณ์ที่ปรากฏทางหน้า เช่น วันนี้สีหน้าเขาไม่ดีเลย คงจะโกรธใครมา พอถูกดุก็ทำสีหน้าไม่พอใจ.สีหน้า น. อารมณ์ที่ปรากฏทางหน้า เช่น วันนี้สีหน้าเขาไม่ดีเลย คงจะโกรธใครมา พอถูกดุก็ทำสีหน้าไม่พอใจ.
สึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กร่อนไป, ร่อยหรอไป, เช่น รองเท้าสึก บันไดสึก.สึก ๑ ก. กร่อนไป, ร่อยหรอไป, เช่น รองเท้าสึก บันไดสึก.
สึกหรอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง กร่อนไป เช่น เครื่องจักรสึกหรอ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การด่าว่าไม่ทำให้สึกหรออะไร.สึกหรอ ก. กร่อนไป เช่น เครื่องจักรสึกหรอ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การด่าว่าไม่ทำให้สึกหรออะไร.
สึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ลาสิกขา, ลาสึก ก็ว่า.สึก ๒ (ปาก) ก. ลาสิกขา, ลาสึก ก็ว่า.
สึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การรู้ตัว, การระลึกได้, การจําได้, มักใช้ควบกับคํา รู้ เป็น รู้สึก และแผลงว่า สํานึก ก็มี.สึก ๓ น. การรู้ตัว, การระลึกได้, การจําได้, มักใช้ควบกับคํา รู้ เป็น รู้สึก และแผลงว่า สํานึก ก็มี.
สึง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สิง, อยู่, ประจํา, แทรก. ในวงเล็บ ดู สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๑.สึง ก. สิง, อยู่, ประจํา, แทรก. (ดู สิง ๑).
สืบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อเนื่องเป็นลําดับ เช่น สืบราชสมบัติ สืบตระกูล.สืบ ๑ ก. ต่อเนื่องเป็นลําดับ เช่น สืบราชสมบัติ สืบตระกูล.
สืบเชื้อสาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สืบสกุล, สืบสาย ก็ว่า.สืบเชื้อสาย ก. สืบสกุล, สืบสาย ก็ว่า.
สืบทอด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง รับช่วงปฏิบัติต่อ เช่น เขาสืบทอดความรู้มาจากบรรพบุรุษ.สืบทอด ก. รับช่วงปฏิบัติต่อ เช่น เขาสืบทอดความรู้มาจากบรรพบุรุษ.
สืบเท้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เหยียดขาเลื่อนเท้าไปข้างหน้าโดยไม่งอเข่า เช่น สืบเท้าก้าวเดินไป ตำรวจสืบเท้าเข้าไปประชิดตัวผู้ร้าย.สืบเท้า ก. เหยียดขาเลื่อนเท้าไปข้างหน้าโดยไม่งอเข่า เช่น สืบเท้าก้าวเดินไป ตำรวจสืบเท้าเข้าไปประชิดตัวผู้ร้าย.
สืบไป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่อไป, ต่อเนื่องไป, เช่น ขอให้ดำเนินงานสืบไป ขอให้อยู่เป็นสุขสืบไปชั่วกาลนาน.สืบไป ว. ต่อไป, ต่อเนื่องไป, เช่น ขอให้ดำเนินงานสืบไป ขอให้อยู่เป็นสุขสืบไปชั่วกาลนาน.
สืบพันธุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เกิดลูกหลานสืบเนื่องต่อไป.สืบพันธุ์ ก. ทําให้เกิดลูกหลานสืบเนื่องต่อไป.
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง สืบพันธุ์โดยไม่ต้องมีการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การแบ่งตัวของแบคทีเรีย.สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ก. สืบพันธุ์โดยไม่ต้องมีการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การแบ่งตัวของแบคทีเรีย.
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง สืบพันธุ์โดยการผสมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การผสมของเชื้ออสุจิกับไข่ของเพศหญิง.สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ก. สืบพันธุ์โดยการผสมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การผสมของเชื้ออสุจิกับไข่ของเพศหญิง.
สืบราชวงศ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สืบวงศ์พระมหากษัตริย์.สืบราชวงศ์ ก. สืบวงศ์พระมหากษัตริย์.
สืบราชสกุล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง สืบตระกูลฝ่ายพระราชา.สืบราชสกุล ก. สืบตระกูลฝ่ายพระราชา.
สืบราชสมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นพระมหากษัตริย์ต่อเนื่องแทน, สืบราชบัลลังก์ ก็ว่า.สืบราชสมบัติ ก. เป็นพระมหากษัตริย์ต่อเนื่องแทน, สืบราชบัลลังก์ ก็ว่า.
สืบราชสันตติวงศ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนซึ่งอยู่ในราชวงศ์เดียวกัน เช่น กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์, สืบสันตติวงศ์ ก็ว่า.สืบราชสันตติวงศ์ ก. ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนซึ่งอยู่ในราชวงศ์เดียวกัน เช่น กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์, สืบสันตติวงศ์ ก็ว่า.
สืบศาสนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ต่ออายุพระศาสนาให้ยั่งยืนสืบไป.สืบศาสนา ก. ต่ออายุพระศาสนาให้ยั่งยืนสืบไป.
สืบสกุล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง สืบวงศ์ตระกูล, สืบเชื้อสาย.สืบสกุล ก. สืบวงศ์ตระกูล, สืบเชื้อสาย.
สืบสันดาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สืบเชื้อสายมาโดยตรง.สืบสันดาน ก. สืบเชื้อสายมาโดยตรง.
สืบสาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สืบสกุล, สืบเชื้อสาย ก็ว่า.สืบสาย ก. สืบสกุล, สืบเชื้อสาย ก็ว่า.
สืบหูก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อหูก คือ เอาด้ายยาวที่จะทอเป็นผืนผ้ามาต่อกับด้ายซัง.สืบหูก ก. ต่อหูก คือ เอาด้ายยาวที่จะทอเป็นผืนผ้ามาต่อกับด้ายซัง.
สืบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เสาะหา, แสวงหา, เช่น สืบความลับ สืบข้อเท็จจริง สืบข่าว.สืบ ๒ ก. เสาะหา, แสวงหา, เช่น สืบความลับ สืบข้อเท็จจริง สืบข่าว.
สืบค้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ค้นหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะได้ผล เช่น สืบค้นหาสมบัติตามลายแทง.สืบค้น ก. ค้นหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะได้ผล เช่น สืบค้นหาสมบัติตามลายแทง.
สืบพยาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง สอบปากคําพยาน เพื่อให้เบิกความเกี่ยวกับพยานหลักฐานในคดี.สืบพยาน (กฎ) ก. สอบปากคําพยาน เพื่อให้เบิกความเกี่ยวกับพยานหลักฐานในคดี.
สืบสวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง แสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐานซึ่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจได้ปฏิบัติไปตามอํานาจและหน้าที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน และเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแห่งความผิด.สืบสวน (กฎ) ก. แสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐานซึ่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจได้ปฏิบัติไปตามอํานาจและหน้าที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน และเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแห่งความผิด.
สืบสาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง สืบให้ได้เรื่องถึงที่สุด เช่น เรื่องนี้จะต้องสืบสาวหาตัวคนผิดให้ได้.สืบสาว ก. สืบให้ได้เรื่องถึงที่สุด เช่น เรื่องนี้จะต้องสืบสาวหาตัวคนผิดให้ได้.
สืบสาวราวเรื่อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ค้นคว้าให้ได้เรื่อง เช่น ไฟไหม้ครั้งนี้สืบสาวราวเรื่องได้ว่าเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร.สืบสาวราวเรื่อง ก. ค้นคว้าให้ได้เรื่อง เช่น ไฟไหม้ครั้งนี้สืบสาวราวเรื่องได้ว่าเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร.
สืบเสาะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้นหา, แสวงหา, เช่น ตำรวจสืบเสาะหาแหล่งผลิตเฮโรอีน.สืบเสาะ ก. ค้นหา, แสวงหา, เช่น ตำรวจสืบเสาะหาแหล่งผลิตเฮโรอีน.
สื่อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนําให้รู้จักกัน. เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนําให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน กุหลาบแดงเป็นสื่อของความรัก, เรียกผู้ที่ทำหน้าที่ชักนำเพื่อให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่าง ๆ ที่นำมาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซึ่งศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม.สื่อ ก. ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนําให้รู้จักกัน. น. ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกันหรือชักนําให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน กุหลาบแดงเป็นสื่อของความรัก, เรียกผู้ที่ทำหน้าที่ชักนำเพื่อให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่าง ๆ ที่นำมาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซึ่งศิลปินประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม.
สื่อการศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา.สื่อการศึกษา น. วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา.
สื่อผสม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัสดุที่ใช้สำหรับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ร่วมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป เช่น สีน้ำที่มีคุณลักษณะบางสดใสกับสีโปสเตอร์ที่มีคุณสมบัติหนาทึบ ดินสอกับหมึก.สื่อผสม น. วัสดุที่ใช้สำหรับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ร่วมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป เช่น สีน้ำที่มีคุณลักษณะบางสดใสกับสีโปสเตอร์ที่มีคุณสมบัติหนาทึบ ดินสอกับหมึก.
สื่อมวลชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สื่อกลางที่นำข่าวสาร สาร และเนื้อหาสาระทุกประเภทไปสู่มวลชน เช่นหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ เป็นต้น.สื่อมวลชน น. สื่อกลางที่นำข่าวสาร สาร และเนื้อหาสาระทุกประเภทไปสู่มวลชน เช่นหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์, (ปาก) นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ เป็นต้น.
สื่อสาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง นำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น ของฝ่ายหนึ่งส่งให้อีกฝ่ายหนึ่งโดยมีสื่อนำไป.สื่อสาร ก. นำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น ของฝ่ายหนึ่งส่งให้อีกฝ่ายหนึ่งโดยมีสื่อนำไป.
สื่อสารมวลชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนการติดต่อสื่อสารสู่มวลชนโดยส่งสารผ่านสื่อมวลชน.สื่อสารมวลชน น. กระบวนการติดต่อสื่อสารสู่มวลชนโดยส่งสารผ่านสื่อมวลชน.
สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้นํ้าร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ.สุ ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้นํ้าร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ.
สุ ๒, สุ ๆ สุ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ สุ ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว แตงโมสุ ๆ.สุ ๒, สุ ๆ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว แตงโมสุ ๆ.
สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ดี งาม ง่าย สําหรับเติมข้างหน้าคํา เช่น สุคนธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุ ๓ คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ดี งาม ง่าย สําหรับเติมข้างหน้าคํา เช่น สุคนธ์. (ป., ส.).
สุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พ้นจากห่าม เช่น ผลไม้สุก, เปลี่ยนสภาพจากดิบด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อย่างต้ม ผัด ย่าง เป็นต้น เช่น ต้มไก่สุกแล้ว ย่างเนื้อให้สุก, ถึงระยะที่ได้ที่หรือแก่จัดแล้ว เช่น ข้าวในนาสุกเกี่ยวได้แล้ว ฝีสุกจนแตก ต้อสุกผ่าได้แล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ร้อนจนเนื้อตัวจะสุกแล้ว ถูกเขาต้มจนสุก, เรียกชายที่บวชเป็นพระภิกษุและสึกแล้วว่า คนสุก; ปลั่งเป็นมันแวววาว เช่น ทองเนื้อสุกดี.สุก ๑ ก. พ้นจากห่าม เช่น ผลไม้สุก, เปลี่ยนสภาพจากดิบด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อย่างต้ม ผัด ย่าง เป็นต้น เช่น ต้มไก่สุกแล้ว ย่างเนื้อให้สุก, ถึงระยะที่ได้ที่หรือแก่จัดแล้ว เช่น ข้าวในนาสุกเกี่ยวได้แล้ว ฝีสุกจนแตก ต้อสุกผ่าได้แล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ร้อนจนเนื้อตัวจะสุกแล้ว ถูกเขาต้มจนสุก, เรียกชายที่บวชเป็นพระภิกษุและสึกแล้วว่า คนสุก; ปลั่งเป็นมันแวววาว เช่น ทองเนื้อสุกดี.
สุกก่อนห่าม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน) เช่น ใครเขาจะเอาเยี่ยงอย่างอีซนซุก อีสุกก่อนห่าม มันมาอยู่สักกี่วันกี่เดือน นี่มันจะมาตั้งเตือนต่อก่อความให้ขุ่นไปทั้งบ้าน. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.สุกก่อนห่าม (สำ) ว. ที่ทําสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน) เช่น ใครเขาจะเอาเยี่ยงอย่างอีซนซุก อีสุกก่อนห่าม มันมาอยู่สักกี่วันกี่เดือน นี่มันจะมาตั้งเตือนต่อก่อความให้ขุ่นไปทั้งบ้าน. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
สุกงอม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-งอ-งู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แก่จัดจนเกือบเน่าหรือเละ เช่น มะม่วงสุกงอมคาต้น, โดยปริยายหมายความว่า เต็มที่ เช่น ความรักของเขาสุกงอม แก่แล้วก็เหมือนผลไม้ที่สุกงอม.สุกงอม ก. แก่จัดจนเกือบเน่าหรือเละ เช่น มะม่วงสุกงอมคาต้น, โดยปริยายหมายความว่า เต็มที่ เช่น ความรักของเขาสุกงอม แก่แล้วก็เหมือนผลไม้ที่สุกงอม.
สุกดิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกวันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกำหนดวันงานพิธี ๑ วันว่า วันสุกดิบ.สุกดิบ ว. เรียกวันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกำหนดวันงานพิธี ๑ วันว่า วันสุกดิบ.
สุก ๆ ดิบ ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่สุกทั่วกัน เช่น หุงข้าวสุก ๆ ดิบ ๆ.สุก ๆ ดิบ ๆ ว. ยังไม่สุกทั่วกัน เช่น หุงข้าวสุก ๆ ดิบ ๆ.
สุกแดด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ถูกแดดเผาให้สุกก่อนเวลาที่ควรจะสุก (ใช้แก่ผลไม้) เช่น มะม่วงสุกแดด.สุกแดด ว. ที่ถูกแดดเผาให้สุกก่อนเวลาที่ควรจะสุก (ใช้แก่ผลไม้) เช่น มะม่วงสุกแดด.
สุกปลั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใสเป็นมันแวววาว เช่น ทองสุกปลั่ง ขัดถาดทองเหลืองเสียสุกปลั่ง.สุกปลั่ง ว. สุกใสเป็นมันแวววาว เช่น ทองสุกปลั่ง ขัดถาดทองเหลืองเสียสุกปลั่ง.
สุกใส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แวววาว, แจ่มใส, เช่น ดวงตามีประกายสุกใส คืนนี้ท้องฟ้ามีดาวสุกใส.สุกใส ว. แวววาว, แจ่มใส, เช่น ดวงตามีประกายสุกใส คืนนี้ท้องฟ้ามีดาวสุกใส.
สุกเอาเผากิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำลวก ๆ, อาการที่ทำพอเสร็จไปคราวหนึ่ง ๆ เช่น เขาทำงานสุกเอาเผากิน พอให้พ้นตัวไป.สุกเอาเผากิน (สำ) ว. อาการที่ทำลวก ๆ, อาการที่ทำพอเสร็จไปคราวหนึ่ง ๆ เช่น เขาทำงานสุกเอาเผากิน พอให้พ้นตัวไป.
สุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นกแก้ว, นกแขกเต้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.สุก ๒ น. นกแก้ว, นกแขกเต้า. (ป.; ส. ศุก).
สุก– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สุกกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขาว, สว่าง, สะอาด, ดี, เช่น สุกธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุกฺก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.สุก– ๓ [สุกกะ–] ว. ขาว, สว่าง, สะอาด, ดี, เช่น สุกธรรม. (ป. สุกฺก).
สุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เดินจบพ้นกระดานไปแล้ว (ใช้แก่การเล่นดวด).สุก ๔ ก. เดินจบพ้นกระดานไปแล้ว (ใช้แก่การเล่นดวด).
สุกข์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง แห้ง, แล้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุกข์ ก. แห้ง, แล้ง. (ป.).
สุกร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ[สุกอน] เป็นคำนาม หมายถึง หมู (มักใช้เป็นทางการ) เช่น เนื้อสุกร สุกรชําแหละ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศูกร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ สูกร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ .สุกร [สุกอน] น. หมู (มักใช้เป็นทางการ) เช่น เนื้อสุกร สุกรชําแหละ. (ป.; ส. ศูกร, สูกร).
สุกรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สุกฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ ใบรี ผลเมื่อสุกสีแดง ใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.สุกรม [สุกฺรม] น. ชื่อต้นไม้ขนาดใหญ่ ใบรี ผลเมื่อสุกสีแดง ใช้ทํายา. (พจน. ๒๔๙๓).
สุกำศพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สอ-สา-ลา-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบศพซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ เช่น เจ้าหน้าที่จะสุกําศพ, ทําสุกําศพ ก็ว่า เช่น เมื่อทําสุกําศพเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่ก็ยกโกศหรือหีบศพขึ้นตั้ง.สุกำศพ ก. อาการที่เจ้าพนักงานภูษามาลาหรือเจ้าพนักงานสนมพลเรือนเอาผ้าขาวห่อศพและใช้ด้ายดิบมัดตราสัง แล้วบรรจุศพลงโกศหรือหีบศพซึ่งมีกระดาษฟางปูรองรับ เช่น เจ้าหน้าที่จะสุกําศพ, ทําสุกําศพ ก็ว่า เช่น เมื่อทําสุกําศพเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่ก็ยกโกศหรือหีบศพขึ้นตั้ง.
สุกียากี้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแบบญี่ปุ่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ เต้าหู้ และผักบางชนิด, ไทยนำมาดัดแปลงโดยใช้เนื้อสัตว์ ผักต่าง ๆ วุ้นเส้น และไข่ เป็นต้น ลวกในน้ำซุป กินกับน้ำจิ้ม, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า สุกี้.สุกียากี้ น. ชื่ออาหารแบบญี่ปุ่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ เต้าหู้ และผักบางชนิด, ไทยนำมาดัดแปลงโดยใช้เนื้อสัตว์ ผักต่าง ๆ วุ้นเส้น และไข่ เป็นต้น ลวกในน้ำซุป กินกับน้ำจิ้ม, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า สุกี้.
สุข, สุข– สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ สุข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ [สุก, สุกขะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความสบายกายสบายใจ เช่น ขอให้อยู่ดีมีสุข เกิดมาก็มีสุขบ้างทุกข์บ้าง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เป็น เช่น ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข ขอให้เป็นสุข ๆ นะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สบายกายสบายใจ เช่น เดี๋ยวนี้เขาอยู่สุขสบายดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุข, สุข– [สุก, สุกขะ–] น. ความสบายกายสบายใจ เช่น ขอให้อยู่ดีมีสุข เกิดมาก็มีสุขบ้างทุกข์บ้าง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เป็น เช่น ขอให้อยู่เย็นเป็นสุข ขอให้เป็นสุข ๆ นะ. ว. สบายกายสบายใจ เช่น เดี๋ยวนี้เขาอยู่สุขสบายดี. (ป., ส.).
สุขนาฏกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สุกขะนาดตะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกําลําบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต.สุขนาฏกรรม [สุกขะนาดตะกํา] น. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่นเรื่องอิเหนา ศกุนตลา ชิงนาง ปริศนา, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไปที่ลงท้ายด้วยความสุขหรือสมหวัง เช่น ชีวิตเธอเป็นเหมือนนวนิยายสุขนาฏกรรม แม้จะตกระกําลําบากในวัยเด็ก แต่แล้วก็ได้พบกับความสุขสมหวังในบั้นปลายชีวิต.
สุขภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้สําหรับห้องนํ้า เช่นอ่างล้างหน้า อ่างอาบน้ำ โถส้วม.สุขภัณฑ์ น. เครื่องอุปกรณ์ที่ใช้สําหรับห้องนํ้า เช่นอ่างล้างหน้า อ่างอาบน้ำ โถส้วม.
สุขภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ.สุขภาพ น. ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ.
สุขลักษณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่ถูกต้องตามหลักปฏิบัติเพื่อความปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น สร้างบ้านเรือนให้ถูกสุขลักษณะ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ส้วมที่ถูกสุขลักษณะย่อมไม่แพร่กระจายเชื้อโรค.สุขลักษณะ น. ลักษณะที่ถูกต้องตามหลักปฏิบัติเพื่อความปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น สร้างบ้านเรือนให้ถูกสุขลักษณะ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ส้วมที่ถูกสุขลักษณะย่อมไม่แพร่กระจายเชื้อโรค.
สุขวิทยา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษา.สุขวิทยา น. วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษา.
สุขศาลา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[สุกสาลา] เป็นคำนาม หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจํา ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตําบลและหมู่บ้าน, ปัจจุบันเรียกว่า สถานีอนามัย.สุขศาลา [สุกสาลา] น. สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจํา ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตําบลและหมู่บ้าน, ปัจจุบันเรียกว่า สถานีอนามัย.
สุขศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[สุกขะ–, สุก–] เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาที่ว่าด้วยกระบวนการที่เกี่ยวกับสุขภาพ.สุขศึกษา [สุกขะ–, สุก–] น. การศึกษาที่ว่าด้วยกระบวนการที่เกี่ยวกับสุขภาพ.
สุขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา[สุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ห้องนํ้าห้องส้วม, เป็นคำที่มักใช้เรียกตามสถานที่บางแห่ง เช่นโรงภาพยนตร์ สถานีรถไฟ, ห้องสุขา ก็เรียก.สุขา [สุ–] (ปาก) น. ห้องนํ้าห้องส้วม, เป็นคำที่มักใช้เรียกตามสถานที่บางแห่ง เช่นโรงภาพยนตร์ สถานีรถไฟ, ห้องสุขา ก็เรียก.
สุขาภิบาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[สุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีฐานะตํ่ากว่าเทศบาล มีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยนายอําเภอ ปลัดอําเภอ กํานัน เป็นต้น โดยมีนายอําเภอหรือปลัดอําเภอผู้เป็นหัวหน้าประจํากิ่งอําเภอเป็นประธาน มีหน้าที่จัดทํากิจการภายในเขตที่รับผิดชอบ เช่น จัดให้มีและบํารุงทางนํ้า ทางบก และระบายนํ้า รักษาความสะอาดถนนหนทาง กําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ + อภิบาล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง .สุขาภิบาล [สุ–] (เลิก) น. ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีฐานะตํ่ากว่าเทศบาล มีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยนายอําเภอ ปลัดอําเภอ กํานัน เป็นต้น โดยมีนายอําเภอหรือปลัดอําเภอผู้เป็นหัวหน้าประจํากิ่งอําเภอเป็นประธาน มีหน้าที่จัดทํากิจการภายในเขตที่รับผิดชอบ เช่น จัดให้มีและบํารุงทางนํ้า ทางบก และระบายนํ้า รักษาความสะอาดถนนหนทาง กําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. (ป. สุข + อภิบาล).
สุขารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[สุ–] เป็นคำนาม หมายถึง อารมณ์ที่มีสุข เช่น เขาเดินผิวปากอย่างสุขารมณ์; เรียกลัทธิที่ถือว่าความสุขทางผัสสะหรือโลกียสุขในชีวิตปัจจุบันเป็นสิ่งสูงสุดหรือเป็นความดีสูงสุดของชีวิตว่า คติสุขารมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ + อารมฺมณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-เนน .สุขารมณ์ [สุ–] น. อารมณ์ที่มีสุข เช่น เขาเดินผิวปากอย่างสุขารมณ์; เรียกลัทธิที่ถือว่าความสุขทางผัสสะหรือโลกียสุขในชีวิตปัจจุบันเป็นสิ่งสูงสุดหรือเป็นความดีสูงสุดของชีวิตว่า คติสุขารมณ์. (ป. สุข + อารมฺมณ).
สุขาวดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สุขาวะดี] เป็นคำนาม หมายถึง แดนอันมีความสุขตามความเชื่อของลัทธิมหายาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุขาวดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ว่า สวรรค์ของพระอมิตาภพุทธเจ้าของฝ่ายมหายาน .สุขาวดี [สุขาวะดี] น. แดนอันมีความสุขตามความเชื่อของลัทธิมหายาน. (ส. สุขาวดี ว่า สวรรค์ของพระอมิตาภพุทธเจ้าของฝ่ายมหายาน).
สุขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อาดู สุข, สุข– สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ สุข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ .สุขา ดู สุข, สุข–.
สุขาภิบาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิงดู สุข, สุข– สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ สุข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ .สุขาภิบาล ดู สุข, สุข–.
สุขารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาดดู สุข, สุข– สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ สุข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ .สุขารมณ์ ดู สุข, สุข–.
สุขาวดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อีดู สุข, สุข– สุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ สุข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ .สุขาวดี ดู สุข, สุข–.
สุขิน, สุขี สุขิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู สุขี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความสุข. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุขี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต สุขินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สุขิน, สุขี (กลอน) น. ผู้มีความสุข. ว. สบาย. (ป. สุขี; ส. สุขินฺ).
สุขี ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความสุข, มีความสบาย, เช่น ขอให้สุขี ๆ ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร.สุขี ๆ (ปาก) ว. มีความสุข, มีความสบาย, เช่น ขอให้สุขี ๆ ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร.
สุขุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประณีต, ลึกซึ้ง, รอบคอบ, ไม่วู่วาม, เช่น เขาจะไม่ด่วนตัดสินใจ ก่อนที่จะพิจารณาอย่างสุขุมทั้งทางได้และทางเสีย เขามีปัญญาสุขุม, บางครั้งใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สุขุมคัมภีรภาพ สุขุมรอบคอบ สุขุมลึกซึ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สูกฺษม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า.สุขุม ว. ประณีต, ลึกซึ้ง, รอบคอบ, ไม่วู่วาม, เช่น เขาจะไม่ด่วนตัดสินใจ ก่อนที่จะพิจารณาอย่างสุขุมทั้งทางได้และทางเสีย เขามีปัญญาสุขุม, บางครั้งใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สุขุมคัมภีรภาพ สุขุมรอบคอบ สุขุมลึกซึ้ง. (ป.; ส. สูกฺษม).
สุขุมาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[สุขุมาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ละเอียดอ่อน, อ่อนโยน, นุ่มนวล; ผู้ดี, ตระกูลสูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุกุมาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สุขุมาล [สุขุมาน] ว. ละเอียดอ่อน, อ่อนโยน, นุ่มนวล; ผู้ดี, ตระกูลสูง. (ป.; ส. สุกุมาร).
สุขุมาลชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สุขุมานละชาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีตระกูลผู้ดี, มีตระกูลสูง, โดยปริยายหมายความว่า มีลักษณะอย่างผู้ดี เช่น เขาเป็นคนสุขุมาลชาติ กิริยามารยาทเรียบร้อย.สุขุมาลชาติ [สุขุมานละชาด] ว. มีตระกูลผู้ดี, มีตระกูลสูง, โดยปริยายหมายความว่า มีลักษณะอย่างผู้ดี เช่น เขาเป็นคนสุขุมาลชาติ กิริยามารยาทเรียบร้อย.
สุโข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นสุข เช่น นอนหลับอย่างสุโข.สุโข (ปาก) ว. เป็นสุข เช่น นอนหลับอย่างสุโข.
สุคต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า[–คด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไปดีแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุคต [–คด] น. ผู้ไปดีแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
สุคติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สุคะติ, สุกคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ภูมิที่ถือว่าไปเกิดแล้วมีความสุขความสบาย, สวรรค์, เช่น ขอให้วิญญาณไปสู่สุคติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุคติ [สุคะติ, สุกคะติ] น. ภูมิที่ถือว่าไปเกิดแล้วมีความสุขความสบาย, สวรรค์, เช่น ขอให้วิญญาณไปสู่สุคติ. (ป., ส.).
สุคนธ–, สุคนธ์, สุคันธ์ สุคนธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง สุคนธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด สุคันธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด [สุคนทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม; เครื่องหอม, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสุคนธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุคนธ–, สุคนธ์, สุคันธ์ [สุคนทะ–] น. กลิ่นหอม; เครื่องหอม, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสุคนธ์. (ป., ส.).
สุคนธชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความหอม, กลิ่นหอม; กลิ่นหอมที่มีอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ ได้แก่ ราก แก่น กระพี้ เปลือก สะเก็ด น้ำในต้น ใบ ดอก และผล.สุคนธชาติ น. ความหอม, กลิ่นหอม; กลิ่นหอมที่มีอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของต้นไม้ ได้แก่ ราก แก่น กระพี้ เปลือก สะเก็ด น้ำในต้น ใบ ดอก และผล.
สุคนธรส, สุคันธรส สุคนธรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สอ-เสือ สุคันธรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม, ของหอม, เครื่องหอม.สุคนธรส, สุคันธรส น. กลิ่นหอม, ของหอม, เครื่องหอม.
สุงก–, สุงกะ สุงก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่ สุงกะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ [สุงกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุลฺก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่.สุงก–, สุงกะ [สุงกะ–] น. ส่วย. ว. เนื่องด้วยการเก็บอากรจากสินค้าขาเข้าและขาออก. (ป.; ส. ศุลฺก).
สุงกากร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ศุลกากร, ค่าอากรที่เรียกเก็บจากสินค้าขาเข้าและขาออก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุลฺก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่ + อากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ .สุงกากร น. ศุลกากร, ค่าอากรที่เรียกเก็บจากสินค้าขาเข้าและขาออก. (ป.; ส. ศุลฺก + อากร).
สุงกากร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือดู สุงก–, สุงกะ สุงก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่ สุงกะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ .สุงกากร ดู สุงก–, สุงกะ.
สุงสิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นหัวกันอย่างสนิทสนม, ติดต่ออย่างใกล้ชิดเป็นกันเอง, เช่น เด็ก ๒ บ้านนี้ชอบมาสุงสิงกัน เขาเป็นคนหัวสูงไม่ชอบสุงสิงกับใคร.สุงสิง ก. เล่นหัวกันอย่างสนิทสนม, ติดต่ออย่างใกล้ชิดเป็นกันเอง, เช่น เด็ก ๒ บ้านนี้ชอบมาสุงสิงกัน เขาเป็นคนหัวสูงไม่ชอบสุงสิงกับใคร.
สุงสุมาร, สุงสุมารี สุงสุมาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สุงสุมารี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง จระเข้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิศุมาร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ศึศุมาร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .สุงสุมาร, สุงสุมารี น. จระเข้. (ป.; ส. ศิศุมาร, ศึศุมาร).
สุจริต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[สุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุจริต [สุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชอบ. (ป., ส.).
สุจริตใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บริสุทธิ์ใจ, จริงใจ, เช่น เขาช่วยเหลือเด็กคนนั้นด้วยความสุจริตใจ ไม่ได้หวังสิ่งตอบแทน.สุจริตใจ ว. บริสุทธิ์ใจ, จริงใจ, เช่น เขาช่วยเหลือเด็กคนนั้นด้วยความสุจริตใจ ไม่ได้หวังสิ่งตอบแทน.
สุจหนี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก[สุดจะหฺนี่] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทําด้วยผ้าเยียรบับไหมทอง สําหรับทอดถวายพระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เป็นที่ประทับหรือทรงยืน เรียกว่า พระสุจหนี่. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู suji เขียนว่า เอส-ยู-เจ-ไอ ว่า ผ้าเครื่องปัก .สุจหนี่ [สุดจะหฺนี่] น. เครื่องปูลาดชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทําด้วยผ้าเยียรบับไหมทอง สําหรับทอดถวายพระมหากษัตริย์หรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เป็นที่ประทับหรือทรงยืน เรียกว่า พระสุจหนี่. (ม. suji ว่า ผ้าเครื่องปัก).
สุจะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ริ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สุจะ น. ริ้น. (ข.).
สุจิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะอาด, หมดจด, ผ่องใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุจิ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ.สุจิ ว. สะอาด, หมดจด, ผ่องใส. (ป.; ส. ศุจิ).
สุจิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สั่งสมด้วยดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุจิต ว. สั่งสมด้วยดี. (ป., ส.).
สุจิตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[–จิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลายสี, หลายชั้นหลายเชิง; เด่น, ยิ่งใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + จิตฺร เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .สุจิตร [–จิด] ว. หลายสี, หลายชั้นหลายเชิง; เด่น, ยิ่งใหญ่. (ส. สุ + จิตฺร).
สุชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนดี, คนประพฤติดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุชน น. คนดี, คนประพฤติดี. (ป., ส.).
สุชัมบดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุชมฺปติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ผัวของนางสุชาดา .สุชัมบดี น. ชื่อพระอินทร์. (ป. สุชมฺปติ ว่า ผัวของนางสุชาดา).
สุชา, สุชาดา สุชา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา สุชาดา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีกําเนิดดี, ลูกผู้มีสกุลดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ชา เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ชาต เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า .สุชา, สุชาดา น. ผู้มีกําเนิดดี, ลูกผู้มีสกุลดี. (ป. สุ + ชา, สุ + ชาต).
สุญ, สุญ–, สุญญ– สุญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง สุญ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง สุญญ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง [สุน, สุนยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่างเปล่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศูนฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สุญ, สุญ–, สุญญ– [สุน, สุนยะ–] ว. ว่างเปล่า. (ป. สุฺ; ส. ศูนฺย).
สุญญากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา[สุนยากาด] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ที่ไม่มีอากาศ เช่น อยู่ในสุญญากาศ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่มีอากาศ เช่น ขวดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศ.สุญญากาศ [สุนยากาด] น. ที่ที่ไม่มีอากาศ เช่น อยู่ในสุญญากาศ. ว. ที่ไม่มีอากาศ เช่น ขวดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศ.
สุญตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[สุนยะตา] เป็นคำนาม หมายถึง ความว่างเปล่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุญฺตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต ศูนฺยตา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.สุญตา [สุนยะตา] น. ความว่างเปล่า. (ป. สุญฺตา; ส. ศูนฺยตา).
สุญนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง (ศาสน) ลัทธิที่ถือว่าคนและสัตว์เกิดหนเดียว ตายแล้วสูญ บุญบาป พระเป็นเจ้า นรก สวรรค์ ไม่มี; (อภิปรัชญา) ลัทธิที่ถือว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในจริยศาสตร์ หมายถึง ลัทธิที่ถือว่าคุณค่าทางศีลธรรมจรรยาไม่มี; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสังคมศาสตร์ หมายถึง ลัทธิที่ถือว่าความเจริญก้าวหน้าจะเกิดขึ้นได้ก็โดยวิธีทําลายองค์การทางสังคมที่มีอยู่เดิมให้หมดไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ nihilism เขียนว่า เอ็น-ไอ-เอช-ไอ-แอล-ไอ-เอส-เอ็ม.สุญนิยม น. (ศาสน) ลัทธิที่ถือว่าคนและสัตว์เกิดหนเดียว ตายแล้วสูญ บุญบาป พระเป็นเจ้า นรก สวรรค์ ไม่มี; (อภิปรัชญา) ลัทธิที่ถือว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร; (จริย) ลัทธิที่ถือว่าคุณค่าทางศีลธรรมจรรยาไม่มี; (สังคม) ลัทธิที่ถือว่าความเจริญก้าวหน้าจะเกิดขึ้นได้ก็โดยวิธีทําลายองค์การทางสังคมที่มีอยู่เดิมให้หมดไป. (อ. nihilism).
สุญญากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลาดู สุญ, สุญ–, สุญญ– สุญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง สุญ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง สุญญ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง .สุญญากาศ ดู สุญ, สุญ–, สุญญ–.
สุณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุนก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-กอ-ไก่.สุณ น. หมา. (ป.; ส. ศุนก).
สุณหา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา[สุน–] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสะใภ้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุณหา [สุน–] น. ลูกสะใภ้. (ป.).
สุณิสา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสะใภ้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสุณิสา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺนุษา เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา.สุณิสา น. ลูกสะใภ้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสุณิสา. (ป.; ส. สฺนุษา).
สุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้น เช่น สุดกระแสความ สุดความ, หมด เช่น รักสุดหัวใจ, จบ เช่น สุดสายรถประจำทาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปลายหรือท้าย เช่น สุดแดน สุดแผ่นดิน ในที่สุด, ปลายทางใดทางหนึ่ง เช่น เหนือสุด ขวาสุด บนสุด; อย่างมาก, อย่างยิ่งยวด, เช่น สุดรัก สุดเสียดาย สุดอาลัย, เต็มที่เต็มกำลัง, เช่น สู้จนสุดชีวิต งานนี้เขาทุ่มจนสุดตัว; เกินกว่าจะทำได้ เช่น สุดกลั้น สุดไขว่คว้า สุดทน.สุด ก. สิ้น เช่น สุดกระแสความ สุดความ, หมด เช่น รักสุดหัวใจ, จบ เช่น สุดสายรถประจำทาง. ว. ปลายหรือท้าย เช่น สุดแดน สุดแผ่นดิน ในที่สุด, ปลายทางใดทางหนึ่ง เช่น เหนือสุด ขวาสุด บนสุด; อย่างมาก, อย่างยิ่งยวด, เช่น สุดรัก สุดเสียดาย สุดอาลัย, เต็มที่เต็มกำลัง, เช่น สู้จนสุดชีวิต งานนี้เขาทุ่มจนสุดตัว; เกินกว่าจะทำได้ เช่น สุดกลั้น สุดไขว่คว้า สุดทน.
สุดกั่น, สุดด้าม , สุดลิ่ม ๑ สุดกั่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู สุดด้าม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า สุดลิ่ม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ใช้มีดหรือของมีคมแทงเข้าไปจนจมถึงด้าม, มิดด้าม ก็ว่า.สุดกั่น, สุดด้าม ๑, สุดลิ่ม ๑ ว. อาการที่ใช้มีดหรือของมีคมแทงเข้าไปจนจมถึงด้าม, มิดด้าม ก็ว่า.
สุดกำลัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่, เต็มกำลังทั้งหมดที่มีอยู่, เช่น ออกแรงยกของจนสุดกำลัง ช่วยจนสุดกำลัง.สุดกำลัง ว. เต็มที่, เต็มกำลังทั้งหมดที่มีอยู่, เช่น ออกแรงยกของจนสุดกำลัง ช่วยจนสุดกำลัง.
สุดกู่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไกลมากจนไม่ได้ยินเสียงกู่ เช่น เขาไปปลูกบ้านเสียจนสุดกู่, อยู่ท้าย ๆ เช่น สอบได้ที่สุดกู่ จอดรถไว้สุดกู่.สุดกู่ ว. ไกลมากจนไม่ได้ยินเสียงกู่ เช่น เขาไปปลูกบ้านเสียจนสุดกู่, อยู่ท้าย ๆ เช่น สอบได้ที่สุดกู่ จอดรถไว้สุดกู่.
สุดขอบฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไกลมากที่สุด เช่น ต่อให้หนีไปอยู่สุดขอบฟ้า ก็จะตามให้พบ, สุดหล้าฟ้าเขียว ก็ว่า.สุดขอบฟ้า ว. ไกลมากที่สุด เช่น ต่อให้หนีไปอยู่สุดขอบฟ้า ก็จะตามให้พบ, สุดหล้าฟ้าเขียว ก็ว่า.
สุดขีด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่, มากที่สุด, เช่น กลัวสุดขีด โมโหสุดขีด.สุดขีด ว. เต็มที่, มากที่สุด, เช่น กลัวสุดขีด โมโหสุดขีด.
สุดคน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดคน.สุดคน ว. ยอดคน.
สุดความสามารถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่, เต็มความสามารถที่มีอยู่, เช่น หมอช่วยจนสุดความสามารถแล้ว คนไข้ก็ยังไม่ดีขึ้น.สุดความสามารถ ว. เต็มที่, เต็มความสามารถที่มีอยู่, เช่น หมอช่วยจนสุดความสามารถแล้ว คนไข้ก็ยังไม่ดีขึ้น.
สุดคิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดปัญญาที่จะคิดอ่านต่อไป, ใช้ปัญญาจนหมดแล้วก็ยังคิดไม่ออก.สุดคิด ว. หมดปัญญาที่จะคิดอ่านต่อไป, ใช้ปัญญาจนหมดแล้วก็ยังคิดไม่ออก.
สุดจิต, สุดใจ สุดจิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า สุดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดรัก, อย่างยอด.สุดจิต, สุดใจ ว. ยอดรัก, อย่างยอด.
สุดด้าม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สุดทางใดทางหนึ่ง.สุดด้าม ๒ ว. ที่สุดทางใดทางหนึ่ง.
สุดแต่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แล้วแต่ เช่น สุดแต่จะพิจารณา สุดแต่จะโปรด, สุดแล้วแต่ ก็ว่า.สุดแต่ ว. แล้วแต่ เช่น สุดแต่จะพิจารณา สุดแต่จะโปรด, สุดแล้วแต่ ก็ว่า.
สุดโต่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไกลมาก, ปลายไกลสุด, เช่น บ้านของเขาอยู่สุดโต่ง ไปมาลำบาก แถวลูกเสือยาวเหยียดลูกผมยืนอยู่เสียสุดโต่ง เลยมองไม่เห็น; มากเกินขอบเขตที่ควรเป็น, ตึงหรือหย่อนเกินไป, เช่น การปฏิบัติสุดโต่ง.สุดโต่ง ว. ไกลมาก, ปลายไกลสุด, เช่น บ้านของเขาอยู่สุดโต่ง ไปมาลำบาก แถวลูกเสือยาวเหยียดลูกผมยืนอยู่เสียสุดโต่ง เลยมองไม่เห็น; มากเกินขอบเขตที่ควรเป็น, ตึงหรือหย่อนเกินไป, เช่น การปฏิบัติสุดโต่ง.
สุดท้อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกิดทีหลังเพื่อน เช่น ลูกคนสุดท้อง น้องสุดท้อง.สุดท้อง ว. ที่เกิดทีหลังเพื่อน เช่น ลูกคนสุดท้อง น้องสุดท้อง.
สุดท้าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทีหลังเพื่อน, หลังสุด, เช่น เขาเป็นแขกคนสุดท้ายที่มาในงาน เด็กคนนั้นทำการบ้านเสร็จเป็นคนสุดท้าย, เหลือเพียงหนึ่งเดียว เช่น สมบัติชิ้นสุดท้ายที่เหลืออยู่คือบ้าน โอกาสสุดท้ายแล้วที่จะแก้ตัวได้.สุดท้าย ว. ทีหลังเพื่อน, หลังสุด, เช่น เขาเป็นแขกคนสุดท้ายที่มาในงาน เด็กคนนั้นทำการบ้านเสร็จเป็นคนสุดท้าย, เหลือเพียงหนึ่งเดียว เช่น สมบัติชิ้นสุดท้ายที่เหลืออยู่คือบ้าน โอกาสสุดท้ายแล้วที่จะแก้ตัวได้.
สุดท้ายปลายโต่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลังสุด, ท้ายสุด, (มักใช้ในเชิงตำหนิหรือเย้ยหยัน), เช่น ทำไมมาเสียสุดท้ายปลายโต่ง ไหนเคยคุยว่าเก่ง ทำไมถึงสอบได้ที่สุดท้ายปลายโต่ง.สุดท้ายปลายโต่ง (ปาก) ว. หลังสุด, ท้ายสุด, (มักใช้ในเชิงตำหนิหรือเย้ยหยัน), เช่น ทำไมมาเสียสุดท้ายปลายโต่ง ไหนเคยคุยว่าเก่ง ทำไมถึงสอบได้ที่สุดท้ายปลายโต่ง.
สุดที่รัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นยอดรักหรือเป็นที่รักยิ่ง เช่น เธอเป็นสุดที่รักของผม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดรัก, ที่รักยิ่ง, เช่น ลูกสุดที่รัก.สุดที่รัก น. ผู้เป็นยอดรักหรือเป็นที่รักยิ่ง เช่น เธอเป็นสุดที่รักของผม. ว. ยอดรัก, ที่รักยิ่ง, เช่น ลูกสุดที่รัก.
สุดปัญญา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ปัญญาเท่าที่มีอยู่ทั้งหมด เช่น เลขข้อนี้คิดจนเกือบสุดปัญญาจึงทำได้ ฉันช่วยเขาจนสุดปัญญาแล้วก็ยังไม่สำเร็จ.สุดปัญญา ว. ใช้ปัญญาเท่าที่มีอยู่ทั้งหมด เช่น เลขข้อนี้คิดจนเกือบสุดปัญญาจึงทำได้ ฉันช่วยเขาจนสุดปัญญาแล้วก็ยังไม่สำเร็จ.
สุดฝีมือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่, เต็มกำลังความสามารถที่มีอยู่, เช่น อาหารมื้อนี้เขาทำสุดฝีมือ.สุดฝีมือ ว. เต็มที่, เต็มกำลังความสามารถที่มีอยู่, เช่น อาหารมื้อนี้เขาทำสุดฝีมือ.
สุดแรงเกิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุดกําลัง, เต็มแรงที่มีอยู่, เช่น เขาตกใจ วิ่งหนีสุดแรงเกิด.สุดแรงเกิด (ปาก) ว. สุดกําลัง, เต็มแรงที่มีอยู่, เช่น เขาตกใจ วิ่งหนีสุดแรงเกิด.
สุดลิ่ม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถึงที่สุด, เต็มกําลัง.สุดลิ่ม ๒ ว. ถึงที่สุด, เต็มกําลัง.
สุดลูกหูลูกตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กว้างไกลมาก เช่น เขามีที่ดินมากมายสุดลูกหูลูกตา ทะเลเวิ้งว้างสุดลูกหูลูกตา.สุดลูกหูลูกตา ว. กว้างไกลมาก เช่น เขามีที่ดินมากมายสุดลูกหูลูกตา ทะเลเวิ้งว้างสุดลูกหูลูกตา.
สุดวิสัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้นกําลังความสามารถ, พ้นความสามารถที่ใครจะอาจป้องกันได้, เช่น ภัยธรรมชาติเป็นเหตุสุดวิสัย.สุดวิสัย ว. พ้นกําลังความสามารถ, พ้นความสามารถที่ใครจะอาจป้องกันได้, เช่น ภัยธรรมชาติเป็นเหตุสุดวิสัย.
สุดสวาทขาดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดรัก, อย่างยอด.สุดสวาทขาดใจ ว. ยอดรัก, อย่างยอด.
สุดสายตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุดระยะที่ตาจะมองเห็น เช่น มองจนสุดสายตา ก็ไม่เห็นต้นไม้สักต้น, สุดวิสัยที่จะมองเห็น เช่น ลูกอยู่สุดสายตาที่พ่อแม่จะตามไปดูแล.สุดสายตา ว. สุดระยะที่ตาจะมองเห็น เช่น มองจนสุดสายตา ก็ไม่เห็นต้นไม้สักต้น, สุดวิสัยที่จะมองเห็น เช่น ลูกอยู่สุดสายตาที่พ่อแม่จะตามไปดูแล.
สุดสายป่าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุดกําลังความสามารถที่จะควบคุมดูแลหรือดึงกลับได้ เช่น ตามใจลูกเสียจนสุดสายป่านจะไม่เสียเด็กได้อย่างไร.สุดสายป่าน ว. สุดกําลังความสามารถที่จะควบคุมดูแลหรือดึงกลับได้ เช่น ตามใจลูกเสียจนสุดสายป่านจะไม่เสียเด็กได้อย่างไร.
สุดสิ้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงที่สุด เช่น เธอกับฉันสุดสิ้นกันนับแต่วันนี้, จบ เช่น การสัมมนาได้สุดสิ้นลงแล้ว, สิ้นสุด ก็ว่า.สุดสิ้น ก. ถึงที่สุด เช่น เธอกับฉันสุดสิ้นกันนับแต่วันนี้, จบ เช่น การสัมมนาได้สุดสิ้นลงแล้ว, สิ้นสุด ก็ว่า.
สุดเสียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตะโกนหรือเปล่งเสียงเต็มที่ เช่น ฉันตะโกนเรียกจนสุดเสียงแล้วเขาก็ยังไม่ได้ยิน เขาร้องให้คนช่วยจนสุดเสียง แต่ไม่มีใครมาช่วย.สุดเสียง ว. อาการที่ตะโกนหรือเปล่งเสียงเต็มที่ เช่น ฉันตะโกนเรียกจนสุดเสียงแล้วเขาก็ยังไม่ได้ยิน เขาร้องให้คนช่วยจนสุดเสียง แต่ไม่มีใครมาช่วย.
สุดเสียงสังข์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ผายออกมาก (ใช้แก่ตะโพกหญิง) ในความว่า ตะโพกสุดเสียงสังข์.สุดเสียงสังข์ (สำ) ว. ที่ผายออกมาก (ใช้แก่ตะโพกหญิง) ในความว่า ตะโพกสุดเสียงสังข์.
สุดหนทาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุดทางที่จะไป เช่น สุดหนทางบกแล้ว ต่อไปก็เป็นทางน้ำ, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีทางอื่นให้เลือก เช่น เมื่อสุดหนทางเข้าจริง ๆ ก็เลยต้องยอมแพ้เขา.สุดหนทาง ว. สุดทางที่จะไป เช่น สุดหนทางบกแล้ว ต่อไปก็เป็นทางน้ำ, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีทางอื่นให้เลือก เช่น เมื่อสุดหนทางเข้าจริง ๆ ก็เลยต้องยอมแพ้เขา.
สุดหล้าฟ้าเขียว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไกลมากที่สุด เช่น เขาหนีไปอยู่สุดหล้าฟ้าเขียว ยากที่ใครจะตามไปถึง, สุดขอบฟ้า ก็ว่า.สุดหล้าฟ้าเขียว ว. ไกลมากที่สุด เช่น เขาหนีไปอยู่สุดหล้าฟ้าเขียว ยากที่ใครจะตามไปถึง, สุดขอบฟ้า ก็ว่า.
สุดเหวี่ยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่ เช่น สนุกจนสุดเหวี่ยง.สุดเหวี่ยง ว. เต็มที่ เช่น สนุกจนสุดเหวี่ยง.
สุดเอื้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกินระยะที่มือจะเอื้อมถึง เช่น มะม่วงลูกนั้นอยู่สูงสุดเอื้อม สอยไม่ถึง, โดยปริยายหมายความว่า เกินฐานะและความสามารถเป็นต้นที่จะเอามาเป็นของตนได้ เช่น เธอเกิดในตระกูลสูงศักดิ์ สุดเอื้อมที่จะได้เธอมาเป็นคู่ครอง.สุดเอื้อม ว. เกินระยะที่มือจะเอื้อมถึง เช่น มะม่วงลูกนั้นอยู่สูงสุดเอื้อม สอยไม่ถึง, โดยปริยายหมายความว่า เกินฐานะและความสามารถเป็นต้นที่จะเอามาเป็นของตนได้ เช่น เธอเกิดในตระกูลสูงศักดิ์ สุดเอื้อมที่จะได้เธอมาเป็นคู่ครอง.
สุดสงวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สุดสงวน น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สุดา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา; หญิงสาว.สุดา น. ลูกสาว. (ป., ส. สุตา); หญิงสาว.
สุต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า ความหมายที่ [สุด] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกชาย (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุต ๑ [สุด] น. ลูกชาย (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส). (ป., ส.).
สุต– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า ความหมายที่ [สุตะ–, สุดตะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว.สุต– ๒ [สุตะ–, สุดตะ–] ก. ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว.
สุตกวี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี[สุตะกะวี, สุดตะกะวี] เป็นคำนาม หมายถึง กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามที่ได้ยินมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรุต เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า.สุตกวี [สุตะกะวี, สุดตะกะวี] น. กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามที่ได้ยินมา. (ป.; ส. ศฺรุต).
สุตตนิบาต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง คัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน.สุตตนิบาต น. คัมภีร์ที่รวบรวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน.
สุตตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ[–ตะ] เป็นคำกริยา หมายถึง หลับแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุปฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วน ที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุตตะ [–ตะ] ก. หลับแล้ว. (ป.; ส. สุปฺต). น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาส่วน ๑ ใน ๙ ส่วน ที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์. (ป.).
สุตตันตปิฎก, สุตตันตะ สุตตันตปิฎก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่ สุตตันตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [สุดตันตะปิดก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุตตันตปิฎก, สุตตันตะ [สุดตันตะปิดก] น. ชื่อปิฎก ๑ ในพระไตรปิฎก. (ป.).
สุตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ไหลไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺรุต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า.สุตะ ก. ไหลไป. (ป.; ส. สฺรุต).
สุติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การไหลไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺรุติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สุติ ๑ น. การไหลไป. (ป.; ส. สฺรุติ).
สุติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การได้ยินได้ฟัง; ขนบธรรมเนียม; เสียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรูติ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สุติ ๒ น. การได้ยินได้ฟัง; ขนบธรรมเนียม; เสียง. (ป.; ส. ศฺรูติ).
สุทธ–, สุทธ์ สุทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สุทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดจด, สะอาด; ล้วน, แท้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุทธ–, สุทธ์ ว. หมดจด, สะอาด; ล้วน, แท้. (ป.).
สุทธาวาส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพรหมโลกซึ่งเป็นที่ที่พระอนาคามีไปเกิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุทธาวาส น. ชื่อพรหมโลกซึ่งเป็นที่ที่พระอนาคามีไปเกิด. (ป.).
สุทธาวาส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือดู สุทธ–, สุทธ์ สุทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สุทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด .สุทธาวาส ดู สุทธ–, สุทธ์.
สุทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[สุดทิ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แท้ ๆ, ล้วน ๆ, เช่น กาแฟขวดนี้น้ำหนักสุทธิ ๑๐๐ กรัม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุทฺธิ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.สุทธิ [สุดทิ] ว. แท้ ๆ, ล้วน ๆ, เช่น กาแฟขวดนี้น้ำหนักสุทธิ ๑๐๐ กรัม. (ป.; ส. ศุทฺธิ).
สุทรรศน์, สุทัศน์ สุทรรศน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สุทัศน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [–ทัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย, งดงาม, น่าดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุทรฺศน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี สุทสฺสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู.สุทรรศน์, สุทัศน์ [–ทัด] ว. สวย, งดงาม, น่าดู. (ส. สุทรฺศน; ป. สุทสฺสน).
สุทัสนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[–ทัดสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาชั้นที่ ๔ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุทสฺสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต สุทรฺศน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู. ในวงเล็บ ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ สัตบริภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด สัตภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด .สุทัสนะ [–ทัดสะนะ] น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๔ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป. สุทสฺสน; ส. สุทรฺศน). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
สุธา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าอมฤต, อาหารทิพย์.สุธา ๑ น. นํ้าอมฤต, อาหารทิพย์.
สุธาโภชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ของกินอันเป็นทิพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุธาโภชน์ น. ของกินอันเป็นทิพย์. (ป.).
สุธารส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ[สุทารด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้ากิน, ใช้ว่า พระสุธารส.สุธารส [สุทารด] (ราชา) น. นํ้ากิน, ใช้ว่า พระสุธารส.
สุธารสชา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา[สุทารดชา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าชา, ใช้ว่า พระสุธารสชา.สุธารสชา [สุทารดชา] (ราชา) น. นํ้าชา, ใช้ว่า พระสุธารสชา.
สุธาสินี, สุธาสี สุธาสินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี สุธาสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้กินอาหารทิพย์” คือ เทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุธาศินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สุธาสินี, สุธาสี น. “ผู้กินอาหารทิพย์” คือ เทวดา. (ป.; ส. สุธาศินฺ).
สุธา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ปูนขาว; เครื่องโบกและทา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุธา ๒ น. ปูนขาว; เครื่องโบกและทา. (ป., ส.).
สุธาการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช่างอิฐช่างปูน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุธาการ น. ช่างอิฐช่างปูน. (ส.).
สุธี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง คนมีปัญญา, นักปราชญ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุธี น. คนมีปัญญา, นักปราชญ์. (ป., ส.).
สุนทร, สุนทร– สุนทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สุนทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ [–ทอน, –ทอนระ–, –ทอระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, ดี, ไพเราะ, เช่น วรรณคดีเป็นสิ่งสุนทร, มักใช้เข้าสมาสกับคำอื่น เช่น สุนทรพจน์ สุนทรโวหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุนทร, สุนทร– [–ทอน, –ทอนระ–, –ทอระ–] ว. งาม, ดี, ไพเราะ, เช่น วรรณคดีเป็นสิ่งสุนทร, มักใช้เข้าสมาสกับคำอื่น เช่น สุนทรพจน์ สุนทรโวหาร. (ป., ส.).
สุนทรพจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[สุนทอนระ–, สุนทอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูดที่ประธานหรือบุคคลสําคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสําคัญต่าง ๆ เช่น นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ.สุนทรพจน์ [สุนทอนระ–, สุนทอระ–] น. คําพูดที่ประธานหรือบุคคลสําคัญเป็นต้นกล่าวในพิธีการหรือในโอกาสสําคัญต่าง ๆ เช่น นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในที่ประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ.
สุนทรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[–ทะรี] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงาม, นางงาม, หญิงทั่วไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี .สุนทรี [–ทะรี] น. หญิงงาม, นางงาม, หญิงทั่วไป. (ส., ป.).
สุนทรีย–, สุนทรียะ สุนทรีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก สุนทรียะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับความนิยม ความงาม.สุนทรีย–, สุนทรียะ ว. เกี่ยวกับความนิยม ความงาม.
สุนทรียภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ ที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้, ความเข้าใจและรู้สึกของแต่ละบุคคลที่มีต่อความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ.สุนทรียภาพ น. ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ ที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้, ความเข้าใจและรู้สึกของแต่ละบุคคลที่มีต่อความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ.
สุนทรียศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ.สุนทรียศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความงาม และสิ่งที่งามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ.
สุนทรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อีดู สุนทร, สุนทร– สุนทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สุนทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .สุนทรี ดู สุนทร, สุนทร–.
สุนทรีย–, สุนทรียะ สุนทรีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก สุนทรียะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ดู สุนทร, สุนทร– สุนทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สุนทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .สุนทรีย–, สุนทรียะ ดู สุนทร, สุนทร–.
สุนทรียภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พานดู สุนทร, สุนทร– สุนทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สุนทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .สุนทรียภาพ ดู สุนทร, สุนทร–.
สุนทรียศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู สุนทร, สุนทร– สุนทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สุนทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .สุนทรียศาสตร์ ดู สุนทร, สุนทร–.
สุนัข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง หมา (มักใช้เป็นทางการ) เช่น สุนัขตำรวจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุนข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ขอ-ไข่ และมาจากภาษาสันสกฤต ศุนก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-กอ-ไก่.สุนัข น. หมา (มักใช้เป็นทางการ) เช่น สุนัขตำรวจ. (ป. สุนข; ส. ศุนก).
สุนันท์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่ยินดี, น่าสบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุนันท์ ว. เป็นที่ยินดี, น่าสบาย. (ป.).
สุโนก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นก.สุโนก น. นก.
สุบดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[–บอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ผัวที่ดี, เจ้านายที่ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ปติ เขียนว่า ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ .สุบดี [–บอดี] น. ผัวที่ดี, เจ้านายที่ดี. (ป., ส. สุ + ปติ).
สุบรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[–บัน] เป็นคำนาม หมายถึง ครุฑ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุปรฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี สุปณฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน.สุบรรณ [–บัน] น. ครุฑ. (ส. สุปรฺณ; ป. สุปณฺณ).
สุบิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ความฝัน, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสุบิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุปิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.สุบิน น. ความฝัน, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสุบิน. (ป. สุปิน).
สุปรีดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดียิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ปฺรีติ เขียนว่า ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ปีติ เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ .สุปรีดิ์ น. ความยินดียิ่ง. (ส. สุ + ปฺรีติ; ป. สุ + ปีติ).
สุปรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่รักยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ปฺรีย เขียนว่า ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + ปิย เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก .สุปรีย์ ว. เป็นที่รักยิ่ง. (ส. สุ + ปฺรีย; ป. สุ + ปิย).
สุปาณี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฝีมือเก่ง, คล่องแคล่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุปาณี ว. ฝีมือเก่ง, คล่องแคล่ว. (ส.).
สุพพัต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า[สุบพัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประพฤติดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุพฺพต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต สุวรฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สุพพัต [สุบพัด] น. ผู้ประพฤติดี. (ป. สุพฺพต; ส. สุวรฺต).
สุพรรณ, สุพรรณ– สุพรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน สุพรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน [สุพัน, สุพันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทองคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุวรฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี สุวณฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน.สุพรรณ, สุพรรณ– [สุพัน, สุพันนะ–] น. ทองคํา. (ส. สุวรฺณ; ป. สุวณฺณ).
สุพรรณบัฏ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก[สุพันนะบัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นทองคํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่จารึกพระนามพระมหากษัตริย์ พระบรมราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป เจ้าประเทศราช และสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า พระสุพรรณบัฏ; แผ่นทองคํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่จารึกราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ขุนนางชั้นสมเด็จเจ้าพระยา และขุนนางชั้นเจ้าพระยาบางคน ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็นพิเศษ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง แผ่นทองคำที่จารึกพระราชสาส์น.สุพรรณบัฏ [สุพันนะบัด] (ราชา) น. แผ่นทองคํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่จารึกพระนามพระมหากษัตริย์ พระบรมราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป เจ้าประเทศราช และสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า พระสุพรรณบัฏ; แผ่นทองคํารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่จารึกราชทินนามของสมเด็จพระราชาคณะ ขุนนางชั้นสมเด็จเจ้าพระยา และขุนนางชั้นเจ้าพระยาบางคน ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็นพิเศษ; (โบ) แผ่นทองคำที่จารึกพระราชสาส์น.
สุพรรณภาชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[สุพันนะพาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับใส่พระกระยาหาร ทําด้วยทองคําทั้งชุด, ใช้ว่า พระสุพรรณภาชน์; โต๊ะเท้าช้าง.สุพรรณภาชน์ [สุพันนะพาด] (ราชา) น. ภาชนะสําหรับใส่พระกระยาหาร ทําด้วยทองคําทั้งชุด, ใช้ว่า พระสุพรรณภาชน์; โต๊ะเท้าช้าง.
สุพรรณราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[สุพันนะราด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง กระโถนใหญ่, ใช้ว่า พระสุพรรณราช.สุพรรณราช [สุพันนะราด] (ราชา) น. กระโถนใหญ่, ใช้ว่า พระสุพรรณราช.
สุพรรณศรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[สุพันนะสี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง กระโถนเล็ก, ใช้ว่า พระสุพรรณศรี.สุพรรณศรี [สุพันนะสี] (ราชา) น. กระโถนเล็ก, ใช้ว่า พระสุพรรณศรี.
สุพรรณถัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สุพันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กํามะถัน.สุพรรณถัน [สุพันนะ–] น. กํามะถัน.
สุพรรณิการ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็ก ๒ ชนิดในสกุล Cochlospermum วงศ์ Cochlospermaceae คือ ชนิด C. regium (Mart. et Schrank) Pilger ผลมีขน ก้านชูอับเรณูสีเหลืองครึ่งหนึ่งสีแดงครึ่งหนึ่ง และชนิด C. religiosum (L.) Alston ผลเกลี้ยงไม่มีขน ก้านชูอับเรณูสีเหลืองตลอด, ฝ้ายคํา ก็เรียก.สุพรรณิการ์ น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็ก ๒ ชนิดในสกุล Cochlospermum วงศ์ Cochlospermaceae คือ ชนิด C. regium (Mart. et Schrank) Pilger ผลมีขน ก้านชูอับเรณูสีเหลืองครึ่งหนึ่งสีแดงครึ่งหนึ่ง และชนิด C. religiosum (L.) Alston ผลเกลี้ยงไม่มีขน ก้านชูอับเรณูสีเหลืองตลอด, ฝ้ายคํา ก็เรียก.
สุภ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา[สุบพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความงาม, ความดีงาม, ความเจริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุภ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา.สุภ– [สุบพะ–] น. ความงาม, ความดีงาม, ความเจริญ. (ป.; ส. ศุภ).
สุภร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ[–พอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลี้ยงง่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สุภร [–พอน] ว. เลี้ยงง่าย. (ป.).
สุภัค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, มีโชค. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุภัค ว. งาม, มีโชค. (ส.).
สุภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ตุลาการ.สุภา น. ตุลาการ.
สุภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียบร้อย เช่น เขาแต่งกายสุภาพตามกาลเทศะและความนิยม, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม, เช่น เขาพูดด้วยน้ำเสียงสุภาพ ไม่กระโชกโฮกฮาก.สุภาพ ว. เรียบร้อย เช่น เขาแต่งกายสุภาพตามกาลเทศะและความนิยม, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม, เช่น เขาพูดด้วยน้ำเสียงสุภาพ ไม่กระโชกโฮกฮาก.
สุภาพชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย, ผู้ที่มีกิริยามารยาทอ่อนโยน พูดจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ, เช่น สุภาพชนย่อมไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด.สุภาพชน น. ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย, ผู้ที่มีกิริยามารยาทอ่อนโยน พูดจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ, เช่น สุภาพชนย่อมไม่ส่งเสียงดังในห้องสมุด.
สุภาพบุรุษ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม เช่น เขาช่วยเหลือเธอตามหน้าที่สุภาพบุรุษ.สุภาพบุรุษ น. ชายที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม เช่น เขาช่วยเหลือเธอตามหน้าที่สุภาพบุรุษ.
สุภาพสตรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม เช่น ท่าทางเธอเรียบร้อยสมเป็นสุภาพสตรี.สุภาพสตรี น. หญิงที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย รู้กาลเทศะ และมีคุณธรรม เช่น ท่าทางเธอเรียบร้อยสมเป็นสุภาพสตรี.
สุภาษิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติสอนใจ เช่น รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สุภาสิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ว่า ถ้อยคําที่กล่าวดีแล้ว .สุภาษิต น. ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติสอนใจ เช่น รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ นํ้าเชี่ยวอย่าขวางเรือ. (ส.; ป. สุภาสิต ว่า ถ้อยคําที่กล่าวดีแล้ว).
สุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง วางทับซ้อน ๆ กันลงไปจนสูงเป็นกองอย่างไม่มีระเบียบ เช่น สุมหญ้า สุมฟาง สุมหนังสือไว้เต็มโต๊ะ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ความทุกข์สุมอก. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ เช่น สุมม่วง คือ ป่าม่วง. (จารึกสุโขทัย).สุม ก. วางทับซ้อน ๆ กันลงไปจนสูงเป็นกองอย่างไม่มีระเบียบ เช่น สุมหญ้า สุมฟาง สุมหนังสือไว้เต็มโต๊ะ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ความทุกข์สุมอก. (โบ) น. ต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ เช่น สุมม่วง คือ ป่าม่วง. (จารึกสุโขทัย).
สุมกระหม่อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เอายาสมุนไพรพอกโปะไว้บนกระหม่อมเด็กเล็ก ๆ เพื่อแก้หวัดเป็นต้น, สุมหัว ก็ว่า.สุมกระหม่อม ก. เอายาสมุนไพรพอกโปะไว้บนกระหม่อมเด็กเล็ก ๆ เพื่อแก้หวัดเป็นต้น, สุมหัว ก็ว่า.
สุมขอน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สุมไฟที่ขอน, เรียกไฟที่ยังไหม้ขอนกรุ่นอยู่ว่า ไฟสุมขอน.สุมขอน ก. สุมไฟที่ขอน, เรียกไฟที่ยังไหม้ขอนกรุ่นอยู่ว่า ไฟสุมขอน.
สุมควัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สุมไฟให้เป็นควันเพื่อไล่ยุง, สุมไฟไล่ยุง ก็ว่า.สุมควัน ก. สุมไฟให้เป็นควันเพื่อไล่ยุง, สุมไฟไล่ยุง ก็ว่า.
สุมพล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ประชุมพล, รวมพล, ชุมนุมพล.สุมพล ก. ประชุมพล, รวมพล, ชุมนุมพล.
สุมไฟ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฟืนหรือแกลบเป็นต้นทับลงบนกองไฟเพื่อให้ไฟติดกรุ่นอยู่เสมอ.สุมไฟ ก. เอาฟืนหรือแกลบเป็นต้นทับลงบนกองไฟเพื่อให้ไฟติดกรุ่นอยู่เสมอ.
สุมยุง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สุมไฟไล่ยุง.สุมยุง ก. สุมไฟไล่ยุง.
สุมหัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอายาสมุนไพรพอกโปะไว้บนกระหม่อมเด็กเล็ก ๆ เพื่อแก้หวัดเป็นต้น, สุมกระหม่อม ก็ว่า; มั่วสุม (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น สุมหัวนินทาเจ้านาย.สุมหัว ก. เอายาสมุนไพรพอกโปะไว้บนกระหม่อมเด็กเล็ก ๆ เพื่อแก้หวัดเป็นต้น, สุมกระหม่อม ก็ว่า; มั่วสุม (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น สุมหัวนินทาเจ้านาย.
สุ่ม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับปลาชนิดหนึ่ง มักสานด้วยไม้ไผ่เป็นตา ๆ ลักษณะคล้ายทรงกระบอก ด้านบนสอบเข้า มีช่องให้มือล้วงลงไปได้ เรียกว่า สุ่มปลา; เครื่องสานตาห่าง ๆ มีลักษณะครึ่งทรงกลมหรือโอควํ่า ข้างบนมีช่องกลม ๆ ใช้สําหรับครอบขังไก่เป็นต้น เรียกว่า สุ่มไก่, โดยปริยายเรียกกระโปรงที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายสุ่มไก่ว่า กระโปรงทรงสุ่มไก่. เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เอาสุ่มครอบเพื่อจับปลาเป็นต้น, โดยปริยายเรียกอาการที่เดาโดยนึกเอาเองอย่างสุ่มปลาว่า เดาสุ่ม; พูนสูงขึ้นจนล้น เช่น ข้าวสุ่มจาน. ในวงเล็บ รูปภาพ สุ่มปลา.สุ่ม ๑ น. เครื่องมือจับปลาชนิดหนึ่ง มักสานด้วยไม้ไผ่เป็นตา ๆ ลักษณะคล้ายทรงกระบอก ด้านบนสอบเข้า มีช่องให้มือล้วงลงไปได้ เรียกว่า สุ่มปลา; เครื่องสานตาห่าง ๆ มีลักษณะครึ่งทรงกลมหรือโอควํ่า ข้างบนมีช่องกลม ๆ ใช้สําหรับครอบขังไก่เป็นต้น เรียกว่า สุ่มไก่, โดยปริยายเรียกกระโปรงที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายสุ่มไก่ว่า กระโปรงทรงสุ่มไก่. ก. อาการที่เอาสุ่มครอบเพื่อจับปลาเป็นต้น, โดยปริยายเรียกอาการที่เดาโดยนึกเอาเองอย่างสุ่มปลาว่า เดาสุ่ม; พูนสูงขึ้นจนล้น เช่น ข้าวสุ่มจาน. (รูปภาพ สุ่มปลา).
สุ่ม ๒, สุ่ม ๆ สุ่ม ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า สุ่ม ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำไปโดยไม่แน่ใจว่าจะถูกหรือไม่, ไม่เฉพาะเจาะจง, เช่น ทำสุ่มไปไม่รู้ว่าถูกหรือผิด ลองถามสุ่ม ๆ ไปเผื่อจะมีใครไปด้วย.สุ่ม ๒, สุ่ม ๆ ว. อาการที่ทำไปโดยไม่แน่ใจว่าจะถูกหรือไม่, ไม่เฉพาะเจาะจง, เช่น ทำสุ่มไปไม่รู้ว่าถูกหรือผิด ลองถามสุ่ม ๆ ไปเผื่อจะมีใครไปด้วย.
สุ่มตัวอย่าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง หาตัวอย่างเพื่อแทนกลุ่มโดยไม่เฉพาะเจาะจง เช่น สุ่มตัวอย่างสินค้าเพื่อตรวจคุณภาพ.สุ่มตัวอย่าง ก. หาตัวอย่างเพื่อแทนกลุ่มโดยไม่เฉพาะเจาะจง เช่น สุ่มตัวอย่างสินค้าเพื่อตรวจคุณภาพ.
สุ่มสี่สุ่มห้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซุ่มซ่าม, ไม่ระมัดระวังให้ดี, ไม่ดูให้ดี, เช่น เดินสุ่มสี่สุ่มห้าเลยตกบันได กินอาหารสุ่มสี่สุ่มห้าเลยท้องเสีย.สุ่มสี่สุ่มห้า ว. ซุ่มซ่าม, ไม่ระมัดระวังให้ดี, ไม่ดูให้ดี, เช่น เดินสุ่มสี่สุ่มห้าเลยตกบันได กินอาหารสุ่มสี่สุ่มห้าเลยท้องเสีย.
สุมทุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งมีต้นไม้หรือเถาวัลย์ปกคลุมให้ร่มครึ้ม, มักใช้เข้าคู่กับคำ พุ่มไม้ เป็น สุมทุมพุ่มไม้.สุมทุม น. ที่ซึ่งมีต้นไม้หรือเถาวัลย์ปกคลุมให้ร่มครึ้ม, มักใช้เข้าคู่กับคำ พุ่มไม้ เป็น สุมทุมพุ่มไม้.
สุมน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใจดี, พอใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุมน ว. ใจดี, พอใจ. (ส.).
สุมนะ, สุมนา สุมนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ สุมนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา [สุมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้, ดอกมะลิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุมนะ, สุมนา [สุมะ–] น. ดอกไม้, ดอกมะลิ. (ป., ส.).
สุมนัส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ[สุมะนัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใจดี; ดีใจ, พอใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุมนัส [สุมะนัด] ว. ใจดี; ดีใจ, พอใจ. (ส.).
สุ้มเสียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระแสเสียง, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เขียนเป็น ซุ่มเสียง ก็มี เช่น จึงตั้งนะโม ซุ่มเสียงใหญ่โต. ในวงเล็บ มาจาก ประถม ก กา แบบเรียนของเก่า โรงพิมพ์ครูสมิท จ.ศ. ๑๒๔๙.สุ้มเสียง น. กระแสเสียง, (โบ) เขียนเป็น ซุ่มเสียง ก็มี เช่น จึงตั้งนะโม ซุ่มเสียงใหญ่โต. (ประถม ก กา).
สุมะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โสม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า.สุมะ (แบบ) น. พระจันทร์. (ป., ส. โสม).
สุมาลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้, พวงดอกไม้.สุมาลี น. ดอกไม้, พวงดอกไม้.
สุเมธ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ทอ-ทง[–เมด] เป็นคำนาม หมายถึง คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุเมธ [–เมด] น. คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์. (ป., ส.).
สุเมรุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ[–เมน] เป็นคำนาม หมายถึง เขาสิเนรุ, ชื่อภูเขาซึ่งถือว่าเป็นที่ตั้งแห่งเมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุเมรุ [–เมน] น. เขาสิเนรุ, ชื่อภูเขาซึ่งถือว่าเป็นที่ตั้งแห่งเมืองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์. (ไตรภูมิ). (ส.).
สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ [–ระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้าหาญ, เข้มแข็ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สูร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต ศูร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ.สุร– ๑ [–ระ–] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป. สูร; ส. ศูร).
สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ [–ระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทิพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุร– ๒ [–ระ–] น. เทวดา. ว. ทิพย์. (ป., ส.).
สุรคต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดินบางประเทศ).สุรคต ก. ตาย (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดินบางประเทศ).
สุรเชษฐ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระพรหม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุรเชฺยษฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาบาลี สุรเชฏ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน.สุรเชษฐ์ น. พระพรหม. (ส. สุรเชฺยษฺ; ป. สุรเชฏ).
สุรบดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุรปติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สุรบดี น. พระอินทร์. (ส. สุรปติ).
สุรบถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า, สวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุรปถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง.สุรบถ น. ฟ้า, สวรรค์. (ส. สุรปถ).
สุรภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจแห่งเทวดา.สุรภาพ น. อํานาจแห่งเทวดา.
สุรโลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุรโลก น. สวรรค์. (ส.).
สุรสีหนาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง พระดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวงเหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก.สุรสีหนาท น. พระดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวงเหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก.
สุรเสียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสียงก้องกังวาน หมายความว่า เสียงของผู้มีอํานาจ.สุรเสียง น. เสียงก้องกังวาน หมายความว่า เสียงของผู้มีอํานาจ.
สุรางคนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นางสวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุรางคนา ๑ น. นางสวรรค์. (ส.).
สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ สุรางคนา ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา สุรางคนางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่นตัวอย่างกาพย์
    อย่าเยี่ยงหญิงชั่ว  ไป่รู้คุณผัว  ไม่กลัวความอาย
  ลิ้นลมข่มคำ  ห่อนยำเยงชาย  จงจิตรคิดหมาย
  มุ่งร้ายภรรดา.
        (กฤษณา),
  ตัวอย่างฉันท์
    ชะอมชะบา  มะกอกมะกา  มะค่าและแค
  ตะขบตะค้อ  สมอแสม  มะกล่ำสะแก
  ก็แลไสว.
        (หลักภาษาไทย),
ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
    กรุงเทพเทียมทัด  เทพไทเธอจัด  สร้างสิ้นทั้งหลาย
  แทบทางวางรุกข์  ร่มเย็นเป็นสุข  แซ่ซร้องหญิงชาย
  ไปมาค้าขาย  ออกร้านเรียงราย  รื่นเริงสำราญ.
        (กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).
สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่นตัวอย่างกาพย์
    อย่าเยี่ยงหญิงชั่ว  ไป่รู้คุณผัว  ไม่กลัวความอาย
  ลิ้นลมข่มคำ  ห่อนยำเยงชาย  จงจิตรคิดหมาย
  มุ่งร้ายภรรดา.
        (กฤษณา),
  ตัวอย่างฉันท์
    ชะอมชะบา  มะกอกมะกา  มะค่าและแค
  ตะขบตะค้อ  สมอแสม  มะกล่ำสะแก
  ก็แลไสว.
        (หลักภาษาไทย),
ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
    กรุงเทพเทียมทัด  เทพไทเธอจัด  สร้างสิ้นทั้งหลาย
  แทบทางวางรุกข์  ร่มเย็นเป็นสุข  แซ่ซร้องหญิงชาย
  ไปมาค้าขาย  ออกร้านเรียงราย  รื่นเริงสำราญ.
        (กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).
สุรารักษ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้คุ้มครอง.สุรารักษ์ น. เทวดาผู้คุ้มครอง.
สุราลัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ของเทวดา, สวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุราลัย น. ที่อยู่ของเทวดา, สวรรค์. (ส.).
สุรินทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สุรินฺท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.สุรินทร์ น. พระอินทร์. (ส.; ป. สุรินฺท).
สุเรนทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุเรนทร์ น. พระอินทร์. (ส.).
สุรงค์, สุรังค์ สุรงค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด สุรังค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, ใช้เพี้ยนไปเป็น สุหร่ง ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุรงค์, สุรังค์ ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, ใช้เพี้ยนไปเป็น สุหร่ง ก็มี. (ป., ส.).
สุรภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [สุระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นสารภี.สุรภี ๑ [สุระ–] น. ต้นสารภี.
สุรภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [สุระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุรภิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ.สุรภี ๒ [สุระ–] น. เครื่องหอม. (ป.; ส. สุรภิ).
สุรัติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สุรัด] เป็นคำนาม หมายถึง ความปลาบปลื้มหรือความยินดียิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ + รติ เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ .สุรัติ [สุรัด] น. ความปลาบปลื้มหรือความยินดียิ่ง. (ส. สุ + รติ).
สุรัสวดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[—รัดสะวะดี] เป็นคำนาม หมายถึง สรัสวดี; ชื่อกรมในสมัยโบราณมีหน้าที่เกี่ยวกับการรวบรวมบัญชีเลกหรือชายฉกรรจ์, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี.สุรัสวดี [—รัดสะวะดี] น. สรัสวดี; ชื่อกรมในสมัยโบราณมีหน้าที่เกี่ยวกับการรวบรวมบัญชีเลกหรือชายฉกรรจ์, เรียกเต็มว่า กรมพระสุรัสวดี.
สุรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เหล้า, น้ำเมาที่ได้จากการกลั่น, (มักใช้เป็นทางการ), เช่น ร้านนี้ขายแต่สุราต่างประเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุรา น. เหล้า, น้ำเมาที่ได้จากการกลั่น, (มักใช้เป็นทางการ), เช่น ร้านนี้ขายแต่สุราต่างประเทศ. (ป., ส.).
สุราบาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การดื่มเหล้า; นํ้าเหล้า.สุราบาน น. การดื่มเหล้า; นํ้าเหล้า.
สุรางค์จำเรียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สุรางค์จำเรียง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สุรางคนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุรางคนา ๑ ดู สุร– ๒.
สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ สุรางคนา ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา สุรางคนางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุรางคนา ๒, สุรางคนางค์ ดู สุร– ๒.
สุรารักษ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาดดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุรารักษ์ ดู สุร– ๒.
สุราลัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุราลัย ดู สุร– ๒.
สุรินทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุรินทร์ ดู สุร– ๒.
สุรินทราหู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู[สุรินทะราหู] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สุรินทราหู [สุรินทะราหู] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สุริย–, สุริยะ สุริย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก สุริยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [–ริยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์, ดวงตะวัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุริย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สูรฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ หมายถึง ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.สุริย–, สุริยะ [–ริยะ–] น. พระอาทิตย์, ดวงตะวัน. (ป. สุริย; ส. สูรฺย); (โหร) ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. (ดู ยาม).
สุริยกันต์, สุริยกานต์ สุริยกันต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด สุริยกานต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแก้วชนิดหนึ่งถือกันว่าเมื่อถูกแสงพระอาทิตย์ทําให้เกิดไฟ, สูรยกานต์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุริยกนฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต สูรฺยกานฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สุริยกันต์, สุริยกานต์ น. ชื่อแก้วชนิดหนึ่งถือกันว่าเมื่อถูกแสงพระอาทิตย์ทําให้เกิดไฟ, สูรยกานต์ ก็ว่า. (ป. สุริยกนฺต; ส. สูรฺยกานฺต).
สุริยการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง แสงพระอาทิตย์.สุริยการ น. แสงพระอาทิตย์.
สุริยกาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เวลากลางวัน.สุริยกาล น. เวลากลางวัน.
สุริยคติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สุริยะคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง วิธีนับวันและเดือนแบบสากล โดยถือกําหนดตําแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก เช่น วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓๑ เป็นการนับวันทางสุริยคติ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม เป็นการนับเดือนทางสุริยคติ.สุริยคติ [สุริยะคะติ] น. วิธีนับวันและเดือนแบบสากล โดยถือกําหนดตําแหน่งดวงอาทิตย์เป็นหลัก เช่น วันที่ ๑ ถึงวันที่ ๓๑ เป็นการนับวันทางสุริยคติ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม เป็นการนับเดือนทางสุริยคติ.
สุริยคราส, สูรยคราส สุริยคราส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ สูรยคราส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ [สุริยะคฺราด, สูระยะคฺราด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก.สุริยคราส, สูรยคราส [สุริยะคฺราด, สูระยะคฺราด] (ปาก) น. “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก.
สุริยเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สุริยคราส.สุริยเคราะห์ น. สุริยคราส.
สุริยภิม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกทองที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ผู้ทำนายสุริยุปราคาได้ถูกต้องว่า ทองสุริยภิม ในข้อความว่า เมื่อสุริยุปราคาได้ทองสุริยภิมคนแลบาทด้วยกัน. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.สุริยภิม (โบ) น. เรียกทองที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ผู้ทำนายสุริยุปราคาได้ถูกต้องว่า ทองสุริยภิม ในข้อความว่า เมื่อสุริยุปราคาได้ทองสุริยภิมคนแลบาทด้วยกัน. (สามดวง).
สุริยมณฑล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ดวงหรือวงตะวัน, สูรยพิมพ์ หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สูรยมณฺฑล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง.สุริยมณฑล น. ดวงหรือวงตะวัน, สูรยพิมพ์ หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า. (ป.; ส. สูรยมณฺฑล).
สุริยวงศ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์แห่งกษัตริย์เนื่องมาจากพระอาทิตย์, คู่กับ จันทรวงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุริยวงศ์ น. วงศ์แห่งกษัตริย์เนื่องมาจากพระอาทิตย์, คู่กับ จันทรวงศ์. (ส.).
สุริยง, สุริยา, สุริเยนทร์, สุริเยศ, สุริโย สุริยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-งอ-งู สุริยา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา สุริเยนทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด สุริเยศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา สุริโย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์.สุริยง, สุริยา, สุริเยนทร์, สุริเยศ, สุริโย (กลอน) น. พระอาทิตย์.
สุริยน, สุริยัน สุริยน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-นอ-หนู สุริยัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์. (ทมิฬ).สุริยน, สุริยัน น. พระอาทิตย์. (ทมิฬ).
สุริยุปราคา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา[–ยุปะราคา, –ยุบปะราคา] เป็นคำนาม หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ดวงจันทร์จึงบังแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลก เป็นเหตุให้เห็นดวงอาทิตย์มืดเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สุริยคราส หรือ สูรยคราส.สุริยุปราคา [–ยุปะราคา, –ยุบปะราคา] น. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ดวงจันทร์จึงบังแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลก เป็นเหตุให้เห็นดวงอาทิตย์มืดเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด, (ปาก) สุริยคราส หรือ สูรยคราส.
สุรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์, ดวงตะวัน.สุรีย์ น. พระอาทิตย์, ดวงตะวัน.
สุรุ่ยสุร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบจับจ่ายใช้สอยสิ้นเปลืองโดยไม่จำเป็น เช่น เขามีนิสัยสุรุ่ยสุร่าย เงินเดือนจึงไม่พอใช้.สุรุ่ยสุร่าย ว. ชอบจับจ่ายใช้สอยสิ้นเปลืองโดยไม่จำเป็น เช่น เขามีนิสัยสุรุ่ยสุร่าย เงินเดือนจึงไม่พอใช้.
สุเรนทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู สุร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สุเรนทร์ ดู สุร– ๒.
สุลต่าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สุนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ประมุขของบางประเทศหรือเจ้าครองนครบางรัฐที่นับถือศาสนาอิสลาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sultan เขียนว่า เอส-ยู-แอล-ที-เอ-เอ็น.สุลต่าน [สุนละ–] น. ประมุขของบางประเทศหรือเจ้าครองนครบางรัฐที่นับถือศาสนาอิสลาม. (อ. sultan).
สุว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน[–วะ–]คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สําหรับเติมหน้าคํา เช่น สุวคนธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ.สุว– [–วะ–] คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สําหรับเติมหน้าคํา เช่น สุวคนธ์. (ป., ส. สุ).
สุวภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุภาพ.สุวภาพ ว. สุภาพ.
สุวรรณ, สุวรรณ– สุวรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน สุวรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน [–วัน, –วันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุวรฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี สุวณฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน.สุวรรณ, สุวรรณ– [–วัน, –วันนะ–] น. ทอง. (ส. สุวรฺณ; ป. สุวณฺณ).
สุวรรณภูมิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ[สุวันนะพูม] เป็นคำนาม หมายถึง ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันว่ามีอาณาบริเวณครอบคลุมพม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์.สุวรรณภูมิ [สุวันนะพูม] น. ดินแดนแหลมทองซึ่งเชื่อกันว่ามีอาณาบริเวณครอบคลุมพม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์.
สุวะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[–วะ] เป็นคำนาม หมายถึง นกแขกเต้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศุก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.สุวะ [–วะ] น. นกแขกเต้า. (ป.; ส. ศุก).
สุวาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวาน เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สุวาน น. หมา. (ป.; ส. ศฺวาน).
สุวินัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอนง่าย, ว่าง่าย, ดัดง่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สุวินัย ว. สอนง่าย, ว่าง่าย, ดัดง่าย. (ป., ส.).
สุวิมล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจ่างหรือบริสุทธิ์แท้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุวิมล ว. กระจ่างหรือบริสุทธิ์แท้. (ส.).
สุษิระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดนตรีที่ใช้เป่า มีขลุ่ย ปี่ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สุษิระ น. เครื่องดนตรีที่ใช้เป่า มีขลุ่ย ปี่ เป็นต้น. (ส.).
สุสาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่สำหรับฝังหรือเผาศพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺมศาน เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สุสาน น. สถานที่สำหรับฝังหรือเผาศพ. (ป.; ส. ศฺมศาน).
สุหนัต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง พิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม.สุหนัต น. พิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม.
สุหร่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, เพี้ยนมาจาก สุรงค์.สุหร่ง ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, เพี้ยนมาจาก สุรงค์.
สุหร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[–หฺร่าย] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องโปรยนํ้า รูปทรงคล้ายภาชนะกรวดน้ำ คอสูง ปากมีจุกปิดและเจาะรูอย่างฝักบัว สำหรับสลัดน้ำให้เป็นฝอย. (เปอร์เซีย surahi).สุหร่าย [–หฺร่าย] น. เครื่องโปรยนํ้า รูปทรงคล้ายภาชนะกรวดน้ำ คอสูง ปากมีจุกปิดและเจาะรูอย่างฝักบัว สำหรับสลัดน้ำให้เป็นฝอย. (เปอร์เซีย surahi).
สุหฤท, สุหัท สุหฤท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน สุหัท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน [–หะริด, –หัด] เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน, ผู้มีใจดี, ใช้ว่า โสหัท หรือ เสาหฤท ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุหฺฤท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาบาลี สุหท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ทอ-ทะ-หาน.สุหฤท, สุหัท [–หะริด, –หัด] น. เพื่อน, ผู้มีใจดี, ใช้ว่า โสหัท หรือ เสาหฤท ก็มี. (ส. สุหฺฤท; ป. สุหท).
สุเหร่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[–เหฺร่า] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ประชุมทำศาสนกิจของมุสลิม, มัสยิด ก็เรียก.สุเหร่า [–เหฺร่า] น. ที่ประชุมทำศาสนกิจของมุสลิม, มัสยิด ก็เรียก.
สู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาย เช่น มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.สู ๑ (วรรณ) ว. อาย เช่น มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู. (ตะเลงพ่าย).
สู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.สู ๒ (โบ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
สูเจ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.สูเจ้า (โบ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
สู่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ไปเยี่ยม เช่น ไปมาหาสู่กัน; แบ่งให้ เช่น มีอะไรก็เอามาสู่กันกิน. เป็นคำบุรพบท หมายถึง ถึง, ยัง, เช่น หันหน้าสู่ทิศเหนือ ขอจงไปสู่สุคติ.สู่ ก. ไปเยี่ยม เช่น ไปมาหาสู่กัน; แบ่งให้ เช่น มีอะไรก็เอามาสู่กันกิน. บ. ถึง, ยัง, เช่น หันหน้าสู่ทิศเหนือ ขอจงไปสู่สุคติ.
สู่ขวัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบพิธีทำขวัญ เช่น ทำพิธีสู่ขวัญ.สู่ขวัญ ก. ประกอบพิธีทำขวัญ เช่น ทำพิธีสู่ขวัญ.
สู่ขอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เจรจาขอหญิงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการแต่งงาน เช่น เขาขอให้พ่อแม่ไปสู่ขอลูกสาวกำนัน.สู่ขอ ก. เจรจาขอหญิงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการแต่งงาน เช่น เขาขอให้พ่อแม่ไปสู่ขอลูกสาวกำนัน.
สู่รู้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง อวดรู้ เช่น ถ้าไม่รู้จริง อย่าสู่รู้.สู่รู้ ก. อวดรู้ เช่น ถ้าไม่รู้จริง อย่าสู่รู้.
สู่สม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สอ-เสือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ร่วมกันเสมือนผัวเมีย, อยู่ร่วมกันอย่างผัวเมีย, เขียนเป็น สู่สํ ก็มี เช่น ดินฤขัดเจ้าหล้า สู่สํสองสํฯ. (กำสรวล).สู่สม (วรรณ) ก. อยู่ร่วมกันเสมือนผัวเมีย, อยู่ร่วมกันอย่างผัวเมีย, เขียนเป็น สู่สํ ก็มี เช่น ดินฤขัดเจ้าหล้า สู่สํสองสํฯ. (กำสรวล).
สู่สุขคติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย.สู่สุขคติ ก. ตาย.
สู่หา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไปมาหากัน.สู่หา ก. ไปมาหากัน.
สู้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง เอาชนะกันด้วยกำลังกาย อาวุธ หรือสติปัญญาความสามารถเป็นต้น เช่น ชกสู้เขาไม่ได้จึงยอมแพ้ ทหารสู้กันในสนามรบ เล่นหมากรุกสู้กัน; มีสติปัญญาความสามารถเป็นต้นทัดเทียมกันหรือเหนือกว่า เช่น มีสติปัญญาสู้เขาได้; ยอมทน เช่น พูดไปก็ไม่ดี สู้นิ่งไม่ได้.สู้ ก. เอาชนะกันด้วยกำลังกาย อาวุธ หรือสติปัญญาความสามารถเป็นต้น เช่น ชกสู้เขาไม่ได้จึงยอมแพ้ ทหารสู้กันในสนามรบ เล่นหมากรุกสู้กัน; มีสติปัญญาความสามารถเป็นต้นทัดเทียมกันหรือเหนือกว่า เช่น มีสติปัญญาสู้เขาได้; ยอมทน เช่น พูดไปก็ไม่ดี สู้นิ่งไม่ได้.
สู้คดี, สู้ความ สู้คดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี สู้ความ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นความ, มีคดีพิพาทหรือฟ้องร้องกันในโรงศาล.สู้คดี, สู้ความ (ปาก) ก. เป็นความ, มีคดีพิพาทหรือฟ้องร้องกันในโรงศาล.
สู้คน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มีใจกล้าไม่ยอมแพ้ใคร เช่น เขาเป็นคนสู้คน, บางทีก็ใช้เรียกคนที่ขี้ขลาดไม่ยอมสู้ใครว่า เป็นคนไม่สู้คน.สู้คน ก. มีใจกล้าไม่ยอมแพ้ใคร เช่น เขาเป็นคนสู้คน, บางทีก็ใช้เรียกคนที่ขี้ขลาดไม่ยอมสู้ใครว่า เป็นคนไม่สู้คน.
สู้ครู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง มีความรู้พอ ๆ กับครูหรือเหนือกว่า เช่น ความรู้ของเขาสู้ครูได้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ หมายถึง เรียกคนที่ดวงชะตามีพฤหัสอยู่ในราศีสิงห์มีอาทิตย์เป็นเจ้าเรือนว่า พฤหัสสู้ครู ซึ่งหมายความว่า มีใจกล้า มีใจเข้มแข็งพอที่จะสู้กับผู้รู้หรือผู้ชำนาญชั้นครูได้.สู้ครู ก. มีความรู้พอ ๆ กับครูหรือเหนือกว่า เช่น ความรู้ของเขาสู้ครูได้; (โหร) เรียกคนที่ดวงชะตามีพฤหัสอยู่ในราศีสิงห์มีอาทิตย์เป็นเจ้าเรือนว่า พฤหัสสู้ครู ซึ่งหมายความว่า มีใจกล้า มีใจเข้มแข็งพอที่จะสู้กับผู้รู้หรือผู้ชำนาญชั้นครูได้.
สู้แดดสู้ฝน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทนแดดทนฝน.สู้แดดสู้ฝน ก. ทนแดดทนฝน.
สู้ตา, สู้สายตา สู้ตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา สู้สายตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง กล้าสบตา เช่น ว่าแล้วยังสู้สายตาอีก.สู้ตา, สู้สายตา ก. กล้าสบตา เช่น ว่าแล้วยังสู้สายตาอีก.
สู้ตาย, สู้จนตัวตาย สู้ตาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก สู้จนตัวตาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-จอ-จาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สู้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน, สู้ถวายหัว ก็ว่า.สู้ตาย, สู้จนตัวตาย ก. สู้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน, สู้ถวายหัว ก็ว่า.
สู้ถวายหัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง สู้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน, สู้ตาย หรือ สู้จนตัวตาย ก็ว่า.สู้ถวายหัว ก. สู้อย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน, สู้ตาย หรือ สู้จนตัวตาย ก็ว่า.
สู้ปาก, สู้ฝีปาก สู้ปาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ สู้ฝีปาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เถียงกัน เช่น สู้ปากเขาไม่ได้, สู้สีปาก ก็ว่า.สู้ปาก, สู้ฝีปาก ก. เถียงกัน เช่น สู้ปากเขาไม่ได้, สู้สีปาก ก็ว่า.
สู้ยิบตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สู้จนถึงที่สุด, สู้ไม่ถอย, เช่น เขาสู้ยิบตาแม้ว่าจะสะบักสะบอมเพียงใดก็ไม่ยอมแพ้. (กร่อนมาจากสำนวนเกี่ยวกับการตีไก่ซึ่งถูกตีจนต้องเย็บตาว่า สู้จนเย็บตา).สู้ยิบตา (สำ) ก. สู้จนถึงที่สุด, สู้ไม่ถอย, เช่น เขาสู้ยิบตาแม้ว่าจะสะบักสะบอมเพียงใดก็ไม่ยอมแพ้. (กร่อนมาจากสำนวนเกี่ยวกับการตีไก่ซึ่งถูกตีจนต้องเย็บตาว่า สู้จนเย็บตา).
สู้รบตบมือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อสู้, ทะเลาะวิวาท, เช่น เราจะเอากำลังที่ไหนไปสู้รบตบมือกับคนมีอำนาจอย่างเขา เขาไม่ยอมสู้รบตบมือด้วย.สู้รบตบมือ ก. ต่อสู้, ทะเลาะวิวาท, เช่น เราจะเอากำลังที่ไหนไปสู้รบตบมือกับคนมีอำนาจอย่างเขา เขาไม่ยอมสู้รบตบมือด้วย.
สู้ราคา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง มีกำลังที่จะซื้อได้ เช่น ไม่ว่าของชิ้นนี้จะแพงสักเท่าใด ฉันก็จะสู้ราคา.สู้ราคา ก. มีกำลังที่จะซื้อได้ เช่น ไม่ว่าของชิ้นนี้จะแพงสักเท่าใด ฉันก็จะสู้ราคา.
สู้หน้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง รอหน้า, เผชิญหน้า, เช่น เขาทำผิด เลยไม่กล้าสู้หน้าฉัน.สู้หน้า ก. รอหน้า, เผชิญหน้า, เช่น เขาทำผิด เลยไม่กล้าสู้หน้าฉัน.
สู้เหมือนหมาจนตรอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ฮึดสู้เพราะไม่มีทางหนี เช่น พอจนมุมเข้า เขาก็สู้เหมือนหมาจนตรอก.สู้เหมือนหมาจนตรอก (สำ) ก. ฮึดสู้เพราะไม่มีทางหนี เช่น พอจนมุมเข้า เขาก็สู้เหมือนหมาจนตรอก.
สูกษมะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ[สูกสะมะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุขุม, ละเอียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สูกฺษม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี สุขุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า.สูกษมะ [สูกสะมะ] ว. สุขุม, ละเอียด. (ส. สูกฺษม; ป. สุขุม).
สูง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีระยะที่วัดตรงขึ้นไปตามแนวตั้งฉากกับพื้น เช่น ต้นไม้สูง ภูเขาสูง; เหนือระดับปรกติ เช่น อุณหภูมิสูง ไข้สูง ความสามารถสูง; แหลม เช่น เสียงสูง, ระดับเหนือเสียงกลาง เช่น อักษรสูง; ตรงข้ามกับ ต่ำ เช่น จิตใจสูง.สูง ว. มีระยะที่วัดตรงขึ้นไปตามแนวตั้งฉากกับพื้น เช่น ต้นไม้สูง ภูเขาสูง; เหนือระดับปรกติ เช่น อุณหภูมิสูง ไข้สูง ความสามารถสูง; แหลม เช่น เสียงสูง, ระดับเหนือเสียงกลาง เช่น อักษรสูง; ตรงข้ามกับ ต่ำ เช่น จิตใจสูง.
สูงค่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีค่ามาก เช่น แจกันลายครามใบนี้สูงค่ามากเพราะเป็นสมบัติตกทอดมาหลายชั่วอายุคนแล้ว, มีค่าสูง, มีราคาสูง, เช่น แหวนเพชรวงนี้สูงค่ามาก.สูงค่า ว. มีค่ามาก เช่น แจกันลายครามใบนี้สูงค่ามากเพราะเป็นสมบัติตกทอดมาหลายชั่วอายุคนแล้ว, มีค่าสูง, มีราคาสูง, เช่น แหวนเพชรวงนี้สูงค่ามาก.
สูงชั่วนกเขาเหิน, สูงเท่านกเขาเหิน สูงชั่วนกเขาเหิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู สูงเท่านกเขาเหิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงระดับที่นกเขาบิน.สูงชั่วนกเขาเหิน, สูงเท่านกเขาเหิน (สำ) ว. สูงระดับที่นกเขาบิน.
สูงเทียมเมฆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงมาก.สูงเทียมเมฆ (สำ) ว. สูงมาก.
สูงศักดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มียศศักดิ์หรือตระกูลสูง เช่น เจ้านายเป็นบุคคลที่สูงศักดิ์ เขาสืบเชื้อสายมาจากขุนนางผู้สูงศักดิ์.สูงศักดิ์ ว. มียศศักดิ์หรือตระกูลสูง เช่น เจ้านายเป็นบุคคลที่สูงศักดิ์ เขาสืบเชื้อสายมาจากขุนนางผู้สูงศักดิ์.
สูงส่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยกย่องกันว่าดีเด่น เช่น วรรณคดีเรื่องนี้ยกย่องกันว่ามีค่าทางวรรณศิลป์สูงส่ง.สูงส่ง ว. ที่ยกย่องกันว่าดีเด่น เช่น วรรณคดีเรื่องนี้ยกย่องกันว่ามีค่าทางวรรณศิลป์สูงส่ง.
สูงสุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น.สูงสุด ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น.
สูงสุดสอย, สูงสุดเอื้อม สูงสุดสอย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก สูงสุดเอื้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงเกินกว่าที่จะสอยหรือเอื้อมได้, โดยปริยายใช้หมายถึงหญิงสูงศักดิ์ที่ยากเกินกว่าที่คนธรรมดาสามัญจะเอามาเป็นภรรยาได้.สูงสุดสอย, สูงสุดเอื้อม (สำ) ว. สูงเกินกว่าที่จะสอยหรือเอื้อมได้, โดยปริยายใช้หมายถึงหญิงสูงศักดิ์ที่ยากเกินกว่าที่คนธรรมดาสามัญจะเอามาเป็นภรรยาได้.
สูงเสียดฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงมากจนเสมือนว่าจดฟ้า.สูงเสียดฟ้า (สำ) ว. สูงมากจนเสมือนว่าจดฟ้า.
สูงอายุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอายุมาก.สูงอายุ ว. มีอายุมาก.
สูจกะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[–จะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชี้แจง; ผู้นําจับ; ผู้ส่อเสียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูจกะ [–จะกะ] น. ผู้ชี้แจง; ผู้นําจับ; ผู้ส่อเสียด. (ป., ส.).
สูจนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[–จะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การชี้แจง; การนําจับ; การส่อเสียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูจนะ [–จะนะ] น. การชี้แจง; การนําจับ; การส่อเสียด. (ป., ส.).
สูจิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง เข็ม; เครื่องชี้; รายการ; สารบัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูจิ น. เข็ม; เครื่องชี้; รายการ; สารบัญ. (ป., ส.).
สูจิบัตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ใบแจ้งกำหนดการต่าง ๆ ในการประชุม การแสดงมหรสพเป็นต้น เช่น สูจิบัตรการแสดงวิพิธทัศนา.สูจิบัตร น. ใบแจ้งกำหนดการต่าง ๆ ในการประชุม การแสดงมหรสพเป็นต้น เช่น สูจิบัตรการแสดงวิพิธทัศนา.
สูญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หายสิ้นไป เช่น คนโบราณใช้ปูนแดงสูญฝี, หายไป เช่น ทรัพย์สมบัติสูญไปในกองเพลิง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่หมดไป ในคำว่า หนี้สูญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สุฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศูนฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สูญ ก. ทําให้หายสิ้นไป เช่น คนโบราณใช้ปูนแดงสูญฝี, หายไป เช่น ทรัพย์สมบัติสูญไปในกองเพลิง. ว. ที่หมดไป ในคำว่า หนี้สูญ. (ป. สุฺ; ส. ศูนฺย).
สูญขี้ผึ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีหนึ่งในการหล่อโลหะ ใช้ขี้ผึ้งพอกหุ้มแกนทรายให้เป็นหุ่น แล้วทาไล้ด้วยดินเหนียวผสมขี้วัวและน้ำ จึงเข้าดินเป็นพิมพ์ นำไปเผาไฟสำรอกขี้ผึ้งให้ละลายออกจากพิมพ์ จากนี้เทโลหะหลอมเหลวเข้าแทนที่ขี้ผึ้ง.สูญขี้ผึ้ง น. กรรมวิธีหนึ่งในการหล่อโลหะ ใช้ขี้ผึ้งพอกหุ้มแกนทรายให้เป็นหุ่น แล้วทาไล้ด้วยดินเหนียวผสมขี้วัวและน้ำ จึงเข้าดินเป็นพิมพ์ นำไปเผาไฟสำรอกขี้ผึ้งให้ละลายออกจากพิมพ์ จากนี้เทโลหะหลอมเหลวเข้าแทนที่ขี้ผึ้ง.
สูญเปล่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดสิ้นไปโดยไร้ประโยชน์ เช่น ลงทุนครั้งนี้สูญเปล่าจริง ๆ นอกจากไม่ได้กำไรแล้วยังขาดทุนอีกด้วย.สูญเปล่า ว. หมดสิ้นไปโดยไร้ประโยชน์ เช่น ลงทุนครั้งนี้สูญเปล่าจริง ๆ นอกจากไม่ได้กำไรแล้วยังขาดทุนอีกด้วย.
สูญสิ้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไปโดยไม่มีอะไรเหลือ เช่น เขาสูญสิ้นทุกสิ่งทุกอย่างเพราะเป็นทาสการพนัน.สูญสิ้น ก. หมดไปโดยไม่มีอะไรเหลือ เช่น เขาสูญสิ้นทุกสิ่งทุกอย่างเพราะเป็นทาสการพนัน.
สูญเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สูญไปทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน เช่น สูญเสียชีวิต สูญเสียทรัพย์สมบัติ สูญเสียอวัยวะ.สูญเสีย ก. สูญไปทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน เช่น สูญเสียชีวิต สูญเสียทรัพย์สมบัติ สูญเสียอวัยวะ.
สูญหาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง หายไป เช่น พี่น้องสูญหายไปในสงคราม.สูญหาย ก. หายไป เช่น พี่น้องสูญหายไปในสงคราม.
สูด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง หายใจเข้าไปโดยแรง เช่น สูดลมหายใจ สูดอากาศ; เดินหมากรุกข้ามตาตรงไปโดยไม่เป็นไปตามกําหนดที่วางไว้ (ใช้เฉพาะเม็ดและขุน); ส่งให้สูง.สูด ๑ ก. หายใจเข้าไปโดยแรง เช่น สูดลมหายใจ สูดอากาศ; เดินหมากรุกข้ามตาตรงไปโดยไม่เป็นไปตามกําหนดที่วางไว้ (ใช้เฉพาะเม็ดและขุน); ส่งให้สูง.
สูด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ดู กระสูบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้.สูด ๒ ดู กระสูบ.
สูต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ขับรถหรือนายม้าต้น, สารถี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูต น. ผู้ขับรถหรือนายม้าต้น, สารถี. (ป., ส.).
สูตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ [สูด] เป็นคำนาม หมายถึง กฎสําหรับจดจํา เช่น สูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์; ส่วนประกอบที่กำหนดขึ้นในการปรุงยา อาหาร เครื่องดื่ม เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สุตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สูตร ๑ [สูด] น. กฎสําหรับจดจํา เช่น สูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์; ส่วนประกอบที่กำหนดขึ้นในการปรุงยา อาหาร เครื่องดื่ม เป็นต้น. (ส.; ป. สุตฺต).
สูตรเคมี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า ๑ โมเลกุลของสารนั้น ๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม เช่น H2O เป็นสูตรเคมีที่เขียนขึ้นแทนนํ้า เพื่อแสดงว่านํ้า ๑ โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน ๒ อะตอม และธาตุออกซิเจน ๑ อะตอม.สูตรเคมี น. หมู่สัญลักษณ์ของธาตุซึ่งเขียนขึ้นแทนสารใดสารหนึ่งเพื่อแสดงให้ทราบว่า ๑ โมเลกุลของสารนั้น ๆ ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง และมีอย่างละกี่อะตอม เช่น H2O เป็นสูตรเคมีที่เขียนขึ้นแทนนํ้า เพื่อแสดงว่านํ้า ๑ โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน ๒ อะตอม และธาตุออกซิเจน ๑ อะตอม.
สูตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ [สูด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหลักธรรมในพระสุตตันตปิฎก เรียกว่า พระสูตร เช่น มงคลสูตร กาลามสูตร; ข้อความทางปรัชญาที่เรียบเรียงร้อยกรอง หรือย่อขึ้นไว้สำหรับท่องจำ เช่น โยคสูตร นยายสูตร สูตรสนธิ.สูตร ๒ [สูด] น. ชื่อหลักธรรมในพระสุตตันตปิฎก เรียกว่า พระสูตร เช่น มงคลสูตร กาลามสูตร; ข้อความทางปรัชญาที่เรียบเรียงร้อยกรอง หรือย่อขึ้นไว้สำหรับท่องจำ เช่น โยคสูตร นยายสูตร สูตรสนธิ.
สูตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มุ้ง, ม่าน, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสูตร หรือ พระวิสูตร.สูตร ๓ น. มุ้ง, ม่าน, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสูตร หรือ พระวิสูตร.
สูติ, สูติ– สูติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ สูติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ [สู–ติ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเกิด, กําเนิด, การคลอดบุตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สูติ, สูติ– [สู–ติ–] น. การเกิด, กําเนิด, การคลอดบุตร. (ส.).
สูติกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การทำคลอด.สูติกรรม น. การทำคลอด.
สูติบัตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารที่แสดงถึงสัญชาติ วัน เดือน ปี เวลา สถานที่เกิด และชื่อบิดามารดาของบุคคล โดยนายทะเบียนเป็นผู้ออกให้.สูติบัตร น. เอกสารที่แสดงถึงสัญชาติ วัน เดือน ปี เวลา สถานที่เกิด และชื่อบิดามารดาของบุคคล โดยนายทะเบียนเป็นผู้ออกให้.
สูตินรีเวช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง[–นะรีเวด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การคลอด และโรคเฉพาะสตรี.สูตินรีเวช [–นะรีเวด] น. วิชาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การคลอด และโรคเฉพาะสตรี.
สูติแพทย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง แพทย์ทำคลอดและรักษาโรคที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์.สูติแพทย์ น. แพทย์ทำคลอดและรักษาโรคที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์.
สูติศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการปฏิบัติรักษาเรื่องการตั้งครรภ์ การทำคลอด และภาวะหลังคลอด.สูติศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการปฏิบัติรักษาเรื่องการตั้งครรภ์ การทำคลอด และภาวะหลังคลอด.
สูท, สูท– สูท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน สูท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน [สูด, สูทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนครัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูท, สูท– [สูด, สูทะ–] น. คนครัว. (ป., ส.).
สูทกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สูทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การทํากับข้าวของกิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สูทกรฺมนฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ.สูทกรรม [สูทะ–] น. การทํากับข้าวของกิน. (ส. สูทกรฺมนฺ).
สูทศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สูทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาทํากับข้าว.สูทศาสตร์ [สูทะ–] น. วิชาทํากับข้าว.
สูนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด, เป็นขึ้น; บาน, ผลิ, (ใช้แก่ดอกไม้). (ส.).สูนะ (แบบ) ก. เกิด, เป็นขึ้น; บาน, ผลิ, (ใช้แก่ดอกไม้). (ส.).
สูนุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูก, ลูกเล็ก ๆ, เด็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูนุ (แบบ) น. ลูก, ลูกเล็ก ๆ, เด็ก. (ป., ส.).
สูบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับดูดของเหลวเช่นนํ้าให้เคลื่อนจากระดับเดิมไปสู่ระดับใหม่, เครื่องสำหรับดูดหรืออัดลม. เป็นคำกริยา หมายถึง ดูดเข้าไป เช่น สูบบุหรี่ สูบกัญชา, ดูดออกมา เช่น สูบส้วม สูบน้ำออกจากนา.สูบ ๑ น. เครื่องสําหรับดูดของเหลวเช่นนํ้าให้เคลื่อนจากระดับเดิมไปสู่ระดับใหม่, เครื่องสำหรับดูดหรืออัดลม. ก. ดูดเข้าไป เช่น สูบบุหรี่ สูบกัญชา, ดูดออกมา เช่น สูบส้วม สูบน้ำออกจากนา.
สูบเลือด, สูบเลือดสูบเนื้อ สูบเลือด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก สูบเลือดสูบเนื้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เรียกเอาเงินหรือทรัพย์สินของผู้อื่นด้วยอาการขูดรีดหรือเอารัดเอาเปรียบอย่างยิ่ง.สูบเลือด, สูบเลือดสูบเนื้อ ก. เรียกเอาเงินหรือทรัพย์สินของผู้อื่นด้วยอาการขูดรีดหรือเอารัดเอาเปรียบอย่างยิ่ง.
สูบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ดู กระสูบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้.สูบ ๒ ดู กระสูบ.
สูป–, สูปะ สูป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา สูปะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ [สูปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ของกินที่เป็นนํ้า, แกง, ของต้มที่เป็นนํ้า, มักใช้เข้าคู่กับคํา พยัญชนะ เป็น สูปพยัญชนะ หมายความว่า กับข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สูป–, สูปะ [สูปะ–] น. ของกินที่เป็นนํ้า, แกง, ของต้มที่เป็นนํ้า, มักใช้เข้าคู่กับคํา พยัญชนะ เป็น สูปพยัญชนะ หมายความว่า กับข้าว. (ป., ส.).
สูปการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คนครัว.สูปการ น. คนครัว.
สูร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[สูน, สูระ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้าหาญ, เข้มแข็ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศูร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ.สูร [สูน, สูระ] น. ผู้กล้าหาญ, นักรบ; พระอาทิตย์. (ป., ส.). ว. กล้าหาญ, เข้มแข็ง. (ป.; ส. ศูร).
สูรย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก[สูระยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์, ตะวัน, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สุริย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.สูรย– [สูระยะ–] น. พระอาทิตย์, ตะวัน, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. (ส.; ป. สุริย).
สูรยกานต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแก้วชนิดหนึ่งถือกันว่าเมื่อถูกแสงพระอาทิตย์ทําให้เกิดไฟ, สุริยกันต์ หรือ สุริยกานต์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สูรฺยกานฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี สุริยกนฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สูรยกานต์ น. ชื่อแก้วชนิดหนึ่งถือกันว่าเมื่อถูกแสงพระอาทิตย์ทําให้เกิดไฟ, สุริยกันต์ หรือ สุริยกานต์ ก็ว่า. (ส. สูรฺยกานฺต; ป. สุริยกนฺต).
สูรยคราส, สุริยคราส สูรยคราส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ สุริยคราส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก.สูรยคราส, สุริยคราส น. “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก.
สูรยพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า.สูรยพิมพ์ น. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า.
สูรยมณฑล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยพิมพ์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สุริยมณฺฑล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง.สูรยมณฑล น. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยพิมพ์ ก็ว่า. (ส.; ป. สุริยมณฺฑล).
สูรยวาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง วันอาทิตย์, อาทิจจวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.สูรยวาร น. วันอาทิตย์, อาทิจจวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.
สูรย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สูน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง สุริยุปราคา ในคำว่า เกิดสูรย์.สูรย์ [สูน] (ปาก) น. สุริยุปราคา ในคำว่า เกิดสูรย์.
สูริ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง คนมีปัญญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ผู้กล้าหาญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศูริ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.สูริ น. คนมีปัญญา. (ป., ส.); ผู้กล้าหาญ. (ป.; ส. ศูริ).
สูสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เกี่ยวพัน, ข้องแวะ, เช่น อย่าไปสูสีกับคนพาล; ไล่เลี่ย, พอ ๆ กัน, เช่น ฝีมือของ ๒ คนนี้สูสีกัน สอบได้คะแนนสูสีกัน.สูสี ก. เกี่ยวพัน, ข้องแวะ, เช่น อย่าไปสูสีกับคนพาล; ไล่เลี่ย, พอ ๆ กัน, เช่น ฝีมือของ ๒ คนนี้สูสีกัน สอบได้คะแนนสูสีกัน.
เส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
เสความ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเนื้อความให้เชือนแชหรือไถลไปเป็นเรื่องอื่น.เสความ ก. ทําเนื้อความให้เชือนแชหรือไถลไปเป็นเรื่องอื่น.
เสสรวล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[–สวน] เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะร่าเริง, หัวเราะอย่างสนุกสนานครึกครื้น, สรวลเสหรือ สรวลเสเฮฮา ก็ว่า.เสสรวล [–สวน] ก. หัวเราะร่าเริง, หัวเราะอย่างสนุกสนานครึกครื้น, สรวลเสหรือ สรวลเสเฮฮา ก็ว่า.
เสแสร้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู[–แส้ง] เป็นคำกริยา หมายถึง แกล้งทําให้เข้าใจเป็นอื่น, แกล้งทำไม่ตรงกับใจ, เช่น เขาเสแสร้งทำดีด้วยทั้ง ๆ ที่ไม่ชอบคนคนนั้น.เสแสร้ง [–แส้ง] ก. แกล้งทําให้เข้าใจเป็นอื่น, แกล้งทำไม่ตรงกับใจ, เช่น เขาเสแสร้งทำดีด้วยทั้ง ๆ ที่ไม่ชอบคนคนนั้น.
เสก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่ายมนตร์เพื่อทำให้ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ เช่น เสกน้ำล้างหน้า เสกแป้งผัดหน้า, ร่ายมนตร์เพื่อทำให้สิ่งหนึ่งกลายเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น เสกหญ้าให้เป็นหุ่นพยนต์ เสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน, ร่ายมนตร์เพื่อให้เกิดพลังส่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปทำร้ายศัตรู เช่น เสกหนังเข้าท้อง.เสก ก. ร่ายมนตร์เพื่อทำให้ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ เช่น เสกน้ำล้างหน้า เสกแป้งผัดหน้า, ร่ายมนตร์เพื่อทำให้สิ่งหนึ่งกลายเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น เสกหญ้าให้เป็นหุ่นพยนต์ เสกใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน, ร่ายมนตร์เพื่อให้เกิดพลังส่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปทำร้ายศัตรู เช่น เสกหนังเข้าท้อง.
เสกคาถา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ร่ายมนตร์.เสกคาถา ก. ร่ายมนตร์.
เสกเป่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ร่ายมนตร์หรือคาถาแล้วเป่าลงไป.เสกเป่า ก. ร่ายมนตร์หรือคาถาแล้วเป่าลงไป.
เสกสมรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งงาน (ใช้แก่เจ้านาย).เสกสมรส ก. แต่งงาน (ใช้แก่เจ้านาย).
เสกสรร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ[–สัน] เป็นคำกริยา หมายถึง เลือกทำหรือพูดเอาเอง เช่น เขามีเงินมีทอง จะเสกสรรอะไรก็ทำได้.เสกสรร [–สัน] ก. เลือกทำหรือพูดเอาเอง เช่น เขามีเงินมีทอง จะเสกสรรอะไรก็ทำได้.
เสกสรรปั้นแต่ง, เสกสรรปั้นเรื่อง เสกสรรปั้นแต่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เสกสรรปั้นเรื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งเรื่องขึ้นมาโดยจะมีความจริงหรือไม่ก็ได้เพื่อให้เข้าใจผิด เช่น คนคนนี้ช่างเสกสรรปั้นเรื่องมาเล่าให้ผู้ใหญ่ผิดใจกันอยู่เสมอ.เสกสรรปั้นแต่ง, เสกสรรปั้นเรื่อง ก. แต่งเรื่องขึ้นมาโดยจะมีความจริงหรือไม่ก็ได้เพื่อให้เข้าใจผิด เช่น คนคนนี้ช่างเสกสรรปั้นเรื่องมาเล่าให้ผู้ใหญ่ผิดใจกันอยู่เสมอ.
เสกข–, เสกขะ เสกข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่ เสกขะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ [–ขะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยังต้องศึกษาอยู่, พระอริยบุคคลผู้ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไศกฺษ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.เสกข–, เสกขะ [–ขะ–] น. ผู้ยังต้องศึกษาอยู่, พระอริยบุคคลผู้ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.; ส. ไศกฺษ).
เสกขบุคคล, เสขบุคคล เสกขบุคคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เสขบุคคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมายถึง พระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เสกขบุคคล, เสขบุคคล น. ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมายถึง พระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.).
เสข–, เสขะ เสข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ขอ-ไข่ เสขะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ [เสขะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เสกขะ.เสข–, เสขะ [เสขะ–] น. เสกขะ.
เสขบุคคล, เสกขบุคคล เสขบุคคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เสกขบุคคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมายถึง พระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เสขบุคคล, เสกขบุคคล น. ผู้ที่ยังต้องศึกษาอยู่ หมายถึง พระอริยะที่ยังไม่บรรลุพระอรหัตผล. (ป.).
เส็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พาลเกะกะ.เส็ง (กลอน) ว. พาลเกะกะ.
เส็งเคร็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลว, ไม่ดี, ไม่มีค่า, ไม่มีราคา, เช่น ของเส็งเคร็งไม่มีใครต้องการ ป่านี้ไม้ดี ๆ ถูกตัดไปหมดแล้ว เหลือแต่ไม้เส็งเคร็ง.เส็งเคร็ง ว. เลว, ไม่ดี, ไม่มีค่า, ไม่มีราคา, เช่น ของเส็งเคร็งไม่มีใครต้องการ ป่านี้ไม้ดี ๆ ถูกตัดไปหมดแล้ว เหลือแต่ไม้เส็งเคร็ง.
เส้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Sterculiaceae คือ ชนิด Pentapetes phoenicea L. ใบเรียวยาว ดอกสีแดงคลํ้า และชนิด Melochia corchorifolia L. ดอกสีชมพูอ่อน. (๒) ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง ปอกระเจา. ในวงเล็บ ดู กระเจา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา (๑); ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Triumfetta bartramia L. ในวงศ์ Tiliaceae ดอกสีเหลือง ผลกลมเล็ก มีขนแข็งคล้ายหนาม.เส้ง น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Sterculiaceae คือ ชนิด Pentapetes phoenicea L. ใบเรียวยาว ดอกสีแดงคลํ้า และชนิด Melochia corchorifolia L. ดอกสีชมพูอ่อน. (๒) (ถิ่น–พายัพ) ปอกระเจา. [ดู กระเจา (๑)]; ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Triumfetta bartramia L. ในวงศ์ Tiliaceae ดอกสีเหลือง ผลกลมเล็ก มีขนแข็งคล้ายหนาม.
เสงี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สะเหฺงี่ยม] เป็นคำกริยา หมายถึง สํารวมกิริยาวาจาด้วยเจียมตัว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุภาพเรียบร้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เสฺงี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า.เสงี่ยม [สะเหฺงี่ยม] ก. สํารวมกิริยาวาจาด้วยเจียมตัว. ว. สุภาพเรียบร้อย. (ข. เสฺงี่ยม).
เสงี่ยมเจียมตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน[สะเหฺงี่ยม–] เป็นคำกริยา หมายถึง สำรวมกิริยาวาจาด้วยเจียมตัว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุภาพเรียบร้อย.เสงี่ยมเจียมตัว [สะเหฺงี่ยม–] ก. สำรวมกิริยาวาจาด้วยเจียมตัว. ว. สุภาพเรียบร้อย.
เสงี่ยมหงิม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า[สะเหฺงี่ยม–] เป็นคำกริยา หมายถึง สำรวมกิริยาไม่ค่อยพูดจา.เสงี่ยมหงิม [สะเหฺงี่ยม–] ก. สำรวมกิริยาไม่ค่อยพูดจา.
เสฏฐี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เศรษฐี, คนมั่งมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺรษฺินฺ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.เสฏฐี น. เศรษฐี, คนมั่งมี. (ป.; ส. เศฺรษฺินฺ).
เสณี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แถว, สาย; พวก, หมวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺรณี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.เสณี น. แถว, สาย; พวก, หมวด. (ป.; ส. เศฺรณี).
เสด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ปีจอ.เสด (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. ปีจอ.
เสด็จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน[สะเด็ด] เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าที่เป็นลูกเธอและหลานเธอซึ่งพระอัยกาเป็นพระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ไป เช่น เสด็จประพาส, อยู่ เช่น เสด็จประทับ.เสด็จ [สะเด็ด] น. คําเรียกเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าที่เป็นลูกเธอและหลานเธอซึ่งพระอัยกาเป็นพระเจ้าแผ่นดิน. (ราชา) ก. ไป เช่น เสด็จประพาส, อยู่ เช่น เสด็จประทับ.
เสด็จในกรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกเจ้านายที่ทรงกรม.เสด็จในกรม (ปาก) น. คําเรียกเจ้านายที่ทรงกรม.
เสด็จพระราชดำเนิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไป (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี) เช่น เสด็จพระราชดำเนินโดยทางลาดพระบาท เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง.เสด็จพระราชดำเนิน ก. ไป (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี) เช่น เสด็จพระราชดำเนินโดยทางลาดพระบาท เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง.
เสต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า[–ตะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เศวต, สีขาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺวต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า.เสต– [–ตะ–] (แบบ) ว. เศวต, สีขาว. (ป.; ส. เศฺวต).
เสตุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง สะพาน, ทํานบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เสตุ น. สะพาน, ทํานบ. (ป., ส.).
เสถียร, เสถียร– เสถียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เสถียร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ [สะเถียน, –เถียนระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, แข็งแรง, คงตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถิร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ถิร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ.เสถียร, เสถียร– [สะเถียน, –เถียนระ–] ว. มั่นคง, แข็งแรง, คงตัว. (ส. สฺถิร; ป. ถิร).
เสถียรภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[สะเถียนระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความมั่นคง, ความคงตัว, ความไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจไม่ดีรัฐบาลก็ไม่มีเสถียรภาพ.เสถียรภาพ [สะเถียนระ–] น. ความมั่นคง, ความคงตัว, ความไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจไม่ดีรัฐบาลก็ไม่มีเสถียรภาพ.
เสทะ, เสโท เสทะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ เสโท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง เหงื่อ, เหงื่อไคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เสฺวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน.เสทะ, เสโท น. เหงื่อ, เหงื่อไคล. (ป.; ส. เสฺวท).
เสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีทาและทําแก้ว, ตะกั่วแดง ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ red เขียนว่า อา-อี-ดี lead เขียนว่า แอล-อี-เอ-ดี minium เขียนว่า เอ็ม-ไอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม . (ดู ตะกั่วแดง ที่ ตะกั่ว).เสน ๑ น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียด สีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีทาและทําแก้ว, ตะกั่วแดง ก็เรียก. (อ. red lead, minium). (ดู ตะกั่วแดง ที่ ตะกั่ว).
เสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลิงชนิด Macaca arctoides ในวงศ์ Cercopithecidae ตัวใหญ่ สีนํ้าตาลแดง หน้าแดง ก้นแดง หางสั้นมาก.เสน ๒ น. ชื่อลิงชนิด Macaca arctoides ในวงศ์ Cercopithecidae ตัวใหญ่ สีนํ้าตาลแดง หน้าแดง ก้นแดง หางสั้นมาก.
เสน– เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสนา, กองทหาร, หมู่ทหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.เสน– ๓ น. เสนา, กองทหาร, หมู่ทหาร. (ป., ส. เสนา).
เส้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเป็นสาย แถว แนว ที่ไม่จำกัดความยาว เช่น เส้นผม เส้นขน เส้นโลหิต; เส้นเลือด เส้นเอ็น และเส้นประสาท; รอยที่ปรากฏเป็นทางบนพื้นเป็นแนว เช่น เส้นขอบฟ้า; ชื่อมาตราวัด ๒๐ วา เป็น ๑ เส้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง สิ่งซึ่งมีแต่ความยาว ไม่มีความกว้างและความหนา.เส้น น. สิ่งที่มีลักษณะเป็นสาย แถว แนว ที่ไม่จำกัดความยาว เช่น เส้นผม เส้นขน เส้นโลหิต; เส้นเลือด เส้นเอ็น และเส้นประสาท; รอยที่ปรากฏเป็นทางบนพื้นเป็นแนว เช่น เส้นขอบฟ้า; ชื่อมาตราวัด ๒๐ วา เป็น ๑ เส้น; (คณิต) สิ่งซึ่งมีแต่ความยาว ไม่มีความกว้างและความหนา.
เส้นแกงร้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แป้งถั่วเขียวทําเป็นเส้นเล็ก ๆ ยาวอย่างเส้นลวด เมื่อแช่นํ้าทําให้อ่อนคล้ายวุ้น ใช้ทําเป็นอาหาร เช่นแกงร้อน, วุ้นเส้น ก็เรียก.เส้นแกงร้อน น. แป้งถั่วเขียวทําเป็นเส้นเล็ก ๆ ยาวอย่างเส้นลวด เมื่อแช่นํ้าทําให้อ่อนคล้ายวุ้น ใช้ทําเป็นอาหาร เช่นแกงร้อน, วุ้นเส้น ก็เรียก.
เส้นขนาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงคู่ใด ๆ ซึ่งอยู่ห่างกันเป็นระยะเท่ากันโดยตลอด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในภูมิศาสตร์ หมายถึง เส้นหรือวงกลมเล็กบนผิวโลกที่ขนานกับเส้นศูนย์สูตร ซึ่งจุดทุกจุดบนเส้นนี้มีค่าละติจูดเท่ากัน, เรียกเต็มว่า เส้นขนานละติจูด.เส้นขนาน (คณิต) น. เส้นตรงคู่ใด ๆ ซึ่งอยู่ห่างกันเป็นระยะเท่ากันโดยตลอด; (ภูมิ) เส้นหรือวงกลมเล็กบนผิวโลกที่ขนานกับเส้นศูนย์สูตร ซึ่งจุดทุกจุดบนเส้นนี้มีค่าละติจูดเท่ากัน, เรียกเต็มว่า เส้นขนานละติจูด.
เส้นแข็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่กล้ามเนื้อตึงจนแข็งทำให้เลือดลมเดินไม่สะดวก; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ผู้มีอํานาจสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง.เส้นแข็ง น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงจนแข็งทำให้เลือดลมเดินไม่สะดวก; (ปาก) ผู้มีอํานาจสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง.
เส้นจม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-จอ-จาน-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่เส้นเลือดถูกกล้ามเนื้อที่ตึงแข็งกดให้อยู่ลึกลงไปกว่าปรกติ.เส้นจม น. อาการที่เส้นเลือดถูกกล้ามเนื้อที่ตึงแข็งกดให้อยู่ลึกลงไปกว่าปรกติ.
เส้นชัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ.เส้นชัย น. เส้นที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ.
เส้นตรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่สั้นที่สุดระหว่างจุด ๒ จุด.เส้นตรง (คณิต) น. เส้นที่สั้นที่สุดระหว่างจุด ๒ จุด.
เส้นตั้งฉาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ทำมุม ๙๐° กับอีกเส้นตรงหนึ่ง.เส้นตั้งฉาก น. เส้นตรงที่ทำมุม ๙๐° กับอีกเส้นตรงหนึ่ง.
เส้นตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วันเวลาที่กําหนดเป็นขั้นเด็ดขาด ใช้ว่า ขีดเส้นตาย หรือ กำหนดเส้นตาย เช่น กำหนดเส้นตายให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปให้หมดภายใน ๓๐ วัน.เส้นตาย น. วันเวลาที่กําหนดเป็นขั้นเด็ดขาด ใช้ว่า ขีดเส้นตาย หรือ กำหนดเส้นตาย เช่น กำหนดเส้นตายให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างไปให้หมดภายใน ๓๐ วัน.
เส้นตึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่กล้ามเนื้อตึงเกิดจากเลือดลมเดินไม่สะดวกหรือออกกำลังกายไม่ถูกวิธีเป็นต้น.เส้นตึง น. อาการที่กล้ามเนื้อตึงเกิดจากเลือดลมเดินไม่สะดวกหรือออกกำลังกายไม่ถูกวิธีเป็นต้น.
เส้นตื้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ง่าย เช่น เขาเป็นคนเส้นตื้น ได้ยินเรื่องขำขันนิดหน่อยก็หัวเราะ.เส้นตื้น ว. ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ง่าย เช่น เขาเป็นคนเส้นตื้น ได้ยินเรื่องขำขันนิดหน่อยก็หัวเราะ.
เส้นทแยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ลากในแนวเอียงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่ง.เส้นทแยง น. เส้นตรงที่ลากในแนวเอียงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่ง.
เส้นทแยงมุม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ลากจากมุมหนึ่งไปยังมุมตรงข้าม.เส้นทแยงมุม น. เส้นตรงที่ลากจากมุมหนึ่งไปยังมุมตรงข้าม.
เส้นทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทาง, แนวทาง, เช่น ไปสำรวจเส้นทางก่อนเดินทาง.เส้นทาง น. ทาง, แนวทาง, เช่น ไปสำรวจเส้นทางก่อนเดินทาง.
เส้นบรรทัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น.เส้นบรรทัด น. เส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น.
เส้นบังคับ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ตรึงอยู่กับที่ซึ่งคู่กับจุดโฟกัส ใช้กําหนดบังคับเซตของจุดชุดหนึ่งให้เรียงกันเป็นเส้นโค้งในระบบภาคตัดกรวย, เดิมใช้ว่า ไดเรกตริกซ์.เส้นบังคับ (คณิต) น. เส้นตรงที่ตรึงอยู่กับที่ซึ่งคู่กับจุดโฟกัส ใช้กําหนดบังคับเซตของจุดชุดหนึ่งให้เรียงกันเป็นเส้นโค้งในระบบภาคตัดกรวย, เดิมใช้ว่า ไดเรกตริกซ์.
เส้นผมบังภูเขา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องง่าย ๆ แต่คิดไม่ออก เหมือนมีอะไรมาบังอยู่.เส้นผมบังภูเขา (สำ) น. เรื่องง่าย ๆ แต่คิดไม่ออก เหมือนมีอะไรมาบังอยู่.
เส้นผมผ่าแปด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นผมผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นผมผ่าแปด, เส้นยาแดงผ่าแปด ก็ว่า.เส้นผมผ่าแปด (ปาก) ว. เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นผมผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นผมผ่าแปด, เส้นยาแดงผ่าแปด ก็ว่า.