สาคู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตัวอ่อนของพยาธิตัวตืดหมูชนิด Taenia solium ในวงศ์ Taeniidae ฝังตัวอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ของหมู ลักษณะเป็นถุงรูปคล้ายเม็ดสาคู ภายในมีหัวของตัวตืด.สาคู ๒ น. ชื่อตัวอ่อนของพยาธิตัวตืดหมูชนิด Taenia solium ในวงศ์ Taeniidae ฝังตัวอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ของหมู ลักษณะเป็นถุงรูปคล้ายเม็ดสาคู ภายในมีหัวของตัวตืด.
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผี, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น ผีสาง; กลิ่นเหม็นของซากศพ ซากสัตว์ เช่น เหม็นสาบเหม็นสาง, โดยปริยายหมายความว่า มีกลิ่นเหม็นคล้ายคลึงเช่นนั้น.สาง ๑ น. ผี, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น ผีสาง; กลิ่นเหม็นของซากศพ ซากสัตว์ เช่น เหม็นสาบเหม็นสาง, โดยปริยายหมายความว่า มีกลิ่นเหม็นคล้ายคลึงเช่นนั้น.
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยาย เข้าใจกันว่ามีรูปร่างอย่างเสือ.สาง ๒ น. สัตว์ในนิยาย เข้าใจกันว่ามีรูปร่างอย่างเสือ.
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง เช่น เสือสางสรรโสงสรรพและไกร สรร้องสำเทินสาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.สาง ๓ (วรรณ) น. ช้าง เช่น เสือสางสรรโสงสรรพและไกร สรร้องสำเทินสาร. (สมุทรโฆษ).
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลาเช้ามืด เริ่มแต่มีความมืดน้อยลง ๆ ตามลําดับ จนกว่าจะสว่างแจ้งเป็นที่สุด เรียกว่า ท้องฟ้าสาง. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แจ้งให้กระจ่าง เช่น สางคดี, ทําให้หายยุ่ง เช่น สางผม.สาง ๔ น. ปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลาเช้ามืด เริ่มแต่มีความมืดน้อยลง ๆ ตามลําดับ จนกว่าจะสว่างแจ้งเป็นที่สุด เรียกว่า ท้องฟ้าสาง. ก. ทําให้แจ้งให้กระจ่าง เช่น สางคดี, ทําให้หายยุ่ง เช่น สางผม.
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หวี, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสาง.สาง ๕ น. หวี, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสาง.
ส้าง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างในสําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรมอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก.ส้าง น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างในสําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรมอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก.
สางคลื่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นที่ยอดไม่แตก, คลื่นใต้นํ้า.สางคลื่น น. คลื่นที่ยอดไม่แตก, คลื่นใต้นํ้า.
สางห่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจิ้งเหลนหางยาวชนิด Takydromus sexlineatus ในวงศ์ Lacertidae ตัวเล็ก หางยาวประมาณ ๕ เท่าของความยาวลําตัว พบทุกภาคของประเทศไทย ที่เรียกสางห่าเพราะเข้าใจผิดว่ามีพิษร้ายแรง.สางห่า (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่อจิ้งเหลนหางยาวชนิด Takydromus sexlineatus ในวงศ์ Lacertidae ตัวเล็ก หางยาวประมาณ ๕ เท่าของความยาวลําตัว พบทุกภาคของประเทศไทย ที่เรียกสางห่าเพราะเข้าใจผิดว่ามีพิษร้ายแรง.
สาชล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สายชล, สายน้ำ, เช่น โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลา. (นิ. ภูเขาทอง).สาชล (กลอน) น. สายชล, สายน้ำ, เช่น โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลา. (นิ. ภูเขาทอง).
สาฎก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่[สาดก] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาฏก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฏก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่.สาฎก [สาดก] น. ผ้า. (ป. สาฏก; ส. ศาฏก).
สาฏิก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[สาติกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อ, เสื้อคลุม; ผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฏิกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.สาฏิก– [สาติกะ–] น. เสื้อ, เสื้อคลุม; ผ้า. (ป.; ส. ศาฏิกา).
สาณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[สานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าหยาบ, ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน.สาณ– [สานะ–] น. ผ้าหยาบ, ผ้าป่าน. (ป.; ส. ศาณ).
สาณี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ม่าน, ฉาก, มู่ลี่; ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาณี เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.สาณี น. ม่าน, ฉาก, มู่ลี่; ผ้าป่าน. (ป.; ส. ศาณี).
สาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสื่อ, มักใช้ประกอบหลังคํา เสื่อ เป็น เสื่อสาด.สาด ๑ น. เสื่อ, มักใช้ประกอบหลังคํา เสื่อ เป็น เสื่อสาด.
สาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ซัดไป เช่น สาดน้ำ สาดโคลน สาดทราย, วักน้ำหรือตักน้ำซัดออกไปโดยแรง เช่น สาดน้ำรดแปลงผัก, ซัดหรือกระเซ็นเข้ามา เช่น ฝนสาด, ซัดหรือยิงอาวุธหรือกระสุนปืนทีละมาก ๆ เช่น สาดอาวุธเข้าหากัน สาดกระสุนเข้าใส่กัน; ส่องแสงเข้ามา เช่น ดวงจันทร์สาดแสง ห้องนี้แดดสาดทั้งวัน, กระจาย เช่น ถูกตีหัวเลือดสาด.สาด ๒ ก. ซัดไป เช่น สาดน้ำ สาดโคลน สาดทราย, วักน้ำหรือตักน้ำซัดออกไปโดยแรง เช่น สาดน้ำรดแปลงผัก, ซัดหรือกระเซ็นเข้ามา เช่น ฝนสาด, ซัดหรือยิงอาวุธหรือกระสุนปืนทีละมาก ๆ เช่น สาดอาวุธเข้าหากัน สาดกระสุนเข้าใส่กัน; ส่องแสงเข้ามา เช่น ดวงจันทร์สาดแสง ห้องนี้แดดสาดทั้งวัน, กระจาย เช่น ถูกตีหัวเลือดสาด.
สาดโคลน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู[–โคฺลน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่ร้ายป้ายสี.สาดโคลน [–โคฺลน] (สำ) ก. ใส่ร้ายป้ายสี.
สาดน้ำรดกัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวให้ร้ายซึ่งกันและกัน, ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กันและกัน.สาดน้ำรดกัน (สำ) ก. กล่าวให้ร้ายซึ่งกันและกัน, ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กันและกัน.
สาดเสียเทเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สิ่งของสิ้นเปลืองไปเปล่า ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างเจ็บแสบทําให้เสียหายอย่างรุนแรง เช่น ด่าว่าอย่างสาดเสียเทเสีย.สาดเสียเทเสีย ก. ใช้สิ่งของสิ้นเปลืองไปเปล่า ๆ. ว. อย่างเจ็บแสบทําให้เสียหายอย่างรุนแรง เช่น ด่าว่าอย่างสาดเสียเทเสีย.
สาต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําราญ, ยินดี, เป็นที่พอใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาต เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า.สาต ว. สําราญ, ยินดี, เป็นที่พอใจ. (ป.; ส. ศาต).
สาตรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[สาดตฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ของมีคม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ศสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี สตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สาตรา [สาดตฺรา] (โบ) น. ของมีคม. (ส. ศสฺตฺร; ป. สตฺถ).
สาไถย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง การแสร้งทําให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ มารยา เป็น มารยาสาไถย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาเยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถาน-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ถอ-ถาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สาไถย น. การแสร้งทําให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ มารยา เป็น มารยาสาไถย. (ป. สาเยฺย; ส. ศาฺย).
สาทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[–ทอน] เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาทร [–ทอน] ก. เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่. (ป., ส.).
สาทิส, สาทิส– สาทิส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ สาทิส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ [สาทิด, สาทิดสะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนกัน, คล้ายกัน, เช่นกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาทิสฺส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต สาทฺฤศฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สาทิส, สาทิส– [สาทิด, สาทิดสะ–] ว. เหมือนกัน, คล้ายกัน, เช่นกัน. (ป. สาทิสฺส; ส. สาทฺฤศฺย).
สาทิสลักษณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ภาพเขียนเหมือนบุคคลจริง, ใช้ว่า พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์.สาทิสลักษณ์ (ราชา) น. ภาพเขียนเหมือนบุคคลจริง, ใช้ว่า พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์.
สาทุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวาน, อร่อย; น่าปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวาทุ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ.สาทุ ว. หวาน, อร่อย; น่าปรารถนา. (ป.; ส. สฺวาทุ).
สาโท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการหมัก เช่น น้ำขาว อุ กะแช่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาโท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน ว่า ยินดี .สาโท น. น้ำเมาที่ได้จากการหมัก เช่น น้ำขาว อุ กะแช่. (ป. สาโท ว่า ยินดี).
สาธก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-กอ-ไก่[–ทก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ว่า ช่วยทํา, ทําให้สําเร็จ .สาธก [–ทก] ก. ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น. (ป.; ส. ว่า ช่วยทํา, ทําให้สําเร็จ).
สาธย–, สาธยะ สาธย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก สาธยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [–ทะยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรทําให้สําเร็จ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือเรื่องที่อนุมาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาธฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สาธย–, สาธยะ [–ทะยะ–] ว. ควรทําให้สําเร็จ. (ปรัชญา) น. สิ่งหรือเรื่องที่อนุมาน. (ส. สาธฺย).
สาธยาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สาทะยาย, สาดทะยาย] เป็นคำนาม หมายถึง การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาธฺยาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สชฺฌาย เขียนว่า สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สาธยาย [สาทะยาย, สาดทะยาย] น. การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, (ปาก) การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. (ส. สฺวาธฺยาย; ป. สชฺฌาย).
สาธารณ–, สาธารณะ สาธารณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [สาทาระนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาธารณ–, สาธารณะ [สาทาระนะ] ว. เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. (ป., ส.).
สาธารณชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ประชาชนทั่วไป.สาธารณชน น. ประชาชนทั่วไป.
สาธารณประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ทั่วไปแก่ประชาชน เช่น บริจาคเงินสร้างโรงพยาบาลเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์.สาธารณประโยชน์ น. ประโยชน์ทั่วไปแก่ประชาชน เช่น บริจาคเงินสร้างโรงพยาบาลเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์.
สาธารณภัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มากอย่างไฟไหม้ น้ำท่วม เช่น หน่วยบรรเทาสาธารณภัย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้ทําให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ.สาธารณภัย น. ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มากอย่างไฟไหม้ น้ำท่วม เช่น หน่วยบรรเทาสาธารณภัย; (กฎ) อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้ทําให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ.
สาธารณรัฐ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน เป็นคำนาม หมายถึง ประเทศหรือการปกครองที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ republic เขียนว่า อา-อี-พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี.สาธารณรัฐ น. ประเทศหรือการปกครองที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี. (อ. republic).
สาธารณสถาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้.สาธารณสถาน (กฎ) น. สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้.
สาธารณสมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน เช่น ถนนสาธารณะ แม่นํ้า ลําคลอง.สาธารณสมบัติ น. ทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน เช่น ถนนสาธารณะ แม่นํ้า ลําคลอง.
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ.สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (กฎ) น. ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ.
สาธารณสุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ การสาธารณสุข การควบคุมอาหารและยา รวมทั้งสิ่งที่อาจเป็นพิษหรือเป็นภัยแก่สุขภาพ และควบคุมกิจการกาชาด; กิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบําบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี health เขียนว่า เอช-อี-เอ-แอล-ที-เอช .สาธารณสุข น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ การสาธารณสุข การควบคุมอาหารและยา รวมทั้งสิ่งที่อาจเป็นพิษหรือเป็นภัยแก่สุขภาพ และควบคุมกิจการกาชาด; กิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบําบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน. (อ. public health).
สาธารณูปการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง กิจการเกี่ยวกับการสงเคราะห์บุคคลที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ เช่น คนชรา คนพิการ เด็กกําพร้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี assistance เขียนว่า เอ-เอส-เอส-ไอ-เอส-ที-เอ-เอ็น-ซี-อี ; การก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ทางศาสนา เช่น งานด้านสาธารณูปการ.สาธารณูปการ น. กิจการเกี่ยวกับการสงเคราะห์บุคคลที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ เช่น คนชรา คนพิการ เด็กกําพร้า. (อ. public assistance); การก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ทางศาสนา เช่น งานด้านสาธารณูปการ.
สาธารณูปโภค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง บริการสาธารณะที่จัดทําเพื่ออํานวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจําทาง โทรศัพท์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี utility เขียนว่า ยู-ที-ไอ-แอล-ไอ-ที-วาย .สาธารณูปโภค น. บริการสาธารณะที่จัดทําเพื่ออํานวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจําทาง โทรศัพท์. (อ. public utility).
สาธารณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[สาทาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตํ่า, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ว่า ทั่วไป, สามัญ .สาธารณ์ [สาทาน] ว. ตํ่า, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. (อิเหนา), บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. (ป., ส. ว่า ทั่วไป, สามัญ).
สาธารณูปการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู สาธารณ–, สาธารณะ สาธารณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ .สาธารณูปการ ดู สาธารณ–, สาธารณะ.
สาธารณูปโภค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควายดู สาธารณ–, สาธารณะ สาธารณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ .สาธารณูปโภค ดู สาธารณ–, สาธารณะ.
สาธิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น สาธิตการสอน สาธิตการทำขนม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น แปลงสาธิต โรงเรียนสาธิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ว่า ให้สําเร็จ .สาธิต ก. แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น สาธิตการสอน สาธิตการทำขนม. ว. ที่แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น แปลงสาธิต โรงเรียนสาธิต. (ส., ป. ว่า ให้สําเร็จ).
สาธุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคําที่พระสงฆ์เปล่งวาจาเพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทําไป). ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ; ไหว้ (เป็นคําบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาธุ ว. ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคําที่พระสงฆ์เปล่งวาจาเพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทําไป). (ปาก) ก. เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ; ไหว้ (เป็นคําบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี). (ป., ส.).
สาธุการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การเปล่งวาจาว่าชอบแล้วเมื่อเวลาเห็นควรหรือยกย่องสรรเสริญ เช่น แซ่ซ้องสาธุการ กล่าวสาธุการขึ้นพร้อม ๆ กัน; ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่สําคัญยิ่ง ใช้บรรเลงในพิธีกรรมเมื่อบูชาหรืออัญเชิญพระรัตนตรัย เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และใช้เพื่อแสดงกิริยาน้อมไหว้ เป็นเพลงอันดับแรกของชุดโหมโรงเช้าโหมโรงเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาธุการ น. การเปล่งวาจาว่าชอบแล้วเมื่อเวลาเห็นควรหรือยกย่องสรรเสริญ เช่น แซ่ซ้องสาธุการ กล่าวสาธุการขึ้นพร้อม ๆ กัน; ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่สําคัญยิ่ง ใช้บรรเลงในพิธีกรรมเมื่อบูชาหรืออัญเชิญพระรัตนตรัย เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และใช้เพื่อแสดงกิริยาน้อมไหว้ เป็นเพลงอันดับแรกของชุดโหมโรงเช้าโหมโรงเย็น. (ป., ส.).
สาธุชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนดี, คนที่มีคุณงามความดี, (ใช้ในการยกย่อง). (ป.).สาธุชน น. คนดี, คนที่มีคุณงามความดี, (ใช้ในการยกย่อง). (ป.).
สาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ใช้เส้นตอกทําด้วยไม้ไผ่ หวาย กก ใบลาน เป็นต้น ขัดกันให้เป็นผืนเช่นเสื่อ หรือทําขึ้นเป็นวัตถุมีรูปร่างต่าง ๆ เช่นกระบุง กระจาด.สาน ก. อาการที่ใช้เส้นตอกทําด้วยไม้ไผ่ หวาย กก ใบลาน เป็นต้น ขัดกันให้เป็นผืนเช่นเสื่อ หรือทําขึ้นเป็นวัตถุมีรูปร่างต่าง ๆ เช่นกระบุง กระจาด.
ส่าน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าขนสัตว์โบราณ. (เปอร์เซีย).ส่าน น. ผ้าขนสัตว์โบราณ. (เปอร์เซีย).
สานตวะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[–ตะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง การปลอบโยน, การเกลี้ยกล่อม; คําอ่อนโยนและไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สานตวะ [–ตะวะ] น. การปลอบโยน, การเกลี้ยกล่อม; คําอ่อนโยนและไพเราะ. (ส.).
สานะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวาน เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สานะ น. หมา. (ป.; ส. ศฺวาน).
สานุ, สานู สานุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ สานู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ยอดเขา, เนินเขา, ไหล่เขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สานุ, สานู น. ยอดเขา, เนินเขา, ไหล่เขา. (ป., ส.).
สานุศิษย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์น้อยใหญ่. (กร่อนมาจาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ศิษฺยานุศิษฺย; ป. สิสฺสานุสิสฺส).สานุศิษย์ น. ศิษย์น้อยใหญ่. (กร่อนมาจาก ส. ศิษฺยานุศิษฺย; ป. สิสฺสานุสิสฺส).
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นเหม็นชนิดหนึ่ง เช่นกลิ่นเสื้อผ้าที่ใช้แล้วแต่ยังไม่ได้ซัก, กลิ่นตัวที่มีประจําอยู่กับสัตว์บางชนิด เช่น สาบเสือ สาบแพะ, กลิ่นอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.สาบ ๑ น. กลิ่นเหม็นชนิดหนึ่ง เช่นกลิ่นเสื้อผ้าที่ใช้แล้วแต่ยังไม่ได้ซัก, กลิ่นตัวที่มีประจําอยู่กับสัตว์บางชนิด เช่น สาบเสือ สาบแพะ, กลิ่นอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงแกลบแต่ตัวโตกว่า ลําตัวยาวประมาณ ๒ เซนติเมตรหรือมากกว่านี้ รูปร่างรูปไข่ค่อนข้างแบนราบ หัวซ่อนอยู่ใต้อก หนวดยาวคล้ายเส้นด้าย ขายาวมีหนามคลุม ตัวเต็มวัยมีทั้งพวกมีปีกและไม่มีปีก ที่พบบ่อยเป็นพวกอาศัยตามบ้านเรือน ได้แก่ ชนิด Periplaneta americana และชนิด Blatta orientalis ในวงศ์ Blattidae.สาบ ๒ น. ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงแกลบแต่ตัวโตกว่า ลําตัวยาวประมาณ ๒ เซนติเมตรหรือมากกว่านี้ รูปร่างรูปไข่ค่อนข้างแบนราบ หัวซ่อนอยู่ใต้อก หนวดยาวคล้ายเส้นด้าย ขายาวมีหนามคลุม ตัวเต็มวัยมีทั้งพวกมีปีกและไม่มีปีก ที่พบบ่อยเป็นพวกอาศัยตามบ้านเรือน ได้แก่ ชนิด Periplaneta americana และชนิด Blatta orientalis ในวงศ์ Blattidae.
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสําหรับติดดุมและเจาะรังดุมว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า.สาบ ๓ น. เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสําหรับติดดุมและเจาะรังดุมว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า.
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกห้วงนํ้าใหญ่คล้ายบึง แต่โตกว่า ว่า ทะเลสาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ว่า จืด .สาบ ๔ น. เรียกห้วงนํ้าใหญ่คล้ายบึง แต่โตกว่า ว่า ทะเลสาบ. (ข. สาบ ว่า จืด).
สาบขนุน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนูดู ใบขนุน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู (๑).สาบขนุน ดู ใบขนุน (๑).
สาบแร้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งูดู กระต่ายจาม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า (๑).สาบแร้ง ดู กระต่ายจาม (๑).
สาบแร้งสาบกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Compositae ใบมีขน กลิ่นฉุน คือ ชนิด Ageratum conyzoides L. ดอกสีฟ้าอ่อน และชนิด Blumea aurita (L.) DC. ดอกสีขาว ต้นสูงกว่าชนิดแรก.สาบแร้งสาบกา น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Compositae ใบมีขน กลิ่นฉุน คือ ชนิด Ageratum conyzoides L. ดอกสีฟ้าอ่อน และชนิด Blumea aurita (L.) DC. ดอกสีขาว ต้นสูงกว่าชนิดแรก.
สาบสูญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง สูญหายไปอย่างไม่ทิ้งร่องรอย. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เรียกบุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ว่า คนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น.สาบสูญ ก. สูญหายไปอย่างไม่ทิ้งร่องรอย. (กฎ) น. เรียกบุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ว่า คนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น.
สาบเสือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chromolaena odorata (L.) R.M. King ในวงศ์ Compositae เป็นวัชพืชขึ้นทั่วไป ใบมีกลิ่นเหม็นใช้ทํายาได้, เสือหมอบ ก็เรียก.สาบเสือ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chromolaena odorata (L.) R.M. King ในวงศ์ Compositae เป็นวัชพืชขึ้นทั่วไป ใบมีกลิ่นเหม็นใช้ทํายาได้, เสือหมอบ ก็เรียก.
สาบาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคําปฏิญาณโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน, ประเพณีเดิมจะต้องดื่มนํ้าพระพุทธมนต์ นํ้าเทพมนตร์ หรือ สุราผสมเลือดที่ผู้ร่วมกล่าวคำปฏิญาณกรีดให้หยดลงไปด้วย เช่น สาบานเป็นพี่น้องกัน เพื่อนร่วมสาบาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง กล่าวคําปฏิญาณตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแห่งชาติของตนว่า จะให้การตามสัตย์จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปน เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต ศปน เขียนว่า สอ-สา-ลา-ปอ-ปลา-นอ-หนู.สาบาน ก. กล่าวคําปฏิญาณโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน, ประเพณีเดิมจะต้องดื่มนํ้าพระพุทธมนต์ นํ้าเทพมนตร์ หรือ สุราผสมเลือดที่ผู้ร่วมกล่าวคำปฏิญาณกรีดให้หยดลงไปด้วย เช่น สาบานเป็นพี่น้องกัน เพื่อนร่วมสาบาน; (กฎ) กล่าวคําปฏิญาณตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแห่งชาติของตนว่า จะให้การตามสัตย์จริง. (ป. สปน; ส. ศปน).
สาบานธง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวปฏิญาณตนต่อหน้าธงชัยเฉลิมพล (ใช้แก่ทหาร).สาบานธง ก. กล่าวปฏิญาณตนต่อหน้าธงชัยเฉลิมพล (ใช้แก่ทหาร).
สาป, สาปสรร สาป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา สาปสรร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คําแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ ของผู้มีฤทธิ์อำนาจ เช่นเทวดา ฤๅษี แม่มด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาป เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา.สาป, สาปสรร น. คําแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ ของผู้มีฤทธิ์อำนาจ เช่นเทวดา ฤๅษี แม่มด. (ป.; ส. ศาป).
สาปแช่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวมุ่งร้ายให้ผู้อื่นเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง เช่น สาปแช่งไม่ให้ผุดให้เกิด.สาปแช่ง ก. กล่าวมุ่งร้ายให้ผู้อื่นเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง เช่น สาปแช่งไม่ให้ผุดให้เกิด.
สาปส่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาดไม่เกี่ยวข้องด้วย เช่น คนคนนี้ฉันขอสาปส่งไม่คบอีก.สาปส่ง (ปาก) ก. ตัดขาดไม่เกี่ยวข้องด้วย เช่น คนคนนี้ฉันขอสาปส่งไม่คบอีก.
สาปไตย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก[สาปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์, สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาปเตยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวาปเตย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก.สาปไตย [สาปะไต] น. ทรัพย์, สมบัติ. (ป. สาปเตยฺย; ส. สฺวาปเตย).
สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์.สาม ๑ น. จํานวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์.
สามกษัตริย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รูปพรรณที่ในชิ้นเดียวกันมีทั้งทอง นาก และเงินสลับกัน โบราณถือว่าเป็นมงคลแก่ผู้สวม เช่น สายสร้อยสามกษัตริย์ กําไลสามกษัตริย์.สามกษัตริย์ น. รูปพรรณที่ในชิ้นเดียวกันมีทั้งทอง นาก และเงินสลับกัน โบราณถือว่าเป็นมงคลแก่ผู้สวม เช่น สายสร้อยสามกษัตริย์ กําไลสามกษัตริย์.
สามเกลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๓ ที่; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ มีไส้หน้ากระฉีก ร้อยด้วยตอกให้ติดกัน ๓ ก้อน แล้วนำไปทอด.สามเกลอ น. เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๓ ที่; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ มีไส้หน้ากระฉีก ร้อยด้วยตอกให้ติดกัน ๓ ก้อน แล้วนำไปทอด.
สามขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องวางภาชนะต้มนํ้าเป็นต้น ทําด้วยโลหะ มี ๓ เส้า; ชื่อตะเกียงที่มีพวยใส่ไส้จุดไฟ ๓ พวย; เต้าเสียบไฟฟ้าชนิดที่มีขาเสียบ ๓ ขา.สามขา น. เครื่องวางภาชนะต้มนํ้าเป็นต้น ทําด้วยโลหะ มี ๓ เส้า; ชื่อตะเกียงที่มีพวยใส่ไส้จุดไฟ ๓ พวย; เต้าเสียบไฟฟ้าชนิดที่มีขาเสียบ ๓ ขา.
สามขุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรียกท่าเดินเข้าหาคู่ต่อสู้หรือถอยจากคู่ต่อสู้ของนักมวยนักกระบี่กระบองเป็นต้น โดยเดินก้าวย่างเป็นสลับฟันปลา มีตำแหน่งวางเท้าเป็น ๓ เส้า ว่า ย่างสามขุม.สามขุม น. เรียกท่าเดินเข้าหาคู่ต่อสู้หรือถอยจากคู่ต่อสู้ของนักมวยนักกระบี่กระบองเป็นต้น โดยเดินก้าวย่างเป็นสลับฟันปลา มีตำแหน่งวางเท้าเป็น ๓ เส้า ว่า ย่างสามขุม.
สามคาน, สามลำคาน สามคาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู สามลำคาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระยานมาศขนาดใหญ่มีคานสําหรับแบก ๓ คานว่า พระยานมาศสามลำคาน.สามคาน, สามลำคาน น. เรียกพระยานมาศขนาดใหญ่มีคานสําหรับแบก ๓ คานว่า พระยานมาศสามลำคาน.
สามง่าม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือเหล็กที่แยกออกเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน, เรียกอาวุธที่มีปลายแหลมเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน ด้ามยาว ว่า สามง่าม, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเช่นนั้น.สามง่าม น. ไม้หรือเหล็กที่แยกออกเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน, เรียกอาวุธที่มีปลายแหลมเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน ด้ามยาว ว่า สามง่าม, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเช่นนั้น.
สามชั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อว่า หมูสามชั้น; จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสามชั้น เพลงสามชั้น.สามชั้น น. เรียกเนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อว่า หมูสามชั้น; จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสามชั้น เพลงสามชั้น.
สามชาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกธงสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย ว่า ธงสามชาย.สามชาย น. เรียกธงสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย ว่า ธงสามชาย.
สามแซ่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อของหวานประเภทน้ำเชื่อม ประกอบด้วยของ ๓ อย่าง คือ วุ้น ลูกพลับแห้ง และชิ้นฟักแช่อิ่ม.สามแซ่ น. ชื่อของหวานประเภทน้ำเชื่อม ประกอบด้วยของ ๓ อย่าง คือ วุ้น ลูกพลับแห้ง และชิ้นฟักแช่อิ่ม.
สามตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับหลักทั้ง ๓ เวียนไป มักใช้ทายเกี่ยวกับของหาย เรียกว่า ยามสามตา; เต้ารับไฟฟ้าที่มีรู ๓ คู่ สําหรับนําเต้าเสียบมาเสียบเพื่อนํากระแสไฟฟ้าออกไปใช้ได้ ๓ วงจร.สามตา น. ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับหลักทั้ง ๓ เวียนไป มักใช้ทายเกี่ยวกับของหาย เรียกว่า ยามสามตา; เต้ารับไฟฟ้าที่มีรู ๓ คู่ สําหรับนําเต้าเสียบมาเสียบเพื่อนํากระแสไฟฟ้าออกไปใช้ได้ ๓ วงจร.
สามบาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงกระบี่กระบองแบบหนึ่ง ใช้อาวุธหลายชนิดเข้าต่อสู้กันโดยไม่จับคู่กับอาวุธชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น กระบองคู่กับดาบสองมือ ง้าวคู่กับดาบดั้ง.สามบาน น. การแสดงกระบี่กระบองแบบหนึ่ง ใช้อาวุธหลายชนิดเข้าต่อสู้กันโดยไม่จับคู่กับอาวุธชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น กระบองคู่กับดาบสองมือ ง้าวคู่กับดาบดั้ง.
สามใบเถา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตลับหรือโถแป้งเป็นต้น ๓ ใบที่มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมเป็นชุดหนึ่ง เช่น ตลับหมากสามใบเถา โถแป้งสามใบเถา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกพี่น้องผู้หญิง ๓ คนเรียงกันว่า สามใบเถา.สามใบเถา น. เรียกตลับหรือโถแป้งเป็นต้น ๓ ใบที่มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมเป็นชุดหนึ่ง เช่น ตลับหมากสามใบเถา โถแป้งสามใบเถา, (ปาก) เรียกพี่น้องผู้หญิง ๓ คนเรียงกันว่า สามใบเถา.
สามเพลงตกม้าตาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-งอ-งู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, ใช้สั้น ๆ ว่า ตกม้าตาย ก็มี.สามเพลงตกม้าตาย (สำ) ว. แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, ใช้สั้น ๆ ว่า ตกม้าตาย ก็มี.
สามแพร่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทางที่แยกเป็น ๓ สาย เกิดจากทางสายหนึ่งมาบรรจบเป็นมุมฉากกับทางอีกสายหนึ่ง เรียกว่า ทางสามแพร่ง, โบราณถือว่าเป็นทางผีผ่าน ไม่เป็นมงคล เช่น ไปทำพิธีเซ่นวักเสียกบาลที่ทางสามแพร่ง.สามแพร่ง น. ทางที่แยกเป็น ๓ สาย เกิดจากทางสายหนึ่งมาบรรจบเป็นมุมฉากกับทางอีกสายหนึ่ง เรียกว่า ทางสามแพร่ง, โบราณถือว่าเป็นทางผีผ่าน ไม่เป็นมงคล เช่น ไปทำพิธีเซ่นวักเสียกบาลที่ทางสามแพร่ง.
สามเมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนติดเหล้า กัญชา และยาฝิ่น ว่า คนสามเมา.สามเมา (ปาก) ว. เรียกคนติดเหล้า กัญชา และยาฝิ่น ว่า คนสามเมา.
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอาหารที่มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาเก๋าสามรส.สามรส ๑ น. เรียกอาหารที่มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาเก๋าสามรส.
สามล้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ยานพาหนะถีบขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีล้อ ๓ ล้อ เรียกเต็มคําว่า จักรยานสามล้อ, ถ้าติดเครื่องยนต์ เรียกว่า สามล้อเครื่อง หรือ จักรยานสามล้อเครื่อง.สามล้อ น. ยานพาหนะถีบขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีล้อ ๓ ล้อ เรียกเต็มคําว่า จักรยานสามล้อ, ถ้าติดเครื่องยนต์ เรียกว่า สามล้อเครื่อง หรือ จักรยานสามล้อเครื่อง.
สามโลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โลกทั้ง ๓ คือ มนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก.สามโลก น. โลกทั้ง ๓ คือ มนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก.
สามวันดีสี่วันไข้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ็บออด ๆ แอด ๆ อยู่เสมอ.สามวันดีสี่วันไข้ ว. เจ็บออด ๆ แอด ๆ อยู่เสมอ.
สามเศียร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ไพ่ตองที่เข้าเศียร แล้ว ๓ ชุด.สามเศียร น. ไพ่ตองที่เข้าเศียร แล้ว ๓ ชุด.
สามสบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่แม่น้ำ ๓ สายมาบรรจบกัน.สามสบ น. บริเวณที่แม่น้ำ ๓ สายมาบรรจบกัน.
สามสลึงเฟื้อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สองสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า.สามสลึงเฟื้อง (ปาก) ว. บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สองสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า.
สามสาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว ใช้หนังปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๓ สาย คันชักอยู่ต่างหาก.สามสาย น. ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว ใช้หนังปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๓ สาย คันชักอยู่ต่างหาก.
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแมวที่มีสีดำ เหลืองและขาว ในตัวเดียวกันว่า แมวสามสี; พลอยชนิดหนึ่ง เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะมีสีเขียวมรกต เมื่อโดนแสงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แสงอาทิตย์เช่นแสงจากหลอดไฟ จะมีสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วง เรียกว่า พลอยสามสีหรือ เจ้าสามสี.สามสี ๑ น. เรียกแมวที่มีสีดำ เหลืองและขาว ในตัวเดียวกันว่า แมวสามสี; พลอยชนิดหนึ่ง เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะมีสีเขียวมรกต เมื่อโดนแสงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แสงอาทิตย์เช่นแสงจากหลอดไฟ จะมีสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วง เรียกว่า พลอยสามสีหรือ เจ้าสามสี.
สามเส้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นกเขาขันคูเป็น ๓ จังหวะ, สามกุก ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สามเส้า ก. อาการที่นกเขาขันคูเป็น ๓ จังหวะ, สามกุก ก็ว่า. (พจน. ๒๔๙๓); ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สามหมุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมีดสําหรับปอกหรือฝานชนิดที่ตรึงกั่นติดกับด้ามด้วยหมุด ๓ ตัวว่า มีดสามหมุด.สามหมุด น. ชื่อมีดสําหรับปอกหรือฝานชนิดที่ตรึงกั่นติดกับด้ามด้วยหมุด ๓ ตัวว่า มีดสามหมุด.
สามหยิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหมวกลูกเสือที่มีรอยบุ๋ม ๓ รอยตรงด้านบนหมวกว่า หมวกสามหยิบ.สามหยิบ น. เรียกหมวกลูกเสือที่มีรอยบุ๋ม ๓ รอยตรงด้านบนหมวกว่า หมวกสามหยิบ.
สามหาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอาหารคาว ๑ หาบ หวาน ๑ หาบ และเครื่องหุงต้ม ๑ หาบที่เจ้าภาพหาบเดินรอบเมรุแล้วถวายพระสงฆ์ในเวลาเก็บอัฐิ ว่า สามหาบ, เรียกการเดินในพิธีเช่นนั้นว่า เดินสามหาบ.สามหาบ น. เรียกอาหารคาว ๑ หาบ หวาน ๑ หาบ และเครื่องหุงต้ม ๑ หาบที่เจ้าภาพหาบเดินรอบเมรุแล้วถวายพระสงฆ์ในเวลาเก็บอัฐิ ว่า สามหาบ, เรียกการเดินในพิธีเช่นนั้นว่า เดินสามหาบ.
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๓ เส้น ปลายเส้นจดกัน.สามเหลี่ยม ๑ น. รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๓ เส้น ปลายเส้นจดกัน.
สามเหลี่ยมด้านเท่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้ง ๓ ยาวเท่ากัน.สามเหลี่ยมด้านเท่า น. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้ง ๓ ยาวเท่ากัน.
สามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก.สามเหลี่ยมมุมฉาก น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก.
สามเหลี่ยมมุมป้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน.สามเหลี่ยมมุมป้าน น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน.
สามเหลี่ยมมุมแหลม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมทั้ง ๓ เป็นมุมแหลม.สามเหลี่ยมมุมแหลม น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมทั้ง ๓ เป็นมุมแหลม.
สามเหลี่ยมหน้าจั่ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านคู่หนึ่งยาวเท่ากัน.สามเหลี่ยมหน้าจั่ว น. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านคู่หนึ่งยาวเท่ากัน.
สามแหยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน).สามแหยม น. เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน).
สาม– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ [สามะ–, สามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สาม– ๒ [สามะ–, สามมะ–] น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. (ส.).
สามเวท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน[สามะเวด, สามมะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ที่ ๓ ของพระเวท ประพันธ์เป็นฉันท์ ส่วนใหญ่คัดมาจากฤคเวท สำหรับขับในพิธีบูชาด้วยน้ำโสม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู เวท, เวท ประกอบ เวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน เวท ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .สามเวท [สามะเวด, สามมะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๓ ของพระเวท ประพันธ์เป็นฉันท์ ส่วนใหญ่คัดมาจากฤคเวท สำหรับขับในพิธีบูชาด้วยน้ำโสม. (ส.). (ดู เวท, เวท ประกอบ).
สามแก้ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวนดู ดุกทะเล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง.สามแก้ว ดู ดุกทะเล.
สามเขี้ยว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวนดู ขยุย เขียนว่า ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒.สามเขี้ยว ดู ขยุย ๒.
สามชุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, กระชุก ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู กระชุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.สามชุก น. ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, กระชุก ก็เรียก. (ดู กระชุก ๒).
สามเณร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ[สามมะเนน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดํารงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สามเณร [สามมะเนน] น. ผู้ดํารงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. (ป.).
สามเณรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[สามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่บวชเป็นสามเณร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สามเณรี [สามมะ–] น. หญิงที่บวชเป็นสามเณร. (ป.).
สามนต–, สามนต์ สามนต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า สามนต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด [สามนตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รอบ ๆ, ใกล้เคียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สามนต–, สามนต์ [สามนตะ–] ว. รอบ ๆ, ใกล้เคียง. (ป.).
สามนตราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง พระราชาแห่งแคว้นที่ใกล้เคียง, เจ้าประเทศราช.สามนตราช น. พระราชาแห่งแคว้นที่ใกล้เคียง, เจ้าประเทศราช.
สามยทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สามะยะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของได้รับประโยชน์เหนืออสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นที่ตกอยู่ในภาระจํายอม, คู่กับ ภารยทรัพย์.สามยทรัพย์ [สามะยะ–] (กฎ) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของได้รับประโยชน์เหนืออสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นที่ตกอยู่ในภาระจํายอม, คู่กับ ภารยทรัพย์.
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.สามรส ๑ ดูใน สาม ๑.
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ดู ปากแตร เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.สามรส ๒ ดู ปากแตร ๒.
สามล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง[–มน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีคลํ้า, สีดํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยามล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง.สามล [–มน] ว. สีคลํ้า, สีดํา. (ป.; ส. ศฺยามล).
สามสิบกลีบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องในวัว คือ กระเพาะอาหารหยาบ ข้างในเป็นกลีบ.สามสิบกลีบ น. ชื่อเครื่องในวัว คือ กระเพาะอาหารหยาบ ข้างในเป็นกลีบ.
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.สามสี ๑ ดูใน สาม ๑.
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ดู ราชินี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒.สามสี ๒ ดู ราชินี ๒.
สามหาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่.สามหาว ๑ ว. หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่.
สามหาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผักตบชนิด Monochoria hastata (L.) Solms. ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว.สามหาว ๒ (ราชา) น. เรียกผักตบชนิด Monochoria hastata (L.) Solms. ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว.
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.สามเหลี่ยม ๑ ดูใน สาม ๑.
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูพิษชนิด Bungarus fasciatus ในวงศ์ Elapidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๑.๓ เมตร สีสวย ลายปล้องดําสลับเหลือง หลังเป็นสันทําให้ลําตัวมีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ปลายหางทู่ออกหากินในเวลากลางคืน.สามเหลี่ยม ๒ น. ชื่องูพิษชนิด Bungarus fasciatus ในวงศ์ Elapidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๑.๓ เมตร สีสวย ลายปล้องดําสลับเหลือง หลังเป็นสันทําให้ลําตัวมีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ปลายหางทู่ออกหากินในเวลากลางคืน.
สามัคคี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สามคฺรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี.สามัคคี น. ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน. ว. ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี. (ป.; ส. สามคฺรี).
สามัญ– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ความหมายที่ [สามันยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นสมณะ เช่น สามัญผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรามณฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สามัญ– ๑ [สามันยะ–] น. ความเป็นสมณะ เช่น สามัญผล. (ป. สามฺ; ส. ศฺรามณฺย).
สามัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ความหมายที่ [สามัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรกติ, ธรรมดา, เช่น ชนชั้นสามัญ คนสามัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สามัญ ๒ [สามัน] ว. ปรกติ, ธรรมดา, เช่น ชนชั้นสามัญ คนสามัญ. (ป. สามฺ; ส. สามานฺย).
สามัญชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า.สามัญชน น. คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า.
สามัญสำนึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปรกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน เช่น ทำอะไรให้มีสามัญสำนึกเสียบ้างว่าอะไรควรอะไรไม่ควร.สามัญสำนึก น. ความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปรกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน เช่น ทำอะไรให้มีสามัญสำนึกเสียบ้างว่าอะไรควรอะไรไม่ควร.
สามัตถิยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถ, อํานาจ, ความแข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมตฺถิย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สามารฺถฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สามัตถิยะ น. ความสามารถ, อํานาจ, ความแข็งแรง. (ป. สมตฺถิย; ส. สามารฺถฺย).
สามะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สีดํา, สีนิล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยาม เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.สามะ น. สีดํา, สีนิล. (ป.; ส. ศฺยาม).
สามานย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก[สามานนะยะ–, สามานยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรกติ, ธรรมดา, เช่น สามานยนาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง.สามานย– [สามานนะยะ–, สามานยะ–] ว. ปรกติ, ธรรมดา, เช่น สามานยนาม. (ส. สามานฺย; ป. สามฺ).
สามานยนาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[สามานยะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คํานามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ เช่น เด็ก นก หนังสือ ลม ใจ.สามานยนาม [สามานยะ–] (ไว) น. คํานามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ เช่น เด็ก นก หนังสือ ลม ใจ.
สามานย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลวทรามตํ่าช้า เช่น ลูกสามานย์ทำร้ายพ่อแม่, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสามานย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สามานย์ ว. เลวทรามตํ่าช้า เช่น ลูกสามานย์ทำร้ายพ่อแม่, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสามานย์. (ส. สามานฺย).
สามารถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง[สามาด]เป็นคำช่วยกริยาบอกว่ามีคุณสมบัติที่จะทำได้ เช่น เขาสามารถเดินได้ชั่วโมงละ ๕ กิโลเมตร เพื่อนฉันสามารถขี่จักรยานไต่ลวดได้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีคุณสมบัติที่จะทำได้ โดยเฉพาะทางความรู้หรือความชำนาญเป็นต้น เช่น ลูกเขาเป็นคนสามารถเรียนอะไรก็เรียนได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมรฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี สมตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สามารถ [สามาด] เป็นคำช่วยกริยาบอกว่ามีคุณสมบัติที่จะทำได้ เช่น เขาสามารถเดินได้ชั่วโมงละ ๕ กิโลเมตร เพื่อนฉันสามารถขี่จักรยานไต่ลวดได้. ว. มีคุณสมบัติที่จะทำได้ โดยเฉพาะทางความรู้หรือความชำนาญเป็นต้น เช่น ลูกเขาเป็นคนสามารถเรียนอะไรก็เรียนได้. (ส. สมรฺถ; ป. สมตฺถ).
สามิกะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าของ; ผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สามิกะ น. เจ้าของ; ผัว. (ป.).
สามิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามิตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สามิต น. ความเป็นเจ้าของ. (ป. สามิตฺต).
สามินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้เป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินี เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.สามินี น. หญิงผู้เป็นเจ้าของ. (ป.; ส. สฺวามินี).
สามิภักดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความจงรักภักดีต่อเจ้านาย, การยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ. เป็นคำกริยา หมายถึง จงรักภักดีเจ้านาย, ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อำนาจ, สวามิภักดิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ + ภาษาสันสกฤต ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ + ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ .สามิภักดิ์ น. ความจงรักภักดีต่อเจ้านาย, การยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ. ก. จงรักภักดีเจ้านาย, ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อำนาจ, สวามิภักดิ์. (ป. สามิ + ส. ภกฺติ; ส. สฺวามินฺ + ภกฺติ).
สามี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผัว, ชายที่เป็นคู่ครองของหญิง, คู่กับ ภรรยา หรือ ภริยา; นาย, เจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สามี น. ผัว, ชายที่เป็นคู่ครองของหญิง, คู่กับ ภรรยา หรือ ภริยา; นาย, เจ้าของ. (ป.; ส. สฺวามินฺ).
สามีจิกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงความเคารพตามธรรมเนียมของพระเณรในระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย เช่น ระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก ระหว่างอาจารย์กับอันเตวาสิก หรือระหว่างผู้แก่พรรษากับผู้อ่อนพรรษากว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สามีจิกมฺม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.สามีจิกรรม น. การแสดงความเคารพตามธรรมเนียมของพระเณรในระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย เช่น ระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก ระหว่างอาจารย์กับอันเตวาสิก หรือระหว่างผู้แก่พรรษากับผู้อ่อนพรรษากว่า. (ส.; ป. สามีจิกมฺม).
สาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เวลาระหว่างเช้ากับเที่ยงประมาณ ๙.๐๐ เป็นคำนาม หมายถึง ถึง ๑๐.๐๐ เป็นคำนาม หมายถึง เช่น พอสายก็ออกเดินทาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ช้ากว่าเวลาที่กําหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว.สาย ๑ น. เวลาระหว่างเช้ากับเที่ยงประมาณ ๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๐๐ น. เช่น พอสายก็ออกเดินทาง. ว. ช้ากว่าเวลาที่กําหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว.
สาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นแนวยาว เช่น สายสร้อย สายไฟฟ้า สายรุ้ง สายนาฬิกา สายเข็มขัด, ทาง, เส้นทาง, เช่น รถไฟสายเหนือ รถไฟสายใต้, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สายการบิน สายการเดินเรือ สายงาน; ญาติที่สืบมาจากต้นวงศ์หรือต้นสกุลเดียวกัน แล้วแยกเป็นสกุลย่อยออกไป; ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น ระวังคนใช้เป็นสายให้โจร; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นแนวหรือเส้นยาวว่า สาย เช่น สายสะพาย ๒ สาย ทาง ๓ สาย.สาย ๒ น. สิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นแนวยาว เช่น สายสร้อย สายไฟฟ้า สายรุ้ง สายนาฬิกา สายเข็มขัด, ทาง, เส้นทาง, เช่น รถไฟสายเหนือ รถไฟสายใต้, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สายการบิน สายการเดินเรือ สายงาน; ญาติที่สืบมาจากต้นวงศ์หรือต้นสกุลเดียวกัน แล้วแยกเป็นสกุลย่อยออกไป; ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น ระวังคนใช้เป็นสายให้โจร; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นแนวหรือเส้นยาวว่า สาย เช่น สายสะพาย ๒ สาย ทาง ๓ สาย.
สายกระได เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เชือกถักที่ผูกเหนือจอมแห ใช้สาวดึงแหกลับ.สายกระได น. เชือกถักที่ผูกเหนือจอมแห ใช้สาวดึงแหกลับ.
สายง่อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายโยงใต้คางม้าไม่ให้เงย.สายง่อง น. สายโยงใต้คางม้าไม่ให้เงย.
สายใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง กระแสแห่งความรักและความผูกพัน, เรียกผู้ที่เป็นที่รักดังดวงใจ.สายใจ น. กระแสแห่งความรักและความผูกพัน, เรียกผู้ที่เป็นที่รักดังดวงใจ.
สายชนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษห่อดินปืนม้วนเป็นเส้น ใช้จุดให้ไฟลุกแล่นเข้าไปติดดินระเบิด.สายชนวน น. กระดาษห่อดินปืนม้วนเป็นเส้น ใช้จุดให้ไฟลุกแล่นเข้าไปติดดินระเบิด.
สายซุง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าว ห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่านเพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, ซุง ก็เรียก.สายซุง น. เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าว ห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่านเพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, ซุง ก็เรียก.
สายดำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง แถบผ้าสีดำที่แสดงว่าผู้ที่ได้รับมีความสามารถระดับสูงสุดในการเล่นยูโด ใช้คาดเอว.สายดำ น. แถบผ้าสีดำที่แสดงว่าผู้ที่ได้รับมีความสามารถระดับสูงสุดในการเล่นยูโด ใช้คาดเอว.
สายดิ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับลูกดิ่งสำหรับวัดความลึกของน้ำหรือตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่, เชือกที่ผูกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬา.สายดิ่ง น. เชือกที่ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับลูกดิ่งสำหรับวัดความลึกของน้ำหรือตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่, เชือกที่ผูกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬา.
สายดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สายตัวนําไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก.สายดิน น. สายตัวนําไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก.
สายตรวจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้ตรวจผู้ดูแลความสงบเรียบร้อยหรือความถูกระเบียบเป็นย่าน ๆ ไป เช่น สายตรวจสรรพสามิต ตำรวจสายตรวจ.สายตรวจ น. เรียกผู้ตรวจผู้ดูแลความสงบเรียบร้อยหรือความถูกระเบียบเป็นย่าน ๆ ไป เช่น สายตรวจสรรพสามิต ตำรวจสายตรวจ.
สายตะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ร้อยจมูกวัวควาย.สายตะพาย น. เชือกที่ร้อยจมูกวัวควาย.
สายตัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อตัว เช่น ทํางานสายตัวแทบขาด.สายตัว น. เนื้อตัว เช่น ทํางานสายตัวแทบขาด.
สายตัวแทบขาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหน็ดเหนื่อยเพราะทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เช่น เพราะสามีตาย ภรรยาจึงต้องทำงานสายตัวแทบขาดเพื่อเลี้ยงลูก ๕ คน.สายตัวแทบขาด (สำ) ว. เหน็ดเหนื่อยเพราะทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เช่น เพราะสามีตาย ภรรยาจึงต้องทำงานสายตัวแทบขาดเพื่อเลี้ยงลูก ๕ คน.
สายทิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ห้อยโยงกับนาฬิกาพกหรือกำไลเป็นต้น.สายทิ้ง น. สายที่ห้อยโยงกับนาฬิกาพกหรือกำไลเป็นต้น.
สายน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง กระแสนํ้าที่ไหลเห็นเป็นสายยาวไป เช่น เรือล่องลอยไปตามสายน้ำ.สายน้ำ น. กระแสนํ้าที่ไหลเห็นเป็นสายยาวไป เช่น เรือล่องลอยไปตามสายน้ำ.
สายบังเหียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ผูกปลายบังเหียนทั้ง ๒ ข้างสำหรับโยงไปให้ผู้ขี่ม้าถือเพื่อบังคับม้า.สายบังเหียน น. สายที่ผูกปลายบังเหียนทั้ง ๒ ข้างสำหรับโยงไปให้ผู้ขี่ม้าถือเพื่อบังคับม้า.
สายบัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ก้านดอกบัวสายที่เป็นเส้นยาว ๆ มีลักษณะอ่อน ไม่มีหนาม ใช้กินเป็นผัก.สายบัว น. ก้านดอกบัวสายที่เป็นเส้นยาว ๆ มีลักษณะอ่อน ไม่มีหนาม ใช้กินเป็นผัก.
สายพาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เส้นด้ายที่คล้องโยงในเครื่องไนหูก, สายหนังหรือสายยางเป็นต้นสําหรับคล้องโยงเครื่องยนต์ต่าง ๆ เพื่อพาให้หมุนไปด้วยกัน เช่น สายพานจักรเย็บผ้า สายพานพัดลมเป่าหม้อน้ำรถยนต์.สายพาน น. เส้นด้ายที่คล้องโยงในเครื่องไนหูก, สายหนังหรือสายยางเป็นต้นสําหรับคล้องโยงเครื่องยนต์ต่าง ๆ เพื่อพาให้หมุนไปด้วยกัน เช่น สายพานจักรเย็บผ้า สายพานพัดลมเป่าหม้อน้ำรถยนต์.
สายฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่เป็นสายแวบวาบเมื่อเวลาฟ้าแลบฟ้าผ่า; ใยแมงมุมที่ลอยอยู่ในอากาศ.สายฟ้า น. แสงที่เป็นสายแวบวาบเมื่อเวลาฟ้าแลบฟ้าผ่า; ใยแมงมุมที่ลอยอยู่ในอากาศ.
สายไฟฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านอาจมีฉนวนหุ้มหรือไม่มีก็ได้, ถ้าไม่มีฉนวนหุ้มเรียก สายเปลือย.สายไฟฟ้า น. เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านอาจมีฉนวนหุ้มหรือไม่มีก็ได้, ถ้าไม่มีฉนวนหุ้มเรียก สายเปลือย.
สายมงคล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สายธุรําของพราหมณ์, ยัชโญปวีต ก็เรียก.สายมงคล น. สายธุรําของพราหมณ์, ยัชโญปวีต ก็เรียก.
สายยงยศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ข้าราชการทหารหรือตำรวจใช้เพื่อแสดงสถานะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ สายยงยศราชองครักษ์ สายยงยศเสนาธิการ และสายยงยศนายทหารคนสนิท.สายยงยศ น. สายที่ข้าราชการทหารหรือตำรวจใช้เพื่อแสดงสถานะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ สายยงยศราชองครักษ์ สายยงยศเสนาธิการ และสายยงยศนายทหารคนสนิท.
สายยาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ยางหรือวัสดุอื่นที่ทำเป็นเส้นยาว กลวง ใช้เป็นอุปกรณ์ฉีดน้ำรดน้ำต้นไม้เป็นต้น.สายยาง น. ยางหรือวัสดุอื่นที่ทำเป็นเส้นยาว กลวง ใช้เป็นอุปกรณ์ฉีดน้ำรดน้ำต้นไม้เป็นต้น.
สายยู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กยาวประมาณ ๑ คืบ ๒ ท่อนเกี่ยวกันเป็นสายด้านหนึ่งใช้ติดกับบานประตูขนาดใหญ่ เพื่อล่ามบานประตูให้ติดกับห่วงเหล็กที่ธรณีประตู สําหรับลั่นกุญแจ เช่น สายยูโบสถ์วิหาร, อุปกรณ์สําหรับติดโต๊ะตู้เป็นต้นสําหรับลั่นกุญแจ มี ๒ ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีลักษณะเป็นช่องหรือห่วงเพื่อพับลงมาคล้องบนอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายรูปเกือกม้าควํ่า.สายยู ๑ น. เหล็กยาวประมาณ ๑ คืบ ๒ ท่อนเกี่ยวกันเป็นสายด้านหนึ่งใช้ติดกับบานประตูขนาดใหญ่ เพื่อล่ามบานประตูให้ติดกับห่วงเหล็กที่ธรณีประตู สําหรับลั่นกุญแจ เช่น สายยูโบสถ์วิหาร, อุปกรณ์สําหรับติดโต๊ะตู้เป็นต้นสําหรับลั่นกุญแจ มี ๒ ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีลักษณะเป็นช่องหรือห่วงเพื่อพับลงมาคล้องบนอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายรูปเกือกม้าควํ่า.
สายโยก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สายถลกบาตรสําหรับคล้องที่ไหล่.สายโยก น. สายถลกบาตรสําหรับคล้องที่ไหล่.
สายใย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเส้นเล็ก ๆ ขดเป็นวงในเครื่องนาฬิกาชนิดที่ไม่มีลูกตุ้ม ทําให้เกิดแรงเหวี่ยง บังคับให้นาฬิกาเดินเที่ยงตรง, โดยปริยายหมายถึงความผูกพัน เช่น สายใยแห่งความรักระหว่างแม่กับลูก.สายใย น. โลหะเส้นเล็ก ๆ ขดเป็นวงในเครื่องนาฬิกาชนิดที่ไม่มีลูกตุ้ม ทําให้เกิดแรงเหวี่ยง บังคับให้นาฬิกาเดินเที่ยงตรง, โดยปริยายหมายถึงความผูกพัน เช่น สายใยแห่งความรักระหว่างแม่กับลูก.
สายรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ต่อระหว่างผนังมดลูกกับสายสะดือเด็ก.สายรก น. ส่วนที่ต่อระหว่างผนังมดลูกกับสายสะดือเด็ก.
สายระเดียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หวายหรือสายลวดเป็นต้นที่ขึงสําหรับตากผ้า (ใช้แก่ภิกษุสามเณร).สายระเดียง น. หวายหรือสายลวดเป็นต้นที่ขึงสําหรับตากผ้า (ใช้แก่ภิกษุสามเณร).
สายระยาง, สายระโยง สายระยาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู สายระโยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือกหรือลวดที่รั้งเสากระโดงเรือเป็นต้น.สายระยาง, สายระโยง น. สายเชือกหรือลวดที่รั้งเสากระโดงเรือเป็นต้น.
สายรัดคาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายหนังหรือเชือกที่โยงจากขอบหมวกหรือชฎาเป็นต้น สำหรับรัดคางกันหลุด.สายรัดคาง น. สายหนังหรือเชือกที่โยงจากขอบหมวกหรือชฎาเป็นต้น สำหรับรัดคางกันหลุด.
สายรัดทึบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สายรัดท้องม้าเพื่อยึดอานให้แน่น.สายรัดทึบ น. สายรัดท้องม้าเพื่อยึดอานให้แน่น.
สายรุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษม้วนสีต่าง ๆ ทำเป็นแถบเล็กยาว ใช้ตกแต่งสถานที่หรือใช้ขว้างให้คลี่ออกแสดงความรื่นเริง.สายรุ้ง น. กระดาษม้วนสีต่าง ๆ ทำเป็นแถบเล็กยาว ใช้ตกแต่งสถานที่หรือใช้ขว้างให้คลี่ออกแสดงความรื่นเริง.
สายล่อฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แท่งโลหะปลายแหลมใช้ติดบนหลังคาอาคารสูง ๆ โดยโยงต่อกับพื้นดินด้วยลวดโลหะ เพื่อทําหน้าที่เป็นตัวนําไฟฟ้าให้อิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ได้ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เป็นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า.สายล่อฟ้า น. แท่งโลหะปลายแหลมใช้ติดบนหลังคาอาคารสูง ๆ โดยโยงต่อกับพื้นดินด้วยลวดโลหะ เพื่อทําหน้าที่เป็นตัวนําไฟฟ้าให้อิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ได้ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เป็นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า.
สายลับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เข้าไปสืบความลับ เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการจารกรรมของสายลับ, สาย ก็ว่า.สายลับ น. ผู้เข้าไปสืบความลับ เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการจารกรรมของสายลับ, สาย ก็ว่า.
สายเลือด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน, ลูก, เช่น เด็กคนนี้เป็นสายเลือดของเขาแท้ ๆ เขายังไม่เอาใจใส่เลย; โดยปริยายหมายถึงนิสัย, สันดาน, เช่น เขาชอบเล่นการพนันอยู่ในสายเลือด.สายเลือด น. ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน, ลูก, เช่น เด็กคนนี้เป็นสายเลือดของเขาแท้ ๆ เขายังไม่เอาใจใส่เลย; โดยปริยายหมายถึงนิสัย, สันดาน, เช่น เขาชอบเล่นการพนันอยู่ในสายเลือด.
สายโลหิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน.สายโลหิต น. ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน.
สายวัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ สายวัดของช่างไม้.สายวัด น. เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ สายวัดของช่างไม้.
สายส่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดำเนินกิจการเป็นตัวแทนในการส่งหนังสือหรือสินค้าอื่นให้แก่ผู้รับ.สายส่ง น. ผู้ดำเนินกิจการเป็นตัวแทนในการส่งหนังสือหรือสินค้าอื่นให้แก่ผู้รับ.
สายสนกลใน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เลศนัยสลับซับซ้อน (มักใช้ในทางไม่บริสุทธิ์) เช่น เรื่องนี้มีสายสนกลในมาก ต้องใช้นักสืบมืออาชีพสืบดู.สายสนกลใน น. เลศนัยสลับซับซ้อน (มักใช้ในทางไม่บริสุทธิ์) เช่น เรื่องนี้มีสายสนกลในมาก ต้องใช้นักสืบมืออาชีพสืบดู.
สายสมร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ[–สะหฺมอน] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่รัก, นาง.สายสมร [–สะหฺมอน] น. หญิงที่รัก, นาง.
สายสร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับที่ทำเป็นเส้น เช่น สายสร้อยคอ สายสร้อยข้อมือ, สร้อย ก็ว่า.สายสร้อย น. เครื่องประดับที่ทำเป็นเส้น เช่น สายสร้อยคอ สายสร้อยข้อมือ, สร้อย ก็ว่า.
สายสวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สายยางหรือท่อโลหะที่ใช้สวนปัสสาวะ.สายสวน น. สายยางหรือท่อโลหะที่ใช้สวนปัสสาวะ.
สายสวาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นที่รัก.สายสวาท น. ผู้เป็นที่รัก.
สายสะดือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ต่อระหว่างรกกับสะดือเด็ก.สายสะดือ น. ส่วนที่ต่อระหว่างรกกับสะดือเด็ก.
สายสะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง แพรแถบสีเดียวหรือหลายสี เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง ใช้สะพายบ่า.สายสะพาย น. แพรแถบสีเดียวหรือหลายสี เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง ใช้สะพายบ่า.
สายสัมพันธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว.สายสัมพันธ์ น. ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว.
สายสำอาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ผูกติดกับรัดประคนทั้ง ๒ ข้าง ปรกติทอดขนานลำตัวช้างไปผูกติดกับกระวินคล้องกับระวิงหรือซองหาง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบ ใช้สายสำอางนี้สอดผูกเพื่อช่วยรั้งมิให้เลื่อนไปทางหัวช้าง ขณะเดินลงที่ลาด.สายสำอาง น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ผูกติดกับรัดประคนทั้ง ๒ ข้าง ปรกติทอดขนานลำตัวช้างไปผูกติดกับกระวินคล้องกับระวิงหรือซองหาง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบ ใช้สายสำอางนี้สอดผูกเพื่อช่วยรั้งมิให้เลื่อนไปทางหัวช้าง ขณะเดินลงที่ลาด.
สายสิญจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายดิบสีขาวที่นำมาจับทบเป็น ๓ เส้น หรือ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เช่นสำหรับพระถือในเวลาสวดมนต์ หรือพราหมณ์ใช้ในพระราชพิธีบางอย่าง.สายสิญจน์ น. ด้ายดิบสีขาวที่นำมาจับทบเป็น ๓ เส้น หรือ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เช่นสำหรับพระถือในเวลาสวดมนต์ หรือพราหมณ์ใช้ในพระราชพิธีบางอย่าง.
สายสืบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง, สาย ก็ว่า.สายสืบ น. ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง, สาย ก็ว่า.
สายสูตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหนังที่ผูกช้างให้เดินตามกัน; เส้นด้ายที่เจ้านายหรือสมเด็จพระสังฆราชจับโยงไปเพื่อกระทำกิจกรรมทางศาสนา เช่น ยกช่อฟ้าหรือเททองหล่อพระพุทธรูปเป็นต้น.สายสูตร น. เชือกหนังที่ผูกช้างให้เดินตามกัน; เส้นด้ายที่เจ้านายหรือสมเด็จพระสังฆราชจับโยงไปเพื่อกระทำกิจกรรมทางศาสนา เช่น ยกช่อฟ้าหรือเททองหล่อพระพุทธรูปเป็นต้น.
สายสูบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สายส่งน้ำทำด้วยวัสดุทนไฟ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังน้ำบนรถหรือต่อกับหัวประตูน้ำดับเพลิง อีกข้างหนึ่งสวมเข้ากับหัวฉีดน้ำ, ถ้าใช้ในการชลประทาน หรือส่งน้ำให้ประชาชนใช้ เรียกว่า สายสูบส่งน้ำ, ถ้าใช้ในการดับเพลิง เรียกว่า สายสูบส่งน้ำดับเพลิง; สายที่ทำด้วยสารสังเคราะห์ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังบนรถ อีกข้างหนึ่งจุ่มลงในของเหลวหรือสิ่งปฏิกูลแล้วสูบขึ้นมา.สายสูบ น. สายส่งน้ำทำด้วยวัสดุทนไฟ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังน้ำบนรถหรือต่อกับหัวประตูน้ำดับเพลิง อีกข้างหนึ่งสวมเข้ากับหัวฉีดน้ำ, ถ้าใช้ในการชลประทาน หรือส่งน้ำให้ประชาชนใช้ เรียกว่า สายสูบส่งน้ำ, ถ้าใช้ในการดับเพลิง เรียกว่า สายสูบส่งน้ำดับเพลิง; สายที่ทำด้วยสารสังเคราะห์ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังบนรถ อีกข้างหนึ่งจุ่มลงในของเหลวหรือสิ่งปฏิกูลแล้วสูบขึ้นมา.
สายหยก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เชือกผูกรั้งตรวนเพื่อให้นักโทษเดินสะดวกขึ้น เช่น มือถือสายหยกยกสะเทิน พลั้งเท้าก้าวเกินก็ล้มลง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.สายหยก น. เชือกผูกรั้งตรวนเพื่อให้นักโทษเดินสะดวกขึ้น เช่น มือถือสายหยกยกสะเทิน พลั้งเท้าก้าวเกินก็ล้มลง. (ขุนช้างขุนแผน).
สายเหา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือกหรือหนังที่รั้งอานหรือเบาะม้า แล้วมาโยงกับโคนหางม้า.สายเหา น. สายเชือกหรือหนังที่รั้งอานหรือเบาะม้า แล้วมาโยงกับโคนหางม้า.
สายไหม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาลซึ่งใช้เครื่องปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม ห่อด้วยแผ่นโรตีหรือแผ่นเปาะเปี๊ยะ, ถ้าห่อด้วยแผ่นโรตี เรียกว่า โรตีสายไหม.สายไหม น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาลซึ่งใช้เครื่องปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม ห่อด้วยแผ่นโรตีหรือแผ่นเปาะเปี๊ยะ, ถ้าห่อด้วยแผ่นโรตี เรียกว่า โรตีสายไหม.
สายอากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง สายลวดที่ขึงไว้เพื่อส่งหรือรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า.สายอากาศ น. สายลวดที่ขึงไว้เพื่อส่งหรือรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า.
สายเอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สายสมอเรือสําเภา ทําด้วยเชือกเหนียวกว่าเชือกอื่น สําหรับลงสมอเมื่อพายุแรง; เรียกสายเครื่องดนตรีที่เป็นเสียงสูงว่า สายเอก, ส่วนสายที่มีเสียงรองลงมาเรียกว่า สายทุ้ม.สายเอก น. สายสมอเรือสําเภา ทําด้วยเชือกเหนียวกว่าเชือกอื่น สําหรับลงสมอเมื่อพายุแรง; เรียกสายเครื่องดนตรีที่เป็นเสียงสูงว่า สายเอก, ส่วนสายที่มีเสียงรองลงมาเรียกว่า สายทุ้ม.
ส่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แกว่งไปมา เช่น ส่ายผ้าอ้อมในน้ำ, ย้ายไปมา เช่น ส่ายหัว ส่ายสะโพก ว่าวส่าย. เป็นคำนาม หมายถึง กระโปรงยาวที่ผู้หญิงนุ่ง.ส่าย ๑ ก. แกว่งไปมา เช่น ส่ายผ้าอ้อมในน้ำ, ย้ายไปมา เช่น ส่ายหัว ส่ายสะโพก ว่าวส่าย. น. กระโปรงยาวที่ผู้หญิงนุ่ง.
ส่ายตา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง กวาดตามองทั่ว ๆ เช่น เขาส่ายตามองหาคนรู้จัก.ส่ายตา ก. กวาดตามองทั่ว ๆ เช่น เขาส่ายตามองหาคนรู้จัก.
ส่ายศึก, ส่ายเศิก ส่ายศึก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ส่ายเศิก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กวาดล้างให้หมดสิ้นข้าศึกศัตรู เช่น ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์.ส่ายศึก, ส่ายเศิก ก. กวาดล้างให้หมดสิ้นข้าศึกศัตรู เช่น ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน. (นิ. นรินทร์).
ส่ายหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ทำหน้าหันไปมาช้า ๆ แสดงถึงความหมดหวัง หมดศรัทธา หมดปัญญาเป็นต้น เช่น หมอเห็นผลการตรวจคนไข้แล้วส่ายหน้า.ส่ายหน้า ก. อาการที่ทำหน้าหันไปมาช้า ๆ แสดงถึงความหมดหวัง หมดศรัทธา หมดปัญญาเป็นต้น เช่น หมอเห็นผลการตรวจคนไข้แล้วส่ายหน้า.
ส่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากผ้าแพรเนื้อหนาแข็งเสียดสีกัน เช่น ได้ยินเสียงแพรส่าย.ส่าย ๒ ว. เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากผ้าแพรเนื้อหนาแข็งเสียดสีกัน เช่น ได้ยินเสียงแพรส่าย.
ส้าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง กําจัด, สู้.ส้าย ก. กําจัด, สู้.
สายชู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ของเหลวซึ่งมีกรดแอซีติกละลายอยู่ไม่เกินร้อยละ ๖ มีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหาร เรียกว่า นํ้าส้มสายชู, นํ้าส้ม ก็เรียก.สายชู น. ของเหลวซึ่งมีกรดแอซีติกละลายอยู่ไม่เกินร้อยละ ๖ มีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหาร เรียกว่า นํ้าส้มสายชู, นํ้าส้ม ก็เรียก.
สายตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ระยะที่ตาจะมองเห็นได้ เช่น สุดสายตา อยู่ในสายตา, โดยปริยายหมายความว่า ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น ความประพฤติของนักเรียนอยู่ในสายตาของครูอาจารย์, ความสอดส่องจับตาดูอยู่เสมอ เช่น พวกนักเลงอยู่ในสายตาของตำรวจ, ความสนใจ เช่น คนจนไม่อยู่ในสายตาของพวกเศรษฐี.สายตา น. ระยะที่ตาจะมองเห็นได้ เช่น สุดสายตา อยู่ในสายตา, โดยปริยายหมายความว่า ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น ความประพฤติของนักเรียนอยู่ในสายตาของครูอาจารย์, ความสอดส่องจับตาดูอยู่เสมอ เช่น พวกนักเลงอยู่ในสายตาของตำรวจ, ความสนใจ เช่น คนจนไม่อยู่ในสายตาของพวกเศรษฐี.
สายตาไกล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถคิดและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าได้ค่อนข้างจะถูกต้อง เช่น ผู้ใหญ่มักจะเป็นผู้มีสายตาไกล, สายตากว้างไกล ก็ว่า.สายตาไกล ว. สามารถคิดและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าได้ค่อนข้างจะถูกต้อง เช่น ผู้ใหญ่มักจะเป็นผู้มีสายตาไกล, สายตากว้างไกล ก็ว่า.
สายตาพิการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ความพิการในการเห็น, สายตาที่บกพร่องมองเห็นไม่เหมือนคนปรกติ เช่นตาบอดสี, การเห็นไม่ดีจนเป็นอุปสรรคต่อการงานซึ่งต้องใช้การมองเห็นเป็นหลัก.สายตาพิการ น. ความพิการในการเห็น, สายตาที่บกพร่องมองเห็นไม่เหมือนคนปรกติ เช่นตาบอดสี, การเห็นไม่ดีจนเป็นอุปสรรคต่อการงานซึ่งต้องใช้การมองเห็นเป็นหลัก.
สายตายาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ไกลเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ใกล้มองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์นูน.สายตายาว น. ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ไกลเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ใกล้มองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์นูน.
สายตาสั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้เท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ไกลมองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์เว้า.สายตาสั้น น. ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้เท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ไกลมองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์เว้า.
สายตาเอียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ความบกพร่องของนัยน์ตาที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในแนวระดับหรือในแนวดิ่งไม่ได้ชัดสม่ำเสมอกัน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์รูปกาบกล้วย.สายตาเอียง น. ความบกพร่องของนัยน์ตาที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในแนวระดับหรือในแนวดิ่งไม่ได้ชัดสม่ำเสมอกัน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์รูปกาบกล้วย.
สายติ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Nymphoides parvifolium Kuntze ในวงศ์ Menyanthaceae กินได้, บัวสายติ่ง หรือ บัวสายทิ้ง ก็เรียก.สายติ่ง น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Nymphoides parvifolium Kuntze ในวงศ์ Menyanthaceae กินได้, บัวสายติ่ง หรือ บัวสายทิ้ง ก็เรียก.
สายน้ำผึ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Lonicera japonica Thunb. ในวงศ์ Caprifoliaceae ดอกสีนวลแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้.สายน้ำผึ้ง น. ชื่อไม้เถาชนิด Lonicera japonica Thunb. ในวงศ์ Caprifoliaceae ดอกสีนวลแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้.
สายม่าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูขนาดเล็กในวงศ์ Colubridae ตัวเล็กเรียวยาว ส่วนมากสีนํ้าตาล เกล็ดสันหลังมักวาวคล้ายทองเหลือง ว่องไวปราดเปรียว ออกหากินเวลากลางวันตามป่าหญ้าและบนต้นไม้ มีหลายชนิดและชุกชุมทุกภาคของประเทศไทย เช่น สายม่านลิ้นแดง (Dendrelaphis pictus) สายม่านหลังทอง (D. formosus) ไม่มีพิษ.สายม่าน น. ชื่องูขนาดเล็กในวงศ์ Colubridae ตัวเล็กเรียวยาว ส่วนมากสีนํ้าตาล เกล็ดสันหลังมักวาวคล้ายทองเหลือง ว่องไวปราดเปรียว ออกหากินเวลากลางวันตามป่าหญ้าและบนต้นไม้ มีหลายชนิดและชุกชุมทุกภาคของประเทศไทย เช่น สายม่านลิ้นแดง (Dendrelaphis pictus) สายม่านหลังทอง (D. formosus) ไม่มีพิษ.
สายยู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดในวงศ์ Schilbeidae ตัวเรียวยาว มีหนวดยาว ๔ คู่ และมีครีบหลัง ๒ ตอน เฉพาะตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก ได้แก่ ชนิด Platytropius siamensis, เกด ก็เรียก.สายยู ๒ น. ชื่อปลาน้ำจืดในวงศ์ Schilbeidae ตัวเรียวยาว มีหนวดยาว ๔ คู่ และมีครีบหลัง ๒ ตอน เฉพาะตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก ได้แก่ ชนิด Platytropius siamensis, เกด ก็เรียก.
สายหยุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos chinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม พอสายก็หมดกลิ่น.สายหยุด น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos chinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม พอสายก็หมดกลิ่น.
สายัณห์, สายาห์ สายัณห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด สายาห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เวลาเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สายณฺห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ และมาจากภาษาสันสกฤต สายาหฺน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-พิน-ทุ-นอ-หนู.สายัณห์, สายาห์ น. เวลาเย็น. (ป. สายณฺห; ส. สายาหฺน).
สายา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น สายาอยู่ในถนน ถามข่าว รยมฤๅ. (กำสรวล).สายา (กลอน) น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น สายาอยู่ในถนน ถามข่าว รยมฤๅ. (กำสรวล).
สาร , สาร– ๑ สาร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สาร– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [สาน, สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็น แก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสาร สื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาร ๑, สาร– ๑ [สาน, สาระ–] น. แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็น แก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสาร สื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. (ป., ส.).
สารกรมธรรม์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด[สานกฺรมมะ–]ดู กรมธรรม์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด.สารกรมธรรม์ [สานกฺรมมะ–] ดู กรมธรรม์.
สารคดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ.สารคดี [สาระ–] น. เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ.
สารตรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[สาน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือราชการที่เชิญพระบรมราชโองการซึ่งประทับตราใหญ่; หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา.สารตรา [สาน–] (กฎ; โบ) น. หนังสือราชการที่เชิญพระบรมราชโองการซึ่งประทับตราใหญ่; หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา.
สารธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมเป็นหลักฐาน, ธรรมที่มั่นคง.สารธรรม [สาระ–] น. ธรรมเป็นหลักฐาน, ธรรมที่มั่นคง.
สารนิเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา[สาระนิเทด] เป็นคำนาม หมายถึง การชี้แจงแนะนําเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + นิรฺเทศ เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + นิทฺเทส เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ .สารนิเทศ [สาระนิเทด] น. การชี้แจงแนะนําเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. (ส. สาร + นิรฺเทศ; ป. สาร + นิทฺเทส).
สารบบ, สารบับ สารบบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ สารบับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ [สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําบอกเรื่อง, บัญชีเรื่อง, เช่น เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ในสารบบ.สารบบ, สารบับ [สาระ–] น. คําบอกเรื่อง, บัญชีเรื่อง, เช่น เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ในสารบบ.
สารบบความ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีคดีความต่าง ๆ ของศาล.สารบบความ น. บัญชีคดีความต่าง ๆ ของศาล.
สารบรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ.สารบรรณ [สาระ–] น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ.
สารบัญ, สารบาญ สารบัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง สารบาญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง [สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีเรื่อง, รายชื่อเรื่อง. (ตัดจาก สารบัญชี และ สารบาญชี).สารบัญ, สารบาญ [สาระ–] น. บัญชีเรื่อง, รายชื่อเรื่อง. (ตัดจาก สารบัญชี และ สารบาญชี).
สารบาญชี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี[สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การจัดวิธีเกณฑ์คนเข้ารับราชการฝ่ายทหารและพลเรือนในสมัยโบราณตั้งเป็นกรม เรียกว่า กรมพระสุรัสวดี คือ สัสดี เดี๋ยวนี้.สารบาญชี [สาระ–] น. การจัดวิธีเกณฑ์คนเข้ารับราชการฝ่ายทหารและพลเรือนในสมัยโบราณตั้งเป็นกรม เรียกว่า กรมพระสุรัสวดี คือ สัสดี เดี๋ยวนี้.
สารประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า.สารประโยชน์ [สาระ–] น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า.
สารสนเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา[สาระสนเทด, สานสนเทด] เป็นคำนาม หมายถึง ข่าวสาร; การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + สนฺเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + สนฺเทส เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ .สารสนเทศ [สาระสนเทด, สานสนเทด] น. ข่าวสาร; การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ. (ส. สาร + สนฺเทศ; ป. สาร + สนฺเทส).
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [สาน] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีองค์ประกอบเป็นอย่างเดียวกัน มีสมบัติเฉพาะของตนเอง และไม่สามารถใช้วิธีกลใด ๆ มาแบ่งแยกให้เป็นส่วนอื่นที่มีองค์ประกอบและสมบัติแตกต่างออกไปได้; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เรียกธาตุจําพวกหนึ่งและธาตุที่เข้าแทรกในต้นไม้ว่า สาร.สาร ๒ [สาน] น. สิ่งที่มีองค์ประกอบเป็นอย่างเดียวกัน มีสมบัติเฉพาะของตนเอง และไม่สามารถใช้วิธีกลใด ๆ มาแบ่งแยกให้เป็นส่วนอื่นที่มีองค์ประกอบและสมบัติแตกต่างออกไปได้; (โบ) เรียกธาตุจําพวกหนึ่งและธาตุที่เข้าแทรกในต้นไม้ว่า สาร.
สารประกอบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ compound เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-พี-โอ-ยู-เอ็น-ดี.สารประกอบ (เคมี) น. สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. (อ. compound).
สารละลาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ solution เขียนว่า เอส-โอ-แอล-ยู-ที-ไอ-โอ-เอ็น.สารละลาย (เคมี) น. ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. (อ. solution).
สารส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือเคมีประเภทหนึ่ง ทั่วไปรู้จักกันเฉพาะชนิดที่ใช้ประโยชน์ทําให้นํ้าใสสะอาด ชนิดนี้มีสูตร K2SO4Al2(SO4)3•24H2O ลักษณะเป็นก้อนแข็ง สีขาว มีรสเปรี้ยวฝาด.สารส้ม น. เกลือเคมีประเภทหนึ่ง ทั่วไปรู้จักกันเฉพาะชนิดที่ใช้ประโยชน์ทําให้นํ้าใสสะอาด ชนิดนี้มีสูตร K2SO4Al2(SO4)3•24H2O ลักษณะเป็นก้อนแข็ง สีขาว มีรสเปรี้ยวฝาด.
สารหนู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๓ สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี ๓ อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดํา และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ arsenic เขียนว่า เอ-อา-เอส-อี-เอ็น-ไอ-ซี.สารหนู น. ธาตุลําดับที่ ๓๓ สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี ๓ อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดํา และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง. (อ. arsenic).
สารหนูขาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู.สารหนูขาว น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู.
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ช้างใหญ่ ใช้ว่า ช้างสาร.สาร ๓ น. ช้างใหญ่ ใช้ว่า ช้างสาร.
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวที่สีหรือตําเอาเปลือกออกแล้ว เรียกว่า ข้าวสาร.สาร ๔ น. ข้าวที่สีหรือตําเอาเปลือกออกแล้ว เรียกว่า ข้าวสาร.
สาร– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [สาระ–]คําประกอบหน้าคํา แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. (เลือนมาจาก สรฺว ในสันสกฤต เช่น สรฺวงฺค เป็น สารพางค์ หรือ สรรพางค์).สาร– ๒ [สาระ–] คําประกอบหน้าคํา แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. (เลือนมาจาก สรฺว ในสันสกฤต เช่น สรฺวงฺค เป็น สารพางค์ หรือ สรรพางค์).
สารทุกข์สุกดิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ข่าวคราวความเป็นไปหรือความเป็นอยู่ เช่น ไม่พบกันมานาน เพื่อน ๆ ต่างก็ถามสารทุกข์สุกดิบซึ่งกันและกัน.สารทุกข์สุกดิบ (ปาก) น. ข่าวคราวความเป็นไปหรือความเป็นอยู่ เช่น ไม่พบกันมานาน เพื่อน ๆ ต่างก็ถามสารทุกข์สุกดิบซึ่งกันและกัน.
สารถี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี[สาระถี] เป็นคำนาม หมายถึง คนขับรถ, คนบังคับม้า, โดยปริยายหมายความว่า ผู้บังคับหรือฝึกหัด ในความว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สารถิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ.สารถี [สาระถี] น. คนขับรถ, คนบังคับม้า, โดยปริยายหมายความว่า ผู้บังคับหรือฝึกหัด ในความว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก. (ป., ส. สารถิ).
สารถีชักรถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทย ๒ ชั้นทำนองหนึ่ง ต่อมามีผู้แต่งขยายเป็น ๓ ชั้น แล้วตัดลงเป็นชั้นเดียว เพื่อให้ครบเป็นเพลงเถา เรียกว่า เพลงสารถีเถา; วิธีรำละครท่าหนึ่งอยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา; ชื่อเพลงยาวกลบทแบบหนึ่ง ตัวอย่างว่า สงสารกายหมายมิตร์คิดสงสาร ประมาณจิตร์ผิดเพราะเชื่อเหลือประมาณ เสียดายการที่คิดเปล่าเศร้าเสียดาย. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒.สารถีชักรถ น. ชื่อเพลงไทย ๒ ชั้นทำนองหนึ่ง ต่อมามีผู้แต่งขยายเป็น ๓ ชั้น แล้วตัดลงเป็นชั้นเดียว เพื่อให้ครบเป็นเพลงเถา เรียกว่า เพลงสารถีเถา; วิธีรำละครท่าหนึ่งอยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา; ชื่อเพลงยาวกลบทแบบหนึ่ง ตัวอย่างว่า สงสารกายหมายมิตร์คิดสงสาร ประมาณจิตร์ผิดเพราะเชื่อเหลือประมาณ เสียดายการที่คิดเปล่าเศร้าเสียดาย. (จารึกวัดโพธิ์).
สารท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ [สาด] เป็นคำนาม หมายถึง เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือน ๑๐ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สรท เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน สารท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาสันสกฤต ศารท เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน.สารท ๑ [สาด] น. เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือน ๑๐ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์. (ป. สรท, สารท; ส. ศารท).
สารท ๒, สารทฤดู สารท ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน สารทฤดู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู [สาด, สาระทะรึดู] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ autumn เขียนว่า เอ-ยู-ที-ยู-เอ็ม-เอ็น.สารท ๒, สารทฤดู [สาด, สาระทะรึดู] น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน. (อ. autumn).
สารทา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา[สาระทา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี.สารทา [สาระทา] น. ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี.
ส้ารบับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[ส้าระบับ] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าเยียรบับ.ส้ารบับ [ส้าระบับ] น. ผ้าเยียรบับ.
สารพัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[สาระพัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทุก, ทุกอย่าง, เช่น ร้านชำมีของขายสารพัด, เขียนเป็น สารพัตร ก็มี.สารพัด [สาระพัด] ว. ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทุก, ทุกอย่าง, เช่น ร้านชำมีของขายสารพัด, เขียนเป็น สารพัตร ก็มี.
สารพัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สาระพัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สารพัด เช่น สารพันปัญหา, มักใช้เข้าคู่กัน เป็น สารพัดสารพัน ก็มี.สารพัน [สาระพัน] ว. สารพัด เช่น สารพันปัญหา, มักใช้เข้าคู่กัน เป็น สารพัดสารพัน ก็มี.
สารพางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[สาระพาง] เป็นคำนาม หมายถึง ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สารพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสารพางค์กาย, สรรพางค์ ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู สรรพ, สรรพ– สรรพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน สรรพ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน .สารพางค์ [สาระพาง] น. ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สารพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสารพางค์กาย, สรรพางค์ ก็ว่า. (ดู สรรพ, สรรพ–).
สารภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[สาระพาบ] เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่ากระทำผิด เช่น จำเลยสารภาพว่าขโมยของไปจริง; บอกความในใจ เช่น สารภาพรัก.สารภาพ [สาระพาบ] ก. รับว่ากระทำผิด เช่น จำเลยสารภาพว่าขโมยของไปจริง; บอกความในใจ เช่น สารภาพรัก.
สารภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี[สาระพี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Mammea วงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้ คือ ชนิด M. harmandii Kosterm. ดอกใหญ่ และชนิด M. siamensis (Miq.) T. Anderson ดอกเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุรภิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ.สารภี [สาระพี] น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Mammea วงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้ คือ ชนิด M. harmandii Kosterm. ดอกใหญ่ และชนิด M. siamensis (Miq.) T. Anderson ดอกเล็ก. (ป., ส. สุรภิ).
สารภีทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิงดู กระทิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๒.สารภีทะเล ดู กระทิง ๒.
สารภีป่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อาดู พะวา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา.สารภีป่า ดู พะวา.
สารไมย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก[สาระไม] เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารเมยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สารเมย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก.สารไมย [สาระไม] น. หมา. (ป. สารเมยฺย; ส. สารเมย).
สารวัตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[สาระวัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ตรวจงานทั่วไป เช่น สารวัตรจราจร สารวัตรปราบปราม.สารวัตร [สาระวัด] น. ผู้ตรวจงานทั่วไป เช่น สารวัตรจราจร สารวัตรปราบปราม.
สารวัตรทหาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร.สารวัตรทหาร น. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร.
สารวัตรนักเรียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่ตรวจตราดูแลและควบคุมความประพฤติของนักเรียน.สารวัตรนักเรียน น. เจ้าหน้าที่ตรวจตราดูแลและควบคุมความประพฤติของนักเรียน.
สาระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสำคัญ, ข้อใหญ่ใจความ, เช่น เขียนมายืดยาวแต่มีสาระน้อย ทำดีย่อมได้ดีเป็นสาระสำคัญของเรื่องนี้; ประโยชน์ เช่น เรื่องไม่เป็นสาระ ไร้สาระ.สาระ น. ส่วนสำคัญ, ข้อใหญ่ใจความ, เช่น เขียนมายืดยาวแต่มีสาระน้อย ทำดีย่อมได้ดีเป็นสาระสำคัญของเรื่องนี้; ประโยชน์ เช่น เรื่องไม่เป็นสาระ ไร้สาระ.
สาระโกก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โกงเกะกะเกเร, เป็นพาล.สาระโกก ว. โกงเกะกะเกเร, เป็นพาล.
สาระแน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่น, ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน, เช่น เขากำลังทำงานกันอยู่ดี ๆ ก็สาระแนเข้าไปทำงานเขาเสีย; ยุแหย่ให้เขาผิดใจกัน, ยุยงให้เขาแตกกัน, เช่น พูดอะไรให้ฟัง ก็สาระแนไปบอกเขาหมด.สาระแน ว. ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่น, ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน, เช่น เขากำลังทำงานกันอยู่ดี ๆ ก็สาระแนเข้าไปทำงานเขาเสีย; ยุแหย่ให้เขาผิดใจกัน, ยุยงให้เขาแตกกัน, เช่น พูดอะไรให้ฟัง ก็สาระแนไปบอกเขาหมด.
สาระพา, สาระพาเฮโล สาระพา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา สาระพาเฮโล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, เฮโลสาระพา ก็ว่า.สาระพา, สาระพาเฮโล ว. เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, เฮโลสาระพา ก็ว่า.
สาระยำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ. (พระไชยสุริยา).สาระยำ ก. ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ. (พระไชยสุริยา).
สาระวอน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดออดอ้อน เช่น สาระวอนอยู่นั่นแล้ว ไม่รู้จักเลิก.สาระวอน ก. พูดออดอ้อน เช่น สาระวอนอยู่นั่นแล้ว ไม่รู้จักเลิก.
สาระวารี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ดอกการะเกด. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สาระวารี น. ดอกการะเกด. (ช.).
สาระสะมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ดอกชมพู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สาระสะมา น. ดอกชมพู่. (ช.).
สารัตถ–, สารัตถะ สารัตถ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง สารัตถะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ [สารัดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหาหลัก, ใจความสําคัญ, ความคิดสําคัญของเรื่อง.สารัตถ–, สารัตถะ [สารัดถะ–] น. เนื้อหาหลัก, ใจความสําคัญ, ความคิดสําคัญของเรื่อง.
สารัตถประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร, สารประโยชน์ ก็ว่า.สารัตถประโยชน์ น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร, สารประโยชน์ ก็ว่า.
สารัตถศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์.สารัตถศึกษา น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์.
สารัทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปั่นป่วน, ฉุนเฉียว, รุนแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สารัทธ์ ว. ปั่นป่วน, ฉุนเฉียว, รุนแรง. (ป.).
สารัมภ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สารัมภ์ ก. เริ่ม. (ป.).
สาราณีย–, สาราณียะ สาราณีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก สาราณียะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [–นียะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมรณีย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.สาราณีย–, สาราณียะ [–นียะ–] ว. เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก. (ป.; ส. สฺมรณีย).
สาราณียธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาราณีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก + ภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .สาราณียธรรม น. ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน. (ป. สาราณีย + ส. ธรฺม).
สาราณียกร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–นียะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษาเป็นต้น ทําหน้าที่อย่างบรรณาธิการ.สาราณียกร [–นียะกอน] น. ตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษาเป็นต้น ทําหน้าที่อย่างบรรณาธิการ.
สารานุกรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลําดับอักษร.(อ. encyclopaedia).สารานุกรม น. หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลําดับอักษร.(อ. encyclopaedia).
สารีริกธาตุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ[–ริกกะทาด] เป็นคำนาม หมายถึง พระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า, ใช้ว่า พระบรมสารีริกธาตุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารีริก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ + ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ .สารีริกธาตุ [–ริกกะทาด] น. พระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า, ใช้ว่า พระบรมสารีริกธาตุ. (ป. สารีริก + ธาตุ).
สารูป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ, สมควร, เช่น สมณสารูป ว่า สมควรแก่สมณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารุปฺป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา และมาจากภาษาสันสกฤต สารูปฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สารูป ว. เหมาะ, สมควร, เช่น สมณสารูป ว่า สมควรแก่สมณะ. (ป. สารุปฺป; ส. สารูปฺย).
สาโรช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง[–โรด] เป็นคำนาม หมายถึง บัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สโรช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง.สาโรช [–โรด] น. บัว. (ป., ส. สโรช).
สาละ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Shorea robusta Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาละ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Shorea robusta Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae. (ป., ส.).
สาละวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง วุ่นอยู่กับการงาน เช่น มัวสาละวนอยู่กับการเย็บเสื้อจนลืมทำกับข้าว.สาละวน ก. วุ่นอยู่กับการงาน เช่น มัวสาละวนอยู่กับการเย็บเสื้อจนลืมทำกับข้าว.
สาลิ, สาลี สาลิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ สาลี ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ข้าว; ข้าวสาลี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สาลิ, สาลี ๑ น. ข้าว; ข้าวสาลี. (ป.).
สาลิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Acridotheres tristis ในวงศ์ Sturnidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกกิ้งโครง ลําตัวสีนํ้าตาลเข้ม หัวสีดํา ขอบตาและปากสีเหลือง มีแต้มขาวที่ปีก ปลายหางสีขาว กินแมลงและผลไม้ พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย, เอี้ยง หรือ เอี้ยงสาริกา ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาริกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.สาลิกา ๑ น. ชื่อนกชนิด Acridotheres tristis ในวงศ์ Sturnidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกกิ้งโครง ลําตัวสีนํ้าตาลเข้ม หัวสีดํา ขอบตาและปากสีเหลือง มีแต้มขาวที่ปีก ปลายหางสีขาว กินแมลงและผลไม้ พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย, เอี้ยง หรือ เอี้ยงสาริกา ก็เรียก. (ป.; ส. ศาริกา).
สาลิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตะกรุดดอกเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง ใช้ในทางเมตตามหานิยม.สาลิกา ๒ น. ชื่อตะกรุดดอกเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง ใช้ในทางเมตตามหานิยม.
สาลิกาแก้ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.สาลิกาแก้ว น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
สาลิกาเขมร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.สาลิกาเขมร น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
สาลิกาชมเดือน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.สาลิกาชมเดือน น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
สาลินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๑ คํา วรรคหน้ามี ๕ คํา เป็นครุล้วน วรรคหลังมี ๖ คํา คําที่ ๑ และคําที่ ๔ เป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ เช่น
   พราหมณ์ครูรู้สังเกต    ตระหนักเหตุนัดครัน
  ราชาวัชชีสรร-    จักสู้พินาศสม.
        (สามัคคีเภท). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .
สาลินี น. ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๑ คํา วรรคหน้ามี ๕ คํา เป็นครุล้วน วรรคหลังมี ๖ คํา คําที่ ๑ และคําที่ ๔ เป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ เช่น
   พราหมณ์ครูรู้สังเกต    ตระหนักเหตุนัดครัน
  ราชาวัชชีสรร-    จักสู้พินาศสม.
        (สามัคคีเภท). (ป.).
สาลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวสาลี. ในวงเล็บ ดู ข้าวสาลี เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.สาลี ๒ น. ข้าวสาลี. (ดู ข้าวสาลี ที่ ข้าว).
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Pyrus pyriflora L. ในวงศ์ Rosaceae ผลเนื้อกรอบ รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .สาลี่ ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Pyrus pyriflora L. ในวงศ์ Rosaceae ผลเนื้อกรอบ รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม. (จ.).
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีตีกับไข่และน้ำตาลจนฟู แล้วนึ่งจนสุก.สาลี่ ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีตีกับไข่และน้ำตาลจนฟู แล้วนึ่งจนสุก.
สาลี่กรอบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีนวดกับไข่ มะพร้าวผสมน้ำตาล และกะทิ ผิงหรืออบจนหน้าเกรียม.สาลี่กรอบ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีนวดกับไข่ มะพร้าวผสมน้ำตาล และกะทิ ผิงหรืออบจนหน้าเกรียม.
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบรรทุกของหนักมี ๒ ล้อ ใช้ลากหรือผลักไป.สาลี่ ๓ น. เครื่องบรรทุกของหนักมี ๒ ล้อ ใช้ลากหรือผลักไป.
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คันเหล็กติดอยู่บนหลังคารถราง ปลายมีลูกรอกยันอยู่กับสายไฟฟ้า เพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องรถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trolley เขียนว่า ที-อา-โอ-แอล-แอล-อี-วาย.สาลี่ ๔ น. คันเหล็กติดอยู่บนหลังคารถราง ปลายมีลูกรอกยันอยู่กับสายไฟฟ้า เพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องรถ. (อ. trolley).
สาลู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทําเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย.สาลู น. ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทําเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย.
สาโลหิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สายโลหิต, มักใช้เข้าคู่กับคํา ญาติ เป็น ญาติสาโลหิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สาโลหิต (แบบ) น. สายโลหิต, มักใช้เข้าคู่กับคํา ญาติ เป็น ญาติสาโลหิต. (ป.).
สาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕–๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว โตเป็นสาวแล้วยังซุกซนเหมือนเด็ก ๆ, ถ้ายังไม่ได้แต่งงาน ใช้คําว่า นางสาว นําหน้าชื่อ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนและสัตว์ที่มีท้องครั้งแรกว่า ท้องสาว, เรียกต้นไม้ที่เริ่มผลิดอกออกผลครั้งแรก เช่น หมากสาว มะพร้าวสาว, เรียกหญิงที่ยังไม่แก่ตามวัย เช่น แม้จะอายุมากแล้ว แต่ก็ยังดูสาวอยู่, เรียกหญิงที่ยังไม่แต่งงาน เช่น จะพูดอะไรให้เกรงใจเขาบ้าง ถึงเขาจะอายุมากแล้วแต่ก็ยังเป็นสาวอยู่.สาว ๑ น. หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕–๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว โตเป็นสาวแล้วยังซุกซนเหมือนเด็ก ๆ, ถ้ายังไม่ได้แต่งงาน ใช้คําว่า นางสาว นําหน้าชื่อ. ว. เรียกคนและสัตว์ที่มีท้องครั้งแรกว่า ท้องสาว, เรียกต้นไม้ที่เริ่มผลิดอกออกผลครั้งแรก เช่น หมากสาว มะพร้าวสาว, เรียกหญิงที่ยังไม่แก่ตามวัย เช่น แม้จะอายุมากแล้ว แต่ก็ยังดูสาวอยู่, เรียกหญิงที่ยังไม่แต่งงาน เช่น จะพูดอะไรให้เกรงใจเขาบ้าง ถึงเขาจะอายุมากแล้วแต่ก็ยังเป็นสาวอยู่.
สาวแก่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีอายุเลยวัยสาว แต่ยังไม่ได้แต่งงาน.สาวแก่ น. หญิงที่มีอายุเลยวัยสาว แต่ยังไม่ได้แต่งงาน.
สาวใช้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง หญิงลูกจ้างช่วยแม่บ้านทำงาน.สาวใช้ น. หญิงลูกจ้างช่วยแม่บ้านทำงาน.
สาวน้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยรุ่น.สาวน้อย น. หญิงที่อยู่ในวัยรุ่น.
สาวน้อยร้อยชั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีค่าตัวสูง มีคุณสมบัติและรูปสมบัติเป็นที่ยกย่อง.สาวน้อยร้อยชั่ง น. หญิงที่มีค่าตัวสูง มีคุณสมบัติและรูปสมบัติเป็นที่ยกย่อง.
สาวทึนทึก, สาวทึมทึก สาวทึนทึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ สาวทึมทึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน, สาวเทื้อ ก็ว่า.สาวทึนทึก, สาวทึมทึก น. สาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน, สาวเทื้อ ก็ว่า.
สาวเทื้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สาวแก่, สาวทึนทึก, สาวทึมทึก.สาวเทื้อ น. สาวแก่, สาวทึนทึก, สาวทึมทึก.
สาวพรหมจารี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง สาวที่ยังไม่มีสามี, หญิงที่ยังไม่มีระดู, เช่น ตามที่ถือกันว่า ผู้ซึ่งสำหรับกวนข้าวทิพย์นั้นต้องเป็นสาวพรหมจารี คือที่ยังไม่มีสามีนั้นประการหนึ่ง อีกนัยหนึ่งคือหญิงซึ่งยังไม่มีระดูกล่าวว่าเป็นพรหมจารีแท้… (สิบสองเดือน); สาวบริสุทธิ์, หญิงที่ยังบริสุทธิ์, หญิงที่ยังไม่เคยร่วมประเวณี.สาวพรหมจารี น. สาวที่ยังไม่มีสามี, หญิงที่ยังไม่มีระดู, เช่น ตามที่ถือกันว่า ผู้ซึ่งสำหรับกวนข้าวทิพย์นั้นต้องเป็นสาวพรหมจารี คือที่ยังไม่มีสามีนั้นประการหนึ่ง อีกนัยหนึ่งคือหญิงซึ่งยังไม่มีระดูกล่าวว่าเป็นพรหมจารีแท้… (สิบสองเดือน); สาวบริสุทธิ์, หญิงที่ยังบริสุทธิ์, หญิงที่ยังไม่เคยร่วมประเวณี.
สาวรุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เพิ่งแตกเนื้อสาว.สาวรุ่น น. หญิงที่เพิ่งแตกเนื้อสาว.
สาวศรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สาววัยรุ่น.สาวศรี (กลอน) น. สาววัยรุ่น.
สาวศรีสาวใช้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง สาวใช้.สาวศรีสาวใช้ (สำ) น. สาวใช้.
สาวสะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาววัยรุ่นแต่งตัวใส่เกี้ยว นุ่งผ้าลายพื้นเขียว ห่มผ้าแพรพื้นแดง เดินประนมมือตามกระบวนแห่เต็มยศขนาบพระราชยานในพระราชพิธีโสกันต์, นางแต่งตัวสะ หรือ นางสะ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงสาวรุ่น.สาวสะ น. หญิงสาววัยรุ่นแต่งตัวใส่เกี้ยว นุ่งผ้าลายพื้นเขียว ห่มผ้าแพรพื้นแดง เดินประนมมือตามกระบวนแห่เต็มยศขนาบพระราชยานในพระราชพิธีโสกันต์, นางแต่งตัวสะ หรือ นางสะ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงสาวรุ่น.
สาวสะเทิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยระหว่างสาวกับเด็กก้ำกึ่งกัน.สาวสะเทิน น. หญิงที่อยู่ในวัยระหว่างสาวกับเด็กก้ำกึ่งกัน.
สาวแส้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว.สาวแส้ น. หญิงสาว.
สาวใหญ่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยกลางคน.สาวใหญ่ น. หญิงที่อยู่ในวัยกลางคน.
สาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชักหรือดึงสิ่งที่เป็นเส้นยาว ๆ ออกจากที่เข้าหาตัว เช่น สาวไหม สาวเชือก; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สาวความ.สาว ๒ ก. ชักหรือดึงสิ่งที่เป็นเส้นยาว ๆ ออกจากที่เข้าหาตัว เช่น สาวไหม สาวเชือก; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สาวความ.
สาวก้าว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ก้าวยาวอย่างเร็ว, เดินเร็ว.สาวก้าว ก. ก้าวยาวอย่างเร็ว, เดินเร็ว.
สาวเท้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ก้าวยาว ๆ เร่งฝีเท้าให้เร็ว.สาวเท้า ก. ก้าวยาว ๆ เร่งฝีเท้าให้เร็ว.
สาวไส้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง นําความลับที่ไม่ควรเปิดเผยไปให้คนอื่นรู้, มักใช้ในทางไม่ดี.สาวไส้ ก. นําความลับที่ไม่ควรเปิดเผยไปให้คนอื่นรู้, มักใช้ในทางไม่ดี.
สาวไส้ให้กากิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง นำความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน.สาวไส้ให้กากิน (สำ) ก. นำความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน.
สาว– เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ [สาวะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีดําแดง, สีนํ้าตาลแก่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยาว เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.สาว– ๓ [สาวะ–] ว. สีดําแดง, สีนํ้าตาลแก่. (ป.; ส. ศฺยาว).
สาวก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์ของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวก เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่.สาวก น. ศิษย์ของศาสดา. (ป.; ส. ศฺราวก).
สาวกระทืบหอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..สาวกระทืบหอ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..
สาวน้อยเล่นน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สาวน้อยเล่นน้ำ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สาวนะ ๑, ศรวณะ, ศระวณะ สาวนะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ศรวณะ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ศระวณะ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [สาวะนะ, สะระวะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหามผีหรือโลง, ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี ก็เรียก.สาวนะ ๑, ศรวณะ, ศระวณะ [สาวะนะ, สะระวะนะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหามผีหรือโลง, ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี ก็เรียก.
สาวนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สาวะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เดือน ๙. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน.สาวนะ ๒ [สาวะนะ] น. เดือน ๙. (ป.; ส. ศฺราวณ).
สาวิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์ผู้หญิงของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวิกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.สาวิกา น. ศิษย์ผู้หญิงของศาสดา. (ป.; ส. ศฺราวิกา).
สาวิตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[–วิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวเนื่องกับพระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สาวิตร [–วิด] ว. เกี่ยวเนื่องกับพระอาทิตย์. (ส.).
สาวิตรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[–วิดตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง คําสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สาวิตรี [–วิดตฺรี] น. คําสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท. (ส.).
สาสน, สาสน–, สาสน์, สาส์น สาสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู สาสน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู สาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สาส์น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู [สาน, สาสะนะ–, สาดสะนะ–, สาด, สาน] เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่ง, คําสั่งสอน, เช่น สาสนธรรม; จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, เขียนเป็น พระราชสาสน หรือ พระราชสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สาสน, สาสน–, สาสน์, สาส์น [สาน, สาสะนะ–, สาดสะนะ–, สาด, สาน] น. คําสั่ง, คําสั่งสอน, เช่น สาสนธรรม; จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, เขียนเป็น พระราชสาสน หรือ พระราชสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. (ป.).
สาสนธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งสอนทางศาสนา.สาสนธรรม น. คําสั่งสอนทางศาสนา.
สาสนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[สาดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง ศาสนา, คําสั่งสอนของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต ศาสน เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู.สาสนา [สาดสะหฺนา] น. ศาสนา, คําสั่งสอนของศาสดา. (ป. สาสน; ส. ศาสน).
สาสม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า[สา–สม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ, สมควร, เช่น ต้องลงโทษให้สาสมแก่ความผิด.สาสม [สา–สม] ว. เหมาะ, สมควร, เช่น ต้องลงโทษให้สาสมแก่ความผิด.
สาหร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีลําต้น ใบ และรากที่แท้จริง แต่มีคลอโรฟิลล์ บ้างเป็นเซลล์เดียว บ้างเป็นกลุ่มเซลล์ เป็นสาย หรือเป็นต้นคล้ายพืชชั้นสูง ขึ้นทั่วไปในนํ้าหรือที่ชื้นแฉะ เช่น สาหร่ายไส้ไก่ [Enteromorpha intestinalis (L.) Link] ในวงศ์ Ulvaceae; ชื่อพืชชั้นสูงที่มีดอกบางชนิดซึ่งขึ้นอยู่ในนํ้า เช่น สาหร่ายพุงชะโด (Ceratophyllum demersum L.) ในวงศ์ Ceratophyllaceae สาหร่ายเส้นด้าย (Najas graminea Del.) ในวงศ์ Najadaceae.สาหร่าย ๑ น. ชื่อพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีลําต้น ใบ และรากที่แท้จริง แต่มีคลอโรฟิลล์ บ้างเป็นเซลล์เดียว บ้างเป็นกลุ่มเซลล์ เป็นสาย หรือเป็นต้นคล้ายพืชชั้นสูง ขึ้นทั่วไปในนํ้าหรือที่ชื้นแฉะ เช่น สาหร่ายไส้ไก่ [Enteromorpha intestinalis (L.) Link] ในวงศ์ Ulvaceae; ชื่อพืชชั้นสูงที่มีดอกบางชนิดซึ่งขึ้นอยู่ในนํ้า เช่น สาหร่ายพุงชะโด (Ceratophyllum demersum L.) ในวงศ์ Ceratophyllaceae สาหร่ายเส้นด้าย (Najas graminea Del.) ในวงศ์ Najadaceae.
สาหร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายประเภทเครื่องห้อยแบบหนึ่งนิยมประดับริมเสามุขเด็จพระมหาปราสาทหรือพระอุโบสถเป็นต้น.สาหร่าย ๒ น. ชื่อลายประเภทเครื่องห้อยแบบหนึ่งนิยมประดับริมเสามุขเด็จพระมหาปราสาทหรือพระอุโบสถเป็นต้น.
สาหรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[–หฺรี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, น่ารัก, ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สาหรี [–หฺรี] ว. งาม, น่ารัก, ดี. (ช.).
ส่าหรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[–หฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแต่งกายสตรีอินเดียแบบหนึ่ง เป็นผ้าชิ้นยาวประมาณ ๕–๖ เมตร ใช้เป็นทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม ส่วนที่นุ่ง ยาวกรอมส้น พันรอบตัวและจีบข้างหน้าเหน็บไว้ที่เอว ส่วนผ้าห่มใช้ชายผ้าที่เหลือพาดอกและสะพายบ่า โดยมากเป็นบ่าซ้ายห้อยชายไปข้างหลัง ชายที่ห้อยดึงมาคลุมหัวก็ได้.ส่าหรี [–หฺรี] น. เครื่องแต่งกายสตรีอินเดียแบบหนึ่ง เป็นผ้าชิ้นยาวประมาณ ๕–๖ เมตร ใช้เป็นทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม ส่วนที่นุ่ง ยาวกรอมส้น พันรอบตัวและจีบข้างหน้าเหน็บไว้ที่เอว ส่วนผ้าห่มใช้ชายผ้าที่เหลือพาดอกและสะพายบ่า โดยมากเป็นบ่าซ้ายห้อยชายไปข้างหลัง ชายที่ห้อยดึงมาคลุมหัวก็ได้.
สาหัตถ–, สาหัตถิก– สาหัตถ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง สาหัตถิก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ [–ถะ–, –ถิกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําด้วยมือของตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สาหัตถ–, สาหัตถิก– [–ถะ–, –ถิกะ–] ว. ที่ทําด้วยมือของตนเอง. (ป.).
สาหัส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ[–หัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายแรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกินควร เช่น ถูกลงโทษอย่างสาหัส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาหัส [–หัด] ว. ร้ายแรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกินควร เช่น ถูกลงโทษอย่างสาหัส. (ป., ส.).
สาหัสสากรรจ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสนสาหัส, ร้ายแรงมาก, คอขาดบาดตาย, เช่น ได้รับทุกข์ทรมานอย่างสาหัสสากรรจ์, โดยปริยายหมายความว่า ลำบากยิ่ง เช่น ทางนี้ทุรกันดารสาหัสสากรรจ์ บุกป่าฝ่าดงอย่างสาหัสสากรรจ์.สาหัสสากรรจ์ ว. แสนสาหัส, ร้ายแรงมาก, คอขาดบาดตาย, เช่น ได้รับทุกข์ทรมานอย่างสาหัสสากรรจ์, โดยปริยายหมายความว่า ลำบากยิ่ง เช่น ทางนี้ทุรกันดารสาหัสสากรรจ์ บุกป่าฝ่าดงอย่างสาหัสสากรรจ์.
สาเหตุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ[สาเหด] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเหตุ เช่น ความประมาทเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุ บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เป็นโรคมะเร็ง.สาเหตุ [สาเหด] น. ต้นเหตุ เช่น ความประมาทเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุ บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เป็นโรคมะเร็ง.
ส่าเหล้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดูใน ส่า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา.ส่าเหล้า ๑ ดูใน ส่า.
ส่าเหล้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos cochinchinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ใบด้านล่างเป็นคราบขาว ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม.ส่าเหล้า ๒ น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos cochinchinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ใบด้านล่างเป็นคราบขาว ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม.
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [–แหฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใส่ของสําหรับหิ้วหรือหาบเป็นต้น ปรกติทําด้วยหวาย มี ๔ สาย ตอนบนทําเป็นหูสําหรับหิ้วหรือสอดไม้คาน ตอนล่างขัดกันเป็นสี่เหลี่ยมสําหรับวางกระจาดเป็นต้น. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร สงฺแรก เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่.สาแหรก ๑ [–แหฺรก] น. เครื่องใส่ของสําหรับหิ้วหรือหาบเป็นต้น ปรกติทําด้วยหวาย มี ๔ สาย ตอนบนทําเป็นหูสําหรับหิ้วหรือสอดไม้คาน ตอนล่างขัดกันเป็นสี่เหลี่ยมสําหรับวางกระจาดเป็นต้น. (เทียบ ข. สงฺแรก).
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชมพู่ชนิด Syzygium malaccensis (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ผลใหญ่ สีชมพู เนื้อหนา มีลายสีแดงเข้มเป็นเส้น ๆ ตามยาว.สาแหรก ๒ น. ชื่อชมพู่ชนิด Syzygium malaccensis (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ผลใหญ่ สีชมพู เนื้อหนา มีลายสีแดงเข้มเป็นเส้น ๆ ตามยาว.
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ร่องที่อยู่บนข้าวเปลือก ถ้าร่องนั้นลึกก็จะปรากฏบนเมล็ดข้าวด้วย.สาแหรก ๓ น. ร่องที่อยู่บนข้าวเปลือก ถ้าร่องนั้นลึกก็จะปรากฏบนเมล็ดข้าวด้วย.
สาฬุระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; กบ, เขียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาลูร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ ว่า กบ, ศาลูร ว่า กบ, เขียด .สาฬุระ น. หมา. (ป.); กบ, เขียด. (ส. สาลูร ว่า กบ, ศาลูร ว่า กบ, เขียด).
สำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ซับซ้อนกัน, ปะปนกัน, ไม่เป็นลําดับ, ไม่เป็นระเบียบ.สำ ก. ซับซ้อนกัน, ปะปนกัน, ไม่เป็นลําดับ, ไม่เป็นระเบียบ.
สำส่อน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปะปนโดยไม่เลือกเช่นในการคบค้าสมาคมหรือในการซ่องเสพเป็นต้น เช่น สำส่อนทางเพศ จะเป็นเอดส์ไม่รู้ตัว อย่าสำส่อนในการกินอาหาร. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ปะปนในลักษณะเช่นนั้น เช่น เที่ยวสำส่อน กินสำส่อน.สำส่อน ก. ปะปนโดยไม่เลือกเช่นในการคบค้าสมาคมหรือในการซ่องเสพเป็นต้น เช่น สำส่อนทางเพศ จะเป็นเอดส์ไม่รู้ตัว อย่าสำส่อนในการกินอาหาร. ว. ที่ปะปนในลักษณะเช่นนั้น เช่น เที่ยวสำส่อน กินสำส่อน.
ส่ำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, เหล่า, พวก, ชนิด, เช่น สํ่าสัตว์.ส่ำ น. หมู่, เหล่า, พวก, ชนิด, เช่น สํ่าสัตว์.
สำคัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นพิเศษกว่าธรรมดา เช่น เรื่องสําคัญ, มีคุณค่า เช่น ของสําคัญ, มีชื่อเสียง เช่น คนสําคัญ; ควรกําหนดจดจํา เช่น หัวข้อสำคัญ. เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าใจ เช่น สำคัญตนผิด สำคัญว่าเชือกเป็นงู, คะเน, คาดว่า, เช่น ลงทุนไปแล้วก็สำคัญว่าจะได้กำไรมาก. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมาย, เครื่องจดจํา, เช่น ถือหลักเขตเป็นสําคัญ ให้ไว้เป็นสำคัญ ประทับตราบัวแก้วไว้เป็นสำคัญ.สำคัญ ว. เป็นพิเศษกว่าธรรมดา เช่น เรื่องสําคัญ, มีคุณค่า เช่น ของสําคัญ, มีชื่อเสียง เช่น คนสําคัญ; ควรกําหนดจดจํา เช่น หัวข้อสำคัญ. ก. เข้าใจ เช่น สำคัญตนผิด สำคัญว่าเชือกเป็นงู, คะเน, คาดว่า, เช่น ลงทุนไปแล้วก็สำคัญว่าจะได้กำไรมาก. น. เครื่องหมาย, เครื่องจดจํา, เช่น ถือหลักเขตเป็นสําคัญ ให้ไว้เป็นสำคัญ ประทับตราบัวแก้วไว้เป็นสำคัญ.
สำซ่าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ ส้าง ก็เรียก.สำซ่าง น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ ส้าง ก็เรียก.
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แสดง, ทําให้เห็นปรากฏ, เช่น สําแดงฤทธิ์ สําแดงเดช ปีศาจสำแดงตน. (แผลงมาจาก แสดง).สำแดง ๑ ก. แสดง, ทําให้เห็นปรากฏ, เช่น สําแดงฤทธิ์ สําแดงเดช ปีศาจสำแดงตน. (แผลงมาจาก แสดง).
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของแสลงที่ทำให้โรคกำเริบ, สำแลง ก็ว่า, ใช้ในคำว่า ผิดสำแดง หรือ ผิดสำแลง.สำแดง ๒ น. ของแสลงที่ทำให้โรคกำเริบ, สำแลง ก็ว่า, ใช้ในคำว่า ผิดสำแดง หรือ ผิดสำแลง.
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ คํากล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสํานวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สําแดงอานนท์.สำแดง ๓ คํากล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสํานวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สําแดงอานนท์.
สำทับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ยํ้า, กำชับ, เช่น เขาสั่งให้ทำงานแล้วสำทับว่าต้องเสร็จใน ๓ วัน, ซ้ำเติม เช่น ลูกถูกแม่ตีแล้วพ่อยังสำทับว่าถ้าทำอีกก็จะถูกตีอีก, ขู่ เช่น ผู้ร้ายสำทับว่า อย่าไปบอกตำรวจมิฉะนั้นจะฆ่าปิดปาก.สำทับ ก. ยํ้า, กำชับ, เช่น เขาสั่งให้ทำงานแล้วสำทับว่าต้องเสร็จใน ๓ วัน, ซ้ำเติม เช่น ลูกถูกแม่ตีแล้วพ่อยังสำทับว่าถ้าทำอีกก็จะถูกตีอีก, ขู่ เช่น ผู้ร้ายสำทับว่า อย่าไปบอกตำรวจมิฉะนั้นจะฆ่าปิดปาก.
สำนวด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก[สําหฺนวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สวด. (แผลงมาจาก สวด).สำนวด [สําหฺนวด] (กลอน) ก. สวด. (แผลงมาจาก สวด).
สำนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สํานวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สํานวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ; คดี เช่น ปิดสำนวน; ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รําไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคําที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สํานวนฝรั่ง สํานวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทํานองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สํานวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ สํานวนไม้ เมืองเดิม; ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่น อิเหนามีหลายสํานวน บทความ ๒ สํานวน.สำนวน น. ถ้อยคําที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สํานวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สํานวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ; คดี เช่น ปิดสำนวน; ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รําไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคําที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สํานวนฝรั่ง สํานวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทํานองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สํานวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ สํานวนไม้ เมืองเดิม; ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่น อิเหนามีหลายสํานวน บทความ ๒ สํานวน.
สำนวนความ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาคําคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทําขึ้น ซึ่งประกอบเป็นสํานวนของคดี.สำนวนความ (กฎ) น. บรรดาคําคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทําขึ้น ซึ่งประกอบเป็นสํานวนของคดี.
สำนอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน. (แผลงมาจาก สนอง).สำนอง ก. รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน. (แผลงมาจาก สนอง).
สำนัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่อาศัย เช่น อยู่สำนักวัดมหาธาตุ, ที่ทําการ เช่น สํานักนายกรัฐมนตรี; แหล่งศึกษาอบรม เช่น สํานักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ เช่น เวลานี้สํานักที่ไหน. (โบ เขียนเป็น สํานักนิ).สำนัก น. ที่อยู่อาศัย เช่น อยู่สำนักวัดมหาธาตุ, ที่ทําการ เช่น สํานักนายกรัฐมนตรี; แหล่งศึกษาอบรม เช่น สํานักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. ก. อยู่ เช่น เวลานี้สํานักที่ไหน. (โบ เขียนเป็น สํานักนิ).
สำนักงาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทำการของรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทห้างร้านเป็นต้น เช่น สำนักงานสลากกินแบ่ง สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน สำนักงานทนายความ.สำนักงาน น. สถานที่ทำการของรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทห้างร้านเป็นต้น เช่น สำนักงานสลากกินแบ่ง สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน สำนักงานทนายความ.
สำนักพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือสารคดี นวนิยาย เป็นต้น.สำนักพิมพ์ น. สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือสารคดี นวนิยาย เป็นต้น.
สำนักสงฆ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา.สำนักสงฆ์ น. วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา.
สำนาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, เสียงพูด.สำนาน น. เสียง, เสียงพูด.
สำนึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกซาบซึ้ง เช่น สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สำนึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ครูบาอาจารย์.สำนึก ก. รู้สึกซาบซึ้ง เช่น สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สำนึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ครูบาอาจารย์.
สำนึกผิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกตระหนักในความผิดที่ได้ทำไป เช่น ผู้ร้ายสำนึกผิดจึงได้สารภาพ, บางทีก็ใช้ว่า สำนึก เช่น ทำผิดถูกลงโทษแล้วยังไม่สำนึกอีก.สำนึกผิด ก. รู้สึกตระหนักในความผิดที่ได้ทำไป เช่น ผู้ร้ายสำนึกผิดจึงได้สารภาพ, บางทีก็ใช้ว่า สำนึก เช่น ทำผิดถูกลงโทษแล้วยังไม่สำนึกอีก.
สำนึง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่. (แผลงมาจาก สึง).สำนึง ก. อยู่. (แผลงมาจาก สึง).
สำเนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ; ลักษณนามเรียกจํานวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. เป็นคำกริยา หมายถึง คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสําเนาไว้ก่อน.สำเนา น. ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ; ลักษณนามเรียกจํานวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. ก. คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสําเนาไว้ก่อน.
สำเนียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สําเนียงส่อภาษา สําเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง.สำเนียง น. เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สําเนียงส่อภาษา สําเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง.
สำบอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เปลือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สํบก เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่.สำบอก น. เปลือก. (ข. สํบก).
สำบัดสำนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดจาหลีกเลี่ยงไม่ให้เข้าใจตรง ๆ, ใช้คารมพลิกแพลง, เล่นลิ้น, เช่น อย่าสำบัดสำนวนให้มากนัก. เป็นคำนาม หมายถึง สํานวน, คารมพลิกแพลง, เช่น เขาพูดมีสำบัดสำนวนมาก บทความของเขาเต็มไปด้วยสำบัดสำนวน.สำบัดสำนวน ก. พูดจาหลีกเลี่ยงไม่ให้เข้าใจตรง ๆ, ใช้คารมพลิกแพลง, เล่นลิ้น, เช่น อย่าสำบัดสำนวนให้มากนัก. น. สํานวน, คารมพลิกแพลง, เช่น เขาพูดมีสำบัดสำนวนมาก บทความของเขาเต็มไปด้วยสำบัดสำนวน.
สำปะลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ขนุนสําปะลอ. ในวงเล็บ ดู ขนุนสําปะลอ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง ที่ ขนุน เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.สำปะลอ น. ขนุนสําปะลอ. (ดู ขนุนสําปะลอ ที่ ขนุน ๑).
สำปะหลัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมันชนิด Manihot esculenta Crantz ในวงศ์ Euphorbiaceae หัวดิบเป็นพิษ, สําโรง ก็เรียก.สำปะหลัง น. ชื่อมันชนิด Manihot esculenta Crantz ในวงศ์ Euphorbiaceae หัวดิบเป็นพิษ, สําโรง ก็เรียก.
สำปั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทําด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย.สำปั้น ๑ น. ชื่อเรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทําด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย.
สำปั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..สำปั้น ๒ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..
สำปันนี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง รูปร่างอย่างเรือมาด แต่เพรียวกว่า หัวและท้ายแบนโตเรี่ยนํ้า.สำปันนี ๑ น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง รูปร่างอย่างเรือมาด แต่เพรียวกว่า หัวและท้ายแบนโตเรี่ยนํ้า.
สำปันนี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งมัน ตั้งไฟกวนกับกะทิและน้ำตาลทรายให้เข้ากันพอปั้นได้ ตักใส่พิมพ์อัดให้เป็นรูป แล้วเคาะออก อบด้วยควันเทียนอบ.สำปันนี ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งมัน ตั้งไฟกวนกับกะทิและน้ำตาลทรายให้เข้ากันพอปั้นได้ ตักใส่พิมพ์อัดให้เป็นรูป แล้วเคาะออก อบด้วยควันเทียนอบ.
สำเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน แล่นด้วยใบ.สำเภา ๑ น. ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน แล่นด้วยใบ.
สำเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามป่าดิบทั่วไป ผลมีหนามละเอียดโดยรอบ, ขี้หนอน ก็เรียก.สำเภา ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามป่าดิบทั่วไป ผลมีหนามละเอียดโดยรอบ, ขี้หนอน ก็เรียก.
สำเภาทอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพสุ มี ๓ ดวง, ดาวสะเภา ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย ดาวหัวสําเภา หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก.สำเภาทอง น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพสุ มี ๓ ดวง, ดาวสะเภา ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย ดาวหัวสําเภา หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก.
สำมะงา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum inerme Gaertn. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทํายาได้.สำมะงา น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum inerme Gaertn. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทํายาได้.
สำมะโน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากร เคหะ การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอื่น เพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ โดยการแจงนับจากทุกหน่วยเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ.สำมะโน (กฎ) น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากร เคหะ การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอื่น เพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ โดยการแจงนับจากทุกหน่วยเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ.
สำมะโนครัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน.สำมะโนครัว น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน.
สำมะโนประชากร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ.สำมะโนประชากร น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ.
สำมะลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สําปะลอ.สำมะลอ น. สําปะลอ.
สำมะเลเทเมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง คบหากันอย่างเลอะเทอะ เช่น พอตกเย็นก็พากันไปสำมะเลเทเมา, ประพฤติเหลวไหลเช่นกินเหล้าเมายาเป็นต้น เช่น เขาชอบสำมะเลเทเมา กลางวันเล่นม้ากลางคืนกินเหล้า.สำมะเลเทเมา ก. คบหากันอย่างเลอะเทอะ เช่น พอตกเย็นก็พากันไปสำมะเลเทเมา, ประพฤติเหลวไหลเช่นกินเหล้าเมายาเป็นต้น เช่น เขาชอบสำมะเลเทเมา กลางวันเล่นม้ากลางคืนกินเหล้า.
สำมะหาอะไร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น งานเล็ก ๆ เช่นนี้ยังทำไม่สำเร็จ สำมะหาอะไรจะไปทำงานใหญ่, สำหาอะไร ก็ว่า.สำมะหาอะไร ว. นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น งานเล็ก ๆ เช่นนี้ยังทำไม่สำเร็จ สำมะหาอะไรจะไปทำงานใหญ่, สำหาอะไร ก็ว่า.
สำรด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สมรด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก.สำรด น. ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สมรด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก.
สำรวจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน[สำหฺรวด] เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจสอบ เช่น สํารวจสํามะโนครัว สำรวจพฤติกรรม, ตรวจหา เช่น สํารวจแหล่งแร่.สำรวจ [สำหฺรวด] ก. ตรวจสอบ เช่น สํารวจสํามะโนครัว สำรวจพฤติกรรม, ตรวจหา เช่น สํารวจแหล่งแร่.
สำรวม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ระมัดระวัง เช่น สํารวมกิริยามารยาท สำรวมตา สำรวมปาก, เหนี่ยวรั้ง, ครอง, เช่น สํารวมสติ.สำรวม ๑ ก. ระมัดระวัง เช่น สํารวมกิริยามารยาท สำรวมตา สำรวมปาก, เหนี่ยวรั้ง, ครอง, เช่น สํารวมสติ.
สำรวมใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําใจให้แน่วแน่, ทำใจให้สงบ, เช่น เวลานั่งสมาธิต้องสำรวมใจ.สำรวมใจ ก. ทําใจให้แน่วแน่, ทำใจให้สงบ, เช่น เวลานั่งสมาธิต้องสำรวมใจ.
สำรวมอินทรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ระมัดระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ.สำรวมอินทรีย์ ก. ระมัดระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ.
สำรวม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวม, ประสม, ปนกัน, เช่น อาหารสำรวม.สำรวม ๒ ว. รวม, ประสม, ปนกัน, เช่น อาหารสำรวม.
สำรวย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทํากิริยากรีดกรายหยิบหย่ง, เอาแต่แต่งตัว, เช่น ท่าทางสำรวยอย่างนี้ คงจะทำงานหนักไม่ไหว. (แผลงมาจาก สวย).สำรวย ว. ทํากิริยากรีดกรายหยิบหย่ง, เอาแต่แต่งตัว, เช่น ท่าทางสำรวยอย่างนี้ คงจะทำงานหนักไม่ไหว. (แผลงมาจาก สวย).
สำรวล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะ, รื่นเริง. (แผลงมาจาก สรวล).สำรวล ก. หัวเราะ, รื่นเริง. (แผลงมาจาก สรวล).
สำรอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขย้อนเอาสิ่งที่กลืนลงไปในกระเพาะแล้วออกมาทางปาก เช่น สำรอกอาหาร; ทำให้สิ่งที่ติดอยู่กับผิวหลุดออกมา เช่น สำรอกทอง สำรอกสี.สำรอก ก. ขย้อนเอาสิ่งที่กลืนลงไปในกระเพาะแล้วออกมาทางปาก เช่น สำรอกอาหาร; ทำให้สิ่งที่ติดอยู่กับผิวหลุดออกมา เช่น สำรอกทอง สำรอกสี.
สำรอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Scaphium scaphigerum (G. Don) Guib. et Planch. ในวงศ์ Sterculiaceae ผลแช่นํ้าแล้วพองเป็นวุ้น ใช้กินกับนํ้าตาลและใช้ทํายาได้ เรียก พุงทะลาย.สำรอง ๑ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Scaphium scaphigerum (G. Don) Guib. et Planch. ในวงศ์ Sterculiaceae ผลแช่นํ้าแล้วพองเป็นวุ้น ใช้กินกับนํ้าตาลและใช้ทํายาได้ เรียก พุงทะลาย.
สำรอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เตรียมเผื่อไว้ เช่น อาหารสำรอง ตัวสำรอง.สำรอง ๒ ว. ที่เตรียมเผื่อไว้ เช่น อาหารสำรอง ตัวสำรอง.
สำรับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ของหรือคนที่รวมกันเข้าได้ไม่ผิดหมู่ผิดพวกเป็นชุดเป็นวงเป็นต้น เช่น ไพ่ ๒ สำรับ พระพิธีธรรม ๑ สำรับ มี ๔ รูป นักสวดคฤหัสถ์ ๑ สำรับ มี ๔ คน, ภาชนะเช่นถาดเป็นต้นใส่ถ้วยชามพร้อมบรรจุอาหารคาวหรือหวานเป็นชุด เช่น สำรับคาว สำรับหวาน.สำรับ น. ของหรือคนที่รวมกันเข้าได้ไม่ผิดหมู่ผิดพวกเป็นชุดเป็นวงเป็นต้น เช่น ไพ่ ๒ สำรับ พระพิธีธรรม ๑ สำรับ มี ๔ รูป นักสวดคฤหัสถ์ ๑ สำรับ มี ๔ คน, ภาชนะเช่นถาดเป็นต้นใส่ถ้วยชามพร้อมบรรจุอาหารคาวหรือหวานเป็นชุด เช่น สำรับคาว สำรับหวาน.
สำราก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกระโชกโฮกฮาก เช่น อย่ามาสำรากกับฉันนะ.สำราก ก. พูดกระโชกโฮกฮาก เช่น อย่ามาสำรากกับฉันนะ.
สำราญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง สุขสบาย เช่น วันอาทิตย์จะนอนให้สำราญเลย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้มีความสุขสบาย เช่น เรือสำราญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สํราล เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.สำราญ ก. สุขสบาย เช่น วันอาทิตย์จะนอนให้สำราญเลย. ว. ที่ทำให้มีความสุขสบาย เช่น เรือสำราญ. (ข. สํราล).
สำราญกาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สบายกาย.สำราญกาย ก. สบายกาย.
สำราญใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง สบายใจ.สำราญใจ ก. สบายใจ.
สำริด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สัมฤทธิ์.สำริด (โบ) น. สัมฤทธิ์.
สำเร็จ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เสร็จ เช่น สำเร็จการศึกษา; ถึง, บรรลุ, เช่น สําเร็จโสดา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เครื่องแกงสำเร็จ, ได้ผลสมประสงค์ เช่น วางแผนการขายสินค้าได้สำเร็จ.สำเร็จ ก. เสร็จ เช่น สำเร็จการศึกษา; ถึง, บรรลุ, เช่น สําเร็จโสดา. ว. ที่เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เครื่องแกงสำเร็จ, ได้ผลสมประสงค์ เช่น วางแผนการขายสินค้าได้สำเร็จ.
สำเร็จโทษ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี(โบ; ราชา) ก. ประหารชีวิต.สำเร็จโทษ (โบ; ราชา) ก. ประหารชีวิต.
สำเร็จรูป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เสื้อผ้าสําเร็จรูป อาหารสําเร็จรูป กาแฟสำเร็จรูป.สำเร็จรูป ว. ที่ทำไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เสื้อผ้าสําเร็จรูป อาหารสําเร็จรูป กาแฟสำเร็จรูป.
สำเรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทุเลา, อาการไข้ที่สร่างจากตัวร้อน, ยังมีอาการตัวร้อนน้อย ๆ.สำเรา ก. ทุเลา, อาการไข้ที่สร่างจากตัวร้อน, ยังมีอาการตัวร้อนน้อย ๆ.
สำเริง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รื่นเริง, ร่าเริง, เช่น นวนิยายให้ความสำเริงอารมณ์, มักใช้เข้าคู่กับคำ สำราญ เป็น สำเริงสำราญ หรือ สำราญสำเริง.สำเริง ก. รื่นเริง, ร่าเริง, เช่น นวนิยายให้ความสำเริงอารมณ์, มักใช้เข้าคู่กับคำ สำราญ เป็น สำเริงสำราญ หรือ สำราญสำเริง.
สำโรง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Sterculia foetida L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกมีกลิ่นเหม็น เมล็ดให้นํ้ามัน เรียกว่า นํ้ามันลูกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . (๒) ดู สําปะหลัง.สำโรง น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Sterculia foetida L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกมีกลิ่นเหม็น เมล็ดให้นํ้ามัน เรียกว่า นํ้ามันลูกไม้. (ข.). (๒) ดู สําปะหลัง.
สำลัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เกิดเมื่ออาหารหรือนํ้าเข้าไปในหลอดลม; แช่จมอยู่ในนํ้านาน ๆ เช่น ผักบุ้งสําลักนํ้า ต้นข้าวสําลักนํ้า. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกป้านสีขาว เนื้อไม่แน่นละเอียด นํ้าซึมออกมาได้ ว่า ป้านสําลัก.สำลัก ก. อาการที่เกิดเมื่ออาหารหรือนํ้าเข้าไปในหลอดลม; แช่จมอยู่ในนํ้านาน ๆ เช่น ผักบุ้งสําลักนํ้า ต้นข้าวสําลักนํ้า. น. เรียกป้านสีขาว เนื้อไม่แน่นละเอียด นํ้าซึมออกมาได้ ว่า ป้านสําลัก.
สำลาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเหลืองปนแดง.สำลาน ว. สีเหลืองปนแดง.
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Gossypium barbadense L. var. acuminatum (Roxb.) Mast. ในวงศ์ Malvaceae เมล็ดมีปุยขาวใช้ทอผ้าได้; ชื่อเรียกปุยของเมล็ดฝ้ายหรือเมล็ดสําลี. (๒) อ้อยสําลี. ในวงเล็บ ดู ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๔ (๑).สำลี ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Gossypium barbadense L. var. acuminatum (Roxb.) Mast. ในวงศ์ Malvaceae เมล็ดมีปุยขาวใช้ทอผ้าได้; ชื่อเรียกปุยของเมล็ดฝ้ายหรือเมล็ดสําลี. (๒) อ้อยสําลี. [ดู ตะเภา ๔ (๑)].
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกปุยฝ้ายที่นํามาฟอกให้ขาวปราศจากไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ เพื่อใช้ในทางการแพทย์เป็นต้น; เรียกผ้าชนิดหนึ่ง มีขนเนื้อนุ่ม มักใช้ห่มหรือตัดเสื้อกันหนาว ว่า ผ้าสําลี.สำลี ๒ น. ชื่อเรียกปุยฝ้ายที่นํามาฟอกให้ขาวปราศจากไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ เพื่อใช้ในทางการแพทย์เป็นต้น; เรียกผ้าชนิดหนึ่ง มีขนเนื้อนุ่ม มักใช้ห่มหรือตัดเสื้อกันหนาว ว่า ผ้าสําลี.
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Seriolina nigrofasciata ในวงศ์ Carangidae ลําตัวค่อนข้างกลม สีเทาคลํ้า เกล็ดเล็ก คอดหางกิ่ว, ช่อลำดวน ก็เรียก.สำลี ๓ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Seriolina nigrofasciata ในวงศ์ Carangidae ลําตัวค่อนข้างกลม สีเทาคลํ้า เกล็ดเล็ก คอดหางกิ่ว, ช่อลำดวน ก็เรียก.
สำแลง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ของแสลงที่ทําให้โรคกําเริบ, สำแดง ก็ว่า, ใช้ในคําว่า ผิดสําแลง หรือ ผิดสำแดง.สำแลง น. ของแสลงที่ทําให้โรคกําเริบ, สำแดง ก็ว่า, ใช้ในคําว่า ผิดสําแลง หรือ ผิดสำแดง.
สำสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู สําซ่าง เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.สำสร้าง ดู สําซ่าง.
สำสา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นก้ามปู. ในวงเล็บ ดู ก้ามปู เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู.สำสา (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นก้ามปู. (ดู ก้ามปู).
สำเส็ด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ขนาดเล็ก ลูกเหมือนลูกชมพู่. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.สำเส็ด น. ต้นไม้ขนาดเล็ก ลูกเหมือนลูกชมพู่. (พจน. ๒๔๙๓).
ส่ำเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียหายอย่างป่นปี้.ส่ำเสีย ก. เสียหายอย่างป่นปี้.
สำหรวด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสําหรวด.สำหรวด น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสําหรวด.
สำหรับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คู่กับ, ควรกับ, เช่น ช้อนกับส้อมเป็นของสำหรับกัน หมากพลูกับเชี่ยนเป็นของสำหรับกัน. เป็นคำบุรพบท หมายถึง เพื่อ เช่น ของสำหรับถวายพระ วันนี้ฉันทำกับข้าวเป็นพิเศษสำหรับเธอ.สำหรับ ว. คู่กับ, ควรกับ, เช่น ช้อนกับส้อมเป็นของสำหรับกัน หมากพลูกับเชี่ยนเป็นของสำหรับกัน. บ. เพื่อ เช่น ของสำหรับถวายพระ วันนี้ฉันทำกับข้าวเป็นพิเศษสำหรับเธอ.
สำหาอะไร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น เรียนชั้นมัธยมยังสอบตก สำหาอะไรจะไปเรียนมหาวิทยาลัย, สำมะหาอะไร ก็ว่า.สำหาอะไร ว. นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น เรียนชั้นมัธยมยังสอบตก สำหาอะไรจะไปเรียนมหาวิทยาลัย, สำมะหาอะไร ก็ว่า.
สำเหนียก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[สำเหฺนียก] เป็นคำกริยา หมายถึง ฟัง, คอยเอาใจใส่, กําหนดจดจํา, เช่น ผู้ใหญ่สอนอะไรก็ให้สำเหนียกไว้ให้ดี.สำเหนียก [สำเหฺนียก] ก. ฟัง, คอยเอาใจใส่, กําหนดจดจํา, เช่น ผู้ใหญ่สอนอะไรก็ให้สำเหนียกไว้ให้ดี.
สำเหร่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Melastoma malabathricum L. ในวงศ์ Melastomataceae ดอกสีชมพู.สำเหร่ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Melastoma malabathricum L. ในวงศ์ Melastomataceae ดอกสีชมพู.
สำออย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพรํ่ารําพันให้เอ็นดูสงสาร, ร้องออดอ้อนจะเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เจ็บนิดเดียว สำออยอยู่นั่นแหละ ลูกสำออยพ่อแม่ขอซื้อตุ๊กตา.สำออย ก. พูดพรํ่ารําพันให้เอ็นดูสงสาร, ร้องออดอ้อนจะเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เจ็บนิดเดียว สำออยอยู่นั่นแหละ ลูกสำออยพ่อแม่ขอซื้อตุ๊กตา.
สำอาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแป้งเครื่องหอม เรียกว่า เครื่องสําอาง, ปัจจุบันหมายถึง สิ่งเสริมแต่งหรือบำรุงใบหน้า ผิวพรรณ ผม เป็นต้นให้ดูงาม เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสําอาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้งามสะอาดหมดจด, งามสะอาดหมดจด, งามกรีดกรายหยิบหย่ง เช่น เขาเป็นหนุ่มสำอางท่าทางกรีดกราย.สำอาง น. เครื่องแป้งเครื่องหอม เรียกว่า เครื่องสําอาง, ปัจจุบันหมายถึง สิ่งเสริมแต่งหรือบำรุงใบหน้า ผิวพรรณ ผม เป็นต้นให้ดูงาม เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสําอาง. ว. ที่ทําให้งามสะอาดหมดจด, งามสะอาดหมดจด, งามกรีดกรายหยิบหย่ง เช่น เขาเป็นหนุ่มสำอางท่าทางกรีดกราย.
สิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิคําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ, ซิ หรือ ซี ก็ว่า.สิ คําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ, ซิ หรือ ซี ก็ว่า.
สิกข์, สิข สิกข์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด สิข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์ ก็ว่า.สิกข์, สิข น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์ ก็ว่า.
สิกขมานา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สามเณรีที่มีอายุครบ ๑๘ ปี ก่อนอุปสมบทเป็นภิกษุณีจะต้องรักษาสิกขาบท ๖ ประการ เป็นเวลา ๒ ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิกขมานา (โบ) น. สามเณรีที่มีอายุครบ ๑๘ ปี ก่อนอุปสมบทเป็นภิกษุณีจะต้องรักษาสิกขาบท ๖ ประการ เป็นเวลา ๒ ปี. (ป.).
สิกขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล เรียกว่า ศีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา; การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิกฺษา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา.สิกขา น. ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล เรียกว่า ศีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา; การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. (ป.; ส. ศิกฺษา).
สิกขากาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[–กามะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้ใคร่ต่อการศึกษา, ผู้นับถือข้อบัญญัติโดยเคร่งครัด, สิกขกาม ก็ว่า เช่น สิกขกามบุคคล หมายถึง บุคคลที่ใคร่ต่อการศึกษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิกขากาม– [–กามะ–] ว. ผู้ใคร่ต่อการศึกษา, ผู้นับถือข้อบัญญัติโดยเคร่งครัด, สิกขกาม ก็ว่า เช่น สิกขกามบุคคล หมายถึง บุคคลที่ใคร่ต่อการศึกษา. (ป.).
สิกขาบท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ข้อศีล, ข้อวินัย, บทบัญญัติในพระวินัยที่พึงศึกษาปฏิบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิกขาบท น. ข้อศีล, ข้อวินัย, บทบัญญัติในพระวินัยที่พึงศึกษาปฏิบัติ. (ป.).
สิขร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ[–ขอน] เป็นคำนาม หมายถึง จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ.สิขร [–ขอน] น. จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา. (ป.; ส. ศิขร).
สิขรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[–ขะรี] เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขรินฺ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สิขรี [–ขะรี] น. ภูเขา. (ป.; ส. ศิขรินฺ).
สิขเรศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา.สิขเรศ (กลอน) น. ภูเขา.
สิขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ; ยอด, ปลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา.สิขา น. เปลวไฟ; ยอด, ปลาย. (ป.; ส. ศิขา).
สิขานล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิขานล น. เปลวไฟ. (ป.).
สิขี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ; นกยูง; พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขินฺ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สิขี น. เปลวไฟ; นกยูง; พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. (ป.; ส. ศิขินฺ).
สิคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[–คาน] เป็นคำนาม หมายถึง หมาจิ้งจอก, หมาป่า, สิงคาล ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤคาล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.สิคาล [–คาน] น. หมาจิ้งจอก, หมาป่า, สิงคาล ก็ว่า. (ป.; ส. ศฺฤคาล).
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, เข้าแทรกอยู่ เช่น ผีสิง, สึง ก็ว่า, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น เพื่อน ๆ ของลูกมาสิงอยู่ที่บ้านหลายคน, สิงสู่ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สิง ๑ ก. อยู่, เข้าแทรกอยู่ เช่น ผีสิง, สึง ก็ว่า, (ปาก) อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น เพื่อน ๆ ของลูกมาสิงอยู่ที่บ้านหลายคน, สิงสู่ ก็ว่า. (ข.).
สิงสถิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, (มักใช้แก่เทวดา), เช่น ต้นไม้ต้นนี้มีรุกขเทวดาสิงสถิต.สิงสถิต ก. อยู่, มาอาศัยอยู่, (มักใช้แก่เทวดา), เช่น ต้นไม้ต้นนี้มีรุกขเทวดาสิงสถิต.
สิงสู่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น โรงเรียนปิดเทอมแล้วไม่ยอมกลับบ้าน มัวสิงสู่อยู่ที่หอพัก, สิง ก็ว่า.สิงสู่ (ปาก) ก. อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น โรงเรียนปิดเทอมแล้วไม่ยอมกลับบ้าน มัวสิงสู่อยู่ที่หอพัก, สิง ก็ว่า.
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ดู ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.สิง ๒ ดู ตะลาน ๑.
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ดู กระฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู.สิง ๓ ดู กระฉง.
สิ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ของต่าง ๆ โดยไม่จำกัดว่ามีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นสิ่งมีชีวิต ก้อนหินเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ทองคำเป็นสิ่งมีค่า; ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง.สิ่ง น. ของต่าง ๆ โดยไม่จำกัดว่ามีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นสิ่งมีชีวิต ก้อนหินเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ทองคำเป็นสิ่งมีค่า; ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง.
สิ่งก่อสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อาคารบ้านเรือนเป็นต้นที่สร้างโดยใช้อิฐและปูนเป็นส่วนใหญ่.สิ่งก่อสร้าง น. อาคารบ้านเรือนเป็นต้นที่สร้างโดยใช้อิฐและปูนเป็นส่วนใหญ่.
สิ่งของ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุต่าง ๆ เช่น ก่อนลงจากรถควรตรวจสิ่งของให้ครบถ้วน, ของ หรือ ข้าวของ ก็ว่า.สิ่งของ น. วัตถุต่าง ๆ เช่น ก่อนลงจากรถควรตรวจสิ่งของให้ครบถ้วน, ของ หรือ ข้าวของ ก็ว่า.
สิ่งตีพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด(ไปร) น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์.สิ่งตีพิมพ์ (ไปร) น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์.
สิ่งปฏิกูล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฏิกูล.สิ่งปฏิกูล น. สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฏิกูล.
สิ่งปลูกสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อาคารบ้านเรือนที่ทำโดยวิธีฝังเสาลงในดิน.สิ่งปลูกสร้าง น. อาคารบ้านเรือนที่ทำโดยวิธีฝังเสาลงในดิน.
สิ่งพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน.สิ่งพิมพ์ (กฎ) น. สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน.
สิ่งละอันพันละน้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง อย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, อย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น ของขายมีสิ่งละอันพันละน้อย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, มีอย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น แม่ค้าเก็บของสิ่งละอันพันละน้อยมาขาย.สิ่งละอันพันละน้อย น. อย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, อย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น ของขายมีสิ่งละอันพันละน้อย. ว. มีอย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, มีอย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น แม่ค้าเก็บของสิ่งละอันพันละน้อยมาขาย.
สิ่งแวดล้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์มีทั้งที่ดีและไม่ดี เช่น โรงเรียนสร้างสวนดอกไม้ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่นักเรียน ชุมชนที่มีการทะเลาะวิวาทกันหรือเล่นการพนันเป็นสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีแก่เด็ก.สิ่งแวดล้อม น. สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์มีทั้งที่ดีและไม่ดี เช่น โรงเรียนสร้างสวนดอกไม้ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่นักเรียน ชุมชนที่มีการทะเลาะวิวาทกันหรือเล่นการพนันเป็นสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีแก่เด็ก.
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย.สิ่งศักดิ์สิทธิ์ น. สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย.
สิงขร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ขอ-ไข่-รอ-เรือ[–ขอน] เป็นคำนาม หมายถึง สิขร.สิงขร [–ขอน] น. สิขร.
สิงค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เขาสัตว์ต่าง ๆ; เขา, ยอดเขา, ที่ที่สูงสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สิงค์ น. เขาสัตว์ต่าง ๆ; เขา, ยอดเขา, ที่ที่สูงสุด. (ป.).
สิงคลิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามอย่างสง่า เช่น บพิตรพ่องามสิงคลิ้ง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.สิงคลิ้ง (กลอน) ว. งามอย่างสง่า เช่น บพิตรพ่องามสิงคลิ้ง. (ลอ).
สิงคลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–คฺลี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วุ่นวาย, พัลวัน.สิงคลี [–คฺลี] ว. วุ่นวาย, พัลวัน.
สิงคาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–คาน] เป็นคำนาม หมายถึง ศฤงคาร, สิ่งให้เกิดความรัก, บริวารหญิงผู้บําเรอความรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤงฺคาร เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สิงคาร [–คาน] น. ศฤงคาร, สิ่งให้เกิดความรัก, บริวารหญิงผู้บําเรอความรัก. (ป.; ส. ศฺฤงฺคาร).
สิงคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[–คาน] เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า, หมาจิ้งจอก, สิคาล ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤคาล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.สิงคาล [–คาน] น. หมาป่า, หมาจิ้งจอก, สิคาล ก็ว่า. (ป. สิคาล; ส. ศฺฤคาล).
สิงคี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์มีเขา, วัว, ควาย; ชื่อปลาชนิดหนึ่ง; ทองคํา; ชื่อผักชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤงฺคี เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี.สิงคี น. สัตว์มีเขา, วัว, ควาย; ชื่อปลาชนิดหนึ่ง; ทองคํา; ชื่อผักชนิดหนึ่ง. (ป.; ส. ศฺฤงฺคี).
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ในจินตนาการของจีน ถือว่ามีกําลังมากและมีหน้าตาดุร้าย.สิงโต ๑ น. ชื่อสัตว์ในจินตนาการของจีน ถือว่ามีกําลังมากและมีหน้าตาดุร้าย.
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิด Panthera leo ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ อาศัยอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง ตัวเมียมักทําหน้าที่ล่าเหยื่อ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย.สิงโต ๒ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิด Panthera leo ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ อาศัยอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง ตัวเมียมักทําหน้าที่ล่าเหยื่อ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย.
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลในสกุล Pterois วงศ์ Scorpaenidae ครีบต่าง ๆ แผ่กว้างโดยเฉพาะครีบอก สีฉูดฉาดสวยงามเป็นริ้วลาย หนามและก้านครีบแข็งเป็นพิษ ขนาดยาวได้ถึง ๓๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด เช่น ชนิด P. russelli, P. volitans.สิงโต ๓ น. ชื่อปลาทะเลในสกุล Pterois วงศ์ Scorpaenidae ครีบต่าง ๆ แผ่กว้างโดยเฉพาะครีบอก สีฉูดฉาดสวยงามเป็นริ้วลาย หนามและก้านครีบแข็งเป็นพิษ ขนาดยาวได้ถึง ๓๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด เช่น ชนิด P. russelli, P. volitans.
สิงโตทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Otariidae ซึ่งอาศัยอยู่ตามริมทะเล มีใบหูเห็นได้ชัด ลําคอยาว ขาไม่มีขนปกคลุม นิ้วไม่มีเล็บ ขาคู่หน้ายาวและอ่อนไปมาช่วยในการยันตัวและว่ายนํ้า ขาคู่หลังแยกออกจากหางช่วยในการเคลื่อนไหว มีหลายชนิด เช่น ชนิด Zalophus californianus, Otaria byronia.สิงโตทะเล น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Otariidae ซึ่งอาศัยอยู่ตามริมทะเล มีใบหูเห็นได้ชัด ลําคอยาว ขาไม่มีขนปกคลุม นิ้วไม่มีเล็บ ขาคู่หน้ายาวและอ่อนไปมาช่วยในการยันตัวและว่ายนํ้า ขาคู่หลังแยกออกจากหางช่วยในการเคลื่อนไหว มีหลายชนิด เช่น ชนิด Zalophus californianus, Otaria byronia.
สิงสาราสัตว์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ต่าง ๆ มักหมายถึงสัตว์ป่า เช่น ในป่าใหญ่มีสิงสาราสัตว์นานาชนิด.สิงสาราสัตว์ น. สัตว์ต่าง ๆ มักหมายถึงสัตว์ป่า เช่น ในป่าใหญ่มีสิงสาราสัตว์นานาชนิด.
สิงห–, สิงห์ สิงห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด [สิงหะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยาย ถือว่ามีความดุร้ายและมีกําลังมาก, ราชสีห์ ก็เรียก; ชื่อกลุ่มดาวรูปสิงห์ เรียกว่า ราศีสิงห์ เป็นราศีที่ ๔ ในจักรราศี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ และมาจากภาษาบาลี สีห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ.สิงห–, สิงห์ ๑ [สิงหะ–] น. สัตว์ในนิยาย ถือว่ามีความดุร้ายและมีกําลังมาก, ราชสีห์ ก็เรียก; ชื่อกลุ่มดาวรูปสิงห์ เรียกว่า ราศีสิงห์ เป็นราศีที่ ๔ ในจักรราศี. (ส. สึห; ป. สีห).
สิงหนาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง พระราชดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวง เหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก, สีหนาท ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ + นาท เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาบาลี สีห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ + นาท เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน .สิงหนาท น. พระราชดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวง เหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก, สีหนาท ก็ว่า. (ส. สึห + นาท; ป. สีห + นาท).
สิงหบัญชร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สีหบัญชร ก็ว่า.สิงหบัญชร น. หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สีหบัญชร ก็ว่า.
สิงหรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[สิงหะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สิงห์, สิงห์ตัวเมีย.สิงหรา [สิงหะ–] (กลอน) น. สิงห์, สิงห์ตัวเมีย.
สิงหราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง พญาราชสีห์, สีหราช ก็ว่า.สิงหราช น. พญาราชสีห์, สีหราช ก็ว่า.
สิงหาคม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๘ ของปีสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๕ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ + อาคม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า .สิงหาคม น. ชื่อเดือนที่ ๘ ของปีสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๕ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. (ส. สึห + อาคม).
สิงหาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ราชอาสน์หรือที่ประทับ ทําเป็นแท่นหรือเตียงจมูกสิงห์.สิงหาสน์ น. ราชอาสน์หรือที่ประทับ ทําเป็นแท่นหรือเตียงจมูกสิงห์.
สิงห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ดู กระฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู.สิงห์ ๒ ดู กระฉง.
สิงหรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อาดู สิงห–, สิงห์ ๑ สิงห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด .สิงหรา ดู สิงห–, สิงห์ ๑.
สิงหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง[–หน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกประเทศศรีลังกาในสมัยโบราณ, สิงหลทวีป ก็เรียก, เรียกชาวพื้นเมืองดั้งเดิมของศรีลังกาว่า ชาวสิงหล, เรียกภาษาของชาวสิงหลว่า ภาษาสิงหล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี สีหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง.สิงหล [–หน] น. ชื่อเรียกประเทศศรีลังกาในสมัยโบราณ, สิงหลทวีป ก็เรียก, เรียกชาวพื้นเมืองดั้งเดิมของศรีลังกาว่า ชาวสิงหล, เรียกภาษาของชาวสิงหลว่า ภาษาสิงหล. (ส. สึหล; ป. สีหล).
สิงหลก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[–หะละกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวสิงหล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับเกาะสิงหล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึหลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี สีหลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่.สิงหลก– [–หะละกะ–] น. ชาวสิงหล. ว. เกี่ยวกับเกาะสิงหล. (ส. สึหลก; ป. สีหลก).
สิงหาคม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้าดู สิงห–, สิงห์ ๑ สิงห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด .สิงหาคม ดู สิงห–, สิงห์ ๑.
สิงหาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาดดู สิงห–, สิงห์ ๑ สิงห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด .สิงหาสน์ ดู สิงห–, สิงห์ ๑.
สิญจ–, สิญจน์ สิญจ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน สิญจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [สินจะ–, สิน] เป็นคำกริยา หมายถึง รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สิญจ–, สิญจน์ [สินจะ–, สิน] ก. รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. (ป., ส.).
สิต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[–ตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สิต– [–ตะ–] ว. ขาว. (ป., ส.).
สิตางศุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สิตางศุ์ น. พระจันทร์. (ส.).
สิตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ้ม, ยิ้มแย้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมิต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สิตะ ว. ยิ้ม, ยิ้มแย้ม. (ป.; ส. สฺมิต).
สิตางศุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาดดู สิต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สิตางศุ์ ดู สิต–.
สิถิล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบา, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงโดยไม่มีกลุ่มลมออกมาด้วย ในภาษาไทยได้แก่เสียง ป ต ก จ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเบาว่า พยัญชนะสิถิล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๓ ของวรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิถิล เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง.สิถิล ว. เบา, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงโดยไม่มีกลุ่มลมออกมาด้วย ในภาษาไทยได้แก่เสียง ป ต ก จ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเบาว่า พยัญชนะสิถิล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๓ ของวรรค. (ป.; ส. ศิถิล).
สิทธ–, สิทธ์ สิทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด [สิดทะ–, สิด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สําเร็จ, ฤษีผู้สําเร็จ, เช่นที่พูดว่า นักสิทธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สิทธ–, สิทธ์ [สิดทะ–, สิด] น. ผู้สําเร็จ, ฤษีผู้สําเร็จ, เช่นที่พูดว่า นักสิทธ์. (ป., ส.).
สิทธัตถะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิทฺธตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สิทธัตถะ น. ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. สิทฺธตฺถ).