สะบั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แยกหรือขาดจากกันอย่างเด็ดขาด เช่น สัมพันธภาพขาดสะบั้น ความรักขาดสะบั้น, โดยปริยายหมายความว่า อย่างยิ่ง, อย่างมาก, เช่น กินสะบั้น.สะบั้น ว. อาการที่แยกหรือขาดจากกันอย่างเด็ดขาด เช่น สัมพันธภาพขาดสะบั้น ความรักขาดสะบั้น, โดยปริยายหมายความว่า อย่างยิ่ง, อย่างมาก, เช่น กินสะบั้น.
สะบั้นหั่นแหลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างที่สุด เช่น โกงสะบั้นหั่นแหลก บู๊สะบั้นหั่นแหลก.สะบั้นหั่นแหลก (ปาก) ว. อย่างที่สุด เช่น โกงสะบั้นหั่นแหลก บู๊สะบั้นหั่นแหลก.
สะบันงา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-อาดู กระดังงา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา.สะบันงา ดู กระดังงา.
สะบันงาจีน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนูดู กระดังงาจีน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ที่ กระดังงา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา.สะบันงาจีน ดู กระดังงาจีน ที่ กระดังงา.
สะบันงาต้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนูดู กระดังงา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา.สะบันงาต้น ดู กระดังงา.
สะบ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Entada rheedii Spreng. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีเมล็ดกลมแบนแข็ง เรียกว่า ลูกสะบ้า ใช้ขัดสมุดไทยและทํายาได้, สะบ้ามอญ ก็เรียก; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ลูกสะบ้าหรือของกลม ๆ อย่างงบนํ้าอ้อยล้อหรือทอยเป็นต้น.สะบ้า น. ชื่อไม้เถาชนิด Entada rheedii Spreng. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีเมล็ดกลมแบนแข็ง เรียกว่า ลูกสะบ้า ใช้ขัดสมุดไทยและทํายาได้, สะบ้ามอญ ก็เรียก; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ลูกสะบ้าหรือของกลม ๆ อย่างงบนํ้าอ้อยล้อหรือทอยเป็นต้น.
สะบ้าหัวเข่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, ลูกสะบ้า ก็ว่า.สะบ้าหัวเข่า น. กระดูกมีลักษณะกลม ๆ แบน ๆ คล้ายลูกสะบ้า มีเอ็นยึดระหว่างกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้ากับกระดูกหน้าแข้ง ประกอบเป็นส่วนนูนสุดของกระดูกหัวเข่า, ลูกสะบ้า ก็ว่า.
สะบ้ามอญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-หยิงดู สะบ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา.สะบ้ามอญ ดู สะบ้า.
สะบู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ (?) เช่น ถนัดดั่งสะบูบังใบ แม่เร้น. ในวงเล็บ มาจาก กำสรวลศรีปราชญ์ ฉบับโรงพิมพ์ ไท ถนนรองเมือง พ.ศ. ๒๔๖๐.สะบู น. ดอกไม้ (?) เช่น ถนัดดั่งสะบูบังใบ แม่เร้น. (กําสรวล).
สะแบง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ ดู กราด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๔.สะแบง ๑ ดู กราด ๔.
สะแบง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สะพาย, ตระแบง ก็ว่า.สะแบง ๒ ก. สะพาย, ตระแบง ก็ว่า.
สะเปะสะปะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตรงเป้า เช่น ชกต่อยสะเปะสะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น คนเมาเดินสะเปะสะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนแขนขาก่ายกันสะเปะสะปะ, อาการที่พูดเลอะเทอะเรื่อยเจื้อยไม่มีประเด็น เช่น พูดสะเปะสะปะ.สะเปะสะปะ ว. ไม่ตรงเป้า เช่น ชกต่อยสะเปะสะปะ, ไม่ตรงทาง เช่น คนเมาเดินสะเปะสะปะ, ไม่เป็นระเบียบ เช่น นอนแขนขาก่ายกันสะเปะสะปะ, อาการที่พูดเลอะเทอะเรื่อยเจื้อยไม่มีประเด็น เช่น พูดสะเปะสะปะ.
สะพรัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อม.สะพรัก ว. พร้อม.
สะพรั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่สิ่งอย่างเดียวกันจำนวนมากปรากฏพร้อม ๆ กัน เช่น ดอกไม้ในสวนบานสะพรั่ง มะม่วงออกช่อสะพรั่ง เขามีลูกสาว ๓ คน กำลังเป็นสาวสะพรั่ง.สะพรั่ง ว. อาการที่สิ่งอย่างเดียวกันจำนวนมากปรากฏพร้อม ๆ กัน เช่น ดอกไม้ในสวนบานสะพรั่ง มะม่วงออกช่อสะพรั่ง เขามีลูกสาว ๓ คน กำลังเป็นสาวสะพรั่ง.
สะพรึงกลัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าพรั่นพรึง ใช้ว่า น่าสะพรึงกลัว เช่น เห็นร่างดำทะมึน น่าสะพรึงกลัว.สะพรึงกลัว ว. น่าพรั่นพรึง ใช้ว่า น่าสะพรึงกลัว เช่น เห็นร่างดำทะมึน น่าสะพรึงกลัว.
สะพรึบ, สะพรึ่บ, สะพรึบพร้อม, สะพรึ่บพร้อม สะพรึบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ สะพรึ่บ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้ สะพรึบพร้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า สะพรึ่บพร้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อมพรั่งอยู่มากมายอย่างเต็มที่ เช่น พากันมาพร้อมสะพรึบ มากันสะพรึบพร้อม.สะพรึบ, สะพรึ่บ, สะพรึบพร้อม, สะพรึ่บพร้อม ว. พร้อมพรั่งอยู่มากมายอย่างเต็มที่ เช่น พากันมาพร้อมสะพรึบ มากันสะพรึบพร้อม.
สะพัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าห่มเฉียงบ่า ราชาศัพท์ใช้ว่า ผ้าทรงสะพัก. เป็นคำกริยา หมายถึง ห่มผ้า, ห่มคลุม, เช่น สะพักพระถันปทุเมศ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์.สะพัก น. ผ้าห่มเฉียงบ่า ราชาศัพท์ใช้ว่า ผ้าทรงสะพัก. ก. ห่มผ้า, ห่มคลุม, เช่น สะพักพระถันปทุเมศ. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
สะพัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตะพัง ตระพัง หรือ กระพัง ก็ว่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ตฺรพําง เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-พอ-พาน-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-งอ-งู ว่า บ่อที่เกิดเอง .สะพัง น. แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตะพัง ตระพัง หรือ กระพัง ก็ว่า. (เทียบ ข. ตฺรพําง ว่า บ่อที่เกิดเอง).
สะพัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อมไว้, กั้นไว้, เช่น ครั้นราตรีดึกสงัด เขาก็สะพัดสามรอบ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล เช่น ข่าวแพร่สะพัด เงินหมุนเวียนสะพัด, ตะพัด ก็ว่า.สะพัด ๑ ก. ล้อมไว้, กั้นไว้, เช่น ครั้นราตรีดึกสงัด เขาก็สะพัดสามรอบ. (ลอ). ว. อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล เช่น ข่าวแพร่สะพัด เงินหมุนเวียนสะพัด, ตะพัด ก็ว่า.
สะพัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ผูก, คาด, ล้อม, เช่น ครั้นราตรีดึกสงัด เขาก็สะพัดสามรอบ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, กระพัด ก็ว่า.สะพัด ๒ (วรรณ) ก. ผูก, คาด, ล้อม, เช่น ครั้นราตรีดึกสงัด เขาก็สะพัดสามรอบ. (ลอ), กระพัด ก็ว่า.
สะพั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มักเกิดแก่เด็กอ่อนหรือเด็กเล็ก ๆ มีอาการชัก มือเท้ากํา ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า มักเกิดเพราะผิดอากาศเป็นต้น, ตะพั้น ก็ว่า.สะพั้น น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มักเกิดแก่เด็กอ่อนหรือเด็กเล็ก ๆ มีอาการชัก มือเท้ากํา ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า มักเกิดเพราะผิดอากาศเป็นต้น, ตะพั้น ก็ว่า.
สะพาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างที่ทําสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง เป็นต้น บางทีทํายื่นลงในนํ้าสําหรับขึ้นลง, ไม้ที่ทอดระหว่างหัวเสาสำหรับรับคอสองของอาคารที่เป็นตึกโบราณ, โดยปริยายหมายความว่า สื่อเชื่อมโยง เช่น ตีสนิทกับน้องชายเพื่อเป็นสะพานไปรู้จักกับพี่สาว, ตะพาน ก็ว่า.สะพาน น. สิ่งปลูกสร้างที่ทําสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง เป็นต้น บางทีทํายื่นลงในนํ้าสําหรับขึ้นลง, ไม้ที่ทอดระหว่างหัวเสาสำหรับรับคอสองของอาคารที่เป็นตึกโบราณ, โดยปริยายหมายความว่า สื่อเชื่อมโยง เช่น ตีสนิทกับน้องชายเพื่อเป็นสะพานไปรู้จักกับพี่สาว, ตะพาน ก็ว่า.
สะพานแขวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างแขวนไว้กับโซ่หรือสายลวด ไม่ใช้เสารับนํ้าหนักสะพาน แต่อาจมีเสาคํ้าสายลวดให้สูงตํ่าตามต้องการ.สะพานแขวน น. สะพานที่สร้างแขวนไว้กับโซ่หรือสายลวด ไม่ใช้เสารับนํ้าหนักสะพาน แต่อาจมีเสาคํ้าสายลวดให้สูงตํ่าตามต้องการ.
สะพานชัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างให้ยกเก็บได้เมื่อไม่ต้องการใช้.สะพานชัก น. สะพานที่สร้างให้ยกเก็บได้เมื่อไม่ต้องการใช้.
สะพานช้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่ทำแข็งแรงสำหรับให้ช้างข้ามในสมัยโบราณ, ตะพานช้าง ก็ว่า.สะพานช้าง น. สะพานที่ทำแข็งแรงสำหรับให้ช้างข้ามในสมัยโบราณ, ตะพานช้าง ก็ว่า.
สะพานเชือก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สะพานชั่วคราวที่ทําด้วยเชือกสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง.สะพานเชือก น. สะพานชั่วคราวที่ทําด้วยเชือกสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง.
สะพานเดินเรือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่ยกสูงขึ้นจากดาดฟ้าเรือ สําหรับนายเรือหรือนายยามเรือเดิน หรือสําหรับต้นหน กัปตันเรือ หรือผู้บังคับการเรือควบคุมและสั่งการเกี่ยวกับการนําเรือในน่านนํ้าให้ปลอดภัย, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง สะพานเดินเรือใช้เป็นหอบังคับการด้วย.สะพานเดินเรือ น. พื้นที่ยกสูงขึ้นจากดาดฟ้าเรือ สําหรับนายเรือหรือนายยามเรือเดิน หรือสําหรับต้นหน กัปตันเรือ หรือผู้บังคับการเรือควบคุมและสั่งการเกี่ยวกับการนําเรือในน่านนํ้าให้ปลอดภัย, (โบ) สะพานเดินเรือใช้เป็นหอบังคับการด้วย.
สะพานทุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานชั่วคราวที่ใช้ทุ่นรองไม้กระดานเป็นต้นสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง.สะพานทุ่น น. สะพานชั่วคราวที่ใช้ทุ่นรองไม้กระดานเป็นต้นสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลอง.
สะพานเบี่ยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างขึ้นใช้ชั่วคราวโดยเบี่ยงจากสะพานที่กําลังสร้างหรือซ่อมอยู่.สะพานเบี่ยง น. สะพานที่สร้างขึ้นใช้ชั่วคราวโดยเบี่ยงจากสะพานที่กําลังสร้างหรือซ่อมอยู่.
สะพานปลา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างทอดยาวออกไปในนํ้า ใช้เป็นท่าเทียบเรือประมงเพื่อขนปลาเป็นต้นขึ้นจากเรือ.สะพานปลา น. สะพานที่สร้างทอดยาวออกไปในนํ้า ใช้เป็นท่าเทียบเรือประมงเพื่อขนปลาเป็นต้นขึ้นจากเรือ.
สะพานโป๊ะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่ทอดจากฝั่งไปที่โป๊ะเรือ ทำด้วยไม้กระดานเป็นต้น มีไม้ตอกประกับทางด้านขวางสำหรับเดิน.สะพานโป๊ะ น. สะพานที่ทอดจากฝั่งไปที่โป๊ะเรือ ทำด้วยไม้กระดานเป็นต้น มีไม้ตอกประกับทางด้านขวางสำหรับเดิน.
สะพานไฟ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าคล้ายสวิตช์ สําหรับตัดกระแสไฟฟ้าจากวงจร, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สวิตช์ขนาดใหญ่.สะพานไฟ น. อุปกรณ์ไฟฟ้าคล้ายสวิตช์ สําหรับตัดกระแสไฟฟ้าจากวงจร, (ปาก) สวิตช์ขนาดใหญ่.
สะพานเรือก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สะพานชั่วคราวที่ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกถักด้วยหวายหรือเชือก.สะพานเรือก น. สะพานชั่วคราวที่ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกถักด้วยหวายหรือเชือก.
สะพานลอย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สะพานสูงแคบ ๆ ที่สร้างคร่อมขวางถนน ใช้เป็นทางให้คนเดินข้ามถนน รถสามารถแล่นผ่านใต้สะพานได้, สะพานสูง กว้าง และยาวมาก มักสร้างคร่อมทางรถไฟหรือสี่แยกที่ถนนสายสําคัญ ๆ ตัดกัน เพื่อให้รถยนต์แล่นผ่านไปมาได้โดยไม่ต้องรอให้รถไฟผ่านหรือรอสัญญาณไฟ.สะพานลอย น. สะพานสูงแคบ ๆ ที่สร้างคร่อมขวางถนน ใช้เป็นทางให้คนเดินข้ามถนน รถสามารถแล่นผ่านใต้สะพานได้, สะพานสูง กว้าง และยาวมาก มักสร้างคร่อมทางรถไฟหรือสี่แยกที่ถนนสายสําคัญ ๆ ตัดกัน เพื่อให้รถยนต์แล่นผ่านไปมาได้โดยไม่ต้องรอให้รถไฟผ่านหรือรอสัญญาณไฟ.
สะพานเสี้ยว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างให้ปลายโค้งเลี้ยวไปทางขวาหรือซ้าย.สะพานเสี้ยว น. สะพานที่สร้างให้ปลายโค้งเลี้ยวไปทางขวาหรือซ้าย.
สะพานหก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างให้ส่วนหนึ่งยกขึ้นได้เพื่อเปิดทางให้เรือแล่นผ่าน.สะพานหก น. สะพานที่สร้างให้ส่วนหนึ่งยกขึ้นได้เพื่อเปิดทางให้เรือแล่นผ่าน.
สะพานหนู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กระดานเล็กตรึงทับบนไม้เชิงกลอน, ตะพานหนู ก็ว่า.สะพานหนู น. ไม้กระดานเล็กตรึงทับบนไม้เชิงกลอน, ตะพานหนู ก็ว่า.
สะพานหัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่สร้างให้บางส่วนหันเบนออกไปทางซ้ายหรือขวา เพื่อเปิดทางให้เรือแล่นผ่าน.สะพานหัน น. สะพานที่สร้างให้บางส่วนหันเบนออกไปทางซ้ายหรือขวา เพื่อเปิดทางให้เรือแล่นผ่าน.
สะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง แขวนบ่า, ห้อยเฉียงบ่า, เช่น สะพายย่าม สะพายกระเป๋า, ตะพาย ก็ว่า.สะพาย น. แขวนบ่า, ห้อยเฉียงบ่า, เช่น สะพายย่าม สะพายกระเป๋า, ตะพาย ก็ว่า.
สะพายเฉียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ห่มเฉียงบ่า.สะพายเฉียง ก. ห่มเฉียงบ่า.
สะพายแล่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ถูกฟันขาดเฉียงบ่า เรียกว่า ขาดสะพายแล่ง, ตะพายแล่ง ก็ว่า.สะพายแล่ง ว. ลักษณะที่ถูกฟันขาดเฉียงบ่า เรียกว่า ขาดสะพายแล่ง, ตะพายแล่ง ก็ว่า.
สะเพร่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[–เพฺร่า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทําอย่างหวัด ๆ ลวก ๆ, ขาดความรอบคอบ, ไม่ถี่ถ้วน, ไม่เรียบร้อย, เช่น เขียนหนังสือสะเพร่าตก ๆ หล่น ๆ ล้างแก้วสะเพร่า ไม่สะอาด.สะเพร่า [–เพฺร่า] ว. อาการที่ทําอย่างหวัด ๆ ลวก ๆ, ขาดความรอบคอบ, ไม่ถี่ถ้วน, ไม่เรียบร้อย, เช่น เขียนหนังสือสะเพร่าตก ๆ หล่น ๆ ล้างแก้วสะเพร่า ไม่สะอาด.
สะโพก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, ตะโพก ก็ว่า.สะโพก น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, ตะโพก ก็ว่า.
สะเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือสําเภา, ตะเภา ก็เรียก.สะเภา ๑ น. เรือสําเภา, ตะเภา ก็เรียก.
สะเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพพสุ มี ๓ ดวง, ดาวหัวสําเภา ดาวสําเภาทอง ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก.สะเภา ๒ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพพสุ มี ๓ ดวง, ดาวหัวสําเภา ดาวสําเภาทอง ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก.
สะใภ้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-พอ-สำ-เพา-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มาแต่งงานกับญาติผู้ชาย, เมียของญาติ, เช่น ถ้าเป็นเมียของลูกชาย เรียก ลูกสะใภ้ ถ้าเป็นเมียของลุง เรียก ป้าสะใภ้, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ตะใภ้.สะใภ้ น. หญิงที่มาแต่งงานกับญาติผู้ชาย, เมียของญาติ, เช่น ถ้าเป็นเมียของลูกชาย เรียก ลูกสะใภ้ ถ้าเป็นเมียของลุง เรียก ป้าสะใภ้, (ปาก) ตะใภ้.
สะโมง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-งอ-งูดู กระแตไต่ไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๒.สะโมง ดู กระแตไต่ไม้ ๒.
สะระตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง เก็งหรือคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก เช่น ข้าพระพุทธเจ้าคิดสะระตะอยู่ว่าจะแก้ไขอย่างไรดี. (หนังสือเจ้าพระยาพระเสด็จฯ กราบบังคมทูล ร. ๕), สรตะ ก็ว่า.สะระตะ (แบบ) ก. เก็งหรือคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก เช่น ข้าพระพุทธเจ้าคิดสะระตะอยู่ว่าจะแก้ไขอย่างไรดี. (หนังสือเจ้าพระยาพระเสด็จฯ กราบบังคมทูล ร. ๕), สรตะ ก็ว่า.
สะระแหน่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก[–แหฺน่] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Mentha cordifolia Opiz ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้.สะระแหน่ [–แหฺน่] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Mentha cordifolia Opiz ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้.
สะละปะตุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไหมชนิดหนึ่ง.สะละปะตุ่น (โบ) น. ไหมชนิดหนึ่ง.
สะลาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.สะลาง ดู กระดูกค่าง.
สะลาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผิวของพิมพ์หล่อพระที่แตกออกเป็นกาบเล็ก ๆ เมื่อความร้อนลดลงกะทันหัน.สะลาบ น. ผิวของพิมพ์หล่อพระที่แตกออกเป็นกาบเล็ก ๆ เมื่อความร้อนลดลงกะทันหัน.
สะลึมสะลือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครึ่งหลับครึ่งตื่นหรืองัวเงียเพราะเมาหรือง่วง เช่น พอเมาได้ที่ก็นั่งสะลึมสะลือ เมื่อคืนนอนดึก ตื่นขึ้นมาเลยสะลึมสะลือ.สะลึมสะลือ ว. ครึ่งหลับครึ่งตื่นหรืองัวเงียเพราะเมาหรือง่วง เช่น พอเมาได้ที่ก็นั่งสะลึมสะลือ เมื่อคืนนอนดึก ตื่นขึ้นมาเลยสะลึมสะลือ.
สะวี้ดสะว้าด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวดเร็ว, ฉวัดเฉวียน, เช่น ขับรถสะวี้ดสะว้าด; ฉูดฉาด, นำสมัยแบบโลดโผน, เช่น เด็ก ๆ ไม่ควรแต่งตัวสะวี้ดสะว้าด.สะวี้ดสะว้าด (ปาก) ว. รวดเร็ว, ฉวัดเฉวียน, เช่น ขับรถสะวี้ดสะว้าด; ฉูดฉาด, นำสมัยแบบโลดโผน, เช่น เด็ก ๆ ไม่ควรแต่งตัวสะวี้ดสะว้าด.
สะสม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สั่งสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น เขาสะสมนาฬิกาเป็นงานอดิเรก.สะสม ก. สั่งสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น เขาสะสมนาฬิกาเป็นงานอดิเรก.
สะสวย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้างสวย, อยู่ในเกณฑ์สวย, (มักใช้แก่ผู้หญิง), เช่น เด็ก ๆ แต่งตัวสะสวย เธอเป็นคนหน้าตาสะสวย.สะสวย ว. ค่อนข้างสวย, อยู่ในเกณฑ์สวย, (มักใช้แก่ผู้หญิง), เช่น เด็ก ๆ แต่งตัวสะสวย เธอเป็นคนหน้าตาสะสวย.
สะสาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเรื่องที่มีปัญหาหรือสิ่งที่สะสมหมักหมมอยู่ให้เสร็จสิ้นไป เช่น สะสางงานที่คั่งค้าง สะสางคดี.สะสาง ก. ทําเรื่องที่มีปัญหาหรือสิ่งที่สะสมหมักหมมอยู่ให้เสร็จสิ้นไป เช่น สะสางงานที่คั่งค้าง สะสางคดี.
สะเหล่อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งเซ่อและเล่อ, ทั้งเซ่อซ่าและเล่อล่า.สะเหล่อ ว. ทั้งเซ่อและเล่อ, ทั้งเซ่อซ่าและเล่อล่า.
สะอาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามสะอาดหมดจด เช่น สาวสะอาง สวยสะอาง สะอางองค์.สะอาง ว. งามสะอาดหมดจด เช่น สาวสะอาง สวยสะอาง สะอางองค์.
สะอาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สกปรก เช่น เสื้อผ้าสะอาด บ้านเรือนสะอาด น้ำสะอาด, หมดจด, ผ่องใส, เช่น จิตใจสะอาด, ไม่มีตําหนิ, บริสุทธิ์, ไม่ทุจริต, เช่น เขาเป็นคนใจซื่อมือสะอาด.สะอาด ว. ไม่สกปรก เช่น เสื้อผ้าสะอาด บ้านเรือนสะอาด น้ำสะอาด, หมดจด, ผ่องใส, เช่น จิตใจสะอาด, ไม่มีตําหนิ, บริสุทธิ์, ไม่ทุจริต, เช่น เขาเป็นคนใจซื่อมือสะอาด.
สะอาดสะอ้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะอาดหมดจด เช่น เด็กคนนี้หน้าตาสะอาดสะอ้าน.สะอาดสะอ้าน ว. สะอาดหมดจด เช่น เด็กคนนี้หน้าตาสะอาดสะอ้าน.
สะอ้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดจด, สะอาด, มักใช้เข้าคู่กับคํา สะอาด เป็น สะอาดสะอ้าน.สะอ้าน ว. หมดจด, สะอาด, มักใช้เข้าคู่กับคํา สะอาด เป็น สะอาดสะอ้าน.
สะอิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินเอวอ่อนไปอ่อนมา เช่น เดินสะอิ้ง. เป็นคำนาม หมายถึง สายรัดเอว เป็นเครื่องประดับสําหรับผู้หญิง, สะเอ้ง ก็ว่า. (ไทยใหญ่ แอ้ง ว่า เอว).สะอิ้ง ว. อาการที่เดินเอวอ่อนไปอ่อนมา เช่น เดินสะอิ้ง. น. สายรัดเอว เป็นเครื่องประดับสําหรับผู้หญิง, สะเอ้ง ก็ว่า. (ไทยใหญ่ แอ้ง ว่า เอว).
สะอิดสะเอียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ชวนให้คลื่นไส้อย่างรุนแรง ทั้งโดยตรงและโดยปริยายต่อสิ่งที่เร้าเร่งให้เกิดอารมณ์เช่นนั้น เช่น เห็นหมาเน่าแล้วสะอิดสะเอียน เห็นคนฉ้อราษฎร์บังหลวงแล้วสะอิดสะเอียนไม่อยากเข้าใกล้.สะอิดสะเอียน ก. ชวนให้คลื่นไส้อย่างรุนแรง ทั้งโดยตรงและโดยปริยายต่อสิ่งที่เร้าเร่งให้เกิดอารมณ์เช่นนั้น เช่น เห็นหมาเน่าแล้วสะอิดสะเอียน เห็นคนฉ้อราษฎร์บังหลวงแล้วสะอิดสะเอียนไม่อยากเข้าใกล้.
สะอึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หายใจชะงักเนื่องจากกะบังลมหดตัว และช่องสายเสียงก็ปิดตามมาทันทีทันใดในเวลาเดียวกัน; โดยปริยายหมายความว่า ชะงักงัน เช่น พอถูกถามปัญหาแทงใจดำเข้าก็สะอึกทันที.สะอึก ก. อาการที่หายใจชะงักเนื่องจากกะบังลมหดตัว และช่องสายเสียงก็ปิดตามมาทันทีทันใดในเวลาเดียวกัน; โดยปริยายหมายความว่า ชะงักงัน เช่น พอถูกถามปัญหาแทงใจดำเข้าก็สะอึกทันที.
สะอึกเข้าใส่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง กรากเข้าใส่, พรวดเข้าใส่, เช่น เมื่อมีคนจะทำร้ายนาย ลูกน้องก็สะอึกเข้าใส่ทันที พอถูกฝ่ายหนึ่งชกก็สะอึกเข้าใส่.สะอึกเข้าใส่ ก. กรากเข้าใส่, พรวดเข้าใส่, เช่น เมื่อมีคนจะทำร้ายนาย ลูกน้องก็สะอึกเข้าใส่ทันที พอถูกฝ่ายหนึ่งชกก็สะอึกเข้าใส่.
สะอึกสะอื้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้ร่ำไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น เด็กถูกตี หลังจากหยุดร้องไห้แล้วก็ยังสะอึกสะอื้นอยู่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ร้องไห้รํ่าไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น แม่ตีทีเดียว ร้องไห้สะอึกสะอื้นไปตั้งชั่วโมง.สะอึกสะอื้น ก. ร้องไห้ร่ำไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น เด็กถูกตี หลังจากหยุดร้องไห้แล้วก็ยังสะอึกสะอื้นอยู่. ว. อาการที่ร้องไห้รํ่าไรมีเสียงสะอื้นเป็นห้วง ๆ เช่น แม่ตีทีเดียว ร้องไห้สะอึกสะอื้นไปตั้งชั่วโมง.
สะอื้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ เพราะร้องไห้มากเนื่องจากเสียใจระทมใจเป็นต้น, ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ.สะอื้น ก. ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ เพราะร้องไห้มากเนื่องจากเสียใจระทมใจเป็นต้น, ถอนใจสะท้อนเป็นระยะ ๆ.
สะเอ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สายรัดเอว เป็นเครื่องประดับสําหรับผู้หญิง, สะอิ้ง ก็ว่า. (ไทยใหญ่ แอ้ง ว่า เอว).สะเอ้ง ๑ น. สายรัดเอว เป็นเครื่องประดับสําหรับผู้หญิง, สะอิ้ง ก็ว่า. (ไทยใหญ่ แอ้ง ว่า เอว).
สะเอ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Pternandra caerulescens Jack ในวงศ์ Melastomataceae ใบมีเส้นตามยาว ๓ เส้น ดอกสีม่วงแกมน้ำเงิน.สะเอ้ง ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Pternandra caerulescens Jack ในวงศ์ Melastomataceae ใบมีเส้นตามยาว ๓ เส้น ดอกสีม่วงแกมน้ำเงิน.
สะเอว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของร่างกายระหว่างชายโครงกับกระดูกตะโพกทั้ง ๒ ข้าง, กะเอว บั้นเอว หรือ เอว ก็ว่า.สะเอว น. ส่วนกลางของร่างกายระหว่างชายโครงกับกระดูกตะโพกทั้ง ๒ ข้าง, กะเอว บั้นเอว หรือ เอว ก็ว่า.
สะเออะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เสนอหน้าเข้าไปในสถานที่ที่ไม่สมควรเช่นในที่รโหฐานเมื่อไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง, เจ๋อ, เช่น สะเออะไปนั่งเก้าอี้ประธาน, เสนอหน้าพูดเป็นต้นโดยไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น นายยังไม่ทันถาม ก็สะเออะรายงาน.สะเออะ ๑ ก. เสนอหน้าเข้าไปในสถานที่ที่ไม่สมควรเช่นในที่รโหฐานเมื่อไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง, เจ๋อ, เช่น สะเออะไปนั่งเก้าอี้ประธาน, เสนอหน้าพูดเป็นต้นโดยไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เช่น นายยังไม่ทันถาม ก็สะเออะรายงาน.
สะเออะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกนํ้าที่ได้จากเนื้อสัตว์สดเช่นกุ้ง เนื้อที่คั้นกับนํ้ามะนาว ตั้งไฟให้สุก ใช้ปรุงรส ว่า นํ้าสะเออะ.สะเออะ ๒ น. เรียกนํ้าที่ได้จากเนื้อสัตว์สดเช่นกุ้ง เนื้อที่คั้นกับนํ้ามะนาว ตั้งไฟให้สุก ใช้ปรุงรส ว่า นํ้าสะเออะ.
สะโอดสะอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามอย่างมีรูปร่างระหง เช่น นางแบบคนนี้รูปร่างสะโอดสะอง.สะโอดสะอง ว. งามอย่างมีรูปร่างระหง เช่น นางแบบคนนี้รูปร่างสะโอดสะอง.
สะไอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่น (ใช้เฉพาะกลิ่นของสิ่งที่จวนจะบูด) เช่น แกงมีสะไอจวนจะบูดแล้ว, กระไอ ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกลิ่นเหม็นแสดงว่าจวนจะบูด เช่น ข้าวเหม็นสะไอ, กระไอ ก็ว่า.สะไอ น. กลิ่น (ใช้เฉพาะกลิ่นของสิ่งที่จวนจะบูด) เช่น แกงมีสะไอจวนจะบูดแล้ว, กระไอ ก็ว่า. ว. มีกลิ่นเหม็นแสดงว่าจวนจะบูด เช่น ข้าวเหม็นสะไอ, กระไอ ก็ว่า.
สัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Tectona grandis L.f. ในวงศ์ Labiatae เนื้อไม้แข็งและคงทน ปลวกไม่กิน เหมาะแก่การสร้างบ้านและทําเครื่องเรือน ใบและเนื้อไม้ใช้ทํายาได้.สัก ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Tectona grandis L.f. ในวงศ์ Labiatae เนื้อไม้แข็งและคงทน ปลวกไม่กิน เหมาะแก่การสร้างบ้านและทําเครื่องเรือน ใบและเนื้อไม้ใช้ทํายาได้.
สักขี้ไก่ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกะเปียด. ในวงเล็บ ดู กะเปียด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก.สักขี้ไก่ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกะเปียด. (ดู กะเปียด).
สัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ตึง, ทําให้แน่น, เช่น สักว่าว สักที่นอน.สัก ๒ ก. ทําให้ตึง, ทําให้แน่น, เช่น สักว่าว สักที่นอน.
สักที่นอน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บกรึงที่นอนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้นุ่นเป็นต้นอยู่คงที่ไม่เลื่อนไปเลื่อนมา.สักที่นอน ก. เย็บกรึงที่นอนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้นุ่นเป็นต้นอยู่คงที่ไม่เลื่อนไปเลื่อนมา.
สักว่าว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาลูกปลาปิดทับเชือกที่ผูกโครงว่าวจุฬาตรงที่ไขว้กันเป็นตาตารางเพื่อยึดกระดาษและเชือกให้แน่น.สักว่าว ก. เอาลูกปลาปิดทับเชือกที่ผูกโครงว่าวจุฬาตรงที่ไขว้กันเป็นตาตารางเพื่อยึดกระดาษและเชือกให้แน่น.
สัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของแหลมแทงลงด้วยวิธีการหรือเพื่อประโยชน์ต่าง ๆ กัน เช่น สักปลาไหล สักหาของในนํ้า สักรอยชํ้าเพื่อรีดเอาเลือดที่คั่งออก, ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือนํ้ามันแทงที่ผิวหนังให้เป็นอักขระเครื่องหมาย หรือลวดลาย, ถ้าใช้หมึก เรียกว่า สักหมึก, ถ้าใช้นํ้ามัน เรียกว่า สักนํ้ามัน, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ทําเครื่องหมายโดยใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกแทงที่ผิวหนังเพื่อแสดงเป็นหลักฐาน เช่น สักข้อมือ แสดงว่าได้ขึ้นทะเบียนเป็นชายฉกรรจ์หรือเป็นเลกมีสังกัดกรมกองแล้ว สักหน้า แสดงว่าเป็นผู้ที่ต้องโทษปาราชิกเป็นต้น.สัก ๓ ก. เอาของแหลมแทงลงด้วยวิธีการหรือเพื่อประโยชน์ต่าง ๆ กัน เช่น สักปลาไหล สักหาของในนํ้า สักรอยชํ้าเพื่อรีดเอาเลือดที่คั่งออก, ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือนํ้ามันแทงที่ผิวหนังให้เป็นอักขระเครื่องหมาย หรือลวดลาย, ถ้าใช้หมึก เรียกว่า สักหมึก, ถ้าใช้นํ้ามัน เรียกว่า สักนํ้ามัน, (โบ) ทําเครื่องหมายโดยใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกแทงที่ผิวหนังเพื่อแสดงเป็นหลักฐาน เช่น สักข้อมือ แสดงว่าได้ขึ้นทะเบียนเป็นชายฉกรรจ์หรือเป็นเลกมีสังกัดกรมกองแล้ว สักหน้า แสดงว่าเป็นผู้ที่ต้องโทษปาราชิกเป็นต้น.
สักกระหม่อม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือน้ำมันแทงลงกลางศีรษะให้เป็นอักขระหรือเครื่องหมาย.สักกระหม่อม ก. ใช้เหล็กแหลมจุ้มหมึกหรือน้ำมันแทงลงกลางศีรษะให้เป็นอักขระหรือเครื่องหมาย.
สักหมาย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายที่สักเป็นรูปต่าง ๆ เพื่อให้รู้ว่าสังกัดอยู่ในหมู่ใดกรมใด เช่น ไพร่หลวงทั้งปวงซึ่งมีสักหมายหมู่กรมนั้นแล้ว. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง ฉบับเรียงพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๗๔ รวบรวมโดย หลวงประดิษฐ์มนูธรรม.สักหมาย (โบ) น. เครื่องหมายที่สักเป็นรูปต่าง ๆ เพื่อให้รู้ว่าสังกัดอยู่ในหมู่ใดกรมใด เช่น ไพร่หลวงทั้งปวงซึ่งมีสักหมายหมู่กรมนั้นแล้ว. (ตราสามดวง).
สัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างน้อย, เพียง, ราว, เช่น ขอเวลาสัก ๒ วัน.สัก ๔ ว. อย่างน้อย, เพียง, ราว, เช่น ขอเวลาสัก ๒ วัน.
สักแต่ว่า, สักว่า สักแต่ว่า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา สักว่า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพียงแต่ว่า...เท่านั้น เช่น สักแต่ว่ากวาดบ้าน ยังมีขี้ผงอยู่เลย สักว่าทำพอให้พ้นตัว.สักแต่ว่า, สักว่า ว. เพียงแต่ว่า...เท่านั้น เช่น สักแต่ว่ากวาดบ้าน ยังมีขี้ผงอยู่เลย สักว่าทำพอให้พ้นตัว.
สักกะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศกฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ.สักกะ ๑ (แบบ) น. พระอินทร์. (ป.; ส. ศกฺร).
สักกะ ๒, สักยะ สักกะ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ สักยะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศากฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. ในวงเล็บ ดู ศากย–, ศากยะ ศากย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก ศากยะ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ .สักกะ ๒, สักยะ น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์, ศากยะ ก็ว่า. (ป.; ส. ศากฺย). (ดู ศากย–, ศากยะ).
สักกัจจะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด้วยความเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สักกัจจะ ว. ด้วยความเคารพ. (ป.).
สักกาย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[–กายะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กายของตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวกาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สักกาย– [–กายะ–] น. กายของตน. (ป.; ส. สฺวกาย).
สักกายทิฐิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความยึดถือว่ากายหรือตัวเป็นของตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สกฺกายทิฏฺิ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ.สักกายทิฐิ น. ความยึดถือว่ากายหรือตัวเป็นของตน. (ป. สกฺกายทิฏฺิ).
สักการ–, สักการะ สักการ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สักการะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [–การะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง บูชาด้วยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชา เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ บูชา เป็น สักการบูชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สตฺการ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สักการ–, สักการะ [–การะ–] ก. บูชาด้วยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชา เช่น ดอกไม้ ธูป เทียน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ บูชา เป็น สักการบูชา. (ป.; ส. สตฺการ).
สักขรา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–ขะรา] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตาล, นํ้าตาลกรวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรกรา เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.สักขรา [–ขะรา] น. นํ้าตาล, นํ้าตาลกรวด. (ป.; ส. ศฺรกรา).
สักขี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง, มักใช้เข้าคู่กับคํา พยาน เป็น สักขีพยาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สากฺษี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี.สักขี ๑ น. พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง, มักใช้เข้าคู่กับคํา พยาน เป็น สักขีพยาน. (ป.; ส. สากฺษี).
สักขีพยาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง.สักขีพยาน น. พยานผู้รู้เห็นเหตุการณ์ด้วยตาตนเอง.
สักขี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Dalbergia candenatensis Prain ในวงศ์ Leguminosae แก่นแดง มีเสี้ยนดํา ใช้ทํายาได้, กรักขี หรือ ขรี ก็เรียก.สักขี ๒ น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Dalbergia candenatensis Prain ในวงศ์ Leguminosae แก่นแดง มีเสี้ยนดํา ใช้ทํายาได้, กรักขี หรือ ขรี ก็เรียก.
สักฏะ, สักตะ สักฏะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ สักตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [สักกะตะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาสันสกฤต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สกฺกฏ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก สกฺกต เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า .สักฏะ, สักตะ [สักกะตะ] (แบบ) น. ภาษาสันสกฤต. (ป. สกฺกฏ, สกฺกต).
สักวา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[สักกะวา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คํากลอน ขึ้นต้นด้วยคํา “สักวา” และลงท้ายด้วยคํา “เอย”, ชื่อลํานําเพลงอย่างหนึ่ง ร้องเป็นทํานองโต้ตอบกัน. (โบราณ เขียนเป็น สักระวา ก็มี).สักวา [สักกะวา] น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คํากลอน ขึ้นต้นด้วยคํา “สักวา” และลงท้ายด้วยคํา “เอย”, ชื่อลํานําเพลงอย่างหนึ่ง ร้องเป็นทํานองโต้ตอบกัน. (โบราณ เขียนเป็น สักระวา ก็มี).
สักหลาด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[สักกะหฺลาด] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าทําด้วยขนสัตว์. (ฮินดูสตานี sakalet).สักหลาด [สักกะหฺลาด] น. ผ้าทําด้วยขนสัตว์. (ฮินดูสตานี sakalet).
สัขยะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[สักขะยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง มิตรภาพ, ความสนิทสนมกัน, ความรักใคร่กัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัขยะ [สักขะยะ] (แบบ) น. มิตรภาพ, ความสนิทสนมกัน, ความรักใคร่กัน. (ส.).
สัค, สัคคะ สัค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย สัคคะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวรฺค เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย.สัค, สัคคะ น. สวรรค์. (ป.; ส. สฺวรฺค).
สัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นมะสัง. ในวงเล็บ ดู มะสัง เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู.สัง (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นมะสัง. (ดู มะสัง).
สั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง บอกไว้เพื่อให้ทําหรือให้ปฏิบัติเป็นต้น เช่น ครูสั่งให้นักเรียนทำการบ้าน แม่สั่งให้ถูบ้าน; บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป เช่น ฝนสั่งฟ้า ทศกัณฐ์สั่งเมือง อิเหนาสั่งถ้ำ สิ้นเสียงก็สิ้นสั่ง ตายไม่ทันสั่ง.สั่ง ๑ ก. บอกไว้เพื่อให้ทําหรือให้ปฏิบัติเป็นต้น เช่น ครูสั่งให้นักเรียนทำการบ้าน แม่สั่งให้ถูบ้าน; บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป เช่น ฝนสั่งฟ้า ทศกัณฐ์สั่งเมือง อิเหนาสั่งถ้ำ สิ้นเสียงก็สิ้นสั่ง ตายไม่ทันสั่ง.
สั่งลา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป เช่น เขาสั่งลาลูกเมียก่อนเดินทางไปต่างประเทศ เขาตายโดยไม่ได้สั่งลา.สั่งลา ก. บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป เช่น เขาสั่งลาลูกเมียก่อนเดินทางไปต่างประเทศ เขาตายโดยไม่ได้สั่งลา.
สั่งสม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สะสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น พระโพธิสัตว์สั่งสมบารมี.สั่งสม ก. สะสม, รวบรวมให้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ, เช่น พระโพธิสัตว์สั่งสมบารมี.
สั่งสอน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทํา เช่น แม่สั่งสอนลูกให้เป็นคนดี, สอนสั่ง ก็ว่า.สั่งสอน ก. ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทํา เช่น แม่สั่งสอนลูกให้เป็นคนดี, สอนสั่ง ก็ว่า.
สั่งเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เตือน, กําชับ, บอกให้เข้าใจ, เช่น พอแม่จะออกจากบ้าน ก็สั่งเสียลูกให้ปิดประตูหน้าต่างให้เรียบร้อย; บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป, บอกเป็นการอำลา, เช่น เขาตายโดยไม่ได้สั่งเสียลูกเมีย.สั่งเสีย ก. เตือน, กําชับ, บอกให้เข้าใจ, เช่น พอแม่จะออกจากบ้าน ก็สั่งเสียลูกให้ปิดประตูหน้าต่างให้เรียบร้อย; บอกไว้อาลัยในการที่จะจากไป, บอกเป็นการอำลา, เช่น เขาตายโดยไม่ได้สั่งเสียลูกเมีย.
สั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ลมดันนํ้ามูกออกจากจมูกโดยแรง ในคำว่า สั่งน้ำมูก.สั่ง ๒ ก. ทําให้ลมดันนํ้ามูกออกจากจมูกโดยแรง ในคำว่า สั่งน้ำมูก.
สังกมทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สังกะมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกติอาจใช้ของอื่นอันเป็นประเภทและชนิดเดียวกันมีปริมาณเท่ากันแทนได้, คู่กับ อสังกมทรัพย์.สังกมทรัพย์ [สังกะมะ–] (กฎ; เลิก) น. สังหาริมทรัพย์ซึ่งโดยปรกติอาจใช้ของอื่นอันเป็นประเภทและชนิดเดียวกันมีปริมาณเท่ากันแทนได้, คู่กับ อสังกมทรัพย์.
สังกร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–กอน] เป็นคำนาม หมายถึง ความปะปน, ความคาบเกี่ยว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํกร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-กอ-ไก่-รอ-เรือ.สังกร [–กอน] น. ความปะปน, ความคาบเกี่ยว. (ป.; ส. สํกร).
สังกรณี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[–กะระนี, –กอระนี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria strigosa Willd. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีฟ้า รากใช้ทํายาได้.สังกรณี [–กะระนี, –กอระนี] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria strigosa Willd. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีฟ้า รากใช้ทํายาได้.
สังกรประโยค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[สังกะระปฺระโหฺยก, สังกอระปฺระโหฺยก] เป็นคำนาม หมายถึง ประโยคใหญ่ที่มีประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมีประโยคหลักที่มีใจความสำคัญเพียงประโยคเดียว ส่วนประโยคเล็กทำหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก.สังกรประโยค [สังกะระปฺระโหฺยก, สังกอระปฺระโหฺยก] น. ประโยคใหญ่ที่มีประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมีประโยคหลักที่มีใจความสำคัญเพียงประโยคเดียว ส่วนประโยคเล็กทำหน้าที่แต่งหรือประกอบประโยคหลัก.
สังกะตัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ติดแน่นเป็นปมเหนียวที่ผมหรือขนสัตว์สางไม่ออก เช่น ผมเป็นสังกะตัง.สังกะตัง ว. ลักษณะที่ติดแน่นเป็นปมเหนียวที่ผมหรือขนสัตว์สางไม่ออก เช่น ผมเป็นสังกะตัง.
สังกะวัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius polyuranodon ในวงศ์ Schilbeidae ลักษณะรูปร่างคล้ายปลาสวาย หนวดยาวถึงหรือเลยครีบอก ขนาดโตได้ถึง ๕๒ เซนติเมตร.สังกะวัง น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius polyuranodon ในวงศ์ Schilbeidae ลักษณะรูปร่างคล้ายปลาสวาย หนวดยาวถึงหรือเลยครีบอก ขนาดโตได้ถึง ๕๒ เซนติเมตร.
สังกะวาด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิดในสกุล Pangasius วงศ์ Schilbeidae ลักษณะทั่วไปคล้ายปลาสวาย แต่เมื่อโตเต็มที่มีขนาดเล็กกว่า เช่น สังกะวาดท้องโต (P. micronemus) สังกะวาดเหลือง (P. siamensis).สังกะวาด น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิดในสกุล Pangasius วงศ์ Schilbeidae ลักษณะทั่วไปคล้ายปลาสวาย แต่เมื่อโตเต็มที่มีขนาดเล็กกว่า เช่น สังกะวาดท้องโต (P. micronemus) สังกะวาดเหลือง (P. siamensis).
สังกะสี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๐ สัญลักษณ์ Zn เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวแกมนํ้าเงิน หลอมละลายที่ ๔๑๙°ซ. ใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ใช้ฉาบผิวเหล็กเพื่อกันสนิม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ zinc เขียนว่า แซด-ไอ-เอ็น-ซี; เหล็กชุบสังกะสีบาง ๆ เป็นแผ่นเรียบหรือเป็นลอนอย่างลูกฟูก ใช้มุงหลังคาเป็นต้น เช่น หลังคาสังกะสี รั้วสังกะสี.สังกะสี น. ธาตุลําดับที่ ๓๐ สัญลักษณ์ Zn เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวแกมนํ้าเงิน หลอมละลายที่ ๔๑๙°ซ. ใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ใช้ฉาบผิวเหล็กเพื่อกันสนิม. (อ. zinc); เหล็กชุบสังกะสีบาง ๆ เป็นแผ่นเรียบหรือเป็นลอนอย่างลูกฟูก ใช้มุงหลังคาเป็นต้น เช่น หลังคาสังกะสี รั้วสังกะสี.
สังกัด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ขึ้นอยู่, รวมอยู่, เช่น กรมวิชาการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการที่มีหน่วยงานย่อย ๆ ขึ้นอยู่ เช่น กรมสามัญศึกษาอยู่ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ, โดยปริยายหมายถึงที่อยู่เป็นหลักแหล่ง เช่น เขาเป็นคนไม่มีสังกัด คือ เป็นคนที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง หมายถึง คนที่เร่ร่อนพเนจร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สงฺกาต่ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก.สังกัด ก. ขึ้นอยู่, รวมอยู่, เช่น กรมวิชาการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. น. ส่วนราชการที่มีหน่วยงานย่อย ๆ ขึ้นอยู่ เช่น กรมสามัญศึกษาอยู่ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ, โดยปริยายหมายถึงที่อยู่เป็นหลักแหล่ง เช่น เขาเป็นคนไม่มีสังกัด คือ เป็นคนที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง หมายถึง คนที่เร่ร่อนพเนจร. (ข. สงฺกาต่).
สังกัปปะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความดําริ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังกัปปะ น. ความดําริ. (ป.).
สังกา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สงกา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังกา น. สงกา. (ป.).
สังการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หยากเยื่อ, ขยะกุมฝอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังการ (แบบ) น. หยากเยื่อ, ขยะกุมฝอย. (ป.).
สังกาศ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล้าย, เหมือน, เปรียบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สังกาศ ว. คล้าย, เหมือน, เปรียบ. (ส.).
สังกิเลส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องทําให้ใจเศร้าหมอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังกิเลส น. เครื่องทําให้ใจเศร้าหมอง. (ป.).
สังเกต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง กําหนดไว้, หมายไว้, เช่น ทำเครื่องหมายไว้เป็นที่สังเกต; ตั้งใจดู, จับตาดู, เช่น ไม่ได้สังเกตว่าวันนี้เขาแต่งตัวสีอะไร สังเกตกิริยาท่าทางเขาไว้ว่าเป็นคนดีหรือคนร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สังเกต ก. กําหนดไว้, หมายไว้, เช่น ทำเครื่องหมายไว้เป็นที่สังเกต; ตั้งใจดู, จับตาดู, เช่น ไม่ได้สังเกตว่าวันนี้เขาแต่งตัวสีอะไร สังเกตกิริยาท่าทางเขาไว้ว่าเป็นคนดีหรือคนร้าย. (ป., ส.).
สังเกตการณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงว่า ผู้สังเกตการณ์.สังเกตการณ์ ก. เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือเรื่องราวพอรู้เรื่อง. น. เรียกผู้เข้าร่วมประชุมที่ไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงว่า ผู้สังเกตการณ์.
สังข–, สังข์ สังข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่ สังข์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในหลายวงศ์ เช่น สังข์รดน้ำ (Turbinella pyrum) เปลือกสีขาว รูปทรงงดงาม ใช้สำหรับหลั่งน้ำพระพุทธมนต์หรือน้ำเทพมนตร์, สังข์แตร (Chalonia tritonis) เปลือกมีลาย ใช้เป่าในงานพิธีของชาวเกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้, ลักษณนามว่า ขอน เช่น สังข์ ๒ ขอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศงฺข เขียนว่า สอ-สา-ลา-งอ-งู-พิน-ทุ-ขอ-ไข่.สังข–, สังข์ น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในหลายวงศ์ เช่น สังข์รดน้ำ (Turbinella pyrum) เปลือกสีขาว รูปทรงงดงาม ใช้สำหรับหลั่งน้ำพระพุทธมนต์หรือน้ำเทพมนตร์, สังข์แตร (Chalonia tritonis) เปลือกมีลาย ใช้เป่าในงานพิธีของชาวเกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้, ลักษณนามว่า ขอน เช่น สังข์ ๒ ขอน. (ป.; ส. ศงฺข).
สังขกร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-รอ-เรือ[สังขะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีสังข์อยู่ในมือคือ พระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังขกร [สังขะกอน] น. ผู้มีสังข์อยู่ในมือคือ พระนารายณ์. (ป.).
สังขต–, สังขตะ สังขต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า สังขตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [–ขะตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ปรุงแต่งขึ้น (ใช้ในทางศาสนา). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังขต–, สังขตะ [–ขะตะ–] ว. ที่ปรุงแต่งขึ้น (ใช้ในทางศาสนา). (ป.).
สังขตธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สงฺขต เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า + ภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .สังขตธรรม น. สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น. (ป. สงฺขต + ส. ธรฺม).
สังขยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [–ขะหฺยา] เป็นคำนาม หมายถึง การนับ, การคํานวณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สงฺขฺยา เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต สํขฺยา เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-ขอ-ไข่-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.สังขยา ๑ [–ขะหฺยา] น. การนับ, การคํานวณ. (ป. สงฺขฺยา; ส. สํขฺยา).
สังขยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [–ขะหฺยา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง โดยมากทําด้วยไข่ขาว นํ้าตาล และกะทิ, ถ้าทำเป็นหน้าข้าวเหนียวไม่ใส่กะทิ; ขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่ น้ำตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้ำใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะ กินกับขนมปัง.สังขยา ๒ [–ขะหฺยา] น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง โดยมากทําด้วยไข่ขาว นํ้าตาล และกะทิ, ถ้าทำเป็นหน้าข้าวเหนียวไม่ใส่กะทิ; ขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่ น้ำตาลทราย กะทิหรือนมข้น บางทีมีน้ำใบเตยเล็กน้อย กวนในกระทะ กินกับขนมปัง.
สังขลิก, สังขลิกา สังขลิก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ สังขลิกา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา [–ขะลิก, –ขะลิกา] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจองจํา, โซ่ตรวน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังขลิก, สังขลิกา [–ขะลิก, –ขะลิกา] น. เครื่องจองจํา, โซ่ตรวน. (ป.).
สังขาร, สังขาร– สังขาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สังขาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [–ขาน, –ขาระ–, –ขานระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกาย, ตัวตน, สิ่งที่ประกอบและปรุงแต่งขึ้นเป็นร่างกายและจิตใจรวมกัน, เช่น สังขารร่วงโรย สังขารไม่เที่ยง; ความคิด เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺการ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น ถึงซึ่งสังขาร, ในบทกลอนใช้ว่า สังขาร์ ก็มี.สังขาร, สังขาร– [–ขาน, –ขาระ–, –ขานระ–] น. ร่างกาย, ตัวตน, สิ่งที่ประกอบและปรุงแต่งขึ้นเป็นร่างกายและจิตใจรวมกัน, เช่น สังขารร่วงโรย สังขารไม่เที่ยง; ความคิด เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ. (ป.; ส. สํสฺการ). ก. ตาย เช่น ถึงซึ่งสังขาร, ในบทกลอนใช้ว่า สังขาร์ ก็มี.
สังขารธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สังขาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่ง.สังขารธรรม [สังขาระ–] น. สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่ง.
สังขารโลก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[สังขานระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชุมนุมแห่งสังขารทั้งปวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังขารโลก [สังขานระ–] น. ชุมนุมแห่งสังขารทั้งปวง. (ป.).
สังขารา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อทำนองเพลงไทย ใช้ขับร้องในการเล่นหุ่นกระบอก.สังขารา น. ชื่อทำนองเพลงไทย ใช้ขับร้องในการเล่นหุ่นกระบอก.
สังเขป เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง ใจความย่อ, เค้าความย่อ, เช่น เขียนมาพอเป็นสังเขป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํเกฺษป เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา.สังเขป น. ใจความย่อ, เค้าความย่อ, เช่น เขียนมาพอเป็นสังเขป. (ป.; ส. สํเกฺษป).
สังโขภ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-พอ-สำ-เพา[–โขบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความปั่นป่วน เช่น ธาตุสังโขภ ว่า ความปั่นป่วนแห่งธาตุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํโกฺษภ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา.สังโขภ [–โขบ] (แบบ) น. ความปั่นป่วน เช่น ธาตุสังโขภ ว่า ความปั่นป่วนแห่งธาตุ. (ป.; ส. สํโกฺษภ).
สังค–, สังค์ สังค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย สังค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด [สังคะ–, สัง] เป็นคำนาม หมายถึง ความข้องอยู่, การติดอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํค เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ควาย.สังค–, สังค์ [สังคะ–, สัง] น. ความข้องอยู่, การติดอยู่. (ป.; ส. สํค).
สังคญาติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาญาติ, ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นญาติกัน, เช่น คนทั้งหมู่บ้านล้วนเป็นสังคญาติกันทั้งนั้น.สังคญาติ (ปาก) น. บรรดาญาติ, ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นญาติกัน, เช่น คนทั้งหมู่บ้านล้วนเป็นสังคญาติกันทั้งนั้น.
สังคม, สังคม– สังคม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า สังคม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า [–คมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนจํานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท; วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งานสังคม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังคม, สังคม– [–คมมะ–] น. คนจํานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท; วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. ว. ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งานสังคม. (ป.).
สังคมนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สังคมมะ–, สังคม–] เป็นคำนาม หมายถึง ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจําแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต.สังคมนิยม [สังคมมะ–, สังคม–] น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจําแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต.
สังคมวิทยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[สังคมมะ–, สังคม–] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม.สังคมวิทยา [สังคมมะ–, สังคม–] น. วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม.
สังคมศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สังคมมะ–, สังคม–] เป็นคำนาม หมายถึง ศาสตร์ว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับสังคม มีหมวดใหญ่ ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับสังคม) มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยาสังคม.สังคมศาสตร์ [สังคมมะ–, สังคม–] น. ศาสตร์ว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับสังคม มีหมวดใหญ่ ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับสังคม) มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยาสังคม.
สังคมศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[สังคมมะ–, สังคม–] เป็นคำนาม หมายถึง หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม.สังคมศึกษา [สังคมมะ–, สังคม–] น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม.
สังคมสงเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[สังคมสงเคฺราะ] เป็นคำนาม หมายถึง การดําเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้.สังคมสงเคราะห์ [สังคมสงเคฺราะ] น. การดําเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้.
สังคหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การรวบรวม; การย่อ; ความเกื้อกูล, ความเอื้อเฟื้อ; การสงเคราะห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํคฺรห เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ.สังคหะ (แบบ) น. การรวบรวม; การย่อ; ความเกื้อกูล, ความเอื้อเฟื้อ; การสงเคราะห์. (ป.; ส. สํคฺรห).
สังคัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง โรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อรา (Epidermophyton floccosum) บางรายเกิดจากเชื้อราในสกุล Trichophyton เกิดที่ถุงอัณฑะ ลักษณะเป็นผื่นแดง มีสะเก็ด มีอาการคันมาก.สังคัง (ปาก) น. โรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อรา (Epidermophyton floccosum) บางรายเกิดจากเชื้อราในสกุล Trichophyton เกิดที่ถุงอัณฑะ ลักษณะเป็นผื่นแดง มีสะเก็ด มีอาการคันมาก.
สังคาตา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พ่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สังคาตา น. พ่อ. (ช.).
สังคายนา, สังคายนาย สังคายนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา สังคายนาย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก [–คายะ–, –คายยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การซักซ้อม, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชําระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สะสาง เช่น เรื่องนี้ต้องสังคายนากันเสียที. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สงฺคายน เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู.สังคายนา, สังคายนาย [–คายะ–, –คายยะ–] น. การซักซ้อม, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชําระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. (ปาก) ก. สะสาง เช่น เรื่องนี้ต้องสังคายนากันเสียที. (ป. สงฺคายน).
สังคีต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า[–คีด] เป็นคำนาม หมายถึง การร้องรําทําเพลง เช่น สังคีตศิลป์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํคีต เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า.สังคีต [–คีด] น. การร้องรําทําเพลง เช่น สังคีตศิลป์. (ป.; ส. สํคีต).
สังคีติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง สังคายนา, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชําระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังคีติ น. สังคายนา, การสวดพร้อมกันและเป็นแบบเดียวกัน, การประชุมชําระพระไตรปิฎกให้เป็นแบบเดียวกัน. (ป.).
สังเค็ด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด.สังเค็ด น. ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด.
สังเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทําให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น ใยสังเคราะห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ synthesise เขียนว่า เอส-วาย-เอ็น-ที-เอช-อี-เอส-ไอ-เอส-อี.สังเคราะห์ (เคมี) ก. ทําให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทําให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. ว. ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น ใยสังเคราะห์. (อ. synthesise).
สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง[สังคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สงฆ์, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.สังฆ– [สังคะ–] น. สงฆ์, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
สังฆกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สังคะกำ] เป็นคำนาม หมายถึง กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทําภายในสีมา เช่น การทำอุโบสถ การสวดพระปาติโมกข์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํฆ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ระ-คัง + กรฺมนฺ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี สงฺฆกมฺม เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.สังฆกรรม [สังคะกำ] น. กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรวมกันทําภายในสีมา เช่น การทำอุโบสถ การสวดพระปาติโมกข์. (ส. สํฆ + กรฺมนฺ; ป. สงฺฆกมฺม).
สังฆการี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับสงฆ์ในงานหลวง.สังฆการี น. เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับสงฆ์ในงานหลวง.
สังฆเถระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ภิกษุผู้เป็นใหญ่ในพระสงฆ์หมู่หนึ่ง ๆ, ภิกษุผู้เป็นประธานในที่ประชุมสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆเถระ น. ภิกษุผู้เป็นใหญ่ในพระสงฆ์หมู่หนึ่ง ๆ, ภิกษุผู้เป็นประธานในที่ประชุมสงฆ์. (ป.).
สังฆทาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทานที่ทายกถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุโดยไม่เจาะจงรูปใดรูปหนึ่ง, คู่กับ บุคลิกทาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆทาน น. ทานที่ทายกถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุโดยไม่เจาะจงรูปใดรูปหนึ่ง, คู่กับ บุคลิกทาน. (ป.).
สังฆนายก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งหัวหน้าคณะสังฆมนตรีตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔.สังฆนายก (กฎ; เลิก) น. ตําแหน่งหัวหน้าคณะสังฆมนตรีตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔.
สังฆปาโมกข์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆปาโมกข์ น. หัวหน้าสงฆ์. (ป.).
สังฆภัต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวที่ทายกถวายแก่สงฆ์ มักเรียกว่า ข้าวสงฆ์ โดยปรกติทายกนําอาหารไปถวายแก่สงฆ์ที่วัด และพระทําอปโลกนกรรมแบ่งกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆภัต น. ข้าวที่ทายกถวายแก่สงฆ์ มักเรียกว่า ข้าวสงฆ์ โดยปรกติทายกนําอาหารไปถวายแก่สงฆ์ที่วัด และพระทําอปโลกนกรรมแบ่งกัน. (ป.).
สังฆเภท เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน[–เพด] เป็นคำนาม หมายถึง การที่ภิกษุทําให้สงฆ์แตกหมู่แตกคณะออกไป, นับเป็นอนันตริยกรรมอย่าง ๑ ในอนันตริยกรรม ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆเภท [–เพด] น. การที่ภิกษุทําให้สงฆ์แตกหมู่แตกคณะออกไป, นับเป็นอนันตริยกรรมอย่าง ๑ ในอนันตริยกรรม ๕. (ป.).
สังฆมณฑล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง[–มนทน] เป็นคำนาม หมายถึง วงการคณะสงฆ์.สังฆมณฑล [–มนทน] น. วงการคณะสงฆ์.
สังฆมนตรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.สังฆมนตรี (กฎ; เลิก) น. ตําแหน่งพระเถระผู้รับผิดชอบในองค์การของคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เช่น สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง.
สังฆราช เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[–ราด] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆราช [–ราด] น. ตําแหน่งพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล. (ป.).
สังฆสภา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง สภาของคณะสงฆ์ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔.สังฆสภา (กฎ; เลิก) น. สภาของคณะสงฆ์ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔.
สังฆาณัติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง กฎข้อบังคับของคณะสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญญัติขึ้นโดยคําแนะนําของสังฆสภา ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔, ปัจจุบันเรียกว่า พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆาณัติ (กฎ; เลิก) น. กฎข้อบังคับของคณะสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญญัติขึ้นโดยคําแนะนําของสังฆสภา ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔, ปัจจุบันเรียกว่า พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช. (ป.).
สังฆาทิเสส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ[–เสด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาบัติหนักหมวดหนึ่งรองจากปาราชิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆาทิเสส [–เสด] น. ชื่ออาบัติหนักหมวดหนึ่งรองจากปาราชิก. (ป.).
สังฆาธิการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง พระภิกษุผู้ดํารงตําแหน่งปกครองคณะสงฆ์นับตั้งแต่ตําแหน่งเจ้าคณะภาคลงมาจนถึงตําแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส เรียกว่า พระสังฆาธิการ.สังฆาธิการ น. พระภิกษุผู้ดํารงตําแหน่งปกครองคณะสงฆ์นับตั้งแต่ตําแหน่งเจ้าคณะภาคลงมาจนถึงตําแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส เรียกว่า พระสังฆาธิการ.
สังฆานุสติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง การระลึกถึงคุณพระสงฆ์ เป็นกรรมฐานอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สังฆานุสติ น. การระลึกถึงคุณพระสงฆ์ เป็นกรรมฐานอย่างหนึ่ง. (ป.).
สังฆาวาส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์ ประกอบด้วยกุฏิ หอฉัน ศาลาการเปรียญ เป็นต้น.สังฆาวาส น. บริเวณที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์ ประกอบด้วยกุฏิ หอฉัน ศาลาการเปรียญ เป็นต้น.
สังฆาฏิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าคลุมกันหนาวที่ภิกษุใช้ทาบบนจีวร ตามปรกติใช้พับพาดบ่าซ้ายในพิธีสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํฆาฏิ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ.สังฆาฏิ น. ผ้าคลุมกันหนาวที่ภิกษุใช้ทาบบนจีวร ตามปรกติใช้พับพาดบ่าซ้ายในพิธีสงฆ์. (ป.; ส. สํฆาฏิ).
สังฆาณัติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง.สังฆาณัติ ดู สังฆ–.
สังฆาทิเสส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือดู สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง.สังฆาทิเสส ดู สังฆ–.
สังฆาธิการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง.สังฆาธิการ ดู สังฆ–.
สังฆานุสติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง.สังฆานุสติ ดู สังฆ–.
สังฆาวาส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือดู สังฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง.สังฆาวาส ดู สังฆ–.
สังปะติแหงะ, สังปะลิเหงะ สังปะติแหงะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อะ สังปะลิเหงะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อะ [–แหฺงะ, –เหฺงะ] เป็นคำนาม หมายถึง ฤษี. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สังปะติแหงะ, สังปะลิเหงะ [–แหฺงะ, –เหฺงะ] น. ฤษี. (ช.).
สังยุตนิกาย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สังยุดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๓ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดประมวล คือ ประมวลเรื่องประเภทเดียวกันไว้ด้วยกันทั้งหมด.สังยุตนิกาย [สังยุดตะ–] น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๓ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดประมวล คือ ประมวลเรื่องประเภทเดียวกันไว้ด้วยกันทั้งหมด.
สังโยค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง การประกอบกัน, การอยู่ร่วมกัน, การผูกรัด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง ตัวพยัญชนะ ๒ ตัวที่เรียงกัน ตัวหน้าเป็นตัวสะกด ตัวหลังเป็นตัวตาม พยัญชนะที่เป็นตัวสะกด เรียกว่า พยัญชนะสังโยค เช่น มนุสฺส สตฺต พุทฺธ รฏฺ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํโยค เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย สญฺโค เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-ยอ-หยิง-คอ-ควาย และมาจากภาษาสันสกฤต สํโยค เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย.สังโยค น. การประกอบกัน, การอยู่ร่วมกัน, การผูกรัด; (ไว) ตัวพยัญชนะ ๒ ตัวที่เรียงกัน ตัวหน้าเป็นตัวสะกด ตัวหลังเป็นตัวตาม พยัญชนะที่เป็นตัวสะกด เรียกว่า พยัญชนะสังโยค เช่น มนุสฺส สตฺต พุทฺธ รฏฺ. (ป. สํโยค, สญฺโค; ส. สํโยค).
สังโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องพัวพัน, เครื่องผูกรัด, หมายเอากิเลสที่ผูกคนไว้กับวัฏสงสาร มี ๑๐ อย่าง มีสักกายทิฐิเป็นต้น พระอริยบุคคลเมื่อละสังโยชน์เป็นลําดับจนหมดก็เป็นพระอรหันต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํโยชน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู สญฺโชน เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต สํโยชน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.สังโยชน์ น. เครื่องพัวพัน, เครื่องผูกรัด, หมายเอากิเลสที่ผูกคนไว้กับวัฏสงสาร มี ๑๐ อย่าง มีสักกายทิฐิเป็นต้น พระอริยบุคคลเมื่อละสังโยชน์เป็นลําดับจนหมดก็เป็นพระอรหันต์. (ป. สํโยชน, สญฺโชน; ส. สํโยชน).
สังวร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-รอ-เรือ[–วอน] เป็นคำนาม หมายถึง ความระวัง, ความเหนี่ยวรั้ง, ความป้องกัน. เป็นคำกริยา หมายถึง สํารวม, เหนี่ยวรั้ง, เช่น สังวรศีล สังวรธรรม, ถ้าใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า ความสำรวม, ความระวัง, เช่น อินทรียสังวร จักษุสังวร ญาณสังวร ศีลสังวร, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ให้ระวังจงดี (ผู้ใหญ่สั่งสอนเตือนสติผู้น้อย) เช่น เรื่องนี้พึงสังวรไว้ อย่าให้ผิดอีกเป็นครั้งที่ ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํวร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-รอ-เรือ.สังวร [–วอน] น. ความระวัง, ความเหนี่ยวรั้ง, ความป้องกัน. ก. สํารวม, เหนี่ยวรั้ง, เช่น สังวรศีล สังวรธรรม, ถ้าใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า ความสำรวม, ความระวัง, เช่น อินทรียสังวร จักษุสังวร ญาณสังวร ศีลสังวร, (ปาก) ให้ระวังจงดี (ผู้ใหญ่สั่งสอนเตือนสติผู้น้อย) เช่น เรื่องนี้พึงสังวรไว้ อย่าให้ผิดอีกเป็นครั้งที่ ๒. (ป., ส. สํวร).
สังวัจฉระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[–วัดฉะระ] เป็นคำนาม หมายถึง ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํวจฺฉร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต สํวตฺสร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ.สังวัจฉระ [–วัดฉะระ] น. ปี. (ป. สํวจฺฉร; ส. สํวตฺสร).
สังวัธยาย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[–วัดทะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ท่องบ่น, อ่านดัง ๆ เพื่อให้จําได้, สวดท่องให้จําได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาธฺยาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สชฺฌาย เขียนว่า สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สังวัธยาย [–วัดทะ–] ก. ท่องบ่น, อ่านดัง ๆ เพื่อให้จําได้, สวดท่องให้จําได้. (ส. สฺวาธฺยาย; ป. สชฺฌาย).
สังวาล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สร้อยเครื่องประดับชนิดหนึ่งใช้คล้องเฉวียงบ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เสวาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต เศวาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ไศวาล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ว่า สาหร่าย .สังวาล น. สร้อยเครื่องประดับชนิดหนึ่งใช้คล้องเฉวียงบ่า. (ป. เสวาล; ส. เศวาล, ไศวาล ว่า สาหร่าย).
สังวาลพราหมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สายธุรําของพราหมณ์.สังวาลพราหมณ์ น. สายธุรําของพราหมณ์.
สังวาส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่ด้วยกัน, การอยู่ร่วมกัน; การร่วมประเวณี. เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมประเวณี, มักใช้ว่า ร่วมสังวาส หรือ เสพสังวาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํวาส เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.สังวาส น. การอยู่ด้วยกัน, การอยู่ร่วมกัน; การร่วมประเวณี. ก. ร่วมประเวณี, มักใช้ว่า ร่วมสังวาส หรือ เสพสังวาส. (ป., ส. สํวาส).
สังเวคะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความสลด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํเวค เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-คอ-ควาย.สังเวคะ น. ความสลด. (ป., ส. สํเวค).
สังเวช, สังเวช– สังเวช เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง สังเวช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง [สังเวด, สังเวชะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นต้น เช่น เห็นผู้คนประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตกแล้วสังเวช พอรู้ข่าวว่าญาติผู้ใหญ่ของตนพัวพันคดีฉ้อราษฎร์บังหลวงก็สังเวช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํเวชน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.สังเวช, สังเวช– [สังเวด, สังเวชะ–] ก. รู้สึกเศร้าสลดหดหู่ต่อผู้ที่ได้รับทุกขเวทนา หรือต้องตายไป หรือต่อผู้ที่ตนเคารพนับถือซึ่งประพฤติตนไม่เหมาะสมเป็นต้น เช่น เห็นผู้คนประสบอุบัติเหตุเครื่องบินตกแล้วสังเวช พอรู้ข่าวว่าญาติผู้ใหญ่ของตนพัวพันคดีฉ้อราษฎร์บังหลวงก็สังเวช. (ป., ส. สํเวชน).
สังเวชนียสถาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สังเวชะนียะสะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนาอันเป็นที่ตั้งแห่งความสลดสังเวช มี ๔ แห่ง คือ ๑. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าประสูติ ได้แก่ สวนลุมพินี ปัจจุบันได้แก่ รุมมินเด ในประเทศเนปาล ๒. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ คือ ที่ควงพระศรีมหาโพธิ ปัจจุบันได้แก่ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ๓. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันได้แก่ สารนาถ ประเทศอินเดีย ๔. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน คือ ป่าสาลวัน เมืองกุสินารา ปัจจุบันได้แก่ เมืองกาเซีย ประเทศอินเดีย.สังเวชนียสถาน [สังเวชะนียะสะถาน] น. สถานที่ทางพระพุทธศาสนาอันเป็นที่ตั้งแห่งความสลดสังเวช มี ๔ แห่ง คือ ๑. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าประสูติ ได้แก่ สวนลุมพินี ปัจจุบันได้แก่ รุมมินเด ในประเทศเนปาล ๒. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ คือ ที่ควงพระศรีมหาโพธิ ปัจจุบันได้แก่ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ๓. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันได้แก่ สารนาถ ประเทศอินเดีย ๔. สถานที่ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน คือ ป่าสาลวัน เมืองกุสินารา ปัจจุบันได้แก่ เมืองกาเซีย ประเทศอินเดีย.
สังเวย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง บวงสรวง, เซ่นสรวง, เช่น สังเวยเทวดา.สังเวย ก. บวงสรวง, เซ่นสรวง, เช่น สังเวยเทวดา.
สังเวียน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คอกหรือวงล้อมสําหรับชนไก่เป็นต้น; ที่ต่อสู้ เช่น สังเวียนมวย.สังเวียน ๑ น. คอกหรือวงล้อมสําหรับชนไก่เป็นต้น; ที่ต่อสู้ เช่น สังเวียนมวย.
สังเวียน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่ง.สังเวียน ๒ น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง.
สังสกฤต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า[–สะกฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง สันสกฤต.สังสกฤต [–สะกฺริด] น. สันสกฤต.
สังสการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–สะกาน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พิธีกรรมเกี่ยวกับการปลงศพ, ส่งสการ ก็ว่า เช่น รุดเร่งส่งสการ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํสการ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สังสการ [–สะกาน] (โบ) น. พิธีกรรมเกี่ยวกับการปลงศพ, ส่งสการ ก็ว่า เช่น รุดเร่งส่งสการ. (ม. คำหลวง ชูชก). (ส. สํสการ).
สังสดมภ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความแข็งทื่อ, การต้านทาน; เครื่องคํ้าจุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํสฺตมฺภ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา.สังสดมภ์ น. ความแข็งทื่อ, การต้านทาน; เครื่องคํ้าจุน. (ส. สํสฺตมฺภ).
สังสนทนา, สั่งสนทนา สังสนทนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา สั่งสนทนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันฐานกันเอง, พูดจาหารือกัน, มักใช้ สั่งสนทนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํสนฺทนา เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ว่า การเทียบเคียงกัน .สังสนทนา, สั่งสนทนา ก. พูดกันฐานกันเอง, พูดจาหารือกัน, มักใช้ สั่งสนทนา. (ป. สํสนฺทนา ว่า การเทียบเคียงกัน).
สังสรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น จัดงานสังสรรค์กันในหมู่พนักงาน เพื่อน ๆ ได้พบปะสังสรรค์กันในงานชุมนุมศิษย์เก่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น งานสังสรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํสรฺค เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย.สังสรรค์ ก. พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น จัดงานสังสรรค์กันในหมู่พนักงาน เพื่อน ๆ ได้พบปะสังสรรค์กันในงานชุมนุมศิษย์เก่า. ว. ที่พบปะวิสาสะกันเป็นครั้งคราวด้วยความสนิทสนม เช่น งานสังสรรค์. (ส. สํสรฺค).
สังสารวัฏ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก[–สาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํสารวฏฺฏ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก.สังสารวัฏ [–สาระ–] น. การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร ก็ว่า. (ป. สํสารวฏฺฏ).
สังสิทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[–สิดทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความสําเร็จ, ความเรียบร้อย, ความดีเลิศ; ผลสุดท้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํสิทฺธิ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.สังสิทธิ [–สิดทิ] น. ความสําเร็จ, ความเรียบร้อย, ความดีเลิศ; ผลสุดท้าย. (ส. สํสิทฺธิ).
สังสุทธ์, สังสุทธิ สังสุทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด สังสุทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ [–สุด, –สุดทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความบริสุทธิ์, ความสะอาด; การชําระ, การล้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํศุทฺธ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง สํศุทฺธิ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ .สังสุทธ์, สังสุทธิ [–สุด, –สุดทิ] น. ความบริสุทธิ์, ความสะอาด; การชําระ, การล้าง. (ส. สํศุทฺธ, สํศุทฺธิ).
สังหร, สังหรณ์ สังหร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ สังหรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด [–หอน] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกคล้ายมีอะไรมาดลใจ ทําให้รู้ว่าจะมีเหตุเกิดขึ้น (มักใช้แก่เหตุร้าย) เช่น สังหรณ์ว่าจะเกิดเรื่องร้ายขึ้นที่บ้าน. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต สํหรณ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน ว่า ยึดไว้ .สังหร, สังหรณ์ [–หอน] ก. รู้สึกคล้ายมีอะไรมาดลใจ ทําให้รู้ว่าจะมีเหตุเกิดขึ้น (มักใช้แก่เหตุร้าย) เช่น สังหรณ์ว่าจะเกิดเรื่องร้ายขึ้นที่บ้าน. (เทียบ ส. สํหรณ ว่า ยึดไว้).
สังหรรษ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี[–หัด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเต็มตื้นด้วยความยินดี, ความปีติยินดี; ความเสียวซ่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํหรฺษ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-หอ-หีบ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.สังหรรษ [–หัด] น. ความเต็มตื้นด้วยความยินดี, ความปีติยินดี; ความเสียวซ่าน. (ส. สํหรฺษ).
สังหาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–หาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า, ผลาญชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สังหาร [–หาน] ก. ฆ่า, ผลาญชีวิต. (ส.).
สังหาริมทรัพย์, สังหาริมะ สังหาริมทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด สังหาริมะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ [–หาริมะ–, –หาริมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์ที่นําไปได้ เช่น แหวน สร้อย โต๊ะ เก้าอี้, คู่กับ อสังหาริมทรัพย์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ และรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย.สังหาริมทรัพย์, สังหาริมะ [–หาริมะ–, –หาริมมะ–] น. ทรัพย์ที่นําไปได้ เช่น แหวน สร้อย โต๊ะ เก้าอี้, คู่กับ อสังหาริมทรัพย์; (กฎ) ทรัพย์สินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย์ และรวมถึงสิทธิอันเกี่ยวกับทรัพย์สินนั้นด้วย.
สังหิต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง รวมไว้, ผูกหรือติดเข้าด้วยกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํหิต เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สังหิต ก. รวมไว้, ผูกหรือติดเข้าด้วยกัน. (ส. สํหิต).
สัจ, สัจ–, สัจจะ สัจ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน สัจ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน สัจจะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ [สัด, สัดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความจริง, ความจริงใจ, เช่น ทำงานร่วมกันต้องมีสัจจะต่อกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สจฺจ เขียนว่า สอ-เสือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน และมาจากภาษาสันสกฤต สตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สัจ, สัจ–, สัจจะ [สัด, สัดจะ–] น. ความจริง, ความจริงใจ, เช่น ทำงานร่วมกันต้องมีสัจจะต่อกัน. (ป. สจฺจ; ส. สตฺย).
สัจกิริยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[สัดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การตั้งความสัตย์.สัจกิริยา [สัดจะ–] น. การตั้งความสัตย์.
สัจญาณ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[สัดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้เรื่องแห่งความจริง, ในพระพุทธศาสนาประสงค์เอาปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สจฺจาณ เขียนว่า สอ-เสือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน.สัจญาณ [สัดจะ–] น. ความรู้เรื่องแห่งความจริง, ในพระพุทธศาสนาประสงค์เอาปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ. (ป. สจฺจาณ).
สัจธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สัดจะทำ] เป็นคำนาม หมายถึง ความจริงแท้ เช่น บรรลุสัจธรรม เข้าถึงสัจธรรม.สัจธรรม [สัดจะทำ] น. ความจริงแท้ เช่น บรรลุสัจธรรม เข้าถึงสัจธรรม.
สัจนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สัดจะ–](ศิลปะและวรรณคดี) น. คตินิยมในการสร้างสรรค์วรรณกรรมหรือศิลปะซึ่งแสดงให้เห็นชีวิตและโลกอย่างสมจริง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา หมายถึง ทฤษฎีที่ถือว่าโลกและวัตถุเป็นสิ่งมีอยู่จริงเช่นเดียวกับจิต และมีอยู่อย่างอิสระจากจิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ realism เขียนว่า อา-อี-เอ-แอล-ไอ-เอส-เอ็ม.สัจนิยม [สัดจะ–] (ศิลปะและวรรณคดี) น. คตินิยมในการสร้างสรรค์วรรณกรรมหรือศิลปะซึ่งแสดงให้เห็นชีวิตและโลกอย่างสมจริง; (ปรัชญา) ทฤษฎีที่ถือว่าโลกและวัตถุเป็นสิ่งมีอยู่จริงเช่นเดียวกับจิต และมีอยู่อย่างอิสระจากจิต. (อ. realism).
สัจพจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[สัดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ postulate เขียนว่า พี-โอ-เอส-ที-ยู-แอล-เอ-ที-อี axiom เขียนว่า เอ-เอ็กซ์-ไอ-โอ-เอ็ม .สัจพจน์ [สัดจะ–] น. ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์. (อ. postulate, axiom).
สัชฌ–, สัชฌะ, สัชฌุ สัชฌ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ สัชฌะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อะ สัชฌุ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง เงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัชฌ–, สัชฌะ, สัชฌุ น. เงิน. (ป.).
สัชฌกร, สัชฌการ, สัชฌุกร, สัชฌุการ สัชฌกร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ สัชฌการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สัชฌุกร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ สัชฌุการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช่างเงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัชฌกร, สัชฌการ, สัชฌุกร, สัชฌุการ น. ช่างเงิน. (ป.).
สัชฌายะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง สังวัธยาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวาธฺยาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สัชฌายะ ก. สังวัธยาย. (ป.; ส. สฺวาธฺยาย).
สัญจร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-รอ-เรือ[–จอน] เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านไปมา เช่น ทางสัญจร. เป็นคำนาม หมายถึง ช่องทาง, ถนน; การผ่านไปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัญจร [–จอน] ก. ผ่านไปมา เช่น ทางสัญจร. น. ช่องทาง, ถนน; การผ่านไปมา. (ป., ส.).
สัญจรโรค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง กามโรค. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกหญิงโสเภณีว่า หญิงสัญจรโรค.สัญจรโรค น. กามโรค. ว. เรียกหญิงโสเภณีว่า หญิงสัญจรโรค.
สัญจาระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[–ระ] เป็นคำนาม หมายถึง การเดินไป, การเที่ยวไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัญจาระ [–ระ] น. การเดินไป, การเที่ยวไป. (ป., ส.).
สัญเจตนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[–เจดตะนา] เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งใจ, ความจงใจ.สัญเจตนา [–เจดตะนา] น. ความตั้งใจ, ความจงใจ.
สัญชาต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[–ชาตะ–, –ชาดตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกิดเอง เช่น สัญชาตสระ ว่า สระที่เกิดเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัญชาต– [–ชาตะ–, –ชาดตะ–] ว. เกิดเอง เช่น สัญชาตสระ ว่า สระที่เกิดเอง. (ป.).
สัญชาตญาณ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[–ชาดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ที่มีมาแต่กําเนิดของคนและสัตว์ ทําให้มีความรู้สึกและกระทําได้เองโดยไม่ต้องมีใครสั่งสอน เช่น สัญชาตญาณในการป้องกันตัว สัญชาตญาณในการรวมหมู่, สัญชาตเวค ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ instinct เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอส-ที-ไอ-เอ็น-ซี-ที.สัญชาตญาณ [–ชาดตะ–] น. ความรู้ที่มีมาแต่กําเนิดของคนและสัตว์ ทําให้มีความรู้สึกและกระทําได้เองโดยไม่ต้องมีใครสั่งสอน เช่น สัญชาตญาณในการป้องกันตัว สัญชาตญาณในการรวมหมู่, สัญชาตเวค ก็ว่า. (อ. instinct).
สัญชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–ชาด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเกิด, การเป็นขึ้น, ความอยู่ในบังคับ คืออยู่ในความปกครองของประเทศชาติเดียวกัน เช่น ฝรั่งถือสัญชาติไทย, โดยปริยายหมายความว่า สันดาน เช่น สัญชาติพาล สัญชาติคางคก ยางหัวไม่ตกก็ไม่รู้สึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สญฺชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ความเกิด, การเป็นขึ้น ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สถานะตามกฎหมายของบุคคลที่แสดงว่าเป็นพลเมืองหรือคนในบังคับของประเทศใดประเทศหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ nationality เขียนว่า เอ็น-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น-เอ-แอล-ไอ-ที-วาย.สัญชาติ [–ชาด] น. ความเกิด, การเป็นขึ้น, ความอยู่ในบังคับ คืออยู่ในความปกครองของประเทศชาติเดียวกัน เช่น ฝรั่งถือสัญชาติไทย, โดยปริยายหมายความว่า สันดาน เช่น สัญชาติพาล สัญชาติคางคก ยางหัวไม่ตกก็ไม่รู้สึก. (ป. สญฺชาติ ว่า ความเกิด, การเป็นขึ้น); (กฎ) สถานะตามกฎหมายของบุคคลที่แสดงว่าเป็นพลเมืองหรือคนในบังคับของประเทศใดประเทศหนึ่ง. (อ. nationality).
สัญฌา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เวลาเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สนฺธฺยา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.สัญฌา น. เวลาเย็น. (ป.; ส. สนฺธฺยา).
สัญญา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง (กฎ) ข้อตกลงระหว่างบุคคล ๒ ฝ่ายหรือหลายฝ่ายว่าจะกระทําการหรืองดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง; ข้อตกลงกัน, คำมั่น, เช่น เขาให้สัญญาว่าจะมาหาพรุ่งนี้; ความจํา เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ. เป็นคำกริยา หมายถึง ให้คํามั่น, รับปาก, ทําความตกลงกัน, เช่น แม่สัญญากับลูกว่าถ้าสอบได้ที่ ๑ จะให้รางวัล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัญญา น. (กฎ) ข้อตกลงระหว่างบุคคล ๒ ฝ่ายหรือหลายฝ่ายว่าจะกระทําการหรืองดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง; ข้อตกลงกัน, คำมั่น, เช่น เขาให้สัญญาว่าจะมาหาพรุ่งนี้; ความจํา เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ. ก. ให้คํามั่น, รับปาก, ทําความตกลงกัน, เช่น แม่สัญญากับลูกว่าถ้าสอบได้ที่ ๑ จะให้รางวัล. (ป.).
สัญญาบัตร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ใบตั้งยศ บรรดาศักดิ์ หรือสมณศักดิ์ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้ง เช่น นายทหารสัญญาบัตร พระราชาคณะสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตร, ถ้าเป็นใบที่เจ้ากระทรวงตั้ง เรียกว่า ใบประทวน.สัญญาบัตร น. ใบตั้งยศ บรรดาศักดิ์ หรือสมณศักดิ์ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้ง เช่น นายทหารสัญญาบัตร พระราชาคณะสัญญาบัตร พระครูสัญญาบัตร, ถ้าเป็นใบที่เจ้ากระทรวงตั้ง เรียกว่า ใบประทวน.
สัญญาประกันชีวิต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู ประกันชีวิต เขียนว่า ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สัญญาประกันชีวิต (กฎ) ดู ประกันชีวิต.
สัญญาประกันภัย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู ประกันภัย เขียนว่า ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก.สัญญาประกันภัย (กฎ) ดู ประกันภัย.
สัญญาวิปลาส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสติฟั่นเฟือนคล้ายคนบ้า, สติวิปลาส ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สญฺาวิปลฺลาส เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.สัญญาวิปลาส ว. มีสติฟั่นเฟือนคล้ายคนบ้า, สติวิปลาส ก็ว่า. (ป. สญฺาวิปลฺลาส).
สัญญาณ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายหรือเครื่องแสดงไว้ให้เห็นหรือให้ได้ยินเป็นต้นแม้อยู่ในระยะไกล เพื่อให้รู้ล่วงหน้าจะได้ระวังอันตรายหรือกระทําตามที่บอกหรือแนะไว้ เช่น สัญญาณไฟจราจร สัญญาณธง ตีระฆังเป็นสัญญาณให้พระลงโบสถ์.สัญญาณ น. เครื่องหมายหรือเครื่องแสดงไว้ให้เห็นหรือให้ได้ยินเป็นต้นแม้อยู่ในระยะไกล เพื่อให้รู้ล่วงหน้าจะได้ระวังอันตรายหรือกระทําตามที่บอกหรือแนะไว้ เช่น สัญญาณไฟจราจร สัญญาณธง ตีระฆังเป็นสัญญาณให้พระลงโบสถ์.
สัญญาณจราจร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สัญญาณใด ๆ ไม่ว่าจะแสดงด้วยธง ไฟ ไฟฟ้า มือ แขน เสียงนกหวีด หรือด้วยวิธีอื่นใดสำหรับให้ผู้ขับขี่ คนเดินเท้า หรือคนที่จูง ขี่ หรือไล่ต้อนสัตว์ ปฏิบัติตามสัญญาณนั้น.สัญญาณจราจร (กฎ) น. สัญญาณใด ๆ ไม่ว่าจะแสดงด้วยธง ไฟ ไฟฟ้า มือ แขน เสียงนกหวีด หรือด้วยวิธีอื่นใดสำหรับให้ผู้ขับขี่ คนเดินเท้า หรือคนที่จูง ขี่ หรือไล่ต้อนสัตว์ ปฏิบัติตามสัญญาณนั้น.
สัญญี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความหมายรู้ได้, มีความรู้สึก, มีความระลึก, มีความจําได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัญญี ว. มีความหมายรู้ได้, มีความรู้สึก, มีความระลึก, มีความจําได้. (ป.).
สัญโญชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-โอ-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สังโยชน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัญโญชน์ น. สังโยชน์. (ป.).
สัญนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สันยะนิยม] เป็นคำนาม หมายถึง การปฏิบัติหรือธรรมเนียมทั่วไปที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มสังคมในขณะนั้น เช่น การไหว้เป็นสัญนิยมอย่างหนึ่งของคนไทย การใช้ตะเกียบคีบอาหารเป็นสัญนิยมในการกินอาหารของคนจีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ convention เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-วี-อี-เอ็น-ที-ไอ-โอ-เอ็น.สัญนิยม [สันยะนิยม] น. การปฏิบัติหรือธรรมเนียมทั่วไปที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มสังคมในขณะนั้น เช่น การไหว้เป็นสัญนิยมอย่างหนึ่งของคนไทย การใช้ตะเกียบคีบอาหารเป็นสัญนิยมในการกินอาหารของคนจีน. (อ. convention).
สัญประกาศ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา[สันยะปฺระกาด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ — ใช้ขีดไว้ใต้คําหรือข้อความที่สําคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก.สัญประกาศ [สันยะปฺระกาด] น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ — ใช้ขีดไว้ใต้คําหรือข้อความที่สําคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่านสังเกตเป็นพิเศษ, ขีดเส้นใต้ ก็เรียก.
สัญโยค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง สังโยค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัญโยค น. สังโยค. (ป.).
สัญลักษณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[สันยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่กําหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน (รูปภาพ บวก ลบ คูณ หาร) เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ symbol เขียนว่า เอส-วาย-เอ็ม-บี-โอ-แอล.สัญลักษณ์ [สันยะ–] น. สิ่งที่กําหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน (รูปภาพ บวก ลบ คูณ หาร) เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. (อ. symbol).
สัฐิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ[สัดถิ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หกสิบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สฏฺิ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต ษษฺฏิ เขียนว่า สอ-รือ-สี-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ.สัฐิ [สัดถิ] ว. หกสิบ. (ป. สฏฺิ; ส. ษษฺฏิ).
สัณฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รูปทรง, ลักษณะ, เช่น ป้อมปราการมีสัณฐานแปดเหลี่ยม โลกมีสัณฐานกลมอย่างผลส้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺถาน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สัณฐาน น. รูปทรง, ลักษณะ, เช่น ป้อมปราการมีสัณฐานแปดเหลี่ยม โลกมีสัณฐานกลมอย่างผลส้ม. (ป.; ส. สํสฺถาน).
สัณฐิติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งมั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺถิติ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สัณฐิติ น. ความตั้งมั่น. (ป.; ส. สํสฺถิติ).
สัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ษณฺฑ เขียนว่า สอ-รือ-สี-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท.สัณฑ์ น. สณฑ์. (ป.; ส. ษณฺฑ).
สัณห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลี้ยงเกลา; อ่อน, นุ่ม; นุ่มนวล, สุภาพ; งาม, ละมุนละม่อม, ละเอียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺลกฺษฺณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน.สัณห์ ว. เกลี้ยงเกลา; อ่อน, นุ่ม; นุ่มนวล, สุภาพ; งาม, ละมุนละม่อม, ละเอียด. (ป.; ส. ศฺลกฺษฺณ).
สัด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะรูปทรงกระบอก ทําด้วยไม้หรือสานด้วยไม้ไผ่ ใช้ตวงข้าว; เครื่องตวงบางชนิดในสมัยโบราณ ใช้ตวงดินปืนบรรจุปากกระบอกปืน; ชื่อมาตราตวงโบราณ ๒๕ ทะนาน เป็น ๑ สัด มีอัตราเท่ากับ ๑ ถัง หรือ ๒๐ ลิตร.สัด ๑ น. ภาชนะรูปทรงกระบอก ทําด้วยไม้หรือสานด้วยไม้ไผ่ ใช้ตวงข้าว; เครื่องตวงบางชนิดในสมัยโบราณ ใช้ตวงดินปืนบรรจุปากกระบอกปืน; ชื่อมาตราตวงโบราณ ๒๕ ทะนาน เป็น ๑ สัด มีอัตราเท่ากับ ๑ ถัง หรือ ๒๐ ลิตร.
สัดส่วน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนผสมของสิ่งต่าง ๆ ตามอัตราที่กําหนด เช่น ในการผสมปูนโบกฝาผนังจะใช้ซีเมนต์ ทราย และปูนขาว ตามสัดส่วน ๓ : ๒ : ๑; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง การเท่ากันของ ๒ อัตราส่วน หมายความว่า อัตราส่วนของปริมาณที่ ๑ ต่อปริมาณที่ ๒ เท่ากับอัตราส่วนของปริมาณที่ ๓ ต่อปริมาณที่ ๔ เช่น ๑ กิโลกรัม, ๒ กิโลกรัม; ๑๐๐ บาท, ๒๐๐ บาท ได้ชื่อว่าเป็นสัดส่วนกันก็เพราะ (รูปภาพ เศษ ๑ กิโลกรัม ส่วน ๒ กิโลกรัม เท่ากับ เศษ ๑ ส่วน ๒ เท่ากับ เศษ ๑๐๐ บาท ส่วน ๒๐๐ บาท เท่ากับ เศษ ๑ ส่วน ๒ ดังนั้น ๑ กิโลกรัม ต่อ ๒ กิโลกรัม เท่ากับ ๑๐๐ บาท ต่อ ๒๐๐ บาท.). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ proportion เขียนว่า พี-อา-โอ-พี-โอ-อา-ที-ไอ-โอ-เอ็น.สัดส่วน น. ส่วนผสมของสิ่งต่าง ๆ ตามอัตราที่กําหนด เช่น ในการผสมปูนโบกฝาผนังจะใช้ซีเมนต์ ทราย และปูนขาว ตามสัดส่วน ๓ : ๒ : ๑; (คณิต) การเท่ากันของ ๒ อัตราส่วน หมายความว่า อัตราส่วนของปริมาณที่ ๑ ต่อปริมาณที่ ๒ เท่ากับอัตราส่วนของปริมาณที่ ๓ ต่อปริมาณที่ ๔ เช่น ๑ กิโลกรัม, ๒ กิโลกรัม; ๑๐๐ บาท, ๒๐๐ บาท ได้ชื่อว่าเป็นสัดส่วนกันก็เพราะ (รูปภาพ เศษ ๑ กิโลกรัม ส่วน ๒ กิโลกรัม เท่ากับ เศษ ๑ ส่วน ๒ เท่ากับ เศษ ๑๐๐ บาท ส่วน ๒๐๐ บาท เท่ากับ เศษ ๑ ส่วน ๒ ดังนั้น ๑ กิโลกรัม ต่อ ๒ กิโลกรัม เท่ากับ ๑๐๐ บาท ต่อ ๒๐๐ บาท.). (อ. proportion).
สัด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมเพศเพื่อสืบพันธุ์ (ใช้แก่สัตว์).สัด ๒ ก. ร่วมเพศเพื่อสืบพันธุ์ (ใช้แก่สัตว์).
สัดจอง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทุ่น, แพ, เรือน้อย, จัดจอง ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สัดจอง น. ทุ่น, แพ, เรือน้อย, จัดจอง ก็ว่า. (ข.).
สัต , สัต– ๑ สัต ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัต– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า [สัด, สัดตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, งาม; น่านับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัต ๑, สัต– ๑ [สัด, สัดตะ–] ว. ดี, งาม; น่านับถือ. (ส.).
สัตการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การยกย่อง, การนับถือ; การรับรอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัตการ น. การยกย่อง, การนับถือ; การรับรอง. (ส.).
สัตบถ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ทางที่ถูก, คติที่ชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัตบถ น. ทางที่ถูก, คติที่ชอบ. (ส.).
สัตบุรุษ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี[สัดบุหฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คนดีน่านับถือ มีคุณธรรม ประพฤติอยู่ในศีลในธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺปุรุษ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี สปฺปุริส เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ.สัตบุรุษ [สัดบุหฺรุด] น. คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คนดีน่านับถือ มีคุณธรรม ประพฤติอยู่ในศีลในธรรม. (ส. สตฺปุรุษ; ป. สปฺปุริส).
สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ สัต ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัต– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัตตะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [สัด, สัดตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ็ด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต สปฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ ๑ [สัด, สัดตะ–] ว. เจ็ด. (ป. สตฺต; ส. สปฺต).
สัตตาห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ เป็นคำนาม หมายถึง เจ็ดวัน.สัตตาห– น. เจ็ดวัน.
สัตตาหกรณียะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[สัดตาหะกะระนียะ, สัดตาหะกอระนียะ] เป็นคำนาม หมายถึง กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก.สัตตาหกรณียะ [สัดตาหะกะระนียะ, สัดตาหะกอระนียะ] น. กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก.
สัตตาหกาลิก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น นํ้ามัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัตตาหกาลิก น. ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใส เนยข้น นํ้ามัน นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย. (ป.).
สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ สัตบริภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด สัตภัณฑ์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด [สัดตะบอริพัน, สัดตะพัน] เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขาที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุเป็นชั้น ๆ รวม ๗ ชั้น สูงลดหลั่นกันลงมาตามลำดับชื่อภูเขาชั้นในที่สุดจากเขาพระสุเมรุออกมา คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ อัสกัณ ระหว่างภูเขาแต่ละชั้นมีทะเลสีทันดรคั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตปริภณฺฑ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท สตฺตภณฺฑ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท .สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ ๑ [สัดตะบอริพัน, สัดตะพัน] น. ภูเขาที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุเป็นชั้น ๆ รวม ๗ ชั้น สูงลดหลั่นกันลงมาตามลำดับชื่อภูเขาชั้นในที่สุดจากเขาพระสุเมรุออกมา คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ อัสกัณ ระหว่างภูเขาแต่ละชั้นมีทะเลสีทันดรคั่น. (ป. สตฺตปริภณฺฑ, สตฺตภณฺฑ).
สัตภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [–พัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเชิงเทียน ทำเป็นแผงรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วติดไม้กลึงเป็นเชิงเทียน ๗ เชิง กรอบมักทำเป็นรูปพญานาคเลื้อยลงมาคล้ายกรอบหน้าบัน.สัตภัณฑ์ ๒ [–พัน] น. ชื่อเชิงเทียน ทำเป็นแผงรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วติดไม้กลึงเป็นเชิงเทียน ๗ เชิง กรอบมักทำเป็นรูปพญานาคเลื้อยลงมาคล้ายกรอบหน้าบัน.
สัตม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๗. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตม เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า.สัตม– ว. ที่ ๗. (ป. สตฺตม).
สัตมวาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[สัดตะมะวาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ครบ ๗, วันทำบุญครบ ๗ วันของผู้ตาย.สัตมวาร [สัดตะมะวาน] น. วันที่ครบ ๗, วันทำบุญครบ ๗ วันของผู้ตาย.
สัตมหาสถาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สัดตะมะหาสะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ ๗ แห่งที่พระพุทธเจ้าเสวยวิมุติสุขภายหลังตรัสรู้.สัตมหาสถาน [สัดตะมะหาสะถาน] น. สถานที่ ๗ แห่งที่พระพุทธเจ้าเสวยวิมุติสุขภายหลังตรัสรู้.
สัตโลหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ[สัดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง โลหะ ๗ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, เพียงนี้เรียกว่า เบญจโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมาจาก “เจ้าน้ำเงิน” ว่า เป็นแร่ชนิดหนึ่ง สีเขียวเป็นสีน้ำเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และบริสุทธิ์ ๑ (คือทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. (ตำราสร้างพระพุทธรูป).สัตโลหะ [สัดตะ–] น. โลหะ ๗ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, เพียงนี้เรียกว่า เบญจโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมาจาก “เจ้าน้ำเงิน” ว่า เป็นแร่ชนิดหนึ่ง สีเขียวเป็นสีน้ำเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และบริสุทธิ์ ๑ (คือทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. (ตำราสร้างพระพุทธรูป).
สัตวาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สัปดาห์หนึ่ง, ๗ วัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตวาร เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สัตวาร น. สัปดาห์หนึ่ง, ๗ วัน. (ป. สตฺตวาร).
สัตสดก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[–สะดก] เป็นคำนาม หมายถึง หมวดละ ๗๐๐ เช่น แล้วประจงจัดสัตสดกมหาทานเป็นต้นว่าคชสารเจ็ดร้อย. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตสตก เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.สัตสดก [–สะดก] น. หมวดละ ๗๐๐ เช่น แล้วประจงจัดสัตสดกมหาทานเป็นต้นว่าคชสารเจ็ดร้อย. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์). (ป. สตฺตสตก).
สัตตบงกช เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง[สัดตะบงกด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. ในวงเล็บ ดู บัว เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน.สัตตบงกช [สัดตะบงกด] น. ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว).
สัตตบรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[สัดตะบัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อบัวสายพันธุ์หนึ่ง. ในวงเล็บ ดู บัว เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน.สัตตบรรณ [สัดตะบัน] น. ชื่อบัวสายพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว).
สัตตบุษย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สัดตะบุด] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. ในวงเล็บ ดู บัว เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน. (๒) เทียนสัตตบุษย์. ในวงเล็บ ดู เทียนสัตตบุษย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.สัตตบุษย์ [สัดตะบุด] น. (๑) ชื่อบัวหลวงพันธุ์หนึ่ง. (ดู บัว). (๒) เทียนสัตตบุษย์. (ดู เทียนสัตตบุษย์ ที่ เทียน ๓).
สัตตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ข้องอยู่, ติดอยู่, พัวพัน. เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัตตะ ๒ ก. ข้องอยู่, ติดอยู่, พัวพัน. น. สัตว์. (ป.).
สัตตาห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบดู สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ ๑ สัต ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัต– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัตตะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ .สัตตาห– ดู สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ ๑.
สัตตาหกาลิก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ดู สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ ๑ สัต ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัต– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัตตะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ .สัตตาหกาลิก ดู สัต ๒, สัต– ๒, สัตตะ ๑.
สัตตู เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวตู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตุ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาสันสกฤต สกฺตุ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ.สัตตู น. ข้าวตู. (ป. สตฺตุ; ส. สกฺตุ).
สัตถ– เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง ความหมายที่ [สัดถะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คัมภีร์, ตํารา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ.สัตถ– ๑ [สัดถะ–] (แบบ) น. คัมภีร์, ตํารา. (ป.; ส. ศาสฺตฺร).
สัตถ– เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เกวียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สารฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สัตถ– ๒ (แบบ) น. เกวียน. (ป.; ส. สารฺถ).
สัตถ– เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธ, มีด, หอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ.สัตถ– ๓ (แบบ) น. อาวุธ, มีด, หอก. (ป.; ส. ศสฺตฺร).
สัตถันดร, สัตถันดรกัป สัตถันดร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ สัตถันดรกัป เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา [สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกัปหรือกัลป์หนึ่ง ซึ่งถือว่าคนเสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดรพึงมี. ในวงเล็บ มาจาก พระมาลัยคำหลวง พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ฉบับหอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๗๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + อนฺตร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ .สัตถันดร, สัตถันดรกัป [สัดถันดอน, สัดถันดะระกับ] น. ชื่อกัปหรือกัลป์หนึ่ง ซึ่งถือว่าคนเสื่อมจากศีลธรรมอย่างที่สุด มีการรบราฆ่าฟันกัน ไม่รู้จักญาติพี่น้อง เช่น ห้าขวบมีฆราวาส ใจร้ายกาจโกลี กัลปนั้นมีนามกร ชื่อสัตถันดรพึงมี. (มาลัยคําหลวง). (ป. สตฺถ + อนฺตร).
สัตถา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ครู, ผู้สอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาสฺตฺฤ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ.สัตถา (แบบ) น. ครู, ผู้สอน. (ป.; ส. ศาสฺตฺฤ).
สัตถิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สกฺถิ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ.สัตถิ (แบบ) น. ขา. (ป.; ส. สกฺถิ).
สัตถุ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ครู, ผู้สอน, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัตถุ น. ครู, ผู้สอน, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. (ป.).
สัตถุศาสนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งสอนของพระศาสดา คือพระพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาสฺตฺฤ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ.สัตถุศาสนา น. คําสั่งสอนของพระศาสดา คือพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. ศาสฺตฺฤ).
สัตบรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[สัดตะ–]ดู ตีนเป็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตปณฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาสันสกฤต สปฺตปรฺณ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน.สัตบรรณ [สัดตะ–] ดู ตีนเป็ด. (ป. สตฺตปณฺณ; ส. สปฺตปรฺณ).
สัตย–, สัตย์ สัตย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก สัตย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [สัดตะยะ–, สัด] เป็นคำนาม หมายถึง ความจริง เช่น รักษาสัตย์, คำมั่นสัญญา, เช่น เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ลูกเสือให้สัตย์ปฏิญาณ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จริง เช่น วาจาสัตย์, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สัตย์ซื่อ ซื่อสัตย์ สัตย์จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สจฺจ เขียนว่า สอ-เสือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน.สัตย–, สัตย์ [สัดตะยะ–, สัด] น. ความจริง เช่น รักษาสัตย์, คำมั่นสัญญา, เช่น เสียชีพอย่าเสียสัตย์ ลูกเสือให้สัตย์ปฏิญาณ. ว. จริง เช่น วาจาสัตย์, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สัตย์ซื่อ ซื่อสัตย์ สัตย์จริง. (ส.; ป. สจฺจ).
สัตยพรต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง การถือคํามั่นสัญญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + วฺรต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า .สัตยพรต น. การถือคํามั่นสัญญา. (ส. สตฺย + วฺรต).
สัตยวาที เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พูดแต่ความจริง เช่น อันว่าพระมหาบุรุษรัตน ผู้อยู่ในสัตยวาที. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺยวาทินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สัตยวาที น. ผู้พูดแต่ความจริง เช่น อันว่าพระมหาบุรุษรัตน ผู้อยู่ในสัตยวาที. (ม. คำหลวง กุมาร). (ส. สตฺยวาทินฺ).
สัตยาเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคําสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺยาคฺรห เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ.สัตยาเคราะห์ น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคําสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. (ส. สตฺยาคฺรห).
สัตยาธิษฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การตั้งความจริงใจเป็นหลักอ้าง เช่น ขอตั้งสัตยาธิษฐานอ้างอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อธิษฺาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี สจฺจ เขียนว่า สอ-เสือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน + อธิฏฺาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู .สัตยาธิษฐาน น. การตั้งความจริงใจเป็นหลักอ้าง เช่น ขอตั้งสัตยาธิษฐานอ้างอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก. (ส. สตฺย + อธิษฺาน; ป. สจฺจ + อธิฏฺาน).
สัตยาบัน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง (กฎ) การยืนยันรับรองความตกลงระหว่างประเทศที่ได้กระทําขึ้นไว้; การรับรองนิติกรรมที่เป็นโมฆียะอันเป็นผลให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์มาแต่เริ่มแรก; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง การอ้างความสัตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อาปนฺน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู .สัตยาบัน น. (กฎ) การยืนยันรับรองความตกลงระหว่างประเทศที่ได้กระทําขึ้นไว้; การรับรองนิติกรรมที่เป็นโมฆียะอันเป็นผลให้นิติกรรมนั้นสมบูรณ์มาแต่เริ่มแรก; (กลอน) การอ้างความสัตย์. (ส. สตฺย + อาปนฺน).
สัตยาเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาดดู สัตย–, สัตย์ สัตย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก สัตย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .สัตยาเคราะห์ ดู สัตย–, สัตย์.
สัตยาธิษฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู สัตย–, สัตย์ สัตย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก สัตย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .สัตยาธิษฐาน ดู สัตย–, สัตย์.
สัตยาบัน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนูดู สัตย–, สัตย์ สัตย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก สัตย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .สัตยาบัน ดู สัตย–, สัตย์.
สัตว–, สัตว์ สัตว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน สัตว์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด [สัดตะวะ–, สัด] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งมีชีวิตซึ่งแตกต่างไปจากพรรณไม้ ส่วนมากมีความรู้สึกและเคลื่อนไหวย้ายที่ไปได้เอง, ความหมายที่ใช้กันเป็นสามัญหมายถึง สัตว์ที่ไม่ใช่คน, เดรัจฉาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตฺตฺว เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-วอ-แหวน และมาจากภาษาบาลี สตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สัตว–, สัตว์ [สัดตะวะ–, สัด] น. สิ่งมีชีวิตซึ่งแตกต่างไปจากพรรณไม้ ส่วนมากมีความรู้สึกและเคลื่อนไหวย้ายที่ไปได้เอง, ความหมายที่ใช้กันเป็นสามัญหมายถึง สัตว์ที่ไม่ใช่คน, เดรัจฉาน. (ส. สตฺตฺว; ป. สตฺต).
สัตวชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์, หมู่สัตว์.สัตวชาติ น. สัตว์, หมู่สัตว์.
สัตวบาล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง การเลี้ยงและดูแลสัตว์; ผู้เลี้ยงและดูแลสัตว์.สัตวบาล น. การเลี้ยงและดูแลสัตว์; ผู้เลี้ยงและดูแลสัตว์.
สัตวแพทย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หมอรักษาสัตว์.สัตวแพทย์ น. หมอรักษาสัตว์.
สัตวโลก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง หมู่สัตว์.สัตวโลก น. หมู่สัตว์.
สัตววิทยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์ชีวภาพสาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องของสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ zoology เขียนว่า แซด-โอ-โอ-แอล-โอ-จี-วาย.สัตววิทยา น. วิทยาศาสตร์ชีวภาพสาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องของสัตว์. (อ. zoology).
สัตว์หิมพานต์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[–หิมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในวรรณคดีที่เชื่อกันว่าอยู่ในป่าหิมพานต์ เช่น คชสีห์ กินนร นรสิงห์, รูปหุ่นที่ผูกเป็นรูปสัตว์ในวรรณคดี ใช้บรรทุกผ้าไตรแห่เข้าขบวนพระบรมศพในสมัยโบราณ.สัตว์หิมพานต์ [–หิมมะ–] น. สัตว์ในวรรณคดีที่เชื่อกันว่าอยู่ในป่าหิมพานต์ เช่น คชสีห์ กินนร นรสิงห์, รูปหุ่นที่ผูกเป็นรูปสัตว์ในวรรณคดี ใช้บรรทุกผ้าไตรแห่เข้าขบวนพระบรมศพในสมัยโบราณ.
สัตวา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[สัดตะวา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่งในจําพวกนกแก้ว ตัวโต สีเขียวเกือบเป็นสีคราม. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.สัตวา [สัดตะวา] น. ชื่อนกชนิดหนึ่งในจําพวกนกแก้ว ตัวโต สีเขียวเกือบเป็นสีคราม. (พจน. ๒๔๙๓).
สัทธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สัดทํา] เป็นคำนาม หมายถึง คําสอนของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระสัทธรรม, ธรรมของสัตบุรุษหรือคนดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สทฺธรฺม เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี สทฺธมฺม เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.สัทธรรม [สัดทํา] น. คําสอนของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระสัทธรรม, ธรรมของสัตบุรุษหรือคนดี. (ส. สทฺธรฺม; ป. สทฺธมฺม).
สัทธา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความเชื่อ, ความเลื่อมใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรทฺธา เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา.สัทธา น. ความเชื่อ, ความเลื่อมใส. (ป.; ส. ศฺรทฺธา).
สัทธาจริต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความเชื่อเป็นเจ้าเรือน, มีนิสัยเชื่อง่าย, เช่น เขาเป็นคนสัทธาจริตเชื่ออะไรง่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัทธาจริต ว. มีความเชื่อเป็นเจ้าเรือน, มีนิสัยเชื่อง่าย, เช่น เขาเป็นคนสัทธาจริตเชื่ออะไรง่าย. (ป.).
สัทธาธิกะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยิ่งด้วยศรัทธา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัทธาธิกะ น. ผู้ยิ่งด้วยศรัทธา. (ป.).
สัทธินทรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความมีใจเชื่อ, ความเลื่อมใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัทธินทรีย์ น. ความมีใจเชื่อ, ความเลื่อมใส. (ป.).
สัทธิงวิหาริก, สัทธิวิหาริก สัทธิงวิหาริก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ สัทธิวิหาริก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกผู้ได้รับการอุปสมบทแล้ว, ถ้าอุปสมบทต่อพระอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธิงวิหาริกของพระอุปัชฌาย์องค์นั้น, (ใช้เข้าคู่กับ อุปัชฌาย์). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัทธิงวิหาริก, สัทธิวิหาริก น. คําเรียกผู้ได้รับการอุปสมบทแล้ว, ถ้าอุปสมบทต่อพระอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธิงวิหาริกของพระอุปัชฌาย์องค์นั้น, (ใช้เข้าคู่กับ อุปัชฌาย์). (ป.).
สัทธินทรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาดดู สัทธา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา.สัทธินทรีย์ ดู สัทธา.
สัทวิทยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[สัดทะวิดทะยา] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการศึกษาระบบเสียงของแต่ละภาษาโดยพิจารณาหน้าที่ของเสียงและการประกอบเสียงในภาษานั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ phonology เขียนว่า พี-เอช-โอ-เอ็น-โอ-แอล-โอ-จี-วาย.สัทวิทยา [สัดทะวิดทะยา] น. วิชาว่าด้วยการศึกษาระบบเสียงของแต่ละภาษาโดยพิจารณาหน้าที่ของเสียงและการประกอบเสียงในภาษานั้น. (อ. phonology).
สัทศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สัดทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติของการออกเสียงและการเปล่งเสียงพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ phonetics เขียนว่า พี-เอช-โอ-เอ็น-อี-ที-ไอ-ซี-เอส.สัทศาสตร์ [สัดทะ–] น. วิชาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติของการออกเสียงและการเปล่งเสียงพูด. (อ. phonetics).
สัทอักษร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-รอ-เรือ[สัดทะอักสอน] เป็นคำนาม หมายถึง อักษรและเครื่องหมายที่กำหนดใช้แทนเสียงประเภทต่าง ๆ เช่น สัญลักษณ์แทนเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และเครื่องหมายพิเศษแทนการออกเสียงอื่น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ phonetic เขียนว่า พี-เอช-โอ-เอ็น-อี-ที-ไอ-ซี alphabet เขียนว่า เอ-แอล-พี-เอช-เอ-บี-อี-ที .สัทอักษร [สัดทะอักสอน] น. อักษรและเครื่องหมายที่กำหนดใช้แทนเสียงประเภทต่าง ๆ เช่น สัญลักษณ์แทนเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และเครื่องหมายพิเศษแทนการออกเสียงอื่น ๆ. (อ. phonetic alphabet).
สัน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะนูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น สันหลังคา สันหน้าแข้ง ดั้งจมูกเป็นสัน; ส่วนหนาของมีดหรือขวานซึ่งอยู่ตรงข้ามกับคม.สัน ๑ น. สิ่งที่มีลักษณะนูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น สันหลังคา สันหน้าแข้ง ดั้งจมูกเป็นสัน; ส่วนหนาของมีดหรือขวานซึ่งอยู่ตรงข้ามกับคม.
สันเขา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสูงของภูเขาที่ยาวเป็นทิวพืดไป.สันเขา น. ส่วนสูงของภูเขาที่ยาวเป็นทิวพืดไป.
สันดอน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินหรือกรวดทรายเป็นต้นซึ่งนํ้าพัดเอามารวมกัน ปรากฏนูนยาวอยู่ใต้นํ้า ทําให้สูงเป็นสันขึ้น, หลังเต่า ก็เรียก.สันดอน น. ดินหรือกรวดทรายเป็นต้นซึ่งนํ้าพัดเอามารวมกัน ปรากฏนูนยาวอยู่ใต้นํ้า ทําให้สูงเป็นสันขึ้น, หลังเต่า ก็เรียก.
สันปันน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง แนวสันเขาหรือสันเนินซึ่งเป็นแนวเขตแบ่งระหว่างลุ่มน้ำ, สันเขาหรือบริเวณที่สูงซึ่งแบ่งนํ้าให้ไหลไปลงแม่นํ้าลําธารที่อยู่แต่ละด้านของสันเขาหรือบริเวณที่สูงนั้น มักปรากฏเป็นแนวตอนบนสุดของทิวเขาซึ่งแบ่งเขตระหว่างลุ่มนํ้าที่มีทิศทางการไหลตรงข้ามกัน.สันปันน้ำ น. แนวสันเขาหรือสันเนินซึ่งเป็นแนวเขตแบ่งระหว่างลุ่มน้ำ, สันเขาหรือบริเวณที่สูงซึ่งแบ่งนํ้าให้ไหลไปลงแม่นํ้าลําธารที่อยู่แต่ละด้านของสันเขาหรือบริเวณที่สูงนั้น มักปรากฏเป็นแนวตอนบนสุดของทิวเขาซึ่งแบ่งเขตระหว่างลุ่มนํ้าที่มีทิศทางการไหลตรงข้ามกัน.
สันมือ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนข้างฝ่ามือด้านนิ้วก้อย เช่น สับด้วยสันมือ.สันมือ น. ส่วนข้างฝ่ามือด้านนิ้วก้อย เช่น สับด้วยสันมือ.
สันหลัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหลัง ซึ่งมีกระดูกเป็นแนวนูนลงมาตลอดหลัง; โดยปริยายหมายความว่า ส่วนที่ตั้งมั่นของสิ่งใด ๆ.สันหลัง น. ส่วนของร่างกายด้านหลัง ซึ่งมีกระดูกเป็นแนวนูนลงมาตลอดหลัง; โดยปริยายหมายความว่า ส่วนที่ตั้งมั่นของสิ่งใด ๆ.
สันหลังยาว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนเกียจคร้านเอาแต่นอนว่า ขี้เกียจสันหลังยาว หรือใช้สั้น ๆ ว่า สันหลังยาว ก็มี, ขี้เกียจหลังยาว ก็ว่า.สันหลังยาว (สำ) ว. เรียกคนเกียจคร้านเอาแต่นอนว่า ขี้เกียจสันหลังยาว หรือใช้สั้น ๆ ว่า สันหลังยาว ก็มี, ขี้เกียจหลังยาว ก็ว่า.
สัน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ปีวอก.สัน ๒ (ถิ่น–พายัพ) น. ปีวอก.
สั่น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไหวถี่ ๆ เช่น กลัวจนตัวสั่น หนาวจนคางสั่น, ทําให้ไหวถี่ ๆ เช่น สั่นกระดิ่ง สั่นหัว.สั่น ก. ไหวถี่ ๆ เช่น กลัวจนตัวสั่น หนาวจนคางสั่น, ทําให้ไหวถี่ ๆ เช่น สั่นกระดิ่ง สั่นหัว.
สั่นงั่ก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง สั่นสะท้าน.สั่นงั่ก ก. สั่นสะท้าน.
สั่นเทา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สั่นรัว ๆ อย่างคนเป็นไข้.สั่นเทา ก. สั่นรัว ๆ อย่างคนเป็นไข้.
สั่นเทิ้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สั่นไปทั้งตัว.สั่นเทิ้ม ก. สั่นไปทั้งตัว.
สั้น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มีกําหนดระยะยืดหรือยืนเป็นเส้นตรงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งน้อยกว่าอีกสิ่งหนึ่งเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น เสื้อแขนสั้น กระโปรงสั้น ถนนสายนี้สั้นกว่าถนนสายอื่น ๆ, มีระยะเวลานานน้อยกว่าอีกช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น หน้าหนาวกลางวันสั้นกว่ากลางคืน.สั้น ว. ลักษณะส่วนหนึ่งของสิ่งใด ๆ มีกําหนดระยะยืดหรือยืนเป็นเส้นตรงจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่งน้อยกว่าอีกสิ่งหนึ่งเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น เสื้อแขนสั้น กระโปรงสั้น ถนนสายนี้สั้นกว่าถนนสายอื่น ๆ, มีระยะเวลานานน้อยกว่าอีกช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น หน้าหนาวกลางวันสั้นกว่ากลางคืน.
สันดาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อุปนิสัยที่มีมาแต่กําเนิด เช่น มีสันดานดี มีสันดานเลว, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง มักใช้ไปในทางไม่สู้จะดี เช่นสันดานของเขาเป็นเช่นนั้น อย่าไปถือเลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สนฺตาน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า สืบต่อ .สันดาน ๑ น. อุปนิสัยที่มีมาแต่กําเนิด เช่น มีสันดานดี มีสันดานเลว, (ปาก) มักใช้ไปในทางไม่สู้จะดี เช่นสันดานของเขาเป็นเช่นนั้น อย่าไปถือเลย. (ป., ส. สนฺตาน ว่า สืบต่อ).
สันดาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคลมอย่างหนึ่งมีอาการให้จุกเสียดเรื้อรังอยู่เสมอ เรียกว่า ลมสันดาน.สันดาน ๒ น. ชื่อโรคลมอย่างหนึ่งมีอาการให้จุกเสียดเรื้อรังอยู่เสมอ เรียกว่า ลมสันดาน.
สันดาป เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา[–ดาบ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเร่าร้อน, ความแผดเผา; การเผาไหม้; ชื่อนรกขุมหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันดาป [–ดาบ] น. ความเร่าร้อน, ความแผดเผา; การเผาไหม้; ชื่อนรกขุมหนึ่ง. (ป., ส.).
สันเดก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สันติกะ, สํานัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺติก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.สันเดก (โบ) น. สันติกะ, สํานัก. (ป. สนฺติก).
สันโดษ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-สอ-รือ-สี[–โดด] เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดีหรือพอใจเท่าที่ตนมีอยู่หรือเป็นอยู่ เช่น เขาถือสันโดษ. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง มักน้อย เช่น เขาเป็นคนสันโดษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํโตษ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี สนฺโตส เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ.สันโดษ [–โดด] น. ความยินดีหรือพอใจเท่าที่ตนมีอยู่หรือเป็นอยู่ เช่น เขาถือสันโดษ. (ปาก) ก. มักน้อย เช่น เขาเป็นคนสันโดษ. (ส. สํโตษ; ป. สนฺโตส).
สันต์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงียบ, สงบ, สงัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศานฺต เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สันต์ ว. เงียบ, สงบ, สงัด. (ป.; ส. ศานฺต).
สันตติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–ตะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ความสืบต่อ เช่น สืบสันตติวงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํตติ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ลูกหลาน .สันตติ [–ตะติ] น. ความสืบต่อ เช่น สืบสันตติวงศ์. (ป.; ส. สํตติ ว่า ลูกหลาน).
สันตะปาปา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นประมุขคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก, โป๊ป ก็เรียก.สันตะปาปา น. ผู้เป็นประมุขคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก, โป๊ป ก็เรียก.
สันตะวา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Ottelia alismoides (L.) Pers. ในวงศ์ Hydrocharitaceae ใบบาง สีเขียวอมนํ้าตาล กินได้.สันตะวา น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Ottelia alismoides (L.) Pers. ในวงศ์ Hydrocharitaceae ใบบาง สีเขียวอมนํ้าตาล กินได้.
สันติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความสงบ เช่น อยู่ร่วมกันโดยสันติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศานฺติ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สันติ น. ความสงบ เช่น อยู่ร่วมกันโดยสันติ. (ป.; ส. ศานฺติ).
สันติบาล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รักษาความสงบ.สันติบาล น. ผู้รักษาความสงบ.
สันติภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความสงบ เช่น โลกต้องการสันติภาพ จงร่วมมือกันรักษาสันติภาพของโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺติ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ + ภาว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน .สันติภาพ น. ความสงบ เช่น โลกต้องการสันติภาพ จงร่วมมือกันรักษาสันติภาพของโลก. (ป. สนฺติ + ภาว).
สันติวิธี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี.สันติวิธี น. วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี.
สันติสุข เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง ความสุขที่เกิดจากความสงบ เช่น รัฐบาลบริหารประเทศเพื่อสันติสุขของประชาชน.สันติสุข น. ความสุขที่เกิดจากความสงบ เช่น รัฐบาลบริหารประเทศเพื่อสันติสุขของประชาชน.
สันติกะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สํานัก, ที่ใกล้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สันติกะ น. สํานัก, ที่ใกล้. (ป.).
สันตุฏฐี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง สันโดษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํตุษฺฏิ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ.สันตุฏฐี น. สันโดษ. (ป.; ส. สํตุษฺฏิ).
สันถระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ที่นอน, เสื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สันถระ น. ที่นอน, เสื่อ. (ป.).
สันถว–, สันถวะ สันถว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-วอ-แหวน สันถวะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [สันถะวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การนิยมชมชอบกัน, การสรรเสริญซึ่งกันและกัน; ความคุ้นเคย, ความสนิทสนมกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺตว เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน.สันถว–, สันถวะ [สันถะวะ–] น. การนิยมชมชอบกัน, การสรรเสริญซึ่งกันและกัน; ความคุ้นเคย, ความสนิทสนมกัน. (ป.; ส. สํสฺตว).
สันถวไมตรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นมิตรสนิทสนมกัน เช่น ต้อนรับด้วยสันถวไมตรี ทูตสันถวไมตรี.สันถวไมตรี น. ความเป็นมิตรสนิทสนมกัน เช่น ต้อนรับด้วยสันถวไมตรี ทูตสันถวไมตรี.
สันถัต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่พระภิกษุรองนั่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺถต เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-ตอ-เต่า ว่า ปูแล้ว, ลาดแล้ว .สันถัต น. ผ้าที่พระภิกษุรองนั่ง. (ป. สนฺถต ว่า ปูแล้ว, ลาดแล้ว).
สันถาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การปูลาด; ที่ปูลาด, พื้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺตาร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สันถาร น. การปูลาด; ที่ปูลาด, พื้น. (ป.; ส. สํสฺตาร).
สันทนะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง รถ, รถศึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺยนฺทน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู.สันทนะ น. รถ, รถศึก. (ป.; ส. สฺยนฺทน).
สันทะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนาทึบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สานฺทฺร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ.สันทะ ว. หนาทึบ. (ป.; ส. สานฺทฺร).
สันทัด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ถนัด, จัดเจน, เช่น เรื่องนี้เขาไม่สันทัด เขาสันทัดในด้านคำนวณ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปานกลาง, ไม่ใหญ่ไม่เล็ก, ไม่สูงไม่ตํ่า, (ใช้แก่รูปร่าง), เช่น รูปร่างสันทัด.สันทัด ก. ถนัด, จัดเจน, เช่น เรื่องนี้เขาไม่สันทัด เขาสันทัดในด้านคำนวณ. ว. ปานกลาง, ไม่ใหญ่ไม่เล็ก, ไม่สูงไม่ตํ่า, (ใช้แก่รูปร่าง), เช่น รูปร่างสันทัด.
สันทัดกรณี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[สันทัดกะระนี, สันทัดกอระนี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่รู้เรื่องนั้น ๆ ดี เช่น เขาเป็นผู้สันทัดกรณีในด้านการต่างประเทศ.สันทัดกรณี [สันทัดกะระนี, สันทัดกอระนี] ว. ที่รู้เรื่องนั้น ๆ ดี เช่น เขาเป็นผู้สันทัดกรณีในด้านการต่างประเทศ.
สันทัสนะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สันทัดสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การแสดง, การชี้แจง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺทสฺสน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู.สันทัสนะ [สันทัดสะนะ] น. การแสดง, การชี้แจง. (ป. สนฺทสฺสน).
สันทาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สายป่าน, เชือก, เครื่องผูกพัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันทาน น. สายป่าน, เชือก, เครื่องผูกพัน. (ป., ส.).
สันทิฐิก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[สันทิดถิกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรเห็นเอง, เป็นคุณของพระธรรมอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺทิฏฺิก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต สานฺทฺฤษฺฏิก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.สันทิฐิก– [สันทิดถิกะ–] (แบบ) ว. ควรเห็นเอง, เป็นคุณของพระธรรมอย่างหนึ่ง. (ป. สนฺทิฏฺิก; ส. สานฺทฺฤษฺฏิก).
สันทิส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ[–ทิด] เป็นคำกริยา หมายถึง สนทิศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด + ทิศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา .สันทิส [–ทิด] ก. สนทิศ. (ส. สํ + ทิศ).
สันเทส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ[–เทด] เป็นคำนาม หมายถึง สนเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สันเทส [–เทด] น. สนเทศ. (ป.).
สันเทหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สนเท่ห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันเทหะ น. สนเท่ห์. (ป., ส.).
สันธาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การเกี่ยวข้อง, การเป็นเพื่อน; เครื่องพัวพัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง คําพวกที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน เช่น เขาชอบสีเหลือง แต่ฉันชอบสีแดง น้ำท่วมเพราะฝนตกหนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันธาน น. การเกี่ยวข้อง, การเป็นเพื่อน; เครื่องพัวพัน; (ไว) คําพวกที่เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน เช่น เขาชอบสีเหลือง แต่ฉันชอบสีแดง น้ำท่วมเพราะฝนตกหนัก. (ป., ส.).
สันนิธิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง การสะสม, การรวบรวม; ที่ใกล้, ที่ต่อหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันนิธิ น. การสะสม, การรวบรวม; ที่ใกล้, ที่ต่อหน้า. (ป., ส.).
สันนิบาต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การประชุม, ที่ประชุม, เช่น สังฆสันนิบาต สันนิบาตชาติ, งานชุมนุม เช่น รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาล.สันนิบาต ๑ น. การประชุม, ที่ประชุม, เช่น สังฆสันนิบาต สันนิบาตชาติ, งานชุมนุม เช่น รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาล.
สันนิบาตเทศบาล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง องค์กรของเทศบาลทั่วประเทศรวมทั้งเทศบาลเมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร ซึ่งรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายช่วยเหลือ สนับสนุน และติดต่อประสานงานเทศบาลทั่วประเทศ โดยไม่มีจุดประสงค์ทางการเมือง เรียกว่า สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย.สันนิบาตเทศบาล น. องค์กรของเทศบาลทั่วประเทศรวมทั้งเทศบาลเมืองพัทยาและกรุงเทพมหานคร ซึ่งรวมตัวกันโดยมีจุดมุ่งหมายช่วยเหลือ สนับสนุน และติดต่อประสานงานเทศบาลทั่วประเทศ โดยไม่มีจุดประสงค์ทางการเมือง เรียกว่า สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย.
สันนิบาต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไข้ชนิดหนึ่งมีอาการสั่นเทิ้ม ชักกระตุก และเพ้อ ว่า ไข้สันนิบาต เช่น ไข้สันนิบาตลูกนก ไข้สันนิบาตหน้าเพลิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันนิบาต ๒ น. เรียกไข้ชนิดหนึ่งมีอาการสั่นเทิ้ม ชักกระตุก และเพ้อ ว่า ไข้สันนิบาต เช่น ไข้สันนิบาตลูกนก ไข้สันนิบาตหน้าเพลิง. (ป., ส.).
สันนิวาส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่, ที่พัก; การอยู่ด้วยกัน, การอยู่ร่วมกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สันนิวาส น. ที่อยู่, ที่พัก; การอยู่ด้วยกัน, การอยู่ร่วมกัน. (ป., ส.).
สันนิเวส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง การตระเตรียม, การตั้งลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สนฺนิเวศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา.สันนิเวส น. การตระเตรียม, การตั้งลง. (ป.; ส. สนฺนิเวศ).
สันนิษฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–นิด–] เป็นคำกริยา หมายถึง ลงความเห็นเป็นการคาดคะเนไว้ก่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺนิฏาน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า ลงความเห็นในที่สุด .สันนิษฐาน [–นิด–] ก. ลงความเห็นเป็นการคาดคะเนไว้ก่อน. (ป. สนฺนิฏาน ว่า ลงความเห็นในที่สุด).
สันพร้านางแอ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่างดู เฉียงพร้านางแอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง.สันพร้านางแอ ดู เฉียงพร้านางแอ.
สันพร้ามอญ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-หยิงดู กระดูกไก่ดํา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา.สันพร้ามอญ ดู กระดูกไก่ดํา.
สันพร้าหอม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Eupatorium stoechadosmum Hance ในวงศ์ Compositae ใช้ทํายาได้.สันพร้าหอม น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Eupatorium stoechadosmum Hance ในวงศ์ Compositae ใช้ทํายาได้.
สันรวง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สรวง.สันรวง (กลอน) น. สรวง.
สันลึก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ใบตาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺลึก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ว่า ใบไม้ .สันลึก น. ใบตาล. (ข. สฺลึก ว่า ใบไม้).
สันสกฤต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า[–สะกฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภาษาในตระกูลอินเดีย—ยุโรป ซึ่งมีใช้ในวรรณคดีอินเดียโบราณ เช่น คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท ต่อมาใช้ในวรรณคดีของพราหมณ์โดยทั่วไป และในคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน, ใช้ว่า สังสกฤต ก็มี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้ดีพร้อมแล้ว, ที่ทำให้ประณีตแล้ว, ที่ขัดเกลาแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํสฺกฤต เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี สกฺกฏ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก.สันสกฤต [–สะกฺริด] น. ชื่อภาษาในตระกูลอินเดีย—ยุโรป ซึ่งมีใช้ในวรรณคดีอินเดียโบราณ เช่น คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท ต่อมาใช้ในวรรณคดีของพราหมณ์โดยทั่วไป และในคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน, ใช้ว่า สังสกฤต ก็มี. ว. ที่ทำให้ดีพร้อมแล้ว, ที่ทำให้ประณีตแล้ว, ที่ขัดเกลาแล้ว. (ส. สํสฺกฤต; ป. สกฺกฏ).
สับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของมีคมเช่นมีดหรือขวานฟันลงไปโดยแรงหรือซอยถี่ ๆ เช่น สับกระดูกหมู สับมะละกอ, กิริยาที่เอาสิ่งมีปลายงอนหรือปลายแหลมเจาะลงไป เช่น เอาขอสับช้าง, เอาสิ่งที่เป็นขอเกี่ยวเข้าไว้ เช่น สับขอหน้าต่าง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สับด้วยสันมือ ถูกโขกถูกสับ; ทําเชือกให้เข้าเกลียวตั้งแต่ ๓ เกลียวขึ้นไปให้เขม็งแน่น เรียกว่า สับเชือก; เปลี่ยนแทนที่กัน เช่น วางของสับที่ ใส่รองเท้าสับข้าง เต้นรำสับคู่ สับตัวจำเลย.สับ ๑ ก. เอาของมีคมเช่นมีดหรือขวานฟันลงไปโดยแรงหรือซอยถี่ ๆ เช่น สับกระดูกหมู สับมะละกอ, กิริยาที่เอาสิ่งมีปลายงอนหรือปลายแหลมเจาะลงไป เช่น เอาขอสับช้าง, เอาสิ่งที่เป็นขอเกี่ยวเข้าไว้ เช่น สับขอหน้าต่าง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สับด้วยสันมือ ถูกโขกถูกสับ; ทําเชือกให้เข้าเกลียวตั้งแต่ ๓ เกลียวขึ้นไปให้เขม็งแน่น เรียกว่า สับเชือก; เปลี่ยนแทนที่กัน เช่น วางของสับที่ ใส่รองเท้าสับข้าง เต้นรำสับคู่ สับตัวจำเลย.
สับเกลียว, สับเชือก สับเกลียว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน สับเชือก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเชือก ๒ เส้นฟั่นควบเป็นเส้นเดียวกัน แล้วเอาเชือกเส้นที่ ๓ ซึ่งเขม็งแล้วควบเข้าไประหว่างเชือก ๒ เส้นนั้น โดยคลายเกลียวที่ปลายเชือก ๒ เส้นแรกเล็กน้อย เพื่อให้เชือกเส้นที่ ๓ สอดควบเข้าด้วยกันได้จนตลอด.สับเกลียว, สับเชือก ก. เอาเชือก ๒ เส้นฟั่นควบเป็นเส้นเดียวกัน แล้วเอาเชือกเส้นที่ ๓ ซึ่งเขม็งแล้วควบเข้าไประหว่างเชือก ๒ เส้นนั้น โดยคลายเกลียวที่ปลายเชือก ๒ เส้นแรกเล็กน้อย เพื่อให้เชือกเส้นที่ ๓ สอดควบเข้าด้วยกันได้จนตลอด.
สับโขก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดุด่าว่าให้เจ็บใจอยู่เสมอ ๆ, โขกสับ ก็ว่า.สับโขก ก. ดุด่าว่าให้เจ็บใจอยู่เสมอ ๆ, โขกสับ ก็ว่า.
สับเงา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สัปหงก, อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน.สับเงา ว. สัปหงก, อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน.
สับนก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกแกงเผ็ดชนิดหนึ่ง ใช้ปลาตัวเล็ก ๆ สับละเอียดทั้งเนื้อและก้างว่า แกงสับนก.สับนก ว. เรียกแกงเผ็ดชนิดหนึ่ง ใช้ปลาตัวเล็ก ๆ สับละเอียดทั้งเนื้อและก้างว่า แกงสับนก.
สับเปลี่ยน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนแทนที่กัน เช่น สับเปลี่ยนตําแหน่ง.สับเปลี่ยน ก. เปลี่ยนแทนที่กัน เช่น สับเปลี่ยนตําแหน่ง.
สับไพ่ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง นำไพ่ทั้งสำรับมาตัดเป็นกอง ๆ แล้วรวมโดยสับกองกัน.สับไพ่ ก. นำไพ่ทั้งสำรับมาตัดเป็นกอง ๆ แล้วรวมโดยสับกองกัน.
สับสน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปะปนกันยุ่งไม่เป็นระเบียบ เช่น ข่าวสับสนทำให้ได้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ผู้คนมากมายเดินไปมาสับสน.สับสน ก. ปะปนกันยุ่งไม่เป็นระเบียบ เช่น ข่าวสับสนทำให้ได้ข้อมูลไม่ถูกต้อง ผู้คนมากมายเดินไปมาสับสน.
สับหลีก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนทางหลีกของรถไฟ, โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนหรือกำหนดนัดไม่ให้ผู้มาหาตนพบกับอีกคนหนึ่ง (มักใช้ในทางชู้สาว).สับหลีก (ปาก) ก. เปลี่ยนทางหลีกของรถไฟ, โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนหรือกำหนดนัดไม่ให้ผู้มาหาตนพบกับอีกคนหนึ่ง (มักใช้ในทางชู้สาว).
สับหว่าง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เยื้องระหว่างแถว จะเป็น ๒ แถวหรือหลายแถวก็ได้ เช่น นั่งสับหว่าง ยืนสับหว่าง.สับหว่าง ว. เยื้องระหว่างแถว จะเป็น ๒ แถวหรือหลายแถวก็ได้ เช่น นั่งสับหว่าง ยืนสับหว่าง.
สับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สรรพ.สับ ๒ (โบ) ว. สรรพ.
สับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถ้วน, พอดี, เช่น ห้าสองหนเป็นสิบสับ. (มูลบทบรรพกิจ).สับ ๓ ว. ถ้วน, พอดี, เช่น ห้าสองหนเป็นสิบสับ. (มูลบทบรรพกิจ).
สับปลับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลับกลอกเชื่อไม่ได้ (มักใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดสับปลับ เขาเป็นคนสับปลับ, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ สับปลี้ เป็น สับปลี้สับปลับ.สับปลับ ว. กลับกลอกเชื่อไม่ได้ (มักใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดสับปลับ เขาเป็นคนสับปลับ, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ สับปลี้ เป็น สับปลี้สับปลับ.
สับปลี้ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกลับกลอกเชื่อไม่ได้ มักใช้ประกอบกับคํา สับปลับ เป็น สับปลี้สับปลับ หรือ สับปลับสับปลี้.สับปลี้ ก. พูดกลับกลอกเชื่อไม่ได้ มักใช้ประกอบกับคํา สับปลับ เป็น สับปลี้สับปลับ หรือ สับปลับสับปลี้.
สับปะขาว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู ชีปะขาว เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ (๑).สับปะขาว ดู ชีปะขาว ๒ (๑).
สับปะรด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Ananas comosus Merr. ในวงศ์ Bromeliaceae ไม่มีลําต้นปรากฏบนพื้นดิน ใบเป็นกาบยาวให้ใยใช้ทําสิ่งทอ ขอบใบมีหนาม ผลมีตาโดยรอบ กินได้ รสเปรี้ยว ๆ หวาน ๆ; เรียกใยของพรรณไม้บางชนิดที่มีลักษณะอย่างใยสับปะรด ใช้ทำหมวกเป็นต้นว่า ไหมสับปะรด.สับปะรด น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Ananas comosus Merr. ในวงศ์ Bromeliaceae ไม่มีลําต้นปรากฏบนพื้นดิน ใบเป็นกาบยาวให้ใยใช้ทําสิ่งทอ ขอบใบมีหนาม ผลมีตาโดยรอบ กินได้ รสเปรี้ยว ๆ หวาน ๆ; เรียกใยของพรรณไม้บางชนิดที่มีลักษณะอย่างใยสับปะรด ใช้ทำหมวกเป็นต้นว่า ไหมสับปะรด.
สัปคับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[สับปะคับ] เป็นคำนาม หมายถึง ที่สำหรับนั่งผูกติดบนหลังช้าง, แหย่งช้าง.สัปคับ [สับปะคับ] น. ที่สำหรับนั่งผูกติดบนหลังช้าง, แหย่งช้าง.
สัปคับช้าง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพอาษาฒ มี ๓ ดวง, ดาวราชสีห์ตัวผู้ ดาวปุรพษาฒ หรือ ดาวบุพพาสาฬหะ ก็เรียก.สัปคับช้าง น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพอาษาฒ มี ๓ ดวง, ดาวราชสีห์ตัวผู้ ดาวปุรพษาฒ หรือ ดาวบุพพาสาฬหะ ก็เรียก.
สัปด– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก[สับดะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ็ด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สปฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี สตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สัปด– [สับดะ–] ว. เจ็ด. (ส. สปฺต; ป. สตฺต).
สัปดปกรณ์, สัปดประกรณ์ สัปดปกรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด สัปดประกรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สปฺตปฺรกรณ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน.สัปดปกรณ์, สัปดประกรณ์ น. พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์. (ส. สปฺตปฺรกรณ).
สัปดสดก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[–สะดก] เป็นคำนาม หมายถึง หมวดละ ๑๐๐ ๗ หมวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สปฺตสตก เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.สัปดสดก [–สะดก] น. หมวดละ ๑๐๐ ๗ หมวด. (ส. สปฺตสตก).
สัปดาห์, สัปดาหะ สัปดาห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด สัปดาหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [สับดา, สับปะดา, สับดาหะ] เป็นคำนาม หมายถึง รอบ ๗ วัน เริ่มตั้งแต่วันอาทิตย์ถึงวันเสาร์, ระยะ ๗ วัน เช่น สัปดาห์แห่งการส่งเสริมพระพุทธศาสนา สัปดาห์แห่งการเขียนจดหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สปฺตาห เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ.สัปดาห์, สัปดาหะ [สับดา, สับปะดา, สับดาหะ] น. รอบ ๗ วัน เริ่มตั้งแต่วันอาทิตย์ถึงวันเสาร์, ระยะ ๗ วัน เช่น สัปดาห์แห่งการส่งเสริมพระพุทธศาสนา สัปดาห์แห่งการเขียนจดหมาย. (ส. สปฺตาห).
สัปดน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู[สับปะดน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบโลน เช่น พูดสัปดนสองแง่สองง่าม, อุตรินอกแบบนอกแผน เช่น เด็กคนนี้ชอบเล่นสัปดน เอาประทัดผูกหางหมาแล้วจุด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ใช้ว่า สัปโดกสัปดน.สัปดน [สับปะดน] ว. หยาบโลน เช่น พูดสัปดนสองแง่สองง่าม, อุตรินอกแบบนอกแผน เช่น เด็กคนนี้ชอบเล่นสัปดน เอาประทัดผูกหางหมาแล้วจุด, (ปาก) ใช้ว่า สัปโดกสัปดน.
สัปดาห์, สัปดาหะ สัปดาห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด สัปดาหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ดู สัปด– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก.สัปดาห์, สัปดาหะ ดู สัปด–.
สัปต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า[สับตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ็ด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัปต– [สับตะ–] ว. เจ็ด. (ส.).
สัปตศก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัปตศก น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๗ เช่น ปีฉลูสัปตศก จุลศักราช ๑๓๔๗. (ส.).
สัปทน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู[สับปะทน] เป็นคำนาม หมายถึง (โบ) ร่มทำด้วยผ้ามีระบายรอบ คันยาว เป็นเครื่องแสดงยศขุนนางโบราณชั้นสูงกว่าพระยา; ร่มขนาดใหญ่ทำด้วยผ้าหรือแพรสีต่าง ๆ มีระบายรอบ มีด้ามยาว ใช้กั้นนาค ผ้าไตร หรือพระพุทธรูป เป็นต้น.สัปทน [สับปะทน] น. (โบ) ร่มทำด้วยผ้ามีระบายรอบ คันยาว เป็นเครื่องแสดงยศขุนนางโบราณชั้นสูงกว่าพระยา; ร่มขนาดใหญ่ทำด้วยผ้าหรือแพรสีต่าง ๆ มีระบายรอบ มีด้ามยาว ใช้กั้นนาค ผ้าไตร หรือพระพุทธรูป เป็นต้น.
สัปปะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ[สับ–] เป็นคำนาม หมายถึง งู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สรฺป เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.สัปปะ [สับ–] น. งู. (ป.; ส. สรฺป).
สัปปิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ[สับ–] เป็นคำนาม หมายถึง เนยใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สรฺปิสฺ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ.สัปปิ [สับ–] น. เนยใส. (ป.; ส. สรฺปิสฺ).
สัปปุริส–, สัปปุรุษ สัปปุริส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ สัปปุรุษ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี [สับปุริสะ–, สับปุหฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา, คนที่มีความเห็นชอบตามทํานองคลองธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปฺปุริส เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต สตฺปุรุษ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี.สัปปุริส–, สัปปุรุษ [สับปุริสะ–, สับปุหฺรุด] น. คนที่เป็นสัมมาทิฐิ, คฤหัสถ์ผู้มีศรัทธาในพระศาสนา, คนที่มีความเห็นชอบตามทํานองคลองธรรม. (ป. สปฺปุริส; ส. สตฺปุรุษ).
สัประยุทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด[สับปฺระยุด] เป็นคำกริยา หมายถึง รบพุ่งชิงชัยกัน.สัประยุทธ์ [สับปฺระยุด] ก. รบพุ่งชิงชัยกัน.
สัปหงก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-งอ-งู-กอ-ไก่[สับปะหฺงก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน.สัปหงก [สับปะหฺงก] ว. อาการที่หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน.
สัปเหร่อ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง[สับปะเหฺร่อ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ทําหน้าที่เกี่ยวกับการศพตั้งแต่ทำพิธีมัดตราสัง จนกระทั่งนำศพไปฝังหรือเผา.สัปเหร่อ [สับปะเหฺร่อ] น. ผู้ที่ทําหน้าที่เกี่ยวกับการศพตั้งแต่ทำพิธีมัดตราสัง จนกระทั่งนำศพไปฝังหรือเผา.
สัพ, สัพพะ สัพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน สัพพะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สรรพ, ทุกสิ่ง, ทั้งปวง, ทั้งหมด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สพฺพ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน และมาจากภาษาสันสกฤต สรฺว เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน.สัพ, สัพพะ ว. สรรพ, ทุกสิ่ง, ทั้งปวง, ทั้งหมด. (ป. สพฺพ; ส. สรฺว).
สัพพัญญู เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู[สับ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัพพัญญู [สับ–] น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป.).
สัพเพเหระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, ไม่ใช่สิ่งสําคัญ, เช่น ของสัพเพเหระ เรื่องสัพเพเหระไม่มีประโยชน์.สัพเพเหระ (ปาก) ว. ไม่เป็นชิ้นเป็นอัน, ไม่ใช่สิ่งสําคัญ, เช่น ของสัพเพเหระ เรื่องสัพเพเหระไม่มีประโยชน์.
สัพยอก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[สับพะยอก] เป็นคำกริยา หมายถึง หยอกเย้า เช่น ผู้ใหญ่สัพยอกเด็กว่าเป็นแม่สายบัวแต่งตัวเก้อ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่พูดหยอกเย้า เช่น อย่าโกรธเลย เขาพูดจาสัพยอกเท่านั้น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น สัพยอกหยอกเย้า เช่น พูดจาสัพยอกหยอกเย้า.สัพยอก [สับพะยอก] ก. หยอกเย้า เช่น ผู้ใหญ่สัพยอกเด็กว่าเป็นแม่สายบัวแต่งตัวเก้อ. ว. ที่พูดหยอกเย้า เช่น อย่าโกรธเลย เขาพูดจาสัพยอกเท่านั้น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น สัพยอกหยอกเย้า เช่น พูดจาสัพยอกหยอกเย้า.
สัมบูรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมบูรณ์ยิ่ง เช่น ความชื้นสัมบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ absolute เขียนว่า เอ-บี-เอส-โอ-แอล-ยู-ที-อี.สัมบูรณ์ ว. สมบูรณ์ยิ่ง เช่น ความชื้นสัมบูรณ์. (อ. absolute).
สัมปชัญญะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อะ[สําปะชันยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ตัวอยู่เสมอ, ความไม่เผลอตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสัมปชัญญะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมปชัญญะ [สําปะชันยะ] น. ความรู้ตัวอยู่เสมอ, ความไม่เผลอตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสัมปชัญญะ. (ป.).
สัมปทา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา[สําปะทา] เป็นคำนาม หมายถึง ความถึงพร้อมด้วยคุณความดี เช่น อุฏฐานสัมปทา = ความถึงพร้อมด้วยความเพียร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมปทา [สําปะทา] น. ความถึงพร้อมด้วยคุณความดี เช่น อุฏฐานสัมปทา = ความถึงพร้อมด้วยความเพียร. (ป., ส.).
สัมปทาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สําปะทาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การที่รัฐอนุญาตให้เอกชนจัดทําบริการสาธารณะหรือจัดทําประโยชน์เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่รัฐกําหนด เช่น สัมปทานการเดินรถประจําทาง สัมปทานทําไม้ในป่าสัมปทาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมปทาน [สําปะทาน] (กฎ) น. การที่รัฐอนุญาตให้เอกชนจัดทําบริการสาธารณะหรือจัดทําประโยชน์เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ภายในระยะเวลาและตามเงื่อนไขที่รัฐกําหนด เช่น สัมปทานการเดินรถประจําทาง สัมปทานทําไม้ในป่าสัมปทาน. (ป.).
สัมปยุต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า[สําปะยุด] เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺปยุตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺปฺรยุกฺต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สัมปยุต [สําปะยุด] ก. ประกอบด้วย. (ป. สมฺปยุตฺต; ส. สมฺปฺรยุกฺต).
สัมปโยค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[สําปะโยก] เป็นคำนาม หมายถึง การประกอบกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺปฺรโยค เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย.สัมปโยค [สําปะโยก] น. การประกอบกัน. (ป.; ส. สมฺปฺรโยค).
สัมประสิทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนจริงที่มีค่าคงตัวซึ่งคูณอยู่กับตัวแปร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ coefficient เขียนว่า ซี-โอ-อี-เอฟ-เอฟ-ไอ-ซี-ไอ-อี-เอ็น-ที.สัมประสิทธิ์ (คณิต) น. จํานวนจริงที่มีค่าคงตัวซึ่งคูณอยู่กับตัวแปร. (อ. coefficient).
สัมประหาร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การสู้รบกัน, การต่อสู้กัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมฺปฺรหาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี สมฺปหาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สัมประหาร น. การสู้รบกัน, การต่อสู้กัน. (ส. สมฺปฺรหาร; ป. สมฺปหาร).
สัมปรายภพ, สัมปรายิกภพ สัมปรายภพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน สัมปรายิกภพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน [–ปะรายะ–, –ปะราย–, –ปะรายิกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ภพหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมปรายภพ, สัมปรายิกภพ [–ปะรายะ–, –ปะราย–, –ปะรายิกะ–] น. ภพหน้า. (ป., ส.).
สัมปัตติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมปัตติ น. สมบัติ. (ป., ส.).
สัมผัปลาป, สัมผัปลาปะ สัมผัปลาป เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา สัมผัปลาปะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ [สําผับปะลาบ, –ปะลาปะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูดเพ้อเจ้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺผปฺปลาป เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ผอ-ผึ้ง-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺปฺรลาป เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา.สัมผัปลาป, สัมผัปลาปะ [สําผับปะลาบ, –ปะลาปะ] น. คําพูดเพ้อเจ้อ. (ป. สมฺผปฺปลาป; ส. สมฺปฺรลาป).
สัมผัส เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกต้อง, แตะต้อง, กระทบกัน, เช่น มีใครมาสัมผัสไหล่ พยายามให้เท้าสัมผัสหญ้าเสียบ้าง จะได้มีสุขภาพดี สัมผัสมือกัน; คล้องจองกัน เช่น คําในกลอนบทนี้สัมผัสกันดี. เป็นคำนาม หมายถึง การถูกต้องที่ให้เกิดความรู้สึก เช่น ประสาทสัมผัส, การแตะต้อง, การกระทบกัน, เช่น พอออกไปข้างนอกก็สัมผัสอากาศเย็นเฉียบ; ความคล้องจองของถ้อยคํา เช่น ในนํ้ามีปลาในนามีข้าว; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้เสียงรับกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺผสฺส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ผอ-ผึ้ง-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต สํสฺปรฺศ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา.สัมผัส ก. ถูกต้อง, แตะต้อง, กระทบกัน, เช่น มีใครมาสัมผัสไหล่ พยายามให้เท้าสัมผัสหญ้าเสียบ้าง จะได้มีสุขภาพดี สัมผัสมือกัน; คล้องจองกัน เช่น คําในกลอนบทนี้สัมผัสกันดี. น. การถูกต้องที่ให้เกิดความรู้สึก เช่น ประสาทสัมผัส, การแตะต้อง, การกระทบกัน, เช่น พอออกไปข้างนอกก็สัมผัสอากาศเย็นเฉียบ; ความคล้องจองของถ้อยคํา เช่น ในนํ้ามีปลาในนามีข้าว; (วรรณ) ข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้เสียงรับกัน. (ป. สมฺผสฺส; ส. สํสฺปรฺศ).
สัมผัสนอก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่งฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น (รูปภาพ กลอน) (อภัย), ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.สัมผัสนอก น. สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่งฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น (รูปภาพ กลอน) (อภัย), (ตะเลงพ่าย).
สัมผัสใน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สัมผัสที่อยู่ภายในวรรคเพื่อเพิ่มเสียงไพเราะ มิได้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เช่น (รูปภาพ ถึงโคกฆ้องหนองสะพานบ้านกะเหรี่ยง เห็นโรงเรียงไร่ฝ้ายทั้งซ้ายขวา). ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, ในโคลงหมายรวมถึงสัมผัสสระและสัมผัสอักษรที่อยู่ระหว่างวรรคในบาทเดียวกันด้วย คือ คำสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคำแรกของวรรคหลัง เช่น อ้าศรีเสาวภาคย์เพี้ยง เพ็ญแข. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.สัมผัสใน น. สัมผัสที่อยู่ภายในวรรคเพื่อเพิ่มเสียงไพเราะ มิได้ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เช่น (รูปภาพ ถึงโคกฆ้องหนองสะพานบ้านกะเหรี่ยง เห็นโรงเรียงไร่ฝ้ายทั้งซ้ายขวา). (ขุนช้างขุนแผน), ในโคลงหมายรวมถึงสัมผัสสระและสัมผัสอักษรที่อยู่ระหว่างวรรคในบาทเดียวกันด้วย คือ คำสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคำแรกของวรรคหลัง เช่น อ้าศรีเสาวภาคย์เพี้ยง เพ็ญแข. (ตะเลงพ่าย).
สัมผัสสระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง สัมผัสที่มีเสียงสระหรือเสียงสระกับตัวสะกดในมาตราเดียวกัน เช่น (รูปภาพ อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ. ในวงเล็บ มาจาก เพลงยาวถวายโอวาท ในหนังสือชีวิตและงานของสุนทรภู่ พระนิพนธ์ ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ฉบับอมรการพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๑๙, คนใจจืดชืดชื้อเหมือนชื่อบาง ควรตีห่างเหินกันจนวันตาย). (นิ. วัดสิงห์).สัมผัสสระ น. สัมผัสที่มีเสียงสระหรือเสียงสระกับตัวสะกดในมาตราเดียวกัน เช่น (รูปภาพ อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ. (เพลงยาวถวายโอวาท), คนใจจืดชืดชื้อเหมือนชื่อบาง ควรตีห่างเหินกันจนวันตาย). (นิ. วัดสิงห์).
สัมผัสอักษร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สัมผัสพยัญชนะที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงพ้องกัน เช่น จําใจจําจากเจ้า จําจร. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง. (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ).สัมผัสอักษร น. สัมผัสพยัญชนะที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงพ้องกัน เช่น จําใจจําจากเจ้า จําจร. (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง. (หลักภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ).
สัมพล, สมพล สัมพล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง สมพล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง [สําพน, สมพน] เป็นคำนาม หมายถึง อาหาร, เสบียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศมฺพล เขียนว่า สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-ลอ-ลิง.สัมพล, สมพล [สําพน, สมพน] น. อาหาร, เสบียง. (ป.; ส. ศมฺพล).
สัมพหุลา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมปะปนกันหลาย ๆ อย่าง เช่น งานสัมพหุลาเต็มไปหมด ทำไม่ไหวหรอก, สรรพหุลา ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมพหุลา (ปาก) ว. รวมปะปนกันหลาย ๆ อย่าง เช่น งานสัมพหุลาเต็มไปหมด ทำไม่ไหวหรอก, สรรพหุลา ก็ว่า. (ป.).
สัมพัจฉร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ[สําพัดฉะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํวจฺฉร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต สํวตฺสร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ.สัมพัจฉร– [สําพัดฉะระ–] น. ปี. (ป. สํวจฺฉร; ส. สํวตฺสร).
สัมพัจฉรฉินท์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พิธีสิ้นปี, ตรุษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมพัจฉรฉินท์ น. พิธีสิ้นปี, ตรุษ. (ป.).
สัมพัตสร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สมพัตสร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สํวจฺฉร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-รอ-เรือ.สัมพัตสร น. สมพัตสร. (ส.; ป. สํวจฺฉร).
สัมพัทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เปรียบเทียบกัน เช่น ความเร็วสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมพัทธ์ ว. ที่เปรียบเทียบกัน เช่น ความเร็วสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์. (ป., ส.).
สัมพันธ–, สัมพันธ์, สัมพันธน์ สัมพันธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง สัมพันธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด สัมพันธน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [สําพันทะ–, สําพัน] เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกพัน, เกี่ยวข้อง, เช่น เขากับฉันสัมพันธ์กันฉันญาติ ข้อความข้างหลังไม่สัมพันธ์กับข้อความข้างหน้า. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง การแยกความออกเป็นประโยค ๆ หรือส่วนต่าง ๆ ของประโยค แล้วบอกการเกี่ยวข้องของประโยคและคำต่าง ๆ ในประโยคนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมพันธ–, สัมพันธ์, สัมพันธน์ [สําพันทะ–, สําพัน] ก. ผูกพัน, เกี่ยวข้อง, เช่น เขากับฉันสัมพันธ์กันฉันญาติ ข้อความข้างหลังไม่สัมพันธ์กับข้อความข้างหน้า. (ไว) น. การแยกความออกเป็นประโยค ๆ หรือส่วนต่าง ๆ ของประโยค แล้วบอกการเกี่ยวข้องของประโยคและคำต่าง ๆ ในประโยคนั้น ๆ. (ป., ส.).
สัมพันธภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความผูกพัน, ความเกี่ยวข้อง, เช่น สัมพันธภาพระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตดีขึ้นตามลำดับ.สัมพันธภาพ น. ความผูกพัน, ความเกี่ยวข้อง, เช่น สัมพันธภาพระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตดีขึ้นตามลำดับ.
สัมพันธมิตร เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร.สัมพันธมิตร น. เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร.
สัมพันธไมตรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ความเกี่ยวข้องผูกพันกันฉันมิตร เช่น ประเทศไทยมีสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน.สัมพันธไมตรี น. ความเกี่ยวข้องผูกพันกันฉันมิตร เช่น ประเทศไทยมีสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน.
สัมพาธะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความคับแคบ, การเบียดเสียด, การยัดเยียด, การอัดแอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมพาธะ น. ความคับแคบ, การเบียดเสียด, การยัดเยียด, การอัดแอ. (ป., ส.).
สัมพาหน์, สัมพาหะ สัมพาหน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สัมพาหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การนวดฟั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํวาหน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู.สัมพาหน์, สัมพาหะ น. การนวดฟั้น. (ป.; ส. สํวาหน).
สัมพุทธ–, สัมพุทธะ สัมพุทธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สัมพุทธะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้พร้อม, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้สว่างแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมพุทธ–, สัมพุทธะ น. ผู้รู้พร้อม, ผู้ตื่นแล้ว, ผู้สว่างแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป., ส.).
สัมโพธิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[–โพทิ] เป็นคำนาม หมายถึง สมโพธิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมโพธิ [–โพทิ] น. สมโพธิ. (ป., ส.).
สัมภวะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[สำพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สมภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมภวะ [สำพะ–] น. สมภพ. (ป., ส.).
สัมภเวสี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[สำพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แสวงหาที่เกิด ในคติของศาสนาพราหมณ์หมายถึงคนที่ตายแล้ววิญญาณกำลังแสวงหาที่เกิด แต่ยังไม่ได้เกิดในกำเนิดใดกำเนิดหนึ่ง, ผู้ต้องเกิด, สัตว์โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺภเวษินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.สัมภเวสี [สำพะ–] น. ผู้แสวงหาที่เกิด ในคติของศาสนาพราหมณ์หมายถึงคนที่ตายแล้ววิญญาณกำลังแสวงหาที่เกิด แต่ยังไม่ได้เกิดในกำเนิดใดกำเนิดหนึ่ง, ผู้ต้องเกิด, สัตว์โลก. (ป.; ส. สมฺภเวษินฺ).
สัมภัต, สัมภัตตะ สัมภัต เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า สัมภัตตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ร่วมคบหากัน, เพื่อนร่วมกินร่วมนอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺภตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺภกฺต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สัมภัต, สัมภัตตะ น. ผู้ร่วมคบหากัน, เพื่อนร่วมกินร่วมนอน. (ป. สมฺภตฺต; ส. สมฺภกฺต).
สัมภาระ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[สำพาระ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของต่าง ๆ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้และเสบียงซึ่งสะสมรวบรวมหรือจัดเตรียมไว้เพื่อภาระต่าง ๆ เช่น เตรียมสัมภาระสำหรับไปต่างจังหวัด; การเกื้อหนุน, การเลี้ยงดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมภาระ [สำพาระ] น. สิ่งของต่าง ๆ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้และเสบียงซึ่งสะสมรวบรวมหรือจัดเตรียมไว้เพื่อภาระต่าง ๆ เช่น เตรียมสัมภาระสำหรับไปต่างจังหวัด; การเกื้อหนุน, การเลี้ยงดู. (ป., ส.).
สัมภาษณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สนทนาหรือสอบถามเพื่อนำเรื่องราวไปเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์หรือวิทยุกระจายเสียงเป็นต้น เช่น เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์สัมภาษณ์นายกราชบัณฑิตยสถานเกี่ยวกับความเป็นมาของราชบัณฑิตยสถาน. เป็นคำนาม หมายถึง การพบปะสนทนากันในลักษณะที่ฝ่ายหนึ่งต้องการทราบเรื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อนำไปเผยแพร่ เรียกว่า ผู้สัมภาษณ์ และอีกฝ่ายหนึ่งที่ต้องการจะแถลงข่าวแก่อีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์; การสอบท่วงทีวาจาและไหวพริบ พิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่ เรียกว่า สอบสัมภาษณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมฺภาษณ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-นอ-เนน ว่า การสนทนากัน, การพูดจาซักถามกัน ****(ส. สมฺภาษณ ว่า การสนทนากัน, การพูดจาซักถามกัน; คําพูดให้ตรงกัน).สัมภาษณ์ ก. สนทนาหรือสอบถามเพื่อนำเรื่องราวไปเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์หรือวิทยุกระจายเสียงเป็นต้น เช่น เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์สัมภาษณ์นายกราชบัณฑิตยสถานเกี่ยวกับความเป็นมาของราชบัณฑิตยสถาน. น. การพบปะสนทนากันในลักษณะที่ฝ่ายหนึ่งต้องการทราบเรื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อนำไปเผยแพร่ เรียกว่า ผู้สัมภาษณ์ และอีกฝ่ายหนึ่งที่ต้องการจะแถลงข่าวแก่อีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์; การสอบท่วงทีวาจาและไหวพริบ พิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่ เรียกว่า สอบสัมภาษณ์. (ส. สมฺภาษณ ว่า การสนทนากัน, การพูดจาซักถามกัน; คําพูดให้ตรงกัน).
สัมเภทะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การปะปน, การรวมกัน; การแยก, การแตกออก, การแบ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมเภทะ น. การปะปน, การรวมกัน; การแยก, การแตกออก, การแบ่ง. (ป., ส.).
สัมโภคกาย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สําโพกคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พระกายของพระพุทธเจ้าอันเป็นทิพยภาวะ มีรัศมีรุ่งเรืองแผ่ซ่านทั่วไป และจะปรากฏแก่พระโพธิสัตว์ มหาสัตว์ แม้จนบัดนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สัมโภคกาย [สําโพกคะ–] น. พระกายของพระพุทธเจ้าอันเป็นทิพยภาวะ มีรัศมีรุ่งเรืองแผ่ซ่านทั่วไป และจะปรากฏแก่พระโพธิสัตว์ มหาสัตว์ แม้จนบัดนี้. (ส.).
สัมมนา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การประชุมแบบหนึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และหาข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะ ผู้เกี่ยวข้องจะนําไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ เช่น สัมมนาการศึกษาประชาบาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ seminar เขียนว่า เอส-อี-เอ็ม-ไอ-เอ็น-เอ-อา.สัมมนา น. การประชุมแบบหนึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และหาข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะ ผู้เกี่ยวข้องจะนําไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ เช่น สัมมนาการศึกษาประชาบาล. (อ. seminar).
สัมมัปธาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สํามับปะทาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺมปฺปธาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺยกฺปฺรธาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สัมมัปธาน [สํามับปะทาน] น. ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. (ป. สมฺมปฺปธาน; ส. สมฺยกฺปฺรธาน).
สัมมา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบ, ดี, (มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส) เช่น สัมมาทิฐิ สัมมาชีพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺยกฺ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-พิน-ทุ.สัมมา ว. ชอบ, ดี, (มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส) เช่น สัมมาทิฐิ สัมมาชีพ. (ป.; ส. สมฺยกฺ).
สัมมากัมมันตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง “การงานชอบ” คือ ประพฤติกายสุจริต.(ป.).สัมมากัมมันตะ น. “การงานชอบ” คือ ประพฤติกายสุจริต.(ป.).
สัมมาคารวะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความเคารพนบนอบ เช่น พูดกับผู้ใหญ่ต้องมีสัมมาคารวะ.สัมมาคารวะ น. ความเคารพนบนอบ เช่น พูดกับผู้ใหญ่ต้องมีสัมมาคารวะ.
สัมมาจริยา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การประพฤติชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาจริยา น. การประพฤติชอบ. (ป.).
สัมมาชีพ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง อาชีพที่สุจริต, อาชีพที่ชอบธรรม, เช่น การทำไร่ทำนานับว่าเป็นสัมมาชีพอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สัมมา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา + อาชีว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน .สัมมาชีพ น. อาชีพที่สุจริต, อาชีพที่ชอบธรรม, เช่น การทำไร่ทำนานับว่าเป็นสัมมาชีพอย่างหนึ่ง. (ป. สัมมา + อาชีว).
สัมมาทิฐิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็นชอบตามทํานองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมฺมาทิฏฺิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ.สัมมาทิฐิ น. ความเห็นชอบตามทํานองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว. (ป. สมฺมาทิฏฺิ).
สัมมาวาจา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง “การเจรจาชอบ” คือ ประพฤติวจีสุจริต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาวาจา น. “การเจรจาชอบ” คือ ประพฤติวจีสุจริต. (ป.).
สัมมาวายามะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความพยายามชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาวายามะ น. ความพยายามชอบ. (ป.).
สัมมาสติ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ความระลึกชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาสติ น. ความระลึกชอบ. (ป.).
สัมมาสมาธิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง สมาธิชอบ, ความตั้งใจชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาสมาธิ น. สมาธิชอบ, ความตั้งใจชอบ. (ป.).
สัมมาสังกัปปะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความดําริในทางที่ชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาสังกัปปะ น. ความดําริในทางที่ชอบ. (ป.).
สัมมาอาชีวะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สัมมาอาชีวะ น. การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ. (ป.).
สัมโมทนียกถา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา[สำโมทะนียะกะถา] เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่แสดงความชื่นชมยินดี เป็นที่ชุ่มชื่นใจแก่ผู้ฟังหรือผู้อ่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สัมโมทนียกถา [สำโมทะนียะกะถา] น. ถ้อยคําที่แสดงความชื่นชมยินดี เป็นที่ชุ่มชื่นใจแก่ผู้ฟังหรือผู้อ่าน. (ป., ส.).
สัมฤทธิ–, สัมฤทธิ์ สัมฤทธิ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ สัมฤทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด [สําริดทิ–, สําริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความสําเร็จ ในคําว่า สัมฤทธิผล; โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก, โบราณเขียนว่า สําริด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมฺฤทฺธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี สมิทฺธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.สัมฤทธิ–, สัมฤทธิ์ [สําริดทิ–, สําริด] น. ความสําเร็จ ในคําว่า สัมฤทธิผล; โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก, โบราณเขียนว่า สําริด. (ส. สมฺฤทฺธิ; ป. สมิทฺธิ).
สัมฤทธิศก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่[สำริดทิสก] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสําเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลําดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่.สัมฤทธิศก [สำริดทิสก] น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๐ เช่น ปีมะโรงสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๓๕๐, ปีสําเร็จ (ครบรอบ คือ ปีที่ ๑๐ ของรอบ ๑๐ ปีของจุลศักราช) ซึ่งตั้งต้นด้วยเอกศก โทศก เป็นลําดับไปจน นพศก แล้วสัมฤทธิศก เป็นครบรอบแล้วตั้งต้นใหม่.
สัยน์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[ไส] เป็นคำนาม หมายถึง สยนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศยน เขียนว่า สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก-นอ-หนู.สัยน์ [ไส] น. สยนะ. (ป.; ส. ศยน).
สัลลาป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา[สันลาปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การพูดจากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํลาป เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา.สัลลาป– [สันลาปะ–] น. การพูดจากัน. (ป.; ส. สํลาป).
สัลเลข– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่[สันเลขะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การขัดเกลากิเลส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํเลข เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่.สัลเลข– [สันเลขะ–] น. การขัดเกลากิเลส. (ป.; ส. สํเลข).
สัสดี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สัดสะดี] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รวบรวมบัญชีคน, เจ้าหน้าที่บัญชีทหาร; การรวมบัญชีคน.สัสดี [สัดสะดี] น. ผู้รวบรวมบัญชีคน, เจ้าหน้าที่บัญชีทหาร; การรวมบัญชีคน.
สัสต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า[สัดสะตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เที่ยง, แน่นอน, คงที่, ถาวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สสฺสต เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต ศาศฺวต เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า.สัสต– [สัดสะตะ–] ว. เที่ยง, แน่นอน, คงที่, ถาวร. (ป. สสฺสต; ส. ศาศฺวต).
สัสตทิฐิ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิที่ถือว่าโลกและวิญญาณเป็นของเที่ยงไม่เสื่อมสูญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สสฺสตทิฏฺิ เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ.สัสตทิฐิ น. ลัทธิที่ถือว่าโลกและวิญญาณเป็นของเที่ยงไม่เสื่อมสูญ. (ป. สสฺสตทิฏฺิ).
สัสสะ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ[สัดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวกล้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศสฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สัสสะ [สัดสะ] น. ข้าวกล้า. (ป.; ส. ศสฺย).
สัสสุ, สัสสู สัสสุ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ สัสสู เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู [สัด–] เป็นคำนาม หมายถึง แม่ยาย, แม่ผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวศฺรู เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู.สัสสุ, สัสสู [สัด–] น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
สา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวนฺ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-นอ-หนู-พิน-ทุ.สา ๑ น. หมา. (ป.; ส. ศฺวนฺ).
สา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระสา. ในวงเล็บ ดู กระสา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๓, ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า กระดาษสา.สา ๒ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกระสา. (ดู กระสา ๓), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า กระดาษสา.
สา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูหลายชนิดในหลายวงศ์ เช่น สาเหลือง หมายถึง งูลายสอบ้าน (Xenochrophis piscator) สาขาว หมายถึง งูทับสมิงคลา (Bungarus candidus) สาคอแดง หมายถึง งูลายสาบคอแดง (Rhabdophis subminiatus).สา ๓ (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่องูหลายชนิดในหลายวงศ์ เช่น สาเหลือง หมายถึง งูลายสอบ้าน (Xenochrophis piscator) สาขาว หมายถึง งูทับสมิงคลา (Bungarus candidus) สาคอแดง หมายถึง งูลายสาบคอแดง (Rhabdophis subminiatus).
สา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำสันธาน หมายถึง แม้ว่า, หาก, เช่น สาอวรอรวนิดา โดยพี่มานี. ในวงเล็บ มาจาก โคลงหริภุญชัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๑.สา ๔ สัน. แม้ว่า, หาก, เช่น สาอวรอรวนิดา โดยพี่มานี. (หริภุญชัย).
ส่า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เป็นเชื้อทําให้ปรากฏเป็นฟอง รา หรือเม็ดผื่นเป็นต้นแก่สิ่งอื่นบางลักษณะ.ส่า น. สิ่งที่เป็นเชื้อทําให้ปรากฏเป็นฟอง รา หรือเม็ดผื่นเป็นต้นแก่สิ่งอื่นบางลักษณะ.
ส่าขนุน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกขนุนที่เกิดขึ้นก่อนแล้วร่วงไป ซึ่งเป็นเครื่องหมายว่าขนุนนั้นจะมีลูก.ส่าขนุน น. ดอกขนุนที่เกิดขึ้นก่อนแล้วร่วงไป ซึ่งเป็นเครื่องหมายว่าขนุนนั้นจะมีลูก.
ส่าไข้ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดผื่นขึ้นตามตัวก่อนจะเป็นไข้, เรียกไข้ที่มีเม็ดผื่นเช่นนั้นว่า ไข้ส่า.ส่าไข้ น. เม็ดผื่นขึ้นตามตัวก่อนจะเป็นไข้, เรียกไข้ที่มีเม็ดผื่นเช่นนั้นว่า ไข้ส่า.
ส่าเลือด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดผื่นที่ขึ้นตามตัวเนื่องจากความผิดปรกติของเลือดประจําเดือน.ส่าเลือด น. เม็ดผื่นที่ขึ้นตามตัวเนื่องจากความผิดปรกติของเลือดประจําเดือน.
ส่าเห็ด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ราที่ขึ้นตามพื้นดินก่อนที่เห็ดจะขึ้น.ส่าเห็ด น. ราที่ขึ้นตามพื้นดินก่อนที่เห็ดจะขึ้น.
ส่าเหล้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่าที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้มีเอทิลแอลกอฮอล์เกิดขึ้น.ส่าเหล้า ๑ น. ส่าที่เติมลงไปเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ทำให้มีเอทิลแอลกอฮอล์เกิดขึ้น.
สาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับตําอย่างหนึ่ง, คู่กับ ครก.สาก ๑ น. เครื่องมือสําหรับตําอย่างหนึ่ง, คู่กับ ครก.
สากกะเบือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สากไม้สําหรับตําข้าวเบือหรือนํ้าพริกเป็นต้น, ใช้คู่กับ ครกกะเบือ.สากกะเบือ น. สากไม้สําหรับตําข้าวเบือหรือนํ้าพริกเป็นต้น, ใช้คู่กับ ครกกะเบือ.
สาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดู นํ้าดอกไม้ เขียนว่า นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๓.สาก ๒ ดู นํ้าดอกไม้ ๓.
สาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ระคายเพราะมีลักษณะไม่ละเอียดอ่อนหรือไม่นุ่มนวล เช่น ใบข่อยจับแล้วสากมือ ผู้หญิงคนนี้มือสากเพราะทำงานหนักตั้งแต่เด็ก, ขรุขระเพราะมีพื้นไม่ราบเรียบ เช่น กระดานแผ่นนี้ผิวสากเพราะยังไม่ได้ไสกบ.สาก ๓ ว. อาการที่ระคายเพราะมีลักษณะไม่ละเอียดอ่อนหรือไม่นุ่มนวล เช่น ใบข่อยจับแล้วสากมือ ผู้หญิงคนนี้มือสากเพราะทำงานหนักตั้งแต่เด็ก, ขรุขระเพราะมีพื้นไม่ราบเรียบ เช่น กระดานแผ่นนี้ผิวสากเพราะยังไม่ได้ไสกบ.
สากหยาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[สากกะหฺยาก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขรุขระ, น่าสะอิดสะเอียนอย่างหนังคางคก.สากหยาก [สากกะหฺยาก] ว. ขรุขระ, น่าสะอิดสะเอียนอย่างหนังคางคก.
สากรรจ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาดคําเลือนมาจาก ฉกรรจ์.สากรรจ์ คําเลือนมาจาก ฉกรรจ์.
สากะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่.สากะ น. ผัก. (ป.; ส. ศาก).
สากล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วไป, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น สากลโลก สากลจักรวาล; เป็นที่นิยมทั่วไป เช่น เครื่องแต่งกายชุดสากล, สามัญหมายถึงแบบซึ่งเดิมเรียกว่า ฝรั่ง เช่น มวยฝรั่ง เรียก มวยสากล, ใช้แทนคํา “ระหว่างประเทศ” ก็มี เช่น สภากาชาดสากล น่านน้ำสากล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สกล เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง.สากล ว. ทั่วไป, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น สากลโลก สากลจักรวาล; เป็นที่นิยมทั่วไป เช่น เครื่องแต่งกายชุดสากล, สามัญหมายถึงแบบซึ่งเดิมเรียกว่า ฝรั่ง เช่น มวยฝรั่ง เรียก มวยสากล, ใช้แทนคํา “ระหว่างประเทศ” ก็มี เช่น สภากาชาดสากล น่านน้ำสากล. (ป., ส. สกล).
สากษิน, สากษี สากษิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู สากษี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี [สากสิน, –สี] เป็นคำนาม หมายถึง สักขี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สกฺขี เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี.สากษิน, สากษี [สากสิน, –สี] น. สักขี. (ส.; ป. สกฺขี).
สากัจฉา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การพูดจา, การปรึกษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สากัจฉา น. การพูดจา, การปรึกษา. (ป.).
สากัลย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความรวมกันของสิ่งทั้งหมด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สากัลย์ (แบบ) น. ความรวมกันของสิ่งทั้งหมด. (ป., ส.).
สากิย–, สากิยะ สากิย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก สากิยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์ เรียกว่า ศากยวงศ์ หรือ สากิยวงศ์, เรียกกษัตริย์ในวงศ์นี้ว่า ศากยะ หรือ สากิยะ, ถ้าเพศหญิง ใช้ว่า สากิยา หรือ สากิยานี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศากฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สากิย–, สากิยะ น. ชื่อวงศ์กษัตริย์วงศ์หนึ่งในเมืองกบิลพัสดุ์ เรียกว่า ศากยวงศ์ หรือ สากิยวงศ์, เรียกกษัตริย์ในวงศ์นี้ว่า ศากยะ หรือ สากิยะ, ถ้าเพศหญิง ใช้ว่า สากิยา หรือ สากิยานี. (ป.; ส. ศากฺย).
สากิยบุตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สาวกของพระพุทธเจ้า.สากิยบุตร น. สาวกของพระพุทธเจ้า.
สากิยมุนี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ศากยมุนี, พระนามของพระศากยพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สากิยมุนี น. ศากยมุนี, พระนามของพระศากยพุทธเจ้า. (ป.).
สาเก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกขนุนสําปะลอพันธุ์ที่ผลไม่มีเมล็ด. ในวงเล็บ ดู ขนุนสําปะลอ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง ที่ ขนุน เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาทมิฬ sakki เขียนว่า เอส-เอ-เค-เค-ไอ ว่า ขนุน .สาเก น. ชื่อเรียกขนุนสําปะลอพันธุ์ที่ผลไม่มีเมล็ด. (ดู ขนุนสําปะลอ ที่ ขนุน ๑). (เทียบทมิฬ sakki ว่า ขนุน).
สาแก่ใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนำใจ, สะใจ, (มักใช้ในความประชดหรือแดกดัน) เช่น บอกแล้วว่าอย่าไปยุ่งกับเขา โดนเขาด่ามา สาแก่ใจไหมล่ะ วันนี้เงินเดือนออก ต้องจ่ายให้สาแก่ใจ.สาแก่ใจ ว. หนำใจ, สะใจ, (มักใช้ในความประชดหรือแดกดัน) เช่น บอกแล้วว่าอย่าไปยุ่งกับเขา โดนเขาด่ามา สาแก่ใจไหมล่ะ วันนี้เงินเดือนออก ต้องจ่ายให้สาแก่ใจ.
สาขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กิ่งไม้, กิ่งก้าน, เช่น ต้นจามจุรีมีสาขามาก; แขนง, ส่วนย่อย, ส่วนรอง, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพเป็นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ ธนาคารออมสินสาขาหน้าพระลาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาขา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา.สาขา น. กิ่งไม้, กิ่งก้าน, เช่น ต้นจามจุรีมีสาขามาก; แขนง, ส่วนย่อย, ส่วนรอง, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพเป็นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ ธนาคารออมสินสาขาหน้าพระลาน. (ป.; ส. ศาขา).
สาคร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ ความหมายที่ [–คอน] เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, ทะเล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สาคร ๑ [–คอน] น. แม่นํ้า, ทะเล. (ป., ส.).
สาคเรศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา[–คะเรด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, ทะเล.สาคเรศ [–คะเรด] (กลอน) น. แม่นํ้า, ทะเล.
สาคร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ ความหมายที่ [–คอน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขันขนาดใหญ่ทำด้วยโลหะผสม ได้แก่ สัมฤทธิ์ ทองเหลือง ตัวขันเป็นทรงลูกมะนาวตัด ก้นขันมีเชิง ข้างขันทำเป็นรูปหน้าสิงโตปากคาบห่วงซึ่งใช้เป็นหูหิ้วข้างละหู ใช้บรรจุน้ำสำหรับทำน้ำมนต์ หรือสำหรับผู้มีบรรดาศักดิ์ใช้อาบ เรียกว่า ขันสาคร.สาคร ๒ [–คอน] น. ชื่อขันขนาดใหญ่ทำด้วยโลหะผสม ได้แก่ สัมฤทธิ์ ทองเหลือง ตัวขันเป็นทรงลูกมะนาวตัด ก้นขันมีเชิง ข้างขันทำเป็นรูปหน้าสิงโตปากคาบห่วงซึ่งใช้เป็นหูหิ้วข้างละหู ใช้บรรจุน้ำสำหรับทำน้ำมนต์ หรือสำหรับผู้มีบรรดาศักดิ์ใช้อาบ เรียกว่า ขันสาคร.
สาคเรศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลาดู สาคร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑.สาคเรศ ดู สาคร ๑.
สาคู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปาล์ม ๒ ชนิดในสกุล Metroxylon วงศ์ Palmae คือ ชนิด M. sagus Rottb. กาบใบไม่มีหนาม และชนิด M. rumphii Mart. กาบใบมีหนาม, ทั้ง ๒ ชนิด ใบใช้มุงหลังคา ไส้ในลําต้นแก่ใช้ทําแป้ง เรียกว่า แป้งสาคู. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู sagu เขียนว่า เอส-เอ-จี-ยู. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Maranta arundinacea L. ในวงศ์ Marantaceae ต้นขนาดต้นขมิ้น เหง้าใช้ทําแป้งและต้มกิน.สาคู ๑ น. (๑) ชื่อปาล์ม ๒ ชนิดในสกุล Metroxylon วงศ์ Palmae คือ ชนิด M. sagus Rottb. กาบใบไม่มีหนาม และชนิด M. rumphii Mart. กาบใบมีหนาม, ทั้ง ๒ ชนิด ใบใช้มุงหลังคา ไส้ในลําต้นแก่ใช้ทําแป้ง เรียกว่า แป้งสาคู. (เทียบ ม. sagu). (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Maranta arundinacea L. ในวงศ์ Marantaceae ต้นขนาดต้นขมิ้น เหง้าใช้ทําแป้งและต้มกิน.
สาคูน้ำเชื่อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยสาคูเม็ดใหญ่ใส่น้ำเชื่อม.สาคูน้ำเชื่อม น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยสาคูเม็ดใหญ่ใส่น้ำเชื่อม.
สาคูเปียก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ต้มสาคูเม็ดเล็กจนบานใส แล้วใส่น้ำตาล จะใส่เนื้อมะพร้าวอ่อนหรือแห้วเป็นต้นก็ได้ เมื่อจะกินจึงหยอดหน้าด้วยกะทิ.สาคูเปียก น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ต้มสาคูเม็ดเล็กจนบานใส แล้วใส่น้ำตาล จะใส่เนื้อมะพร้าวอ่อนหรือแห้วเป็นต้นก็ได้ เมื่อจะกินจึงหยอดหน้าด้วยกะทิ.
สาคูลาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แป้งสาคูที่เอาเยื่อในลําต้นแก่ของสาคูชนิดคล้ายต้นลานมาทําเป็นแป้งเม็ดโต ๆ ทำอาหารได้ทั้งคาวและหวาน เช่น ซุปสาคู สาคูน้ำเชื่อม, สาคูเม็ดใหญ่ ก็ว่า.สาคูลาน น. แป้งสาคูที่เอาเยื่อในลําต้นแก่ของสาคูชนิดคล้ายต้นลานมาทําเป็นแป้งเม็ดโต ๆ ทำอาหารได้ทั้งคาวและหวาน เช่น ซุปสาคู สาคูน้ำเชื่อม, สาคูเม็ดใหญ่ ก็ว่า.
สาคูวิลาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง สาคูที่มาจากต่างประเทศ หมายถึงแป้งสาคูเม็ดเล็ก ๆ.สาคูวิลาด น. สาคูที่มาจากต่างประเทศ หมายถึงแป้งสาคูเม็ดเล็ก ๆ.
สาคูไส้หมู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้ำร้อนให้ดิบ ๆ สุก ๆ ปั้นเป็นก้อน มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทำเป็นไส้ แล้วนึ่ง.สาคูไส้หมู น. ชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้ำร้อนให้ดิบ ๆ สุก ๆ ปั้นเป็นก้อน มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทำเป็นไส้ แล้วนึ่ง.