สยาย เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สะหฺยาย] เป็นคำกริยา หมายถึง คลี่หรือคลายสิ่งที่มุ่นหรือเป็นกลุ่มก้อนอยู่ให้แผ่กระจายออก เช่น สยายผม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่คลี่หรือคลายสิ่งที่มุ่นหรือเป็นกลุ่มก้อนอยู่ให้แผ่กระจายออก เช่น ผมสยาย.สยาย [สะหฺยาย] ก. คลี่หรือคลายสิ่งที่มุ่นหรือเป็นกลุ่มก้อนอยู่ให้แผ่กระจายออก เช่น สยายผม. ว. ที่คลี่หรือคลายสิ่งที่มุ่นหรือเป็นกลุ่มก้อนอยู่ให้แผ่กระจายออก เช่น ผมสยาย.
สยิว เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน[สะหฺยิว] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเย็นเยือก, รู้สึกเสียวซ่าน, รู้สึกวาบหวาม เช่น สยิวกาย สยิวใจ.สยิว [สะหฺยิว] ก. รู้สึกเย็นเยือก, รู้สึกเสียวซ่าน, รู้สึกวาบหวาม เช่น สยิวกาย สยิวใจ.
สยิ้ว เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน[สะยิ่ว] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําหน้านิ่วคิ้วขมวดแสดงความไม่พอใจหรือเบื่อหน่าย ในคำว่า สยิ้วหน้า สยิ้วพระพักตร์.สยิ้ว [สะยิ่ว] ก. ทําหน้านิ่วคิ้วขมวดแสดงความไม่พอใจหรือเบื่อหน่าย ในคำว่า สยิ้วหน้า สยิ้วพระพักตร์.
สยุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู[สะหฺยุ่น] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือกลึงไม้ชนิดหนึ่ง รูปเหมือนสิ่ว ตัวทำด้วยเหล็ก ด้ามทำด้วยไม้ยาวประมาณ ๑ ศอก มีหน้าต่าง ๆ เช่น หน้าตัด หน้าสามเหลี่ยม หน้าโค้ง.สยุ่น [สะหฺยุ่น] น. เครื่องมือกลึงไม้ชนิดหนึ่ง รูปเหมือนสิ่ว ตัวทำด้วยเหล็ก ด้ามทำด้วยไม้ยาวประมาณ ๑ ศอก มีหน้าต่าง ๆ เช่น หน้าตัด หน้าสามเหลี่ยม หน้าโค้ง.
สยุมพร เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ ความหมายที่ [สะหฺยุมพอน] เป็นคำนาม หมายถึง สยมพร, สยัมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้.สยุมพร ๑ [สะหฺยุมพอน] น. สยมพร, สยัมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้.
สยุมพร เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ ความหมายที่ ดู ชะโอน เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู.สยุมพร ๒ ดู ชะโอน.
สยุมภู เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู[สะหฺยุมพู] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นเองตามธรรมชาติ เช่น รกสยุมภู ว่า รกอย่างเป็นเองตามธรรมชาติ.สยุมภู [สะหฺยุมพู] ว. เป็นเองตามธรรมชาติ เช่น รกสยุมภู ว่า รกอย่างเป็นเองตามธรรมชาติ.
สร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [สอน] เป็นคำนาม หมายถึง ศร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศร เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ.สร ๑ [สอน] น. ศร. (ป.; ส. ศร).
สร– เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [สอระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทิพย์, แกล้วกล้า, เช่น สรศาสดา สรศักดิ์ สรสีห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ.สร– ๒ [สอระ–] ว. ทิพย์, แกล้วกล้า, เช่น สรศาสดา สรศักดิ์ สรสีห์. (ป., ส. สุร).
สร– เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [สฺระ–]คํานําหน้าคําอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คําที่แผลงมาจากคําที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก.สร– ๓ [สฺระ–] คํานําหน้าคําอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คําที่แผลงมาจากคําที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก.
สรกะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[สะระกะ] เป็นคำนาม หมายถึง จอก, ขัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สรกะ [สะระกะ] น. จอก, ขัน. (ป., ส.).
สรง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-งอ-งู[สง] เป็นคำกริยา หมายถึง อาบนํ้า (ใช้แก่บรรพชิตและเจ้านาย). ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สรง [สง] ก. อาบนํ้า (ใช้แก่บรรพชิตและเจ้านาย). (ข.).
สร่ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [สะหฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง วิธีฝังเพชรเม็ดเล็ก ๆ ขนาดไข่ปลาลงไปบนพื้นที่ทําให้โปร่ง, ถ้าแกะแรให้ผิวเป็นเหลี่ยมขึ้นเงาดูเหมือนฝังเพชร เรียกว่า ตัดสร่ง.สร่ง ๑ [สะหฺร่ง] น. วิธีฝังเพชรเม็ดเล็ก ๆ ขนาดไข่ปลาลงไปบนพื้นที่ทําให้โปร่ง, ถ้าแกะแรให้ผิวเป็นเหลี่ยมขึ้นเงาดูเหมือนฝังเพชร เรียกว่า ตัดสร่ง.
สร่ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [สะหฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยหมูสับคลุกกับรากผักชี พริกไทย น้ำปลา ปั้นเป็นก้อนกลม ๆ พันด้วยเส้นมี่สั้วลวก ทอดให้เหลืองนวล รับประทานกับน้ำจิ้ม.สร่ง ๒ [สะหฺร่ง] น. ชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยหมูสับคลุกกับรากผักชี พริกไทย น้ำปลา ปั้นเป็นก้อนกลม ๆ พันด้วยเส้นมี่สั้วลวก ทอดให้เหลืองนวล รับประทานกับน้ำจิ้ม.
สรฏะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ[สะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง กิ้งก่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สรฏะ [สะระ–] น. กิ้งก่า. (ป., ส.).
สรณ–, สรณะ สรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน สรณะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [สะระนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศรณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-นอ-เนน.สรณ–, สรณะ [สะระนะ–] น. ที่พึ่ง, ที่ระลึก; ความระลึก. (ป.; ส. ศรณ).
สรณคมน์, สรณาคมน์ สรณคมน์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สรณาคมน์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การยึดเอาเป็นที่พึ่งที่ระลึก, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง การถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึก เรียกว่า ไตรสรณคมน์ หรือ ไตรสรณาคมน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สรณคมน์, สรณาคมน์ น. การยึดเอาเป็นที่พึ่งที่ระลึก, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง การถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งที่ระลึก เรียกว่า ไตรสรณคมน์ หรือ ไตรสรณาคมน์. (ป.).
สรณตรัย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ที่พึ่งทั้ง ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์.สรณตรัย น. ที่พึ่งทั้ง ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์.
สรดัก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เต็มไป, ดาษไป, แน่นไป.สรดัก [สฺระ–] (กลอน) ก. เต็มไป, ดาษไป, แน่นไป.
สรดึ่น เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-นอ-หนู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตื่นใจ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นพืดไป.สรดึ่น [สฺระ–] (กลอน) ก. ตื่นใจ. ว. เป็นพืดไป.
สรดื่น เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกลาด, ดาษดื่น.สรดื่น [สฺระ–] (กลอน) ว. เกลื่อนกลาด, ดาษดื่น.
สรตะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ[สะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การคาดคะเนตามเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องการพนัน มีหวย ถั่ว โป เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า การคาดคะเนตามข้อสังเกตหรือสันนิษฐาน, การเก็งหรือการคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก, เช่น คิดสรตะแล้วงานนี้ขาดทุน, เขียนเป็น สะระตะ ก็มี.สรตะ [สะระ–] น. การคาดคะเนตามเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องการพนัน มีหวย ถั่ว โป เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า การคาดคะเนตามข้อสังเกตหรือสันนิษฐาน, การเก็งหรือการคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก, เช่น คิดสรตะแล้วงานนี้ขาดทุน, เขียนเป็น สะระตะ ก็มี.
สรตัก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เต็มไป, ดาษไป, แน่นไป.สรตัก [สฺระ–] (กลอน) ก. เต็มไป, ดาษไป, แน่นไป.
สรทะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ[สะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ร่วง, ฤดูสารท. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศรท เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน.สรทะ [สะระ–] น. ฤดูใบไม้ร่วง, ฤดูสารท. (ป.; ส. ศรท).
สรทึง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สทึง ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺทึง เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ว่า คลอง .สรทึง [สฺระ–] (กลอน) น. แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
สรแทบ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่นูน, ราบ.สรแทบ [สฺระ–] (กลอน) ว. ไม่นูน, ราบ.
สรนุก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[สฺระหฺนุก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนุก.สรนุก [สฺระหฺนุก] (กลอน) ว. สนุก.
สรไน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู[สฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ปี่ไฉน เช่น นักคุณแคนคู่ฆ้อง สรไน. ในวงเล็บ มาจาก โคลงหริภุญชัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๑.สรไน [สฺระ–] น. ปี่ไฉน เช่น นักคุณแคนคู่ฆ้อง สรไน. (หริภุญชัย).
สรบ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้[สฺรบ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่ว, พร้อม, เขียนเป็น สรับ ก็มี.สรบ [สฺรบ] (โบ; กลอน) ว. ทั่ว, พร้อม, เขียนเป็น สรับ ก็มี.
สรบบ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สารบบ.สรบบ [สฺระ–] (กลอน) น. สารบบ.
สรบับ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สารบับ.สรบับ [สฺระ–] (กลอน) น. สารบับ.
สรพะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อะ[สะระพะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดัง, เอ็ดอึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศรว เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-วอ-แหวน.สรพะ [สะระพะ] ว. เสียงดัง, เอ็ดอึง. (ป.; ส. ศรว).
สรเพชญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-ยอ-หยิง[สฺระเพด] เป็นคำนาม หมายถึง สรรเพชญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวชฺ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง.สรเพชญ [สฺระเพด] น. สรรเพชญ. (ส. สรฺวชฺ).
สรภะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อะ[สะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยายว่ามี ๘ ขา มีกําลังยิ่งกว่าราชสีห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศรภ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา.สรภะ [สะระ–] น. สัตว์ในนิยายว่ามี ๘ ขา มีกําลังยิ่งกว่าราชสีห์. (ป.; ส. ศรภ).
สรภัญญะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อะ[สะระพันยะ, สอระพันยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทํานองสําหรับสวดคําที่เป็นฉันท์, ทํานองขับร้องทํานองหนึ่ง, เช่น สวดสรภัญญะ ทำนองสรภัญญะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สรภัญญะ [สะระพันยะ, สอระพันยะ] น. ทํานองสําหรับสวดคําที่เป็นฉันท์, ทํานองขับร้องทํานองหนึ่ง, เช่น สวดสรภัญญะ ทำนองสรภัญญะ. (ป.).
สรภู เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู[สะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตุ๊กแก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สรภู [สะระ–] น. ตุ๊กแก. (ป.).
สรม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง ขอ, มักใช้ว่า สรวม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สูม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อม.สรม [สฺรม] ก. ขอ, มักใช้ว่า สรวม. (ข. สูม). ว. พร้อม.
สรร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ[สัน] เป็นคำกริยา หมายถึง เลือก, คัด, เช่น จัดสรร เลือกสรร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สรัล เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง.สรร [สัน] ก. เลือก, คัด, เช่น จัดสรร เลือกสรร. (ข. สรัล).
สรรแสร้ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เลือกว่า, แกล้งเลือก.สรรแสร้ง ก. เลือกว่า, แกล้งเลือก.
สรรหา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เลือกมา, คัดมา, เช่น สรรหาของมาตกแต่งบ้าน คณะกรรมการสรรหาอธิการบดี.สรรหา ก. เลือกมา, คัดมา, เช่น สรรหาของมาตกแต่งบ้าน คณะกรรมการสรรหาอธิการบดี.
สรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[สัน] เป็นคำกริยา หมายถึง สร้างให้มีให้เป็นขึ้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สร้าง เป็น สรรค์สร้าง หรือ สร้างสรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺค เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย ว่า สร้างอย่างพระพรหมสร้างโลก .สรรค์ [สัน] ก. สร้างให้มีให้เป็นขึ้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สร้าง เป็น สรรค์สร้าง หรือ สร้างสรรค์. (ส. สรฺค ว่า สร้างอย่างพระพรหมสร้างโลก).
สรรพ, สรรพ– สรรพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน สรรพ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน [สับ, สับพะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทุกสิ่ง, ทั้งปวง, ทั้งหมด, เช่น พร้อมสรรพ งามสรรพ เสร็จสรรพ สรรพสิ่ง สรรพสินค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺว เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน และมาจากภาษาบาลี สพฺพ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน.สรรพ, สรรพ– [สับ, สับพะ–] ว. ทุกสิ่ง, ทั้งปวง, ทั้งหมด, เช่น พร้อมสรรพ งามสรรพ เสร็จสรรพ สรรพสิ่ง สรรพสินค้า. (ส. สรฺว; ป. สพฺพ).
สรรพคราส เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง สุริยุปราคาหมดดวง.สรรพคราส น. สุริยุปราคาหมดดวง.
สรรพคุณ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง คุณสมบัติของสิ่งที่เป็นยา, โดยปริยายหมายถึงคุณสมบัติ เช่น เขามีสรรพคุณเชื่อถือได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺว เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน + คุณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน .สรรพคุณ น. คุณสมบัติของสิ่งที่เป็นยา, โดยปริยายหมายถึงคุณสมบัติ เช่น เขามีสรรพคุณเชื่อถือได้. (ส. สรฺว + คุณ).
สรรพนาม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ใช้แทนชื่อ นาม หรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ต้องกล่าวชื่อ นาม หรือข้อความนั้นซ้ำอีก เช่น ฉัน เขา เรา ท่าน.สรรพนาม (ไว) น. คําที่ใช้แทนชื่อ นาม หรือข้อความที่กล่าวมาแล้ว เพื่อไม่ต้องกล่าวชื่อ นาม หรือข้อความนั้นซ้ำอีก เช่น ฉัน เขา เรา ท่าน.
สรรพสามิต เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[สับพะ–, สันพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง อากรที่เก็บจากสิ่งประดิษฐ์และผลิตขึ้นภายในประเทศ เรียกว่า อากรสรรพสามิต.สรรพสามิต [สับพะ–, สันพะ–] น. อากรที่เก็บจากสิ่งประดิษฐ์และผลิตขึ้นภายในประเทศ เรียกว่า อากรสรรพสามิต.
สรรพากร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[สันพากอน] เป็นคำนาม หมายถึง อากรที่เก็บจากสิ่งที่เป็นเองหรือมีบ่อเกิดเป็นรายได้.สรรพากร [สันพากอน] น. อากรที่เก็บจากสิ่งที่เป็นเองหรือมีบ่อเกิดเป็นรายได้.
สรรพางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[สันระพาง] เป็นคำนาม หมายถึง ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สรรพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสรรพางค์กาย, สารพางค์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวางฺค เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.สรรพางค์ [สันระพาง] น. ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สรรพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสรรพางค์กาย, สารพางค์ ก็ว่า. (ส. สรฺวางฺค).
สรรพัชญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สรรเพชญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวชฺ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง.สรรพัชญ (แบบ) น. สรรเพชญ. (ส. สรฺวชฺ).
สรรพากร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือดู สรรพ, สรรพ– สรรพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน สรรพ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน .สรรพากร ดู สรรพ, สรรพ–.
สรรพางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู สรรพ, สรรพ– สรรพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน สรรพ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน .สรรพางค์ ดู สรรพ, สรรพ–.
สรรเพชญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว, พระนามของพระพุทธเจ้า, สรรพัชญ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวชฺ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาบาลี สพฺพญฺญู เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู.สรรเพชญ (แบบ) น. ผู้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง, ผู้รู้ทั่ว, พระนามของพระพุทธเจ้า, สรรพัชญ ก็เรียก. (ส. สรฺวชฺ; ป. สพฺพญฺญู).
สรรเพชุดา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา[สันเพดชุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้รู้ทุกสิ่ง หมายเอาความเป็นพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวชฺาตฺฤ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ และมาจากภาษาบาลี สพฺพญฺญุตา เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.สรรเพชุดา [สันเพดชุ–] (แบบ) น. ความเป็นผู้รู้ทุกสิ่ง หมายเอาความเป็นพระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺาตฺฤ; ป. สพฺพญฺญุตา).
สรรเพชุดาญาณ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ญาณหรือปัญญาที่รู้ทุกสิ่ง หมายเอาญาณของพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรฺวชฺาน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี สพฺฺญุตาณ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน.สรรเพชุดาญาณ น. ญาณหรือปัญญาที่รู้ทุกสิ่ง หมายเอาญาณของพระพุทธเจ้า. (ส. สรฺวชฺาน; ป. สพฺฺญุตาณ).
สรรวง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู[สฺระรวง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สรวง.สรรวง [สฺระรวง] (กลอน) น. สรวง.
สรรเสริญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง[สันเสิน, สันระเสิน] เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคํายกย่อง เชิดชู หรือ เทิดทูน เช่น สรรเสริญพระพุทธคุณ, กล่าวคําชมด้วยความนิยมพอใจ หรือเยินยอคุณความดี เช่น สรรเสริญคนที่มีความกตัญญูรู้คุณ, สรเสริญ ก็ใช้.สรรเสริญ [สันเสิน, สันระเสิน] ก. กล่าวคํายกย่อง เชิดชู หรือ เทิดทูน เช่น สรรเสริญพระพุทธคุณ, กล่าวคําชมด้วยความนิยมพอใจ หรือเยินยอคุณความดี เช่น สรรเสริญคนที่มีความกตัญญูรู้คุณ, สรเสริญ ก็ใช้.
สรลน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-นอ-หนู[สฺระหฺลน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สลอน, แน่น; เชิดชู.สรลน [สฺระหฺลน] (กลอน) ว. สลอน, แน่น; เชิดชู.
สรลม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า[สฺระหฺลม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สล้าง, ดาษ, ระกะ.สรลม [สฺระหฺลม] (กลอน) ว. สล้าง, ดาษ, ระกะ.
สรลมสลวน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-นอ-หนู[–สะหฺลวน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่นหนา, ดาดาษ, สล้าง, สลอน.สรลมสลวน [–สะหฺลวน] ว. แน่นหนา, ดาดาษ, สล้าง, สลอน.
สรลอด เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก[สฺระหฺลอด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สลอด.สรลอด [สฺระหฺลอด] (กลอน) น. สลอด.
สรลอน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู[สฺระหฺลอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สลอน.สรลอน [สฺระหฺลอน] (กลอน) ว. สลอน.
สรละ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[สฺระหฺละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สละ.สรละ [สฺระหฺละ] (กลอน) ก. สละ.
สรล้าย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สฺระหฺล้าย] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สลาย, แตก, กระจาย, เรี่ยราย, เป็นแนวติด ๆ กันไป.สรล้าย [สฺระหฺล้าย] (กลอน) ก. สลาย, แตก, กระจาย, เรี่ยราย, เป็นแนวติด ๆ กันไป.
สรลิด เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[สฺระหฺลิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ดอกสลิด.สรลิด [สฺระหฺลิด] (กลอน) น. ดอกสลิด.
สรเลข เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่[สอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งข้าราชการหัวเมืองในสมัยโบราณ.สรเลข [สอระ–] น. ตําแหน่งข้าราชการหัวเมืองในสมัยโบราณ.
สรวง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู[สวง] เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า, สวรรค์; เทวดา. เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่น, บูชา, บน.สรวง [สวง] น. ฟ้า, สวรรค์; เทวดา. ก. เซ่น, บูชา, บน.
สรวงเส เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง บูชา, เสสรวง ก็ว่า.สรวงเส ก. บูชา, เสสรวง ก็ว่า.
สรวป เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ปอ-ปลา[สะหฺรวบ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สรุป. (แผลงมาจาก สรุป).สรวป [สะหฺรวบ] (โบ) ก. สรุป. (แผลงมาจาก สรุป).
สรวม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า[สวม] เป็นคำกริยา หมายถึง ขอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สรวม [สวม] ก. ขอ. (ข.).
สรวมชีพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ขอชีวิต, ขอจงให้ชีวิตหรือปกป้องชีวิต, ใช้ขึ้นต้นคํากราบบังคมทูลอย่างขอเดชะ.สรวมชีพ ก. ขอชีวิต, ขอจงให้ชีวิตหรือปกป้องชีวิต, ใช้ขึ้นต้นคํากราบบังคมทูลอย่างขอเดชะ.
สรวล เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[สวน] เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะ, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระสรวล.สรวล [สวน] ก. หัวเราะ, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระสรวล.
สรวลสันหรรษา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะร่าเริงยินดี, หัวเราะอย่างชอบอกชอบใจ, เช่น บรรดาศิษย์เก่ามาร่วมสรวลสันหรรษาในงานชุมนุมศิษย์เก่าประจำปี.สรวลสันหรรษา ก. หัวเราะร่าเริงยินดี, หัวเราะอย่างชอบอกชอบใจ, เช่น บรรดาศิษย์เก่ามาร่วมสรวลสันหรรษาในงานชุมนุมศิษย์เก่าประจำปี.
สรวลเส, สรวลเสเฮฮา สรวลเส เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ สรวลเสเฮฮา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะร่าเริง, หัวเราะอย่างสนุกสนานครึกครื้น, เช่น เขาชอบหาเรื่องขำขันมาเล่า ทำให้เพื่อน ๆ ได้สรวลเสเฮฮาเสมอ, เสสรวล ก็ว่า.สรวลเส, สรวลเสเฮฮา ก. หัวเราะร่าเริง, หัวเราะอย่างสนุกสนานครึกครื้น, เช่น เขาชอบหาเรื่องขำขันมาเล่า ทำให้เพื่อน ๆ ได้สรวลเสเฮฮาเสมอ, เสสรวล ก็ว่า.
สรสรก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่[สะระสก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โซก, ซ่ก, โชก, เช่น แล้วมันก็เชือดเอาหัวใจนาง เลือดตกพลางสรสรก แล่นฉวยฉกหาไปบอยู่แล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.สรสรก [สะระสก] ว. โซก, ซ่ก, โชก, เช่น แล้วมันก็เชือดเอาหัวใจนาง เลือดตกพลางสรสรก แล่นฉวยฉกหาไปบอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
สรเสริญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สรรเสริญ.สรเสริญ [สฺระ–] (กลอน) ก. สรรเสริญ.
สรเหนาะ, สระเหนาะ สรเหนาะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ สระเหนาะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ [สฺระเหฺนาะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสนาะ, ไพเราะ; วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น สรเหนาะนิราษน้อง ลงเรือ. (โคลงกำสรวล), สระเหนาะน้ำคว่วงคว้วง ควิวแด. (โคลงกำสรวล). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง).สรเหนาะ, สระเหนาะ [สฺระเหฺนาะ] (กลอน) ว. เสนาะ, ไพเราะ; วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น สรเหนาะนิราษน้อง ลงเรือ. (โคลงกำสรวล), สระเหนาะน้ำคว่วงคว้วง ควิวแด. (โคลงกำสรวล). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง).
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำนาม หมายถึง ขนคอสัตว์ เช่น สร้อยคอไก่ สร้อยคอสิงโต; เครื่องประดับที่ทําเป็นเส้น เช่น สร้อยคอ สร้อยข้อมือ, สายสร้อย ก็เรียก.สร้อย ๑ [ส้อย] น. ขนคอสัตว์ เช่น สร้อยคอไก่ สร้อยคอสิงโต; เครื่องประดับที่ทําเป็นเส้น เช่น สร้อยคอ สร้อยข้อมือ, สายสร้อย ก็เรียก.
สร้อยระย้า เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตุ้มหูชนิดหนึ่งที่มีระย้าห้อยลงมา.สร้อยระย้า ๑ น. ชื่อตุ้มหูชนิดหนึ่งที่มีระย้าห้อยลงมา.
สร้อยสน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สร้อยที่ถักเป็นลายคดกริช; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง; ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.สร้อยสน น. สร้อยที่ถักเป็นลายคดกริช; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง; ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
สร้อยอ่อน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สร้อยขนาดเล็กตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปเรียงกัน มีหัวเป็นที่ร้อย.สร้อยอ่อน น. สร้อยขนาดเล็กตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปเรียงกัน มีหัวเป็นที่ร้อย.
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae พบอยู่รวมกันเป็นฝูงในตอนปลายฤดูนํ้าหลาก และว่ายทวนนํ้าขึ้นไปหากินในแหล่งนํ้าที่สูงขึ้นไป ส่วนใหญ่ลําตัวสีขาวเงินและมีจุดคลํ้าหรือจุดดําบนเกล็ดจนเห็นเป็นเส้นสายหลายแถบพาดตามยาวอยู่ข้างตัว เช่น สร้อยขาว (Cirrhinus jullieni), กระสร้อย ก็เรียก.สร้อย ๒ [ส้อย] น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae พบอยู่รวมกันเป็นฝูงในตอนปลายฤดูนํ้าหลาก และว่ายทวนนํ้าขึ้นไปหากินในแหล่งนํ้าที่สูงขึ้นไป ส่วนใหญ่ลําตัวสีขาวเงินและมีจุดคลํ้าหรือจุดดําบนเกล็ดจนเห็นเป็นเส้นสายหลายแถบพาดตามยาวอยู่ข้างตัว เช่น สร้อยขาว (Cirrhinus jullieni), กระสร้อย ก็เรียก.
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำนาม หมายถึง คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อให้ครบตามจำนวน เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมายหรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นา เฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ, คำสร้อย ก็ว่า; คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ.สร้อย ๓ [ส้อย] น. คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อให้ครบตามจำนวน เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมายหรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นา เฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ, คำสร้อย ก็ว่า; คำที่เติมหรือประกอบคำอื่นเพื่อให้ไพเราะหรือเต็มความ เช่น เสื้อแสง หนังสือหนังหา, คำต่อท้ายราชทินนาม เช่น พระราชปัญญาสุธี ศรีปริยัติธาดา มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกูลกิจ สกลนิติธรรมศาสตราจารย์ มหิบาลมหาสวามิภักดิ์ ปรมัคราชมนตรีอภัยพิริยปรากรมพาหุ.
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หญิง, นาง, เช่น จําใจจําจากสร้อย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.สร้อย ๔ [ส้อย] น. ผู้หญิง, นาง, เช่น จําใจจําจากสร้อย. (ตะเลงพ่าย).
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ เช่น สร้อยสลา.สร้อย ๕ [ส้อย] น. ดอกไม้ เช่น สร้อยสลา.
สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ส้อย] เป็นคำกริยา หมายถึง โศก.สร้อย ๖ [ส้อย] ก. โศก.
สร้อยเศร้า เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เศร้าสร้อย.สร้อยเศร้า ก. เศร้าสร้อย.
สร้อยทอง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Solidago polyglossa DC. ในวงศ์ Compositae ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อ.สร้อยทอง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Solidago polyglossa DC. ในวงศ์ Compositae ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อ.
สร้อยทะแย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สร้อยทะแย น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สร้อยนกเขา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ดู ข้างตะเภา. (๒) ดู ขี้ขม เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ขอ-ไข่-มอ-ม้า และ ทองลิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.สร้อยนกเขา น. (๑) ดู ข้างตะเภา. (๒) ดู ขี้ขม และ ทองลิน.
สร้อยน้ำผึ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งูดู รากกล้วย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก.สร้อยน้ำผึ้ง ดู รากกล้วย.
สร้อยระย้า เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดูใน สร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑.สร้อยระย้า ๑ ดูใน สร้อย ๑.
สร้อยระย้า เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Otochilus fusca Lindl. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อห้อยลง กลิ่นหอม. (๒) ชื่อไม้พุ่มอิงอาศัยชนิด Medinilla magnifica Lindl. ในวงศ์ Melastomataceae ใบรูปไข่เป็นมัน เส้นกลางใบสีขาวนวล ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อห้อยลง.สร้อยระย้า ๒ น. (๑) ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Otochilus fusca Lindl. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อห้อยลง กลิ่นหอม. (๒) ชื่อไม้พุ่มอิงอาศัยชนิด Medinilla magnifica Lindl. ในวงศ์ Melastomataceae ใบรูปไข่เป็นมัน เส้นกลางใบสีขาวนวล ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อห้อยลง.
สร้อยอินทนิล เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Thunbergia grandiflora Roxb. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีฟ้าอมม่วงหรือขาว ออกเป็นพวงห้อยระย้า, ช่ออินทนิล หรือ ม่านอินทนิล ก็เรียก.สร้อยอินทนิล น. ชื่อไม้เถาชนิด Thunbergia grandiflora Roxb. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีฟ้าอมม่วงหรือขาว ออกเป็นพวงห้อยระย้า, ช่ออินทนิล หรือ ม่านอินทนิล ก็เรียก.
สระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะ] เป็นคำนาม หมายถึง แอ่งนํ้าขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเองหรือคนขุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต สรสฺ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ.สระ ๑ [สะ] น. แอ่งนํ้าขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นเองหรือคนขุด. (ป. สร; ส. สรสฺ).
สระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระ เช่น ะ า, รูปสระ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ.สระ ๒ [สะหฺระ] น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระ เช่น ะ า, รูปสระ ก็เรียก. (ป. สร; ส. สฺวร).
สระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะ] เป็นคำกริยา หมายถึง ฟอกให้สะอาดหมดจด ในคำว่า สระหัว สระผม, ชำระล้างให้สะอาด เช่น สระหวี.สระ ๓ [สะ] ก. ฟอกให้สะอาดหมดจด ในคำว่า สระหัว สระผม, ชำระล้างให้สะอาด เช่น สระหวี.
สระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สฺระ]คําที่แผลงมาจากคําที่ขึ้นต้นด้วยคํา สะ ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สะท้อน เป็น สระท้อน.สระ ๔ [สฺระ] คําที่แผลงมาจากคําที่ขึ้นต้นด้วยคํา สะ ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สะท้อน เป็น สระท้อน.
สระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะระ] เป็นคำนาม หมายถึง เสียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ.สระ ๕ [สะระ] น. เสียง. (ป.; ส. สฺวร).
สระกอ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะกอ.สระกอ [สฺระ–] (กลอน) ว. สะกอ.
สระคราญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะคราญ.สระคราญ [สฺระ–] (กลอน) ว. สะคราญ.
สระดะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระดะไป, เกะกะไป, ดาษไป, แน่นไป.สระดะ [สฺระ–] (กลอน) ว. ระดะไป, เกะกะไป, ดาษไป, แน่นไป.
สระท้อน เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะท้อน; อ่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สระท้อน [สฺระ–] (กลอน) ว. สะท้อน; อ่อน. (ข.).
สระพรั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะพรั่ง.สระพรั่ง [สฺระ–] (กลอน) ว. สะพรั่ง.
สระสม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-มอ-ม้า[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย เช่น พิศดูคางสระสม. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.สระสม [สฺระ–] (วรรณ) ว. สวย เช่น พิศดูคางสระสม. (ลอ).
สระอาด เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะอาด.สระอาด [สฺระ–] (กลอน) ว. สะอาด.
สระอื้น เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู[สฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สะอื้น.สระอื้น [สฺระ–] (กลอน) ก. สะอื้น.
สรั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู[สะหฺรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้ากะลาสี. (เปอร์เซีย).สรั่ง [สะหฺรั่ง] น. หัวหน้ากะลาสี. (เปอร์เซีย).
สรัสวดี เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะรัดสะวะดี] เป็นคำนาม หมายถึง เทวีองค์หนึ่งในลัทธิศักติของศาสนาฮินดู เป็นชายาของพระพรหม ถือว่าเป็นเทวีแห่งศิลปวิทยา มีหลายชื่อ เช่น ภารตี พราหมี สารทา, ไทยใช้ว่า สุรัสวดี ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สรสฺวตี เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี.สรัสวดี [สะรัดสะวะดี] น. เทวีองค์หนึ่งในลัทธิศักติของศาสนาฮินดู เป็นชายาของพระพรหม ถือว่าเป็นเทวีแห่งศิลปวิทยา มีหลายชื่อ เช่น ภารตี พราหมี สารทา, ไทยใช้ว่า สุรัสวดี ก็มี. (ส. สรสฺวตี).
สร่าง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู[ส่าง] เป็นคำกริยา หมายถึง คลาย, ถอย, ทุเลา, (ใช้แก่ลักษณะความเป็นไปของร่างกายหรืออารมณ์ที่ผิดปรกติจากธรรมดา), เช่น สร่างไข้ สร่างโศก ไข้ยังไม่สร่าง สร่างเมา เมาไม่สร่าง.สร่าง [ส่าง] ก. คลาย, ถอย, ทุเลา, (ใช้แก่ลักษณะความเป็นไปของร่างกายหรืออารมณ์ที่ผิดปรกติจากธรรมดา), เช่น สร่างไข้ สร่างโศก ไข้ยังไม่สร่าง สร่างเมา เมาไม่สร่าง.
สร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ [ส้าง] เป็นคำกริยา หมายถึง เนรมิต, บันดาลให้มีให้เป็นขึ้นด้วยฤทธิ์อำนาจ, เช่น พระพรหมสร้างโลก, ทำให้มีให้เป็นขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ กัน (ใช้ทั้งทางรูปธรรมและนามธรรม) เช่น สร้างบ้าน สร้างเมือง สร้างศัตรู สร้างชื่อเสียง.สร้าง ๑ [ส้าง] ก. เนรมิต, บันดาลให้มีให้เป็นขึ้นด้วยฤทธิ์อำนาจ, เช่น พระพรหมสร้างโลก, ทำให้มีให้เป็นขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ กัน (ใช้ทั้งทางรูปธรรมและนามธรรม) เช่น สร้างบ้าน สร้างเมือง สร้างศัตรู สร้างชื่อเสียง.
สร้างชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ชาติมีความเป็นปึกแผ่นมั่นคง.สร้างชาติ ก. ทำให้ชาติมีความเป็นปึกแผ่นมั่นคง.
สร้างฐานะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบอาชีพจนมีทรัพย์สินเป็นหลักฐานมั่นคง.สร้างฐานะ ก. ประกอบอาชีพจนมีทรัพย์สินเป็นหลักฐานมั่นคง.
สร้างเนื้อสร้างตัว เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง สร้างฐานะให้ดีขึ้น, สร้างฐานะให้มั่นคง.สร้างเนื้อสร้างตัว ก. สร้างฐานะให้ดีขึ้น, สร้างฐานะให้มั่นคง.
สร้างวิมานในอากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ใฝ่ฝันถึงความมั่งมี, คิดคาดหรือหวังจะมีหรือเป็นอะไรอย่างเลิศลอย.สร้างวิมานในอากาศ (สำ) ก. ใฝ่ฝันถึงความมั่งมี, คิดคาดหรือหวังจะมีหรือเป็นอะไรอย่างเลิศลอย.
สร้างสถานการณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สร้างให้เป็นเรื่องเป็นข่าวขึ้นมาโดยไม่มีมูล เพื่อหวังประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.สร้างสถานการณ์ ก. สร้างให้เป็นเรื่องเป็นข่าวขึ้นมาโดยไม่มีมูล เพื่อหวังประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
สร้างสรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สร้างให้มีให้เป็นขึ้น (มักใช้ทางนามธรรม) เช่น สร้างสรรค์ความสุขความเจริญให้แก่สังคม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะริเริ่มในทางดี เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์.สร้างสรรค์ ก. สร้างให้มีให้เป็นขึ้น (มักใช้ทางนามธรรม) เช่น สร้างสรรค์ความสุขความเจริญให้แก่สังคม. ว. มีลักษณะริเริ่มในทางดี เช่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะสร้างสรรค์.
สร้างเสริม เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้เกิดมีขึ้นและเพิ่มพูนให้มากยิ่งขึ้น เช่น การศึกษาสร้างเสริมคนให้เป็นพลเมืองดี.สร้างเสริม ก. ทำให้เกิดมีขึ้นและเพิ่มพูนให้มากยิ่งขึ้น เช่น การศึกษาสร้างเสริมคนให้เป็นพลเมืองดี.
สร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ [ส้าง] เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สำหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมพระเมรุ, ซ่าง คดซ่าง คดสร้าง สำซ่าง หรือ สำสร้าง ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต ศมฺศาน เขียนว่า สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี สุสาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สร้าง ๒ [ส้าง] น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สำหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมพระเมรุ, ซ่าง คดซ่าง คดสร้าง สำซ่าง หรือ สำสร้าง ก็เรียก. (เทียบ ส. ศมฺศาน; ป. สุสาน).
สราญ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง[สะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําราญ.สราญ [สะ–] ว. สําราญ.
สร้าวเสียว เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน[ส้าว–] เป็นคำกริยา หมายถึง เร่ง; เตือนใจ.สร้าวเสียว [ส้าว–] ก. เร่ง; เตือนใจ.
สริตะ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ[สะริตะ] เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, ลําธาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สริตา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.สริตะ [สะริตะ] น. แม่นํ้า, ลําธาร. (ส.; ป. สริตา).
สรี้ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท[สะรี้]ดู กระซิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.สรี้ [สะรี้] ดู กระซิก ๒.
สรีร–, สรีระ สรีร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ สรีระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [สะรีระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศรีร เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ.สรีร–, สรีระ [สะรีระ–] น. ร่างกาย. (ป.; ส. ศรีร).
สรีรกิจ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง การทํากิจเกี่ยวกับร่างกาย เช่น ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ; การปลงศพ.สรีรกิจ น. การทํากิจเกี่ยวกับร่างกาย เช่น ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ; การปลงศพ.
สรีรธาตุ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกของศพที่เผาแล้ว.สรีรธาตุ น. กระดูกของศพที่เผาแล้ว.
สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์ สรีรวิทยา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา สรีรศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทําหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ physiology เขียนว่า พี-เอช-วาย-เอส-ไอ-โอ-แอล-โอ-จี-วาย.สรีรวิทยา, สรีรศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยสมบัติและการกระทําหน้าที่ของอินทรีย์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนของสิ่งที่เป็นรูปร่างและมีชีวิต. (อ. physiology).
สรีรังคาร, สรีรางคาร สรีรังคาร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สรีรางคาร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [สะรีรังคาน, สะรีรางคาน] เป็นคำนาม หมายถึง เถ้าถ่านที่ปะปนกับกระดูกชิ้นเล็กชิ้นน้อยของศพที่เผาแล้ว.สรีรังคาร, สรีรางคาร [สะรีรังคาน, สะรีรางคาน] น. เถ้าถ่านที่ปะปนกับกระดูกชิ้นเล็กชิ้นน้อยของศพที่เผาแล้ว.
สรีรังคาร, สรีรางคาร สรีรังคาร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สรีรางคาร เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ดู สรีร–, สรีระ สรีร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ สรีระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .สรีรังคาร, สรีรางคาร ดู สรีร–, สรีระ.
สรีสฤบ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-รอ-รึ-บอ-ไบ-ไม้[สะรีสฺริบ] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์เลื้อยคลาน, งู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สิรึสป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-สอ-เสือ-ปอ-ปลา.สรีสฤบ [สะรีสฺริบ] น. สัตว์เลื้อยคลาน, งู. (ส.; ป. สิรึสป).
สรุก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[สฺรุก] เป็นคำนาม หมายถึง เมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรุก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.สรุก [สฺรุก] น. เมือง. (ข. สฺรุก).
สรุกเกรา เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–เกฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง บ้านนอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรุกเกฺรา เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.สรุกเกรา [–เกฺรา] น. บ้านนอก. (ข. สฺรุกเกฺรา).
สรุง เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู[สุง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ, เดช.สรุง [สุง] (กลอน) น. อํานาจ, เดช.
สรุโนก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-กอ-ไก่[สฺรุ–] เป็นคำนาม หมายถึง นก. (แผลงมาจาก สุโนก).สรุโนก [สฺรุ–] น. นก. (แผลงมาจาก สุโนก).
สรุป, สรูป สรุป เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา สรูป เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา [สะหฺรุบ, สะหฺรูบ] เป็นคำกริยา หมายถึง ย่อเอาเฉพาะใจความสำคัญของเรื่องเป็นประเด็น ๆ ไป เช่น สรุปข่าว สรุปสถานการณ์, โบราณใช้ว่า สรวป ก็มี. เป็นคำนาม หมายถึง ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง เช่น กล่าวโดยสรุป.สรุป, สรูป [สะหฺรุบ, สะหฺรูบ] ก. ย่อเอาเฉพาะใจความสำคัญของเรื่องเป็นประเด็น ๆ ไป เช่น สรุปข่าว สรุปสถานการณ์, โบราณใช้ว่า สรวป ก็มี. น. ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง เช่น กล่าวโดยสรุป.
สรุสระ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[สะหฺรุสะหฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขรุขระ, ไม่เรียบร้อย.สรุสระ [สะหฺรุสะหฺระ] ว. ขรุขระ, ไม่เรียบร้อย.
สโรชะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกบัว, บัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ว่า เกิดในสระ .สโรชะ น. ดอกบัว, บัว. (ส. ว่า เกิดในสระ).
สฤก เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-กอ-ไก่[สฺริก] เป็นคำนาม หมายถึง บัวขาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สฤก [สฺริก] น. บัวขาว. (ส.).
สฤคาล เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[สฺริคาน] เป็นคำนาม หมายถึง หมาจิ้งจอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สฤคาล [สฺริคาน] น. หมาจิ้งจอก. (ส.).
สฤต เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-ตอ-เต่า[สฺริด] เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านไป, พ้นไป, ล่วงไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สฤต [สฺริด] ก. ผ่านไป, พ้นไป, ล่วงไป. (ส.).
สฤษฎิ, สฤษฎี, สฤษฏ์ สฤษฎิ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อิ สฤษฎี เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี สฤษฏ์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด [สะหฺริดสะ–, สะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง การทํา, การสร้าง, ใช้ว่า สฤษดิ์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สฤษฎิ, สฤษฎี, สฤษฏ์ [สะหฺริดสะ–, สะหฺริด] น. การทํา, การสร้าง, ใช้ว่า สฤษดิ์ ก็มี. (ส.).
สฤษดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สฤษฏ์.สฤษดิ์ น. สฤษฏ์.
สลด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก[สะหฺลด] เป็นคำกริยา หมายถึง สังเวชใจ, รู้สึกรันทดใจ; เผือด, ถอดสี, เช่น หน้าสลด; เฉา, เหี่ยว, (ใช้แก่ใบไม้ดอกไม้ซึ่งขาดนํ้าเลี้ยงหรือถูกความร้อน) เช่น ต้นไม้ถูกความร้อนมาก ๆ ใบสลด.สลด [สะหฺลด] ก. สังเวชใจ, รู้สึกรันทดใจ; เผือด, ถอดสี, เช่น หน้าสลด; เฉา, เหี่ยว, (ใช้แก่ใบไม้ดอกไม้ซึ่งขาดนํ้าเลี้ยงหรือถูกความร้อน) เช่น ต้นไม้ถูกความร้อนมาก ๆ ใบสลด.
สลดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเศร้าใจแกมสังเวช, รู้สึกหดหู่ใจ, เช่น ข่าวแผ่นดินไหวคนตายเป็นหมื่น ๆ ฟังแล้วสลดใจ เห็นสุนัขถูกรถทับตาย รู้สึกสลดใจ.สลดใจ ก. รู้สึกเศร้าใจแกมสังเวช, รู้สึกหดหู่ใจ, เช่น ข่าวแผ่นดินไหวคนตายเป็นหมื่น ๆ ฟังแล้วสลดใจ เห็นสุนัขถูกรถทับตาย รู้สึกสลดใจ.
สลบ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺลบ] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หมดความรู้สึก เช่น ถูกตีหัวจนสลบ เป็นลมล้มสลบ.สลบ [สะหฺลบ] ก. อาการที่หมดความรู้สึก เช่น ถูกตีหัวจนสลบ เป็นลมล้มสลบ.
สลบแดด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ใบไม้ดอกไม้เหี่ยวหรือเฉาเมื่อถูกแดดหรือความร้อน.สลบแดด ก. อาการที่ใบไม้ดอกไม้เหี่ยวหรือเฉาเมื่อถูกแดดหรือความร้อน.
สลบไสล เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่แน่นิ่งไม่ไหวติง, อาการที่หลับใหลจนไม่รู้สึกตัว, เช่น อดนอนมาหลายวัน วันนี้เลยนอนสลบไสล.สลบไสล ก. อาการที่แน่นิ่งไม่ไหวติง, อาการที่หลับใหลจนไม่รู้สึกตัว, เช่น อดนอนมาหลายวัน วันนี้เลยนอนสลบไสล.
สลบเหมือด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สลบไสล.สลบเหมือด (ปาก) ก. สลบไสล.
สลวน เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-นอ-หนู[สนละวน] เป็นคำกริยา หมายถึง สาละวน.สลวน [สนละวน] ก. สาละวน.
สลวย เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก[สะหฺลวย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของเส้นผมที่ละเอียด อ่อนนุ่ม ทิ้งตัว และมีปลายช้อยงอนงาม เช่น ผมสลวยจัดทรงง่าย, ลักษณะชายผ้าที่ทิ้งตัวห้อยลง เช่น ผ้าม่านทิ้งชายห้อยสลวย.สลวย [สะหฺลวย] ว. ลักษณะของเส้นผมที่ละเอียด อ่อนนุ่ม ทิ้งตัว และมีปลายช้อยงอนงาม เช่น ผมสลวยจัดทรงง่าย, ลักษณะชายผ้าที่ทิ้งตัวห้อยลง เช่น ผ้าม่านทิ้งชายห้อยสลวย.
สลอด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก[สะหฺลอด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Croton tiglium L. ในวงศ์ Euphorbiaceae เมล็ดเป็นพิษ.สลอด [สะหฺลอด] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Croton tiglium L. ในวงศ์ Euphorbiaceae เมล็ดเป็นพิษ.
สลอน เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู[สะหฺลอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เห็นเด่นสะพรั่ง เช่น นั่งหน้าสลอน ยกมือสลอน.สลอน [สะหฺลอน] ว. เห็นเด่นสะพรั่ง เช่น นั่งหน้าสลอน ยกมือสลอน.
สลอย เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[สะหฺลอย] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม.สลอย [สะหฺลอย] (กลอน) ว. งาม.
สละ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะละ] เป็นคำนาม หมายถึง ขนเม่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สละ ๑ [สะละ] น. ขนเม่น. (ป.).
สละ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Salacca edulis Reinw. ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอคล้ายระกํา ผลสีคลํ้า ไม่มีหนาม เนื้อสีขาวหนาล่อน รสหวาน (เทียบ ม. salak); ชื่อระกําพันธุ์หนึ่ง ส่วนมากผลมีเมล็ดเดียว.สละ ๒ [สะหฺละ] น. ชื่อปาล์มชนิด Salacca edulis Reinw. ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอคล้ายระกํา ผลสีคลํ้า ไม่มีหนาม เนื้อสีขาวหนาล่อน รสหวาน (เทียบ ม. salak); ชื่อระกําพันธุ์หนึ่ง ส่วนมากผลมีเมล็ดเดียว.
สละ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides sancti—petri ในวงศ์ Carangidae ลําตัวแบนข้างและกว้างมาก มีจุดดําใหญ่อยู่บนเส้นข้างตัว ๕–๘ จุด ตาเล็กอยู่ค่อนไปทางด้านสันหัว ขนาดโตได้ถึง ๑.๕ เมตร.สละ ๓ [สะหฺละ] น. ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides sancti—petri ในวงศ์ Carangidae ลําตัวแบนข้างและกว้างมาก มีจุดดําใหญ่อยู่บนเส้นข้างตัว ๕–๘ จุด ตาเล็กอยู่ค่อนไปทางด้านสันหัว ขนาดโตได้ถึง ๑.๕ เมตร.
สละ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺละ] เป็นคำกริยา หมายถึง บริจาค เช่น สละทรัพย์ช่วยการกุศล, เสียสละ ก็ใช้; ผละออก เช่น กัปตันสละเรือ, ละทิ้ง เช่น สละบ้านเรือนออกบวช, ละวาง, ปล่อยวาง, (สิ่งที่ยังต้องการจะรักษาไว้กับตนอยู่เพื่อเห็นแก่ความสุขความสงบเรียบร้อย หรือเพื่อพลีบูชาเป็นต้น), เช่น สละกิเลส.สละ ๔ [สะหฺละ] ก. บริจาค เช่น สละทรัพย์ช่วยการกุศล, เสียสละ ก็ใช้; ผละออก เช่น กัปตันสละเรือ, ละทิ้ง เช่น สละบ้านเรือนออกบวช, ละวาง, ปล่อยวาง, (สิ่งที่ยังต้องการจะรักษาไว้กับตนอยู่เพื่อเห็นแก่ความสุขความสงบเรียบร้อย หรือเพื่อพลีบูชาเป็นต้น), เช่น สละกิเลส.
สละชีพเพื่อชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องประเทศชาติ.สละชีพเพื่อชาติ ก. ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องประเทศชาติ.
สละราชสมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง สละความเป็นพระมหากษัตริย์.สละราชสมบัติ ก. สละความเป็นพระมหากษัตริย์.
สละสลวย เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก[สะหฺละสะหฺลวย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่กล่าวหรือเรียบเรียงได้เนื้อถ้อยกระทงความ และมีสำนวนกลมกลืนไพเราะระรื่นหู (ใช้แก่ถ้อยคำสำนวน) เช่น บทความนี้มีสำนวนสละสลวย.สละสลวย [สะหฺละสะหฺลวย] ว. ที่กล่าวหรือเรียบเรียงได้เนื้อถ้อยกระทงความ และมีสำนวนกลมกลืนไพเราะระรื่นหู (ใช้แก่ถ้อยคำสำนวน) เช่น บทความนี้มีสำนวนสละสลวย.
สลัก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺลัก] เป็นคำกริยา หมายถึง สกัดกั้น เช่น สลักโจรไว้อย่าให้หนีไปได้. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกั้นหรือกลอนประตูหน้าต่างเป็นต้นแบบเรือนไทยที่ลงไว้เพื่อไม่ให้เลื่อนหรือผลักเข้าไปได้ เช่น ลงสลักประตู.สลัก ๑ [สะหฺลัก] ก. สกัดกั้น เช่น สลักโจรไว้อย่าให้หนีไปได้. น. เครื่องกั้นหรือกลอนประตูหน้าต่างเป็นต้นแบบเรือนไทยที่ลงไว้เพื่อไม่ให้เลื่อนหรือผลักเข้าไปได้ เช่น ลงสลักประตู.
สลักเกลียว เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แท่งโลหะที่หัวมีลักษณะกลมหรือเหลี่ยม ตอนปลายมีเกลียวสําหรับใส่ขันยึดกับนอต. ในวงเล็บ ดู นอต เขียนว่า นอ-หนู-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๒.สลักเกลียว น. แท่งโลหะที่หัวมีลักษณะกลมหรือเหลี่ยม ตอนปลายมีเกลียวสําหรับใส่ขันยึดกับนอต. (ดู นอต ๒).
สลักเพชร เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือเหล็กสําหรับสอดขัดกลอนประตูหน้าต่างแบบเรือนไทยเพื่อไม่ให้เคลื่อนที่; วิธีเข้าปากไม้แบบหนึ่ง บากปากไม้และเดือยเป็นรูปหางเหยี่ยว ใช้ลิ่มสอดเข้าไปที่หัวเดือยซึ่งบากไว้ เมื่อสอดเดือยเข้าไปในปากไม้แล้วตอกอัด ลิ่มจะดันให้ปลายเดือยขยายออกอัดแน่นกับปากไม้; กล้ามเนื้อที่เกาะอยู่ระหว่างขอบกระดูกเชิงกรานตรงตะโพกกับหัวกระดูกต้นขาทําให้ขากางออกได้.สลักเพชร น. ไม้หรือเหล็กสําหรับสอดขัดกลอนประตูหน้าต่างแบบเรือนไทยเพื่อไม่ให้เคลื่อนที่; วิธีเข้าปากไม้แบบหนึ่ง บากปากไม้และเดือยเป็นรูปหางเหยี่ยว ใช้ลิ่มสอดเข้าไปที่หัวเดือยซึ่งบากไว้ เมื่อสอดเดือยเข้าไปในปากไม้แล้วตอกอัด ลิ่มจะดันให้ปลายเดือยขยายออกอัดแน่นกับปากไม้; กล้ามเนื้อที่เกาะอยู่ระหว่างขอบกระดูกเชิงกรานตรงตะโพกกับหัวกระดูกต้นขาทําให้ขากางออกได้.
สลัก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺลัก] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีใช้สิ่วสกัด ตัด ตอก ดุน เป็นต้น เช่น สลักไม้ สลักลูกนิมิต หรือใช้สิ่งอื่นขูด ขีด ให้เป็นตัวหนังสือเป็นต้น เช่น สลักชื่อบนหีบบุหรี่. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู selak เขียนว่า เอส-อี-แอล-เอ-เค.สลัก ๒ [สะหฺลัก] ก. ทําให้เป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีใช้สิ่วสกัด ตัด ตอก ดุน เป็นต้น เช่น สลักไม้ สลักลูกนิมิต หรือใช้สิ่งอื่นขูด ขีด ให้เป็นตัวหนังสือเป็นต้น เช่น สลักชื่อบนหีบบุหรี่. (เทียบ ม. selak).
สลักเสลา เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–สะเหฺลา] เป็นคำกริยา หมายถึง สลักให้เป็นลวดลายเรียบร้อยสวยงาม เช่น เสียเวลานั่งสลักเสลาผักครึ่งวันกว่าจะได้ลงมือทำกับข้าว สลักเสลาเสาหินเป็นลายเทพนม.สลักเสลา [–สะเหฺลา] ก. สลักให้เป็นลวดลายเรียบร้อยสวยงาม เช่น เสียเวลานั่งสลักเสลาผักครึ่งวันกว่าจะได้ลงมือทำกับข้าว สลักเสลาเสาหินเป็นลายเทพนม.
สลักหลัง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนข้อความลงในด้านหลังตราสาร เพื่อโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอันเกิดแต่ตราสารนั้น เช่น สลักหลังตั๋วแลกเงิน; เขียนลงข้างหลังเอกสารเป็นต้น เช่น สลักหลังเช็ค สลักหลังรูปให้ไว้เป็นที่ระลึก.สลักหลัง (กฎ) ก. เขียนข้อความลงในด้านหลังตราสาร เพื่อโอนไปซึ่งบรรดาสิทธิอันเกิดแต่ตราสารนั้น เช่น สลักหลังตั๋วแลกเงิน; เขียนลงข้างหลังเอกสารเป็นต้น เช่น สลักหลังเช็ค สลักหลังรูปให้ไว้เป็นที่ระลึก.
สลักเต้ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท[สะหฺลัก–] เป็นคำนาม หมายถึง ใบชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺลึกแต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า.สลักเต้ [สะหฺลัก–] น. ใบชา. (ข. สฺลึกแต).
สลักสำคัญ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําคัญมาก, สําคัญยิ่ง, เช่น เรื่องนี้สลักสำคัญมาก ไม่เห็นสลักสำคัญอะไรเลย.สลักสำคัญ ว. สําคัญมาก, สําคัญยิ่ง, เช่น เรื่องนี้สลักสำคัญมาก ไม่เห็นสลักสำคัญอะไรเลย.
สลัด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลัด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยําชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด สลัดมีหลายชนิด เช่น สลัดผัก สลัดเนื้อสัน สลัดแขก.สลัด ๑ [สะหฺลัด] น. ชื่อยําชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก ประกอบด้วยผักสดหลายชนิด เช่น ผักกาดหอม หอมหัวใหญ่ มะเขือเทศ แตงกวา เป็นหลัก และอาจมีเนื้อสัตว์หรือไข่ด้วย ราดด้วยน้ำปรุงรสที่เรียกว่า น้ำสลัด สลัดมีหลายชนิด เช่น สลัดผัก สลัดเนื้อสัน สลัดแขก.
สลัดผลไม้ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยผลไม้หลายชนิด หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ราดด้วยน้ำเชื่อมหรือครีม หรือใช้โรยหน้าไอศกรีม.สลัดผลไม้ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยผลไม้หลายชนิด หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ราดด้วยน้ำเชื่อมหรือครีม หรือใช้โรยหน้าไอศกรีม.
สลัด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลัด] เป็นคำนาม หมายถึง โจรที่ปล้นเรือในทะเล เรียกว่า โจรสลัด. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู salat เขียนว่า เอส-เอ-แอล-เอ-ที ว่า ช่องแคบ .สลัด ๒ [สะหฺลัด] น. โจรที่ปล้นเรือในทะเล เรียกว่า โจรสลัด. (เทียบ ม. salat ว่า ช่องแคบ).
สลัดอากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง โจรที่จี้หรือปล้นเครื่องบินในอากาศ.สลัดอากาศ น. โจรที่จี้หรือปล้นเครื่องบินในอากาศ.
สลัด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ติดอยู่ให้หลุดไปโดยวิธีสะบัด ซัด หรือกระพือ เป็นต้น เช่น สลัดรองเท้าให้หลุดจากเท้า เม่นสลัดขน เขาสลัดมีดสั้นไปที่คู่ต่อสู้ ไก่สลัดขนปีก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สลัดรัก.สลัด ๓ [สะหฺลัด] ก. ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ติดอยู่ให้หลุดไปโดยวิธีสะบัด ซัด หรือกระพือ เป็นต้น เช่น สลัดรองเท้าให้หลุดจากเท้า เม่นสลัดขน เขาสลัดมีดสั้นไปที่คู่ต่อสู้ ไก่สลัดขนปีก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สลัดรัก.
สลัดได เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลัด–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Euphorbia วงศ์ Euphorbiaceae ต้นเป็นเหลี่ยม มีหนาม ไม่มีใบ เช่น ชนิด E. lacei Craib, สลัดไดป่า (E. antiquorum L.) ส่วนที่ใช้ทํายาได้เรียก กระลําพัก.สลัดได ๑ [สะหฺลัด–] น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Euphorbia วงศ์ Euphorbiaceae ต้นเป็นเหลี่ยม มีหนาม ไม่มีใบ เช่น ชนิด E. lacei Craib, สลัดไดป่า (E. antiquorum L.) ส่วนที่ใช้ทํายาได้เรียก กระลําพัก.
สลัดได เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลัด–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับยอดปรางค์ ทําเป็นรูปหอก มีกิ่งเป็นรูปดาบแตกสาขาออกไป ๔ ทิศ, แง่งขิง นพศูล นภศูล ฝักเพกา หรือ ลําภุขัน ก็เรียก.สลัดได ๒ [สะหฺลัด–] น. เครื่องประดับยอดปรางค์ ทําเป็นรูปหอก มีกิ่งเป็นรูปดาบแตกสาขาออกไป ๔ ทิศ, แง่งขิง นพศูล นภศูล ฝักเพกา หรือ ลําภุขัน ก็เรียก.
สลับ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺลับ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คั่นเป็นลําดับ เช่น เขียวสลับแดง ผู้หญิงผู้ชายนั่งสลับกัน สร้อยทับทิมสลับเพชร; สับเปลี่ยน เช่น สลับคู่.สลับ [สะหฺลับ] ว. คั่นเป็นลําดับ เช่น เขียวสลับแดง ผู้หญิงผู้ชายนั่งสลับกัน สร้อยทับทิมสลับเพชร; สับเปลี่ยน เช่น สลับคู่.
สลับฉาก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการแสดงสั้น ๆ ที่คั่นระหว่างการแสดงละครแต่ละฉากเพื่อให้มีเวลาสําหรับเปลี่ยนฉากละครว่า การแสดงสลับฉาก.สลับฉาก น. เรียกการแสดงสั้น ๆ ที่คั่นระหว่างการแสดงละครแต่ละฉากเพื่อให้มีเวลาสําหรับเปลี่ยนฉากละครว่า การแสดงสลับฉาก.
สลับฟันปลา เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สับหว่างสลับเยื้องกันอย่างฟันปลา เช่น นั่งสลับฟันปลา ยืนสลับฟันปลา.สลับฟันปลา ว. สับหว่างสลับเยื้องกันอย่างฟันปลา เช่น นั่งสลับฟันปลา ยืนสลับฟันปลา.
สลับเรือน เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ดาวพระเคราะห์สับเปลี่ยนเรือนเกษตรกันในดวงชะตาบุคคล เช่นเจ้าเรือนเกษตรพุธราศีกันย์มาครองเรือนเกษตรศุกร์ราศีตุลย์ และเจ้าเรือนเกษตรศุกร์ราศีตุลย์ไปครองเรือนเกษตรพุธราศีกันย์.สลับเรือน (โหร) ก. อาการที่ดาวพระเคราะห์สับเปลี่ยนเรือนเกษตรกันในดวงชะตาบุคคล เช่นเจ้าเรือนเกษตรพุธราศีกันย์มาครองเรือนเกษตรศุกร์ราศีตุลย์ และเจ้าเรือนเกษตรศุกร์ราศีตุลย์ไปครองเรือนเกษตรพุธราศีกันย์.
สลับสล้าง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู[สะหฺลับสะล่าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกลักษณะต้นไม้ที่ขึ้นเป็นดง มองจากที่สูงแลเห็นยอดสูง ๆ ต่ำ ๆ เช่น ขึ้นไปบนยอดเขา เห็นต้นไม้ขึ้นสลับสล้างเต็มไปหมด.สลับสล้าง [สะหฺลับสะล่าง] ว. เรียกลักษณะต้นไม้ที่ขึ้นเป็นดง มองจากที่สูงแลเห็นยอดสูง ๆ ต่ำ ๆ เช่น ขึ้นไปบนยอดเขา เห็นต้นไม้ขึ้นสลับสล้างเต็มไปหมด.
สลัว, สลัว ๆ สลัว เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน สลัว ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก [สะหฺลัว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, เช่น ในห้องมีแสงสลัวมองเห็นได้ราง ๆ ใกล้ค่ำมีแสงสลัว ๆ.สลัว, สลัว ๆ [สะหฺลัว] ว. ไม่แจ่ม, ไม่กระจ่าง, เช่น ในห้องมีแสงสลัวมองเห็นได้ราง ๆ ใกล้ค่ำมีแสงสลัว ๆ.
สลา เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[สะหฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง หมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สลา [สะหฺลา] น. หมาก. (ข.).
สลาเหิน เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่ถือกันว่าเมื่อเสกแล้วเป็นตัวแมลงภู่ ทําให้ผู้กินแล้วลุ่มหลงรัก.สลาเหิน น. หมากที่ถือกันว่าเมื่อเสกแล้วเป็นตัวแมลงภู่ ทําให้ผู้กินแล้วลุ่มหลงรัก.
สลาก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺลาก] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งเช่นติ้ว ตั๋ว หรือแผ่นกระดาษเล็ก ๆ เป็นต้น ซึ่งทําเป็นเครื่องหมายกําหนดไว้เนื่องในการเสี่ยงโชคเสี่ยงทายเป็นต้น เช่น สลากภัต; ป้ายบอกชื่อยา ใช้ปิดขวดยารักษาโรค เรียกว่า สลากยา, ฉลาก ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศลาก เขียนว่า สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่.สลาก ๑ [สะหฺลาก] น. สิ่งเช่นติ้ว ตั๋ว หรือแผ่นกระดาษเล็ก ๆ เป็นต้น ซึ่งทําเป็นเครื่องหมายกําหนดไว้เนื่องในการเสี่ยงโชคเสี่ยงทายเป็นต้น เช่น สลากภัต; ป้ายบอกชื่อยา ใช้ปิดขวดยารักษาโรค เรียกว่า สลากยา, ฉลาก ก็ว่า. (ป.; ส. ศลาก).
สลากกินแบ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สลากที่จัดให้มีขึ้นเพื่อขายให้แก่ผู้เล่นเป็นการเสี่ยงโชค โดยมีการให้รางวัลที่แบ่งเป็นหลายรางวัลแก่ผู้เล่นซึ่งถือสลากเลขหมายรางวัลที่ออกตามวิธีการที่กำหนด, ลอตเตอรี่ หวย หรือ หวยเบอร์ ก็เรียก.สลากกินแบ่ง น. สลากที่จัดให้มีขึ้นเพื่อขายให้แก่ผู้เล่นเป็นการเสี่ยงโชค โดยมีการให้รางวัลที่แบ่งเป็นหลายรางวัลแก่ผู้เล่นซึ่งถือสลากเลขหมายรางวัลที่ออกตามวิธีการที่กำหนด, ลอตเตอรี่ หวย หรือ หวยเบอร์ ก็เรียก.
สลากกินรวบ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สลากชนิดที่จําหน่ายแก่ผู้ถือเพื่อรับสิ่งของเป็นรางวัลในการเสี่ยงโชคโดยผู้จําหน่ายรวบเงินค่าสลากไว้ทั้งหมด.สลากกินรวบ น. สลากชนิดที่จําหน่ายแก่ผู้ถือเพื่อรับสิ่งของเป็นรางวัลในการเสี่ยงโชคโดยผู้จําหน่ายรวบเงินค่าสลากไว้ทั้งหมด.
สลากภัต เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า[สะหฺลากกะพัด] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารแห้งหรือผลไม้ถวายพระโดยวิธีจับฉลาก เช่น สลากภัตข้าวสาร สลากภัตทุเรียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สลากภตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สลากภัต [สะหฺลากกะพัด] น. อาหารแห้งหรือผลไม้ถวายพระโดยวิธีจับฉลาก เช่น สลากภัตข้าวสาร สลากภัตทุเรียน. (ป. สลากภตฺต).
สลาก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺลาก]ดู กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.สลาก ๒ [สะหฺลาก] ดู กระดี่ ๑.
สลาง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.สลาง ดู กระดี่ ๑.
สล้าง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู[สะล่าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ตั้งอยู่สูงเด่นเป็นหมู่เป็นพวก เช่น ต้นสักสูงสล้าง.สล้าง [สะล่าง] ว. ที่ตั้งอยู่สูงเด่นเป็นหมู่เป็นพวก เช่น ต้นสักสูงสล้าง.
สลาด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[สะหฺลาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Notopterus notopterus ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย หัวและลําตัวแบนข้างมาก ท้องเป็นสันคม ปากตํ่า สันหัวแอ่นลงเล็กน้อย ครีบหลังเด่นแต่มีขนาดเล็กเท่า ๆ กันกับครีบอก ครีบท้องเล็ก ครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหางซึ่งเล็กและมีขอบกลม พื้นลําตัวสีขาว หลังเทา ไม่มีจุดสีเด่นหรือลวดลายสีเข้มใด ๆ ขนาดยาวเพียง ๓๕ เซนติเมตร, ฉลาด หรือ ตอง ก็เรียก.สลาด [สะหฺลาด] น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Notopterus notopterus ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย หัวและลําตัวแบนข้างมาก ท้องเป็นสันคม ปากตํ่า สันหัวแอ่นลงเล็กน้อย ครีบหลังเด่นแต่มีขนาดเล็กเท่า ๆ กันกับครีบอก ครีบท้องเล็ก ครีบก้นยาวต่อเนื่องกับครีบหางซึ่งเล็กและมีขอบกลม พื้นลําตัวสีขาว หลังเทา ไม่มีจุดสีเด่นหรือลวดลายสีเข้มใด ๆ ขนาดยาวเพียง ๓๕ เซนติเมตร, ฉลาด หรือ ตอง ก็เรียก.
สลาตัน เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สะหฺลา–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในปลายฤดูฝนว่า ลมสลาตัน, เรียกลมพายุที่มีกําลังแรงจัดทุกชนิด เช่น ไต้ฝุ่น ไซโคลน ว่า ลมสลาตัน, โดยปริยายใช้เป็นความเปรียบเทียบหมายถึงอาการที่ไป มา หรือเกิดขึ้นรวดเร็วอย่างลมสลาตัน เช่น เวลาเขาโกรธอย่างกับลมสลาตัน. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู selatan เขียนว่า เอส-อี-แอล-เอ-ที-เอ-เอ็น ว่า ลมใต้ .สลาตัน [สะหฺลา–] น. เรียกลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในปลายฤดูฝนว่า ลมสลาตัน, เรียกลมพายุที่มีกําลังแรงจัดทุกชนิด เช่น ไต้ฝุ่น ไซโคลน ว่า ลมสลาตัน, โดยปริยายใช้เป็นความเปรียบเทียบหมายถึงอาการที่ไป มา หรือเกิดขึ้นรวดเร็วอย่างลมสลาตัน เช่น เวลาเขาโกรธอย่างกับลมสลาตัน. (เทียบ ม. selatan ว่า ลมใต้).
สลาบ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺลาบ] เป็นคำนาม หมายถึง ปีกของนก; ขน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สลาบ [สะหฺลาบ] น. ปีกของนก; ขน. (ข.).
สลาย เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สะหฺลาย] เป็นคำกริยา หมายถึง สูญสิ้นไป เช่น ฝันสลาย เมื่อพระอาทิตย์ขึ้น หมอกก็สลายไป, ทำให้สูญสิ้นไป เช่น ใช้ยาสมุนไพรสลายพิษงู, ฉลาย ก็ว่า.สลาย [สะหฺลาย] ก. สูญสิ้นไป เช่น ฝันสลาย เมื่อพระอาทิตย์ขึ้น หมอกก็สลายไป, ทำให้สูญสิ้นไป เช่น ใช้ยาสมุนไพรสลายพิษงู, ฉลาย ก็ว่า.
สลายตัว เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนสภาพ เช่น ยาบางชนิดสลายตัวในน้ำ; อาการที่ฝูงชนซึ่งรวมตัวกันเพื่อประท้วงเป็นต้นแล้วต่อมาได้แยกย้ายกันไป เช่น กลุ่มชนที่มาประท้วงได้สลายตัวไปหมดแล้ว.สลายตัว ก. เปลี่ยนสภาพ เช่น ยาบางชนิดสลายตัวในน้ำ; อาการที่ฝูงชนซึ่งรวมตัวกันเพื่อประท้วงเป็นต้นแล้วต่อมาได้แยกย้ายกันไป เช่น กลุ่มชนที่มาประท้วงได้สลายตัวไปหมดแล้ว.
สลิด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลิด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Telosma minor Craib ในวงศ์ Asclepiadaceae ใบมนป้อม ผลเรียวยาว ดอกสีเขียวอมเหลือง กลิ่นหอม กินได้, ขจร ก็เรียก.สลิด ๑ [สะหฺลิด] น. ชื่อไม้เถาชนิด Telosma minor Craib ในวงศ์ Asclepiadaceae ใบมนป้อม ผลเรียวยาว ดอกสีเขียวอมเหลือง กลิ่นหอม กินได้, ขจร ก็เรียก.
สลิด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [สะหฺลิด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Trichogaster pectoralis ในวงศ์ Anabantidae รูปร่างคล้ายปลากระดี่ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน มีเกล็ดเล็กและไม่มีจุดดําข้างตัว แต่มีลายสีคลํ้าหลายแนวพาดเฉียงตลอดข้างลําตัว และมีขนาดโตกว่าถึง ๒๐ เซนติเมตร พบตามแหล่งนํ้านิ่ง เช่น หนอง คลองบึงทั่วไป ทํารังเป็นหวอดที่ผิวนํ้า, ราชาศัพท์เรียกว่า ปลาใบไม้.สลิด ๒ [สะหฺลิด] น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Trichogaster pectoralis ในวงศ์ Anabantidae รูปร่างคล้ายปลากระดี่ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน มีเกล็ดเล็กและไม่มีจุดดําข้างตัว แต่มีลายสีคลํ้าหลายแนวพาดเฉียงตลอดข้างลําตัว และมีขนาดโตกว่าถึง ๒๐ เซนติเมตร พบตามแหล่งนํ้านิ่ง เช่น หนอง คลองบึงทั่วไป ทํารังเป็นหวอดที่ผิวนํ้า, ราชาศัพท์เรียกว่า ปลาใบไม้.
สลิล เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง[สะลิน] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สลิล [สะลิน] น. นํ้า. (ป., ส.).
สลึก เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่[สะหฺลึก] เป็นคำนาม หมายถึง ใบไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สลึก [สะหฺลึก] น. ใบไม้. (ข.).
สลึง เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[สะหฺลึง] เป็นคำนาม หมายถึง มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๕ สตางค์ เท่ากับ ๑ สลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (รูปภาพ) หมายความว่า ๒ สลึง; ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๑ ใน ๔ บาท หรือ ๓.๗๕ กรัม.สลึง [สะหฺลึง] น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๕ สตางค์ เท่ากับ ๑ สลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (รูปภาพ) หมายความว่า ๒ สลึง; ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๑ ใน ๔ บาท หรือ ๓.๗๕ กรัม.
สลุต เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า[สะหฺลุด] เป็นคำกริยา หมายถึง คํานับ เช่น ยิงสลุต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ salute เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ยู-ที-อี.สลุต [สะหฺลุด] ก. คํานับ เช่น ยิงสลุต. (อ. salute).
สลุบ เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺลุบ] เป็นคำนาม หมายถึง เรือใบเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบชาวตะวันตก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sloop เขียนว่า เอส-แอล-โอ-โอ-พี.สลุบ [สะหฺลุบ] น. เรือใบเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบชาวตะวันตก. (อ. sloop).
สลุมพร เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[สะหฺลุมพอน] เป็นคำนาม หมายถึง ปลาเนื้ออ่อน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.สลุมพร [สะหฺลุมพอน] น. ปลาเนื้ออ่อน. (พจน. ๒๔๙๓).
สแลง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําหรือสํานวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ slang เขียนว่า เอส-แอล-เอ-เอ็น-จี.สแลง น. ถ้อยคําหรือสํานวนที่ใช้เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง ไม่ใช่ภาษาที่ยอมรับกันว่าถูกต้อง. (อ. slang).
สว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน[สะวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ของตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สก เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่.สว– [สะวะ–] น. ของตนเอง. (ส.; ป. สก).
สวกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง งานส่วนตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวกรฺมนฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ.สวกรรม น. งานส่วนตัว. (ส. สฺวกรฺมนฺ).
สวการย์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หน้าที่หรือธุระของตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวการฺย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สวการย์ น. หน้าที่หรือธุระของตนเอง. (ส. สฺวการฺย).
สวภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง สภาพ, ความเป็นอยู่ของตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวภาว เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.สวภาพ น. สภาพ, ความเป็นอยู่ของตนเอง. (ส. สฺวภาว).
สวราชย์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเอกราช; การปกครองด้วยตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวราชฺย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.สวราชย์ น. ความเป็นเอกราช; การปกครองด้วยตนเอง. (ส. สฺวราชฺย).
สวก เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเนื้อไม่แน่นและไม่ซุย (ใช้แก่ลักษณะหัวเผือกหัวมันและผลไม้บางชนิด).สวก ๑ ว. มีเนื้อไม่แน่นและไม่ซุย (ใช้แก่ลักษณะหัวเผือกหัวมันและผลไม้บางชนิด).
สวก เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺวก] เป็นคำนาม หมายถึง สวิงขนาดเล็กชนิดหนึ่งสําหรับตักปลา.สวก ๒ [สะหฺวก] น. สวิงขนาดเล็กชนิดหนึ่งสําหรับตักปลา.
ส้วง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ช่อง, โพรง, (โดยมากมักใช้แก่ทวารหนัก).ส้วง น. ช่อง, โพรง, (โดยมากมักใช้แก่ทวารหนัก).
สวด เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าเป็นทํานองอย่างพระสวดมนต์ เช่น สวดสังคหะ สวดพระอภิธรรม; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง นินทาว่าร้าย, ดุด่า, ว่ากล่าว, เช่น ถูกแม่สวด.สวด ก. ว่าเป็นทํานองอย่างพระสวดมนต์ เช่น สวดสังคหะ สวดพระอภิธรรม; (ปาก) นินทาว่าร้าย, ดุด่า, ว่ากล่าว, เช่น ถูกแม่สวด.
สวน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกต้นไม้เป็นจํานวนมาก เช่น สวนทุเรียน สวนยาง สวนกุหลาบ สวนผัก, โดยปริยายหมายถึงสถานที่ซึ่งมีลักษณะเช่นนั้นในบางกรณี เช่น สวนสัตว์ สวนงู.สวน ๑ น. บริเวณที่ปลูกต้นไม้เป็นจํานวนมาก เช่น สวนทุเรียน สวนยาง สวนกุหลาบ สวนผัก, โดยปริยายหมายถึงสถานที่ซึ่งมีลักษณะเช่นนั้นในบางกรณี เช่น สวนสัตว์ สวนงู.
สวนครัว เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกพืชผักที่ใช้เป็นอาหารในครัวเรือน เช่น พริก มะเขือ ข่า ตะไคร้ โหระพา.สวนครัว น. บริเวณที่ปลูกพืชผักที่ใช้เป็นอาหารในครัวเรือน เช่น พริก มะเขือ ข่า ตะไคร้ โหระพา.
สวนญี่ปุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สวนที่จัดตามแบบญี่ปุ่น มีสิ่งประดับที่สำคัญคือ ไม้ดอก ไม้ใบ สะพาน โคม เป็นต้น.สวนญี่ปุ่น น. สวนที่จัดตามแบบญี่ปุ่น มีสิ่งประดับที่สำคัญคือ ไม้ดอก ไม้ใบ สะพาน โคม เป็นต้น.
สวนป่า เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกพรรณไม้ทดแทนป่าที่ถูกทำลาย มักเป็นไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ อาจปลูกไม้ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ เพื่อใช้ไม้ทำเครื่องเรือน เยื่อกระดาษ หรืออนุรักษ์พรรณไม้ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เป็นต้น เช่น สวนป่าสัก สวนป่าไม้ยาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ forest เขียนว่า เอฟ-โอ-อา-อี-เอส-ที garden เขียนว่า จี-เอ-อา-ดี-อี-เอ็น ; สวนไม้ใบที่ปลูกไว้ในบริเวณบ้าน มักเป็นพรรณไม้ที่มีค่า เช่น เฟิน ว่าน.สวนป่า น. บริเวณที่ปลูกพรรณไม้ทดแทนป่าที่ถูกทำลาย มักเป็นไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ อาจปลูกไม้ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ เพื่อใช้ไม้ทำเครื่องเรือน เยื่อกระดาษ หรืออนุรักษ์พรรณไม้ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ เป็นต้น เช่น สวนป่าสัก สวนป่าไม้ยาง. (อ. forest garden); สวนไม้ใบที่ปลูกไว้ในบริเวณบ้าน มักเป็นพรรณไม้ที่มีค่า เช่น เฟิน ว่าน.
สวนพฤกษศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกพรรณไม้มากชนิดทั้งในและต่างประเทศ รวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาและพักผ่อนหย่อนใจเป็นต้น เช่น สวนพฤกษศาสตร์ที่พุแค จังหวัดสระบุรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ botanic เขียนว่า บี-โอ-ที-เอ-เอ็น-ไอ-ซี garden เขียนว่า จี-เอ-อา-ดี-อี-เอ็น botanical เขียนว่า บี-โอ-ที-เอ-เอ็น-ไอ-ซี-เอ-แอล garden เขียนว่า จี-เอ-อา-ดี-อี-เอ็น .สวนพฤกษศาสตร์ น. บริเวณที่ปลูกพรรณไม้มากชนิดทั้งในและต่างประเทศ รวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อประโยชน์แก่การศึกษาและพักผ่อนหย่อนใจเป็นต้น เช่น สวนพฤกษศาสตร์ที่พุแค จังหวัดสระบุรี. (อ. botanic garden, botanical garden).
สวนรุกขชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกพรรณไม้นานาชนิด โดยเฉพาะไม้ยืนต้นที่มีค่าทางเศรษฐกิจและไม้ดอกซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่น มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เช่น สวนรุกขชาติที่ห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ arboretum เขียนว่า เอ-อา-บี-โอ-อา-อี-ที-ยู-เอ็ม.สวนรุกขชาติ น. บริเวณที่ปลูกพรรณไม้นานาชนิด โดยเฉพาะไม้ยืนต้นที่มีค่าทางเศรษฐกิจและไม้ดอกซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่น มักเขียนป้ายบอกชื่อสามัญและชื่อวิทยาศาสตร์ไว้ด้วย เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ เช่น สวนรุกขชาติที่ห้วยแก้ว จังหวัดเชียงใหม่. (อ. arboretum).
สวนสนุก เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่รวบรวมบรรดาสิ่งที่ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินไว้บริการประชาชน.สวนสนุก น. สถานที่ที่รวบรวมบรรดาสิ่งที่ทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินไว้บริการประชาชน.
สวนสมุนไพร เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ปลูกพืชที่ใช้เป็นสมุนไพร.สวนสมุนไพร น. บริเวณที่ปลูกพืชที่ใช้เป็นสมุนไพร.
สวนหย่อม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สวนไม้ประดับขนาดเล็ก จัดในเนื้อที่จำกัด.สวนหย่อม น. สวนไม้ประดับขนาดเล็ก จัดในเนื้อที่จำกัด.
สวน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปตรงข้ามในเส้นทางเดียวกัน เช่น เดินสวนกัน มีรถสวนมา; เทียบสอบขนาดหรือปริมาณเครื่องตวง เช่น สวนสัด สวนทะนาน; เอาสายสวนใส่ทางช่องปัสสาวะให้เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะเพื่อให้ปัสสาวะออก, เอาลูกสวนใส่ทวารหนักแล้วบีบนํ้ายาหรือนํ้าสบู่ให้เข้าไปในลําไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้ลําไส้ใหญ่บีบตัวให้อุจจาระออก.สวน ๒ ก. อาการที่เคลื่อนไปตรงข้ามในเส้นทางเดียวกัน เช่น เดินสวนกัน มีรถสวนมา; เทียบสอบขนาดหรือปริมาณเครื่องตวง เช่น สวนสัด สวนทะนาน; เอาสายสวนใส่ทางช่องปัสสาวะให้เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะเพื่อให้ปัสสาวะออก, เอาลูกสวนใส่ทวารหนักแล้วบีบนํ้ายาหรือนํ้าสบู่ให้เข้าไปในลําไส้ใหญ่เพื่อกระตุ้นให้ลําไส้ใหญ่บีบตัวให้อุจจาระออก.
สวนควัน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ย้อนตอบทันที เช่น พูดสวนควัน ยิงสวนควัน เตะสวนควัน.สวนควัน ว. อาการที่ย้อนตอบทันที เช่น พูดสวนควัน ยิงสวนควัน เตะสวนควัน.
สวนความ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเปรียบเทียบข้อความ.สวนความ ก. สอบเปรียบเทียบข้อความ.
สวนคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดย้อนตอบทันที เช่น พอเขาว่ามา ฉันก็ว่าสวนคำไป.สวนคำ ว. อาการที่พูดย้อนตอบทันที เช่น พอเขาว่ามา ฉันก็ว่าสวนคำไป.
สวนแทง เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แทงตอบทันที.สวนแทง ก. แทงตอบทันที.
สวนปากสวนคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง สอบปากคํายันกันดู.สวนปากสวนคำ ก. สอบปากคํายันกันดู.
สวนสนาม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง พิธีชุมนุมพลกองทหารที่ลานกว้างเพื่อแสดงความสง่าผ่าเผย ความพร้อมเพรียง และอานุภาพของเครื่องอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้เป็นเกียรติแก่ผู้เป็นประธานในพิธีซึ่งจะได้ตรวจดูแถวทหารที่ตั้งอยู่ คือ ตรวจพลและดูการเดินแถวของทหารเหล่านั้น.สวนสนาม น. พิธีชุมนุมพลกองทหารที่ลานกว้างเพื่อแสดงความสง่าผ่าเผย ความพร้อมเพรียง และอานุภาพของเครื่องอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้เป็นเกียรติแก่ผู้เป็นประธานในพิธีซึ่งจะได้ตรวจดูแถวทหารที่ตั้งอยู่ คือ ตรวจพลและดูการเดินแถวของทหารเหล่านั้น.
สวน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บแบบด้วยดอกไม้หรือใบไม้ให้เป็นแถบยาว เพื่อใช้ตกแต่งประดับโครงประทุนคลุมผ้าไตรเป็นต้น, เซ็น ก็ว่า.สวน ๓ ก. เย็บแบบด้วยดอกไม้หรือใบไม้ให้เป็นแถบยาว เพื่อใช้ตกแต่งประดับโครงประทุนคลุมผ้าไตรเป็นต้น, เซ็น ก็ว่า.
สวน– ๔, สวนะ สวน– ความหมายที่ ๔ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู สวนะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [สะวะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรวณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-เนน.สวน– ๔, สวนะ ๑ [สะวะนะ–] น. การฟัง. (ป.; ส. ศฺรวณ).
สวนาการ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง อาการฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สวนาการ น. อาการฟัง. (ป.).
ส่วน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่แบ่งจากสิ่งรวม เช่น เงินส่วนนี้จะเอาไว้ทําบุญ; การเข้าร่วม เช่น เรื่องนี้ขอมีส่วนด้วย; แผนกย่อย, ฝ่าย, เช่น งานกองนี้แบ่งออกเป็นหลายส่วน, ตอน, ท่อน, เช่น เรื่องนี้แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน; ขนาดที่พอเหมาะพอดี เช่น ได้ส่วน สมส่วน ผิดส่วน; ด้าน เช่น ส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนา; จำนวนที่อยู่ข้างล่างของเศษในเลขเศษส่วน. เป็นคำสันธาน หมายถึง ฝ่าย, ข้าง, เช่น พอสอบเสร็จเพื่อน ๆ ก็ไปเที่ยวภูเก็ต ส่วนฉันไปเชียงใหม่.ส่วน น. สิ่งที่แบ่งจากสิ่งรวม เช่น เงินส่วนนี้จะเอาไว้ทําบุญ; การเข้าร่วม เช่น เรื่องนี้ขอมีส่วนด้วย; แผนกย่อย, ฝ่าย, เช่น งานกองนี้แบ่งออกเป็นหลายส่วน, ตอน, ท่อน, เช่น เรื่องนี้แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน; ขนาดที่พอเหมาะพอดี เช่น ได้ส่วน สมส่วน ผิดส่วน; ด้าน เช่น ส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนา; จำนวนที่อยู่ข้างล่างของเศษในเลขเศษส่วน. สัน. ฝ่าย, ข้าง, เช่น พอสอบเสร็จเพื่อน ๆ ก็ไปเที่ยวภูเก็ต ส่วนฉันไปเชียงใหม่.
ส่วนกลาง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนเมืองหลวง, ศูนย์กลาง.ส่วนกลาง น. ส่วนเมืองหลวง, ศูนย์กลาง.
ส่วนเกิน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่นอกเหนือไปจากที่กำหนด เช่น ได้รับบัตรเชิญไปงาน ๒ คน แต่ไป ๓ คน คนที่ ๓ เป็นส่วนเกิน.ส่วนเกิน น. ส่วนที่นอกเหนือไปจากที่กำหนด เช่น ได้รับบัตรเชิญไปงาน ๒ คน แต่ไป ๓ คน คนที่ ๓ เป็นส่วนเกิน.
ส่วนควบ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของทรัพย์ซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นสาระสำคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น และไม่อาจแยกจากกันได้นอกจากจะทำลาย ทำให้บุบสลายหรือทำให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป.ส่วนควบ (กฎ) น. ส่วนของทรัพย์ซึ่งโดยสภาพแห่งทรัพย์หรือโดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นเป็นสาระสำคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น และไม่อาจแยกจากกันได้นอกจากจะทำลาย ทำให้บุบสลายหรือทำให้ทรัพย์นั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป.
ส่วนได้ส่วนเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ที่ควรได้ควรเสียซึ่งมีอยู่ในส่วนรวม, การได้การเสียร่วมกับคนอื่น, เช่น เขาไม่สนใจงานนี้เพราะไม่มีส่วนได้ส่วนเสียด้วย.ส่วนได้ส่วนเสีย น. ประโยชน์ที่ควรได้ควรเสียซึ่งมีอยู่ในส่วนรวม, การได้การเสียร่วมกับคนอื่น, เช่น เขาไม่สนใจงานนี้เพราะไม่มีส่วนได้ส่วนเสียด้วย.
ส่วนตัว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น เรื่องส่วนตัว ของใช้ส่วนตัว.ส่วนตัว ว. เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น เรื่องส่วนตัว ของใช้ส่วนตัว.
ส่วนท้องถิ่น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เขตเทศบาล.ส่วนท้องถิ่น น. เขตเทศบาล.
ส่วนบุญ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่เป็นบุญกุศล เช่น แผ่ส่วนบุญ เปรตขอส่วนบุญ.ส่วนบุญ น. ส่วนที่เป็นบุญกุศล เช่น แผ่ส่วนบุญ เปรตขอส่วนบุญ.
ส่วนแบ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนย่อยที่แยกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาได้ส่วนแบ่งมรดก ๓ ใน ๑๐ ส่วน.ส่วนแบ่ง น. ส่วนย่อยที่แยกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาได้ส่วนแบ่งมรดก ๓ ใน ๑๐ ส่วน.
ส่วนประกอบ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบเป็นสิ่งใหญ่, ส่วนของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นเครื่องประกอบทําให้เกิดเป็นรูปขึ้นใหม่โดยเฉพาะ, องค์ประกอบ ก็เรียก.ส่วนประกอบ น. สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบเป็นสิ่งใหญ่, ส่วนของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นเครื่องประกอบทําให้เกิดเป็นรูปขึ้นใหม่โดยเฉพาะ, องค์ประกอบ ก็เรียก.
ส่วนผสม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ผสมกันให้เกิดเป็นสิ่งรวม เช่น ส่วนผสมของอาหาร ส่วนผสมของยา ส่วนผสมของปูนซีเมนต์.ส่วนผสม น. สิ่งต่าง ๆ ที่ผสมกันให้เกิดเป็นสิ่งรวม เช่น ส่วนผสมของอาหาร ส่วนผสมของยา ส่วนผสมของปูนซีเมนต์.
ส่วนพระองค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ส่วนตัว (ใช้แก่เจ้านายตั้งแต่พระองค์เจ้าขึ้นไป) เช่น หนังสือส่วนพระองค์.ส่วนพระองค์ (ราชา) ว. ส่วนตัว (ใช้แก่เจ้านายตั้งแต่พระองค์เจ้าขึ้นไป) เช่น หนังสือส่วนพระองค์.
ส่วนภูมิภาค เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหัวเมือง.ส่วนภูมิภาค น. ส่วนหัวเมือง.
ส่วนรวม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หมู่คณะ เช่น เห็นแก่ส่วนรวม ทำเพื่อส่วนรวม, ส่วนที่ใช้ร่วมกัน เช่น ห้องน้ำส่วนรวม ของใช้ส่วนรวม.ส่วนรวม น. หมู่คณะ เช่น เห็นแก่ส่วนรวม ทำเพื่อส่วนรวม, ส่วนที่ใช้ร่วมกัน เช่น ห้องน้ำส่วนรวม ของใช้ส่วนรวม.
ส่วนร่วม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น มีส่วนร่วมในการบำเพ็ญกุศล มีส่วนร่วมในการทุจริต มีส่วนร่วมในการลงทุนบริษัท.ส่วนร่วม น. ส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น เช่น มีส่วนร่วมในการบำเพ็ญกุศล มีส่วนร่วมในการทุจริต มีส่วนร่วมในการลงทุนบริษัท.
ส่วนลด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่หักจากจํานวนเงินที่เก็บมาได้ หรือจากจํานวนที่ซื้อหรือที่ใช้ตามส่วนที่กําหนดไว้.ส่วนลด น. ส่วนที่หักจากจํานวนเงินที่เก็บมาได้ หรือจากจํานวนที่ซื้อหรือที่ใช้ตามส่วนที่กําหนดไว้.
ส่วนสัด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ขนาดที่พอเหมาะพอดีตามเกณฑ์ที่กําหนดหรือที่นิยม เช่น ผู้หญิงคนนี้มีรูปร่างได้ส่วนสัด; (ศิลปะ) ส่วนที่กําหนดขึ้นให้มีความสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดความพอดี.ส่วนสัด น. ขนาดที่พอเหมาะพอดีตามเกณฑ์ที่กําหนดหรือที่นิยม เช่น ผู้หญิงคนนี้มีรูปร่างได้ส่วนสัด; (ศิลปะ) ส่วนที่กําหนดขึ้นให้มีความสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดความพอดี.
ส่วนหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเขตที่มีการรบว่า พื้นที่ส่วนหน้า, เรียกส่วนราชการที่แยกออกไปเพื่ออํานวยความสะดวกในการควบคุมบังคับบัญชาในการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานพิเศษ เช่น เรียกกองบัญชาการทหารสูงสุดว่า กองบัญชาการทหารสูงสุดส่วนหน้า.ส่วนหน้า น. เรียกเขตที่มีการรบว่า พื้นที่ส่วนหน้า, เรียกส่วนราชการที่แยกออกไปเพื่ออํานวยความสะดวกในการควบคุมบังคับบัญชาในการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานพิเศษ เช่น เรียกกองบัญชาการทหารสูงสุดว่า กองบัญชาการทหารสูงสุดส่วนหน้า.
ส่วนหลัง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเขตของกองทหารที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งกําลังบํารุงว่า พื้นที่ส่วนหลัง.ส่วนหลัง น. เรียกเขตของกองทหารที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งกําลังบํารุงว่า พื้นที่ส่วนหลัง.
ส่วนองค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ส่วนตัว (ใช้แก่หม่อมเจ้า) เช่น ของใช้ส่วนองค์.ส่วนองค์ (ราชา) ว. ส่วนตัว (ใช้แก่หม่อมเจ้า) เช่น ของใช้ส่วนองค์.
สวนะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การไหลไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺรวณ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-เนน.สวนะ ๒ น. การไหลไป. (ป.; ส. สฺรวณ).
สวนาการ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู สวน– ๔, สวนะ ๑ สวน– ความหมายที่ ๔ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู สวนะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .สวนาการ ดู สวน– ๔, สวนะ ๑.
สวนิต เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[สะวะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ยิน, ฟัง.สวนิต [สะวะ–] (กลอน) ก. ยิน, ฟัง.
สวนีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก[สะวะนียะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําที่น่าฟัง, คําไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรวณีย เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.สวนีย– [สะวะนียะ–] น. คําที่น่าฟัง, คําไพเราะ. (ป.; ส. ศฺรวณีย).
สวบ, สวบ ๆ สวบ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ สวบ ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเสียงกรับพวง; เสียงคนหรือสัตว์ยํ่าไปบนใบไม้หรือสิ่งที่ทําให้เกิดเสียงเช่นนั้น เช่น เสียงเดินบุกป่าดังสวบ ๆ, สวบสาบ ก็ว่า; อาการที่ก้มหน้าก้มตากินเอา ๆ ด้วยความหิวโหยหรือตะกละตะกลาม; อาการที่ก้าวเดินจ้ำเอา ๆ.สวบ, สวบ ๆ ว. เสียงดังอย่างเสียงกรับพวง; เสียงคนหรือสัตว์ยํ่าไปบนใบไม้หรือสิ่งที่ทําให้เกิดเสียงเช่นนั้น เช่น เสียงเดินบุกป่าดังสวบ ๆ, สวบสาบ ก็ว่า; อาการที่ก้มหน้าก้มตากินเอา ๆ ด้วยความหิวโหยหรือตะกละตะกลาม; อาการที่ก้าวเดินจ้ำเอา ๆ.
สวม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาของที่เป็นโพรงเป็นวงเป็นต้นครอบลงบนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น สวมชฎา สวมหมวก เกี้ยวสวมจุก, คล้อง เช่น สวมพวงมาลัย, นุ่ง ในคําว่า สวมกางเกง, ใส่ เช่น สวมเสื้อ สวมรองเท้า; เข้าแทนที่ เช่น สวมตําแหน่ง.สวม ก. กิริยาที่เอาของที่เป็นโพรงเป็นวงเป็นต้นครอบลงบนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น สวมชฎา สวมหมวก เกี้ยวสวมจุก, คล้อง เช่น สวมพวงมาลัย, นุ่ง ในคําว่า สวมกางเกง, ใส่ เช่น สวมเสื้อ สวมรองเท้า; เข้าแทนที่ เช่น สวมตําแหน่ง.
สวมกอด เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือทั้ง ๒ ข้างโอบรัดเข้าไว้ในวงแขน เช่น แม่สวมกอดลูก, ส้วมกอด ก็ว่า.สวมกอด ก. เอามือทั้ง ๒ ข้างโอบรัดเข้าไว้ในวงแขน เช่น แม่สวมกอดลูก, ส้วมกอด ก็ว่า.
สวมเขา เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทำความอัปยศให้แก่สามีด้วยการมีชู้โดยที่สามีไม่รู้ระแคะระคาย.สวมเขา ก. ทำความอัปยศให้แก่สามีด้วยการมีชู้โดยที่สามีไม่รู้ระแคะระคาย.
สวมบท, สวมบทบาท สวมบท เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน สวมบทบาท เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงบทบาท เช่น สวมบทพระเอก สวมบทบาทผู้ร้าย; แสดงออกในลักษณะที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง เช่น คนใจบาปสวมบทนักบุญ.สวมบท, สวมบทบาท ก. แสดงบทบาท เช่น สวมบทพระเอก สวมบทบาทผู้ร้าย; แสดงออกในลักษณะที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง เช่น คนใจบาปสวมบทนักบุญ.
สวมรอย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าแทนที่คนอื่นโดยทําเป็นทีให้เข้าใจว่าตนเองเป็นตัวจริง เช่น ผู้ร้ายสวมรอยเจ้าของบ้านเข้าไปขโมยของ.สวมรอย ก. เข้าแทนที่คนอื่นโดยทําเป็นทีให้เข้าใจว่าตนเองเป็นตัวจริง เช่น ผู้ร้ายสวมรอยเจ้าของบ้านเข้าไปขโมยของ.
สวมวิญญาณ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาวิญญาณของผู้อื่นหรือสัตว์อื่นเป็นต้นมาสวมใส่ในจิตใจของตน เช่น สวมวิญญาณนักรบ สวมวิญญาณสัตว์ป่า.สวมวิญญาณ ก. เอาวิญญาณของผู้อื่นหรือสัตว์อื่นเป็นต้นมาสวมใส่ในจิตใจของตน เช่น สวมวิญญาณนักรบ สวมวิญญาณสัตว์ป่า.
สวมหน้ากาก เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงทีท่าหรือกิริยาอาการที่มิได้เกิดจากนิสัยใจจริง, แสดงกิริยาท่าทีลวงให้เข้าใจผิด, เช่น ต่างคนต่างสวมหน้ากากเข้าหากัน, ใส่หน้ากาก ก็ว่า.สวมหน้ากาก (สำ) ก. แสดงทีท่าหรือกิริยาอาการที่มิได้เกิดจากนิสัยใจจริง, แสดงกิริยาท่าทีลวงให้เข้าใจผิด, เช่น ต่างคนต่างสวมหน้ากากเข้าหากัน, ใส่หน้ากาก ก็ว่า.
สวมหมวกหลายใบ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ดำรงตำแหน่งหลายตำแหน่งในเวลาเดียวกัน.สวมหมวกหลายใบ (สำ) ก. ดำรงตำแหน่งหลายตำแหน่งในเวลาเดียวกัน.
สวมหัวโขน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหัวโขนสวมศีรษะ, โดยปริยายหมายความว่า ดำรงตำแหน่งหน้าที่ใหญ่โตหรือมียศถาบรรดาศักดิ์แล้วมักลืมตัวชอบแสดงอำนาจ.สวมหัวโขน ก. เอาหัวโขนสวมศีรษะ, โดยปริยายหมายความว่า ดำรงตำแหน่งหน้าที่ใหญ่โตหรือมียศถาบรรดาศักดิ์แล้วมักลืมตัวชอบแสดงอำนาจ.
ส้วม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่สร้างไว้สำหรับถ่ายอุจจาระปัสสาวะโดยเฉพาะ มักทำเป็นห้อง.ส้วม ๑ น. สถานที่ที่สร้างไว้สำหรับถ่ายอุจจาระปัสสาวะโดยเฉพาะ มักทำเป็นห้อง.
ส้วมชักโครก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส้วมแบบส้วมซึมชนิดหนึ่ง ต่างกันตรงที่เมื่อถ่ายแล้วใช้กดหรือชักให้น้ำที่อยู่ในถังด้านหลังหรือข้างบนหัวส้วมไหลชำระสิ่งที่ถ่ายแทนการราดน้ำ.ส้วมชักโครก น. ส้วมแบบส้วมซึมชนิดหนึ่ง ต่างกันตรงที่เมื่อถ่ายแล้วใช้กดหรือชักให้น้ำที่อยู่ในถังด้านหลังหรือข้างบนหัวส้วมไหลชำระสิ่งที่ถ่ายแทนการราดน้ำ.
ส้วมซึม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส้วมที่ตั้งถังซีเมนต์ซ้อนกันลงไปในดินหลาย ๆ ถัง มีหัวส้วมสำหรับนั่งถ่ายอยู่เหนือถังบนสุด เมื่อถ่ายแล้วต้องราดน้ำเพื่อชำระสิ่งที่ถ่ายให้ลงสู่ถังส้วมแล้วซึมหายไปในดิน.ส้วมซึม น. ส้วมที่ตั้งถังซีเมนต์ซ้อนกันลงไปในดินหลาย ๆ ถัง มีหัวส้วมสำหรับนั่งถ่ายอยู่เหนือถังบนสุด เมื่อถ่ายแล้วต้องราดน้ำเพื่อชำระสิ่งที่ถ่ายให้ลงสู่ถังส้วมแล้วซึมหายไปในดิน.
ส้วมหลุม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส้วมที่ขุดหลุมแล้วใช้ไม้กระดานหรือไม้ท่อนใหญ่ทอดพาดปากหลุมสำหรับนั่งถ่าย.ส้วมหลุม น. ส้วมที่ขุดหลุมแล้วใช้ไม้กระดานหรือไม้ท่อนใหญ่ทอดพาดปากหลุมสำหรับนั่งถ่าย.
ส้วม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ห้องนอน.ส้วม ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. ห้องนอน.
ส้วม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือทั้ง ๒ ข้างโอบรัดเข้าไว้ในวงแขน เรียกว่า ส้วมกอด, สวมกอด ก็ว่า.ส้วม ๓ ก. เอามือทั้ง ๒ ข้างโอบรัดเข้าไว้ในวงแขน เรียกว่า ส้วมกอด, สวมกอด ก็ว่า.
สวย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามน่าพึงพอใจ, มักใช้เข้าคู่กับคํา งาม เป็น สวยงาม, ในบทกลอนใช้ว่า ส้วย ก็มี; ไม่เปียก (ใช้แก่ข้าวสุก) เช่น หุงข้าวสวยดี ไม่ดิบ ไม่แฉะ.สวย ว. งามน่าพึงพอใจ, มักใช้เข้าคู่กับคํา งาม เป็น สวยงาม, ในบทกลอนใช้ว่า ส้วย ก็มี; ไม่เปียก (ใช้แก่ข้าวสุก) เช่น หุงข้าวสวยดี ไม่ดิบ ไม่แฉะ.
สวยแต่รูป จูบไม่หอม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา จอ-จาน-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรูปร่างงาม แต่มีความประพฤติ ท่าทีวาจา และกิริยามารยาทไม่ดี.สวยแต่รูป จูบไม่หอม (สำ) ว. มีรูปร่างงาม แต่มีความประพฤติ ท่าทีวาจา และกิริยามารยาทไม่ดี.
ส่วย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวิธีเรียกเก็บภาษีอากรในสมัยโบราณ; เงินช่วยราชการตามที่กําหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล, รัชชูปการ ก็ว่า.ส่วย ๑ น. ของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวิธีเรียกเก็บภาษีอากรในสมัยโบราณ; เงินช่วยราชการตามที่กําหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล, รัชชูปการ ก็ว่า.
ส่วย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติพูดภาษาตระกูลมอญ–เขมรพวกหนึ่ง อยู่ทางภาคอีสาน.ส่วย ๒ น. ชนชาติพูดภาษาตระกูลมอญ–เขมรพวกหนึ่ง อยู่ทางภาคอีสาน.
ส้วย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชําแหละ, ผ่าล้าง.ส้วย ๑ ก. ชําแหละ, ผ่าล้าง.
ส้วย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่เป็นมุมแหลมออกไป.ส้วย ๒ ว. ลักษณะที่เป็นมุมแหลมออกไป.
ส้วยเสี้ยว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ของที่มีมุม ๓ มุม เช่นใบเรือที่อยู่ตอนหัวเรือ. ในวงเล็บ มาจาก อักขราภิธานศรับท์ ของ หมอปรัดเล.ส้วยเสี้ยว น. ของที่มีมุม ๓ มุม เช่นใบเรือที่อยู่ตอนหัวเรือ. (ปรัดเล).
สวยม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สะวะหฺยม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด้วยตัวเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สวยม [สะวะหฺยม] ว. ด้วยตัวเอง. (ส.).
สวยมพร เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สยมพร, สยัมพร หรือ สยุมพร ก็ใช้.สวยมพร น. สยมพร, สยัมพร หรือ สยุมพร ก็ใช้.
สวยมภู เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง สยมภู.สวยมภู น. สยมภู.
สวรรค–, สวรรค์ สวรรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย สวรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด [สะหฺวันคะ–, สะหฺวัน] เป็นคำนาม หมายถึง โลกของเทวดา, เมืองฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวรฺค เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี สคฺค เขียนว่า สอ-เสือ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.สวรรค–, สวรรค์ [สะหฺวันคะ–, สะหฺวัน] น. โลกของเทวดา, เมืองฟ้า. (ส. สฺวรฺค; ป. สคฺค).
สวรรคต เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า[สะหฺวันคด] เป็นคำกริยา หมายถึง ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้ในราชาศัพท์ สําหรับพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพระบรมราชวงศ์ที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวรฺค เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย + คต เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า ว่า ไปสู่สวรรค์ .สวรรคต [สะหฺวันคด] ก. ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้ในราชาศัพท์ สําหรับพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพระบรมราชวงศ์ที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น). (ส. สฺวรฺค + คต ว่า ไปสู่สวรรค์).
สวรรคบดี เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะหฺวันคะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าเมืองสวรรค์ คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวรฺคปติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สวรรคบดี [สะหฺวันคะบอดี] น. เจ้าเมืองสวรรค์ คือ พระอินทร์. (ส. สฺวรฺคปติ).
สวรรค์ในอก นรกในใจ, สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ สวรรค์ในอก นรกในใจ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ นอ-หนู-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ นอ-หนู-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ความสุขที่เกิดจากการทำความดี หรือความทุกข์ที่เกิดจากการทำความชั่ว ย่อมอยู่ในใจของผู้ทำเอง.สวรรค์ในอก นรกในใจ, สวรรค์อยู่ในอก นรกอยู่ในใจ (สำ) น. ความสุขที่เกิดจากการทำความดี หรือความทุกข์ที่เกิดจากการทำความชั่ว ย่อมอยู่ในใจของผู้ทำเอง.
สวรรคาลัย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่เจ้านายชั้นสูง), ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ตาย.สวรรคาลัย ก. ตาย (ใช้แก่เจ้านายชั้นสูง), (กลอน) ตาย.
สวรรคาลัย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู สวรรค–, สวรรค์ สวรรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย สวรรค์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด .สวรรคาลัย ดู สวรรค–, สวรรค์.
สวรรยา เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[สะหฺวันยา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สมบัติ.สวรรยา [สะหฺวันยา] (กลอน) น. สมบัติ.
สวระ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เสียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สวระ น. เสียง. (ส.).
สวะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺวะ] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นหญ้า ต้นผัก หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ลอยเป็นแพอยู่ในนํ้า.สวะ ๑ [สะหฺวะ] น. ต้นหญ้า ต้นผัก หรือสิ่งต่าง ๆ ที่ลอยเป็นแพอยู่ในนํ้า.
สวะ ๒, สวะ ๆ สวะ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ สวะ ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก [สะหฺวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลว, ไร้ประโยชน์, เช่น คนสวะ เรื่องสวะ ๆ; ดาษดื่น, มีมาก, เช่น ของสวะ ๆ.สวะ ๒, สวะ ๆ [สะหฺวะ] (ปาก) ว. เลว, ไร้ประโยชน์, เช่น คนสวะ เรื่องสวะ ๆ; ดาษดื่น, มีมาก, เช่น ของสวะ ๆ.
สวะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [สะหฺวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สละ เช่น สวะบาปแสวงบุญบท ที่แล้ว. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.สวะ ๓ [สะหฺวะ] (กลอน) ก. สละ เช่น สวะบาปแสวงบุญบท ที่แล้ว. (ยวนพ่าย).
สวัสดิ–, สวัสดิ์ , สวัสดี ๑ สวัสดิ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ สวัสดิ์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด สวัสดี ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี [สะหฺวัดดิ–, สะหฺวัด, สะหฺวัดดี] เป็นคำนาม หมายถึง ความดี, ความงาม, ความเจริญรุ่งเรือง;ความปลอดภัย เช่น ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ ขอให้มีความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล ขอให้มีความสุขสวัสดี ขอให้สวัสดีมีชัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวสฺติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี โสตฺถิ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ.สวัสดิ–, สวัสดิ์ ๑, สวัสดี ๑ [สะหฺวัดดิ–, สะหฺวัด, สะหฺวัดดี] น. ความดี, ความงาม, ความเจริญรุ่งเรือง;ความปลอดภัย เช่น ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ ขอให้มีความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล ขอให้มีความสุขสวัสดี ขอให้สวัสดีมีชัย. (ส. สฺวสฺติ; ป. โสตฺถิ).
สวัสดิการ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การให้สิ่งที่เอื้ออํานวยให้ผู้ทํางานมีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและสะดวกสบาย เช่น มีสถานพยาบาล ให้ที่พักอาศัย จัดรถรับส่ง.สวัสดิการ น. การให้สิ่งที่เอื้ออํานวยให้ผู้ทํางานมีชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและสะดวกสบาย เช่น มีสถานพยาบาล ให้ที่พักอาศัย จัดรถรับส่ง.
สวัสดิภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความปลอดภัย เช่น ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ ตำรวจออกตรวจท้องที่ในเวลากลางคืนเพื่อสวัสดิภาพของประชาชน.สวัสดิภาพ น. ความปลอดภัย เช่น ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ ตำรวจออกตรวจท้องที่ในเวลากลางคืนเพื่อสวัสดิภาพของประชาชน.
สวัสดิมงคล เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ให้ความสุข ความเจริญรุ่งเรือง เช่น ประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ในบ้านเพื่อสวัสดิมงคล.สวัสดิมงคล น. สิ่งที่ให้ความสุข ความเจริญรุ่งเรือง เช่น ประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ในบ้านเพื่อสวัสดิมงคล.
–สวัสดิ์ , สวัสดี ๒ –สวัสดิ์ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด สวัสดี ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี [–สะหฺวัด, สะหฺวัดดี]คำทักทายหรือพูดขึ้นเมื่อพบหรือจากกัน เช่น อรุณสวัสดิ์ ราตรีสวัสดิ์ สวัสดีปีใหม่ สวัสดีครับคุณครู.–สวัสดิ์ ๒, สวัสดี ๒ [–สะหฺวัด, สะหฺวัดดี] คำทักทายหรือพูดขึ้นเมื่อพบหรือจากกัน เช่น อรุณสวัสดิ์ ราตรีสวัสดิ์ สวัสดีปีใหม่ สวัสดีครับคุณครู.
สวัสติ, สวาตี สวัสติ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ สวาตี เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี [สะหฺวัดติ, สะวาตี] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๑๕ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปช้างพัง เหนียงผูกคอสุนัข ดวงแก้ว หรือ กระออมนํ้า, ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สวัสติ, สวาตี [สะหฺวัดติ, สะวาตี] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๕ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปช้างพัง เหนียงผูกคอสุนัข ดวงแก้ว หรือ กระออมนํ้า, ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม ก็เรียก. (ส. สฺวาติ).
สวัสติกะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[สะหฺวัดติกะ] เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์รูปกากบาทปลายหักมุมเวียนขวา ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงความสุขสวัสดีมาแต่โบราณ สันนิษฐานกันว่าเป็นรูปดวงอาทิตย์โคจรเวียนขวา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวสฺติกา เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.สวัสติกะ [สะหฺวัดติกะ] น. สัญลักษณ์รูปกากบาทปลายหักมุมเวียนขวา ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงความสุขสวัสดีมาแต่โบราณ สันนิษฐานกันว่าเป็นรูปดวงอาทิตย์โคจรเวียนขวา. (ส. สฺวสฺติกา).
สวา เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[สะหฺวา] เป็นคำนาม หมายถึง ลิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สวา [สะหฺวา] น. ลิง. (ข.).
สวาปาม เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[สะหฺวา–] เป็นคำกริยา หมายถึง ขยุ้มกินอย่างตะกละลุกลนอย่างลิงกิน, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง กินอย่างตะกละ.สวาปาม [สะหฺวา–] ก. ขยุ้มกินอย่างตะกละลุกลนอย่างลิงกิน, (ปาก) กินอย่างตะกละ.
สวาคตะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ[สะหฺวาคะตะ] เป็นคำนาม หมายถึง คํากล่าวต้อนรับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สวาคตะ [สะหฺวาคะตะ] น. คํากล่าวต้อนรับ. (ป., ส.).
สวาง เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู[สะหฺวาง] เป็นคำนาม หมายถึง ผี, สาง ก็เรียก.สวาง [สะหฺวาง] น. ผี, สาง ก็เรียก.
สว่าง เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู[สะหฺว่าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระยะเวลาฟ้าสาง, ระยะเวลาเมื่อรุ่งอรุณ, เช่น สว่างแล้ว, กระจ่าง, มีแสงมาก, เช่น แสงไฟสว่าง แสงจันทร์สว่าง; แจ้ง, รู้แจ้ง, เช่น ปัญญาสว่าง; หายจากความหลงผิด เช่น หูตาสว่าง; โล่ง, ปลอดโปร่ง, เช่น สว่างอก สว่างใจ; หายง่วง ในคําว่า ตาสว่าง.สว่าง [สะหฺว่าง] ว. ระยะเวลาฟ้าสาง, ระยะเวลาเมื่อรุ่งอรุณ, เช่น สว่างแล้ว, กระจ่าง, มีแสงมาก, เช่น แสงไฟสว่าง แสงจันทร์สว่าง; แจ้ง, รู้แจ้ง, เช่น ปัญญาสว่าง; หายจากความหลงผิด เช่น หูตาสว่าง; โล่ง, ปลอดโปร่ง, เช่น สว่างอก สว่างใจ; หายง่วง ในคําว่า ตาสว่าง.
สว่างไสว เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-วอ-แหวน[สะหฺว่างสะไหฺว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สว่างรุ่งเรืองทั่วไป เช่น บริเวณงานมีแสงไฟสว่างไสว, โดยปริยายหมายความว่า มีความสุข เช่น โลกนี้ช่างสว่างไสวเหลือเกิน เดี๋ยวนี้ฉันหมดหนี้สินแล้ว ชีวิตฉันจึงสว่างไสวขึ้น.สว่างไสว [สะหฺว่างสะไหฺว] ว. สว่างรุ่งเรืองทั่วไป เช่น บริเวณงานมีแสงไฟสว่างไสว, โดยปริยายหมายความว่า มีความสุข เช่น โลกนี้ช่างสว่างไสวเหลือเกิน เดี๋ยวนี้ฉันหมดหนี้สินแล้ว ชีวิตฉันจึงสว่างไสวขึ้น.
สวาด เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[สะหฺวาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Caesalpinia bonduc (L.) Roxb. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นมีหนาม ฝักมีหนามละเอียด เมล็ดกลม เปลือกแข็งสีเทาอมเขียว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเทาอมเขียวอย่างสีเมล็ดสวาด เรียกว่า สีสวาด, เรียกแมวที่มีสีเช่นนั้นว่า แมวสีสวาด ว่าเป็นแมวไทยที่ชาวต่างประเทศนิยมเลี้ยงและมีราคาแพง.สวาด [สะหฺวาด] น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Caesalpinia bonduc (L.) Roxb. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นมีหนาม ฝักมีหนามละเอียด เมล็ดกลม เปลือกแข็งสีเทาอมเขียว. ว. สีเทาอมเขียวอย่างสีเมล็ดสวาด เรียกว่า สีสวาด, เรียกแมวที่มีสีเช่นนั้นว่า แมวสีสวาด ว่าเป็นแมวไทยที่ชาวต่างประเทศนิยมเลี้ยงและมีราคาแพง.
สวาดิ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [สะหฺวาด]ดู สวัสติ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สวาดิ ๑ [สะหฺวาด] ดู สวัสติ.
สวาดิ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [สะหฺวาด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง รักใคร่, ยินดี.สวาดิ ๒ [สะหฺวาด] (โบ) ก. รักใคร่, ยินดี.
สวาท เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน[สะหฺวาด] เป็นคำนาม หมายถึง ความรัก ความพอใจ หรือความยินดีในทางกามารมณ์ เช่น รสสวาท พายุสวาท ไฟสวาท. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง รัก ยินดี หรือ พอใจ เป็นต้น (มักใช้ในเชิงปฏิเสธ) เช่น หน้าตาน่าสวาทนักนี่ คุณคิดว่าเขาสวาทคุณนักหรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาท เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน ว่า รสอร่อย, รสหวาน .สวาท [สะหฺวาด] น. ความรัก ความพอใจ หรือความยินดีในทางกามารมณ์ เช่น รสสวาท พายุสวาท ไฟสวาท. (ปาก) ก. รัก ยินดี หรือ พอใจ เป็นต้น (มักใช้ในเชิงปฏิเสธ) เช่น หน้าตาน่าสวาทนักนี่ คุณคิดว่าเขาสวาทคุณนักหรือ. (ส. สฺวาท ว่า รสอร่อย, รสหวาน).
สว่าน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะหฺว่าน] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือช่างไม้ปลายเป็นเกลียวแหลมสําหรับเจาะไช มี ๒ ชนิด คือ ชนิดหนึ่งเป็นเหล็กปลายเป็นเกลียวแหลมในตัวสําหรับเจาะไชสิ่งเล็ก ๆ หรือบาง ๆ อีกชนิดหนึ่งมีรูปร่างคล้ายลูกดาล ๒ อันต่อกัน ปลายด้านบนมีแป้นสําหรับมือกด ตรงกลางมีที่สําหรับมือจับหมุนให้ดอกสว่านซึ่งสวมติดกับปลายอีกด้านหนึ่งเจาะไชสิ่งที่ค่อนข้างใหญ่หน้าหนา.สว่าน [สะหฺว่าน] น. เครื่องมือช่างไม้ปลายเป็นเกลียวแหลมสําหรับเจาะไช มี ๒ ชนิด คือ ชนิดหนึ่งเป็นเหล็กปลายเป็นเกลียวแหลมในตัวสําหรับเจาะไชสิ่งเล็ก ๆ หรือบาง ๆ อีกชนิดหนึ่งมีรูปร่างคล้ายลูกดาล ๒ อันต่อกัน ปลายด้านบนมีแป้นสําหรับมือกด ตรงกลางมีที่สําหรับมือจับหมุนให้ดอกสว่านซึ่งสวมติดกับปลายอีกด้านหนึ่งเจาะไชสิ่งที่ค่อนข้างใหญ่หน้าหนา.
สว้าน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะว่าน] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา เป็นอาการของไข้หนักจวนจะสิ้นใจ.สว้าน [สะว่าน] ก. อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา เป็นอาการของไข้หนักจวนจะสิ้นใจ.
สวาบ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺวาบ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกายของคนและสัตว์สี่เท้า อยู่ระหว่างชายโครงกับสันกระดูกตะโพก เป็นส่วนที่ไม่มีกระดูก.สวาบ [สะหฺวาบ] น. ส่วนกายของคนและสัตว์สี่เท้า อยู่ระหว่างชายโครงกับสันกระดูกตะโพก เป็นส่วนที่ไม่มีกระดูก.
สวามิ, สวามี สวามิ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ สวามี เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี [สะหฺวา–] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้า, ผู้เป็นใหญ่, นาย; ผัว, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสวามี; เจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวามี เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี สามิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ.สวามิ, สวามี [สะหฺวา–] น. เจ้า, ผู้เป็นใหญ่, นาย; ผัว, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสวามี; เจ้าของ. (ส. สฺวามี, สฺวามินฺ; ป. สามิ).
สวามินี เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้เป็นใหญ่เป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินี เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.สวามินี น. หญิงผู้เป็นใหญ่เป็นเจ้าของ. (ส. สฺวามินี).
สวามิภักดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ เช่น ข้าศึกเข้ามาสวามิภักดิ์, สามิภักดิ์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ + ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ความซื่อตรงต่อเจ้า .สวามิภักดิ์ ก. ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ เช่น ข้าศึกเข้ามาสวามิภักดิ์, สามิภักดิ์ ก็ว่า. (ส. สฺวามินฺ + ภกฺติ ว่า ความซื่อตรงต่อเจ้า).
สวาย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [สะหฺวาย] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นมะม่วง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺวาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สวาย ๑ [สะหฺวาย] น. ต้นมะม่วง. (ข. สฺวาย).
สวายสอ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สวายสอ น. ชื่อมะม่วงชนิดหนึ่ง. (ข.).
สวาย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [สะหฺวาย] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasius pangasius ในวงศ์ Schilbeidae ลําตัวแบนข้างเล็กน้อย ไม่มีเกล็ด มีหนวดสั้น ๆ ๒ คู่ ลักษณะคล้ายปลาเทโพแต่ไม่มีจุดเหนือครีบอก ขนาดยาวได้ถึง ๑.๖ เมตร.สวาย ๒ [สะหฺวาย] น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่ชนิด Pangasius pangasius ในวงศ์ Schilbeidae ลําตัวแบนข้างเล็กน้อย ไม่มีเกล็ด มีหนวดสั้น ๆ ๒ คู่ ลักษณะคล้ายปลาเทโพแต่ไม่มีจุดเหนือครีบอก ขนาดยาวได้ถึง ๑.๖ เมตร.
สวาสดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[สะหฺวาด] เป็นคำกริยา หมายถึง รักใคร่, ยินดี.สวาสดิ์ [สะหฺวาด] ก. รักใคร่, ยินดี.
สวาหะ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ[สะหฺวาหะ]คํากล่าวเมื่อจบการเสกเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาหา เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา.สวาหะ [สะหฺวาหะ] คํากล่าวเมื่อจบการเสกเป่า. (ส. สฺวาหา).
สวิง เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[สะหฺวิง] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องช้อนปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นร่างแห ลักษณะเป็นถุง มักใช้ไม้หรือหวายทําเป็นขอบปาก.สวิง [สะหฺวิง] น. เครื่องช้อนปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นร่างแห ลักษณะเป็นถุง มักใช้ไม้หรือหวายทําเป็นขอบปาก.
สวิงสวาย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สะหฺวิงสะหฺวาย] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกใจหวิว วิงเวียน คลื่นไส้ ตาพร่า จะเป็นลม เช่น เดินฝ่าแดดนาน รู้สึกสวิงสวาย; โลดโผน, เกินพอดี, เช่น สำนวนสวิงสวาย เต้นรำสวิงสวาย.สวิงสวาย [สะหฺวิงสะหฺวาย] ก. อาการที่รู้สึกใจหวิว วิงเวียน คลื่นไส้ ตาพร่า จะเป็นลม เช่น เดินฝ่าแดดนาน รู้สึกสวิงสวาย; โลดโผน, เกินพอดี, เช่น สำนวนสวิงสวาย เต้นรำสวิงสวาย.
สวิญญาณกทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สะวินยานะกะซับ, สะวินยานนะกะซับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีวิญญาณหรือชีวิตซึ่งนับเป็นทรัพย์ เช่น ทาส ช้าง ม้า วัว ควาย, ตรงข้ามกับ อวิญญาณกทรัพย์, วิญญาณกทรัพย์ ก็ว่า.สวิญญาณกทรัพย์ [สะวินยานะกะซับ, สะวินยานนะกะซับ] (กฎ; โบ) น. สิ่งที่มีวิญญาณหรือชีวิตซึ่งนับเป็นทรัพย์ เช่น ทาส ช้าง ม้า วัว ควาย, ตรงข้ามกับ อวิญญาณกทรัพย์, วิญญาณกทรัพย์ ก็ว่า.
สวิตช์ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-ทัน-ทะ-คาด[สะวิด] เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ใช้สําหรับปิดเปิดหรือเปลี่ยนวงจรไฟฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ switch เขียนว่า เอส-ดับเบิลยู-ไอ-ที-ซี-เอช.สวิตช์ [สะวิด] น. อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ใช้สําหรับปิดเปิดหรือเปลี่ยนวงจรไฟฟ้า. (อ. switch).
สสาร, สสาร– สสาร เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สสาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [สะสาน, –สานระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีมวลสาร ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ อาจมีเพียงสารเดียว เช่น ทองคํา เงิน แก้ว เกลือ น้ำ หรือประกอบด้วยสารหลายสาร เช่น ดินปืน อากาศ ก็ได้.สสาร, สสาร– [สะสาน, –สานระ–] น. สิ่งที่มีมวลสาร ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ อาจมีเพียงสารเดียว เช่น ทองคํา เงิน แก้ว เกลือ น้ำ หรือประกอบด้วยสารหลายสาร เช่น ดินปืน อากาศ ก็ได้.
สสารนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุนิยม.สสารนิยม น. วัตถุนิยม.
สสุระ เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พ่อตา, พ่อผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวศุร เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ.สสุระ [สะ–] น. พ่อตา, พ่อผัว. (ป.; ส. ศฺวศุร).
สสุรี, สัสุรี สสุรี เขียนว่า สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี สัสุรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี [สะ–, สัดสุ–] เป็นคำนาม หมายถึง แม่ยาย, แม่ผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวศฺรู เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู.สสุรี, สัสุรี [สะ–, สัดสุ–] น. แม่ยาย, แม่ผัว. (ป.; ส. ศฺวศฺรู).
สห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ[สะหะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด้วยกัน, พร้อม, ร่วม, ร่วมกัน, (ใช้ประกอบหน้าคําอื่น) เช่น สหประชาชาติ สหพันธ์สหรัฐ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สห– [สะหะ–] ว. ด้วยกัน, พร้อม, ร่วม, ร่วมกัน, (ใช้ประกอบหน้าคําอื่น) เช่น สหประชาชาติ สหพันธ์สหรัฐ. (ป., ส.).
สหกรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง งานร่วมมือกัน เช่นทางธุรกิจหรืออุตสาหกรรม เพื่อหากําไรหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในงานนั้น ๆ ร่วมกัน, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดําเนินกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์.สหกรณ์ น. งานร่วมมือกัน เช่นทางธุรกิจหรืออุตสาหกรรม เพื่อหากําไรหรือเพื่อประโยชน์อื่น ๆ ในงานนั้น ๆ ร่วมกัน, (กฎ) คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดําเนินกิจการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนเป็นสหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ เช่น สหกรณ์ออมทรัพย์.
สหการ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การร่วมมือกัน.สหการ น. การร่วมมือกัน.
สหจร เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ร่วมทาง, เพื่อน, สหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สหจร น. ผู้ร่วมทาง, เพื่อน, สหาย. (ส.).
สหชาต, สหชาติ สหชาต เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า สหชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดวันเดือนปีเดียวกัน, ผู้เกิดร่วมปีนักษัตรในรอบเดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง รก.สหชาต, สหชาติ น. ผู้เกิดวันเดือนปีเดียวกัน, ผู้เกิดร่วมปีนักษัตรในรอบเดียวกัน. (ป.); (ราชา) รก.
สหธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมอันเดียวกัน, กฎหรือความเชื่อถืออย่างเดียวกัน.สหธรรม น. ธรรมอันเดียวกัน, กฎหรือความเชื่อถืออย่างเดียวกัน.
สหธรรมิก เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[สะหะทํามิก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีการประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น พระสงฆ์ทั้งปวงเป็นเพื่อนสหธรรมิกกัน อุบาสกอุบาสิกาเป็นสหธรรมิกกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สหธมฺมิก เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.สหธรรมิก [สะหะทํามิก] น. ผู้มีการประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น พระสงฆ์ทั้งปวงเป็นเพื่อนสหธรรมิกกัน อุบาสกอุบาสิกาเป็นสหธรรมิกกัน. (ป. สหธมฺมิก).
สหบาน เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การดื่มร่วมกัน.สหบาน น. การดื่มร่วมกัน.
สหประชาชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง องค์การระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ แทนสันนิบาตชาติตามมติของที่ประชุมผู้แทนประเทศ ๕๐ ประเทศ ในการประชุมใหญ่ที่นครซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญ คือ การป้องกันสงคราม การยืนยันรับรองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน การเคารพและปฏิบัติตามพันธกรณีที่เกิดจากสนธิสัญญาและกฎหมายระหว่างประเทศ, เรียกชื่อเต็มว่า องค์การสหประชาชาติ (United Nations Organization).สหประชาชาติ (กฎ) น. องค์การระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ (ค.ศ. ๑๙๔๕) ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ แทนสันนิบาตชาติตามมติของที่ประชุมผู้แทนประเทศ ๕๐ ประเทศ ในการประชุมใหญ่ที่นครซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา โดยมีวัตถุประสงค์สําคัญ คือ การป้องกันสงคราม การยืนยันรับรองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน การเคารพและปฏิบัติตามพันธกรณีที่เกิดจากสนธิสัญญาและกฎหมายระหว่างประเทศ, เรียกชื่อเต็มว่า องค์การสหประชาชาติ (United Nations Organization).
สหพันธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สหภาพหรือสมาคมตั้งแต่ ๒ สหภาพหรือ ๒ สมาคมขึ้นไปที่ร่วมกันดำเนินกิจการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสหภาพหรือสมาคมที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหพันธ์กรรมกร.สหพันธ์ น. สหภาพหรือสมาคมตั้งแต่ ๒ สหภาพหรือ ๒ สมาคมขึ้นไปที่ร่วมกันดำเนินกิจการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของสหภาพหรือสมาคมที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหพันธ์กรรมกร.
สหพันธรัฐ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน เป็นคำนาม หมายถึง รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดําเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอํานาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ federal เขียนว่า เอฟ-อี-ดี-อี-อา-เอ-แอล state เขียนว่า เอส-ที-เอ-ที-อี .สหพันธรัฐ น. รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดําเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอํานาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น. (อ. federal state).
สหภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทํากิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา; ชื่อรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวของรัฐตั้งแต่ ๒ รัฐขึ้นไป เช่น สหภาพพม่า; องค์การของลูกจ้าง เช่น สหภาพแรงงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ union เขียนว่า ยู-เอ็น-ไอ-โอ-เอ็น.สหภาพ น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทํากิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา; ชื่อรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวของรัฐตั้งแต่ ๒ รัฐขึ้นไป เช่น สหภาพพม่า; องค์การของลูกจ้าง เช่น สหภาพแรงงาน. (อ. union).
สหภาพแรงงาน เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง และส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน เช่น สหภาพแรงงานการรถไฟแห่งประเทศไทย สหภาพแรงงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต.สหภาพแรงงาน (กฎ) น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้าง และส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน เช่น สหภาพแรงงานการรถไฟแห่งประเทศไทย สหภาพแรงงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต.
สหศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาที่ให้นักเรียนชายและหญิงเรียนรวมในสถานศึกษาเดียวกัน.สหศึกษา น. การศึกษาที่ให้นักเรียนชายและหญิงเรียนรวมในสถานศึกษาเดียวกัน.
สหัช เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มีมาแต่กําเนิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สหัช ว. ที่มีมาแต่กําเนิด. (ป., ส.).
สหาย เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อนร่วมทุกข์ร่วมสุข. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สหาย น. เพื่อนร่วมทุกข์ร่วมสุข. (ป., ส.).
สหัช เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้างดู สห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ.สหัช ดู สห–.
สหัมบดี เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะหําบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อท้าวมหาพรหมองค์หนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สหัมบดี [สะหําบอดี] น. ชื่อท้าวมหาพรหมองค์หนึ่ง. (ป.).
สหัส–, สหัสสะ สหัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ สหัสสะ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ [สะหัดสะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่งพัน คือ ๑๐ ร้อย (๑,๐๐๐). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สหสฺร เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ.สหัส–, สหัสสะ [สะหัดสะ–] ว. หนึ่งพัน คือ ๑๐ ร้อย (๑,๐๐๐). (ป.; ส. สหสฺร).
สหัสธารา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[สะหัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องโปรยนํ้าให้เป็นฝอย (ใช้ในการอภิเษก), โดยปริยายหมายถึงการสรงนํ้าของพระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สหสฺสธารา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต สหสฺรธารา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.สหัสธารา [สะหัดสะ–] น. เครื่องโปรยนํ้าให้เป็นฝอย (ใช้ในการอภิเษก), โดยปริยายหมายถึงการสรงนํ้าของพระเจ้าแผ่นดิน. (ป. สหสฺสธารา; ส. สหสฺรธารา).
สหัสนัยน์, สหัสเนตร สหัสนัยน์ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สหัสเนตร เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ [สะหัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พันตา หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สหสฺสเนตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า สหสฺสนยน เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต สหสฺรเนตฺร เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ สหสฺรนยน เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-นอ-หนู .สหัสนัยน์, สหัสเนตร [สะหัดสะ–] น. พันตา หมายถึง พระอินทร์. (ป. สหสฺสเนตฺต, สหสฺสนยน; ส. สหสฺรเนตฺร, สหสฺรนยน).
สหัสรังสี เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[สะหัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พันแสง หมายถึง พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สหสฺสรํสิ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ.สหัสรังสี [สะหัดสะ–] น. พันแสง หมายถึง พระอาทิตย์. (ป. สหสฺสรํสิ).
สหัสา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา[สะหัดสา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยเร็ว, ทันใด, โดยตรง; ยิ่งนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สหสา เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา.สหัสา [สะหัดสา] ว. โดยเร็ว, ทันใด, โดยตรง; ยิ่งนัก. (ป., ส. สหสา).
สหาย เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู สห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ.สหาย ดู สห–.
สอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขาว เช่น ดินสอพอง. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ส เขียนว่า สอ-เสือ ว่า ขาว .สอ ๑ ว. ขาว เช่น ดินสอพอง. (เทียบเขมร ส ว่า ขาว).
สอปูน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นําปูนสอมาเชื่อมอิฐหรือหินให้ติดกัน.สอปูน ก. นําปูนสอมาเชื่อมอิฐหรือหินให้ติดกัน.
สอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประดังกัน เช่น วิ่งสอกันมารับหน้า, หลั่งออกมาออ ในคำว่า น้ำลายสอ.สอ ๒ ว. ประดังกัน เช่น วิ่งสอกันมารับหน้า, หลั่งออกมาออ ในคำว่า น้ำลายสอ.
สอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สอ ๓ น. คอ. (ข.).
สอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โกฐสอ. ในวงเล็บ ดู โกฐสอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สอ-เสือ-ออ-อ่าง ที่ โกฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน.สอ ๔ น. โกฐสอ. (ดู โกฐสอ ที่ โกฐ).
ส่อ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงให้รู้เป็นนัย ๆ (ส่วนมากใช้ไปในทางที่ไม่ดี) เช่น สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล ส่อเจตนาทุจริต ส่อพิรุธ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ฟ้อง.ส่อ ก. แสดงให้รู้เป็นนัย ๆ (ส่วนมากใช้ไปในทางที่ไม่ดี) เช่น สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล ส่อเจตนาทุจริต ส่อพิรุธ; (โบ) ฟ้อง.
ส่อเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่พูดยุยงให้ผู้อื่นแตกแยกกัน.ส่อเสียด ก. อาการที่พูดยุยงให้ผู้อื่นแตกแยกกัน.
สอง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนหนึ่งบวกหนึ่ง; เดือน ๒ ทางจันทรคติ เรียกว่า เดือนยี่ ตกในราวเดือนมกราคม.สอง น. จํานวนหนึ่งบวกหนึ่ง; เดือน ๒ ทางจันทรคติ เรียกว่า เดือนยี่ ตกในราวเดือนมกราคม.
สองเกลอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๒ ที่.สองเกลอ น. เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๒ ที่.
สองแง่สองง่าม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย ทั้งความหมายธรรมดาและความหมายที่ส่อไปในทางหยาบโลน (มักใช้ในปริศนาคำทาย) เช่นนอนสูงให้นอนคว่ำ นอนต่ำให้นอนหงาย.สองแง่สองง่าม ว. มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย ทั้งความหมายธรรมดาและความหมายที่ส่อไปในทางหยาบโลน (มักใช้ในปริศนาคำทาย) เช่นนอนสูงให้นอนคว่ำ นอนต่ำให้นอนหงาย.
สองแง่สองมุม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย เช่นสาบานขอให้ตายใน ๗ วัน.สองแง่สองมุม ว. มีความหมายตีได้เป็น ๒ นัย เช่นสาบานขอให้ตายใน ๗ วัน.
สองจิตสองใจ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลังเล, ตัดสินใจไม่ได้, เช่น จะไปเชียงใหม่ดีหรือไม่ไปดี ยังสองจิตสองใจอยู่.สองจิตสองใจ ว. ลังเล, ตัดสินใจไม่ได้, เช่น จะไปเชียงใหม่ดีหรือไม่ไปดี ยังสองจิตสองใจอยู่.
สองใจ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีจิตใจไม่แน่นอนในเรื่องชู้สาว (มักใช้แก่ผู้หญิง).สองใจ ว. มีจิตใจไม่แน่นอนในเรื่องชู้สาว (มักใช้แก่ผู้หญิง).
สองชั้น เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับปานกลางคือช้ากว่าชั้นเดียวเท่าตัว หรือเร็วกว่าสามชั้นเท่าตัว เรียกเต็มว่า อัตราสองชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสองชั้น เพลงสองชั้น.สองชั้น น. จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับปานกลางคือช้ากว่าชั้นเดียวเท่าตัว หรือเร็วกว่าสามชั้นเท่าตัว เรียกเต็มว่า อัตราสองชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสองชั้น เพลงสองชั้น.
สองต่อสอง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่ลําพัง ๒ คน โดยเฉพาะในที่ลับหูลับตาคนอื่น (มักใช้แก่ชายหนึ่งและหญิงหนึ่งที่อยู่ด้วยกันตามลําพัง).สองต่อสอง ว. แต่ลําพัง ๒ คน โดยเฉพาะในที่ลับหูลับตาคนอื่น (มักใช้แก่ชายหนึ่งและหญิงหนึ่งที่อยู่ด้วยกันตามลําพัง).
สองตาก็ไม่แล, สองตาก็ไม่อยากแล สองตาก็ไม่แล เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง สองตาก็ไม่อยากแล เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง คำที่แสดงอาการว่าไม่แยแสหรือตัดรอนไม่เป็นมิตรไมตรีกันอีกต่อไป.สองตาก็ไม่แล, สองตาก็ไม่อยากแล (สำ) คำที่แสดงอาการว่าไม่แยแสหรือตัดรอนไม่เป็นมิตรไมตรีกันอีกต่อไป.
สองผม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอายุแล้ว หมายถึงคนที่มีผมหงอกบ้างแล้ว เช่นพูดว่า คนสองผม.สองผม ว. มีอายุแล้ว หมายถึงคนที่มีผมหงอกบ้างแล้ว เช่นพูดว่า คนสองผม.
สองฝักสองฝ่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําตัวเข้าด้วยทั้ง ๒ ข้าง ซึ่งมักไม่เป็นมิตรกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น ประเทศเล็กที่ช่วยตัวเองไม่ได้ มักต้องทําตัวสองฝักสองฝ่ายกับประเทศใหญ่เพื่อความอยู่รอดของตน.สองฝักสองฝ่าย (สำ) ว. ที่ทําตัวเข้าด้วยทั้ง ๒ ข้าง ซึ่งมักไม่เป็นมิตรกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น ประเทศเล็กที่ช่วยตัวเองไม่ได้ มักต้องทําตัวสองฝักสองฝ่ายกับประเทศใหญ่เพื่อความอยู่รอดของตน.
สองไม้ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ทํานองเพลงที่ใช้หน้าทับทําจังหวะ.สองไม้ น. ทํานองเพลงที่ใช้หน้าทับทําจังหวะ.
สองสลึงเฟื้อง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สามสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า.สองสลึงเฟื้อง (ปาก) ว. บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สามสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า.
สองหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปคล้ายเปิงมางแต่ใหญ่กว่า ใช้ตีทั้ง ๒ ข้าง. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําตัวให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจผิดกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น เขาเป็นคนสองหน้า อย่าไว้ใจเขานักนะ.สองหน้า น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปคล้ายเปิงมางแต่ใหญ่กว่า ใช้ตีทั้ง ๒ ข้าง. (สำ) ว. ที่ทําตัวให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจผิดกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น เขาเป็นคนสองหน้า อย่าไว้ใจเขานักนะ.
ส่อง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ฉายแสง เช่น แดดส่อง ไฟส่อง ส่องไฟ แสงจันทร์ส่อง ตะวันส่องหน้า, ฉายแสงดู เช่น ส่องสัตว์ในป่า ส่องทาง ส่องกบ; เพ่งมอง เช่น ส่องกล้อง, เล็ง เช่น ส่องปืน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ยิง เช่น ถูกส่องด้วยปืนลูกซอง.ส่อง ก. ฉายแสง เช่น แดดส่อง ไฟส่อง ส่องไฟ แสงจันทร์ส่อง ตะวันส่องหน้า, ฉายแสงดู เช่น ส่องสัตว์ในป่า ส่องทาง ส่องกบ; เพ่งมอง เช่น ส่องกล้อง, เล็ง เช่น ส่องปืน; (ปาก) ยิง เช่น ถูกส่องด้วยปืนลูกซอง.
ส่องกระจก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดูภาพตนเองในกระจกเงา, โดยปริยายหมายความว่า ให้สำรวจดูฐานะหรือข้อบกพร่องของตน (มักใช้ในอาการที่ดูหมิ่น) เช่น กลับไปส่องกระจกดูเงาตัวเองเสียบ้าง.ส่องกระจก ก. ดูภาพตนเองในกระจกเงา, โดยปริยายหมายความว่า ให้สำรวจดูฐานะหรือข้อบกพร่องของตน (มักใช้ในอาการที่ดูหมิ่น) เช่น กลับไปส่องกระจกดูเงาตัวเองเสียบ้าง.
ส้อง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ซ่อง, ประชุม.ส้อง (กลอน) น. ซ่อง, ประชุม.
สองฤดู เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อูดู คริสต์มาส เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒.สองฤดู ดู คริสต์มาส ๒.
สอด เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เสือกหรือใส่เข้าไปในช่องหรือในระหว่างที่แคบ ๆ เช่น สอดจดหมายเข้าไปใต้ประตู สอดขาเข้าไปในกางเกง, ใส่ เช่น สอดสนับเพลา, แทรกเข้าไประหว่างกลาง เช่น เอาธนบัตรสอดไว้ในหนังสือ, แทรกเข้าในระหว่าง (มักใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น ขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดอยู่ เด็กไม่ควรพูดสอดขึ้น.สอด ก. เสือกหรือใส่เข้าไปในช่องหรือในระหว่างที่แคบ ๆ เช่น สอดจดหมายเข้าไปใต้ประตู สอดขาเข้าไปในกางเกง, ใส่ เช่น สอดสนับเพลา, แทรกเข้าไประหว่างกลาง เช่น เอาธนบัตรสอดไว้ในหนังสือ, แทรกเข้าในระหว่าง (มักใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น ขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดอยู่ เด็กไม่ควรพูดสอดขึ้น.
สอดคล้อง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้อง, ประสาน, ไม่ขัดกัน, เช่น มีความเห็นสอดคล้องกัน ทำงานสอดคล้องกัน ความคิดกับการกระทำสอดคล้องกัน.สอดคล้อง ว. พ้อง, ประสาน, ไม่ขัดกัน, เช่น มีความเห็นสอดคล้องกัน ทำงานสอดคล้องกัน ความคิดกับการกระทำสอดคล้องกัน.
สอดแคล้ว เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สงสัย, กินแหนง.สอดแคล้ว ว. สงสัย, กินแหนง.
สอดแทรก เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน เช่น เขาชอบไปสอดแทรกในเรื่องส่วนตัวของคนอื่น.สอดแทรก ก. เข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน เช่น เขาชอบไปสอดแทรกในเรื่องส่วนตัวของคนอื่น.
สอดแนม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ลอบเข้าไปสืบความ เช่น ส่งทหารไปสอดแนมข้าศึก.สอดแนม ก. ลอบเข้าไปสืบความ เช่น ส่งทหารไปสอดแนมข้าศึก.
สอดรู้, สอดรู้สอดเห็น สอดรู้ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท สอดรู้สอดเห็น เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวเข้าไปรู้ในเรื่องของคนอื่น (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ใครเขาจะทำอะไรกันที่ไหน ก็เที่ยวไปสอดรู้เขาหมด เขาเป็นคนช่างสอดรู้สอดเห็น มีเรื่องของชาวบ้านมาเล่าเสมอ.สอดรู้, สอดรู้สอดเห็น ก. เที่ยวเข้าไปรู้ในเรื่องของคนอื่น (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ใครเขาจะทำอะไรกันที่ไหน ก็เที่ยวไปสอดรู้เขาหมด เขาเป็นคนช่างสอดรู้สอดเห็น มีเรื่องของชาวบ้านมาเล่าเสมอ.
สอดส่อง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใส่ดูแล, เช่น รัฐบาลที่ดีจะต้องสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร.สอดส่อง ก. ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใส่ดูแล, เช่น รัฐบาลที่ดีจะต้องสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร.
สอดส่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ส่ายตาค้นหา ในคำว่า สอดส่ายสายตา เช่น สอดส่ายสายตาหาเพื่อนที่นัดไว้ ตำรวจสอดส่ายสายตาหาคนร้าย, โดยปริยายหมายถึงส่ายตามองหาช่องทางหรือโอกาสที่จะลักขโมยเป็นต้น.สอดส่าย ก. ส่ายตาค้นหา ในคำว่า สอดส่ายสายตา เช่น สอดส่ายสายตาหาเพื่อนที่นัดไว้ ตำรวจสอดส่ายสายตาหาคนร้าย, โดยปริยายหมายถึงส่ายตามองหาช่องทางหรือโอกาสที่จะลักขโมยเป็นต้น.
สอดสี เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะการพิมพ์ให้เป็นสีตั้งแต่ ๒ สีขึ้นไป เรียกว่า พิมพ์สอดสี.สอดสี ว. ลักษณะการพิมพ์ให้เป็นสีตั้งแต่ ๒ สีขึ้นไป เรียกว่า พิมพ์สอดสี.
สอดใส่ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่โดยวิธีสอดเข้าไป.สอดใส่ ก. ใส่โดยวิธีสอดเข้าไป.
สอดไส้ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่ไส้ไว้ข้างใน, โดยปริยายหมายความว่า แอบสอดสิ่งแปลกปลอมปนเข้าไปโดยมีเจตนาไม่บริสุทธิ์ เช่น สอดไส้ธนบัตรปลอมไว้ในปึกธนบัตรจริง สอดไส้เอกสารที่เป็นประโยชน์แก่ตนปะปนเข้าไปพร้อมกับเอกสารในแฟ้มเสนอเซ็น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกขนมชนิดหนึ่ง มีไส้หน้ากระฉีก ปั้นเป็นก้อนหุ้มด้วยแป้งข้าวเหนียวดำ แล้วหยอดด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ และเกลือ ซึ่งกวนสุกแล้ว ห่อด้วยใบตองหรือใส่กระทงนึ่งให้สุก ว่า ขนมสอดไส้, ขนมใส่ไส้ ก็เรียก.สอดไส้ ก. ใส่ไส้ไว้ข้างใน, โดยปริยายหมายความว่า แอบสอดสิ่งแปลกปลอมปนเข้าไปโดยมีเจตนาไม่บริสุทธิ์ เช่น สอดไส้ธนบัตรปลอมไว้ในปึกธนบัตรจริง สอดไส้เอกสารที่เป็นประโยชน์แก่ตนปะปนเข้าไปพร้อมกับเอกสารในแฟ้มเสนอเซ็น. ว. เรียกขนมชนิดหนึ่ง มีไส้หน้ากระฉีก ปั้นเป็นก้อนหุ้มด้วยแป้งข้าวเหนียวดำ แล้วหยอดด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ และเกลือ ซึ่งกวนสุกแล้ว ห่อด้วยใบตองหรือใส่กระทงนึ่งให้สุก ว่า ขนมสอดไส้, ขนมใส่ไส้ ก็เรียก.
สอดหมุด เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สอดผ้ากอซเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน.สอดหมุด ก. สอดผ้ากอซเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน.
สอน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง บอกวิชาความรู้ให้ เช่น ครูสอนหนังสือนักเรียน, แสดงให้เข้าใจโดยวิธีบอกหรือทําให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีชั่วเป็นต้น เช่น สอนแม่ไม้มวยไทย สอนเย็บปักถักร้อย สอนเท่าไรไม่รู้จักจํา; เริ่มฝึกหัด เช่น เด็กสอนพูด ผู้เป็นอัมพาตต้องมาสอนเดินใหม่ ไก่สอนขัน, เริ่มมีผล เช่น ต้นไม้สอนเป็น.สอน ก. บอกวิชาความรู้ให้ เช่น ครูสอนหนังสือนักเรียน, แสดงให้เข้าใจโดยวิธีบอกหรือทําให้เห็นเป็นตัวอย่างเพื่อให้รู้ดีชั่วเป็นต้น เช่น สอนแม่ไม้มวยไทย สอนเย็บปักถักร้อย สอนเท่าไรไม่รู้จักจํา; เริ่มฝึกหัด เช่น เด็กสอนพูด ผู้เป็นอัมพาตต้องมาสอนเดินใหม่ ไก่สอนขัน, เริ่มมีผล เช่น ต้นไม้สอนเป็น.
สอนขัน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกไก่อ่อนที่เพิ่งหัดขันว่า ไก่อ่อนสอนขัน หรือ ไก่สอนขัน, โดยปริยายหมายถึงมีประสบการณ์น้อยยังรู้ไม่ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน.สอนขัน ว. เรียกไก่อ่อนที่เพิ่งหัดขันว่า ไก่อ่อนสอนขัน หรือ ไก่สอนขัน, โดยปริยายหมายถึงมีประสบการณ์น้อยยังรู้ไม่ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน.
สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือที่เขาถนัดอยู่แล้ว.สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ (สำ) ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีหรือที่เขาถนัดอยู่แล้ว.
สอนใจ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เตือนสติตนเอง เช่น สุภาษิตสอนใจ หนังสือสอนใจ.สอนใจ ว. ที่เตือนสติตนเอง เช่น สุภาษิตสอนใจ หนังสือสอนใจ.
สอนเดิน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเด็กที่เริ่มหัดเดินเตาะแตะว่า เด็กสอนเดิน. เป็นคำกริยา หมายถึง ฝึกหัดเดิน เช่น เขานอนป่วยอยู่หลายเดือน เมื่อหายป่วยแล้วต้องสอนเดินใหม่.สอนเดิน ว. เรียกเด็กที่เริ่มหัดเดินเตาะแตะว่า เด็กสอนเดิน. ก. ฝึกหัดเดิน เช่น เขานอนป่วยอยู่หลายเดือน เมื่อหายป่วยแล้วต้องสอนเดินใหม่.
สอนนาค เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคำทำขวัญนาคเพื่อสอนกุลบุตรที่จะอุปสมบทให้รู้สึกซาบซึ้งถึงพระคุณของพ่อแม่ และให้เห็นว่าการบวชนั้นเป็นการตอบสนองพระคุณพ่อแม่อย่างหนึ่ง.สอนนาค ก. กล่าวคำทำขวัญนาคเพื่อสอนกุลบุตรที่จะอุปสมบทให้รู้สึกซาบซึ้งถึงพระคุณของพ่อแม่ และให้เห็นว่าการบวชนั้นเป็นการตอบสนองพระคุณพ่อแม่อย่างหนึ่ง.
สอนพูด เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเด็กที่เริ่มหัดพูดว่า เด็กสอนพูด.สอนพูด ว. เรียกเด็กที่เริ่มหัดพูดว่า เด็กสอนพูด.
สอนยาก เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, เช่น เขาเป็นเด็กสอนยาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ว่ายาก เป็น ว่ายากสอนยาก.สอนยาก ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, เช่น เขาเป็นเด็กสอนยาก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ว่ายาก เป็น ว่ายากสอนยาก.
สอนยืน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเด็กที่เริ่มตั้งไข่ว่า เด็กสอนยืน.สอนยืน ว. เรียกเด็กที่เริ่มตั้งไข่ว่า เด็กสอนยืน.
สอนลูกให้เป็นโจร เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ว่ากล่าวอบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดี เมื่อลูกไปลักขโมยของใครมาได้กลับชมเชยว่าเก่ง ในที่สุดลูกก็กลายเป็นโจร.สอนลูกให้เป็นโจร (สำ) ก. ไม่ว่ากล่าวอบรมสั่งสอนลูกให้เป็นคนดี เมื่อลูกไปลักขโมยของใครมาได้กลับชมเชยว่าเก่ง ในที่สุดลูกก็กลายเป็นโจร.
สอนสั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทำ, สั่งสอน ก็ว่า.สอนสั่ง ก. ชี้แจงให้เข้าใจและบอกให้ทำ, สั่งสอน ก็ว่า.
สอนหนังสือสังฆราช, บอกหนังสือสังฆราช สอนหนังสือสังฆราช เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง บอกหนังสือสังฆราช เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว.สอนหนังสือสังฆราช, บอกหนังสือสังฆราช (สำ) ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว.
ส่อน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่ตามปรกติว่า ตาส่อน.ส่อน ว. เรียกตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่ตามปรกติว่า ตาส่อน.
สอบ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจ ทดลอง เปรียบเทียบ หรือไล่เลียง เพื่อหาข้อเท็จจริง หรือวัดให้รู้ว่ามีความรู้หรือความสามารถแค่ไหน เช่น สอบตาชั่งให้ได้มาตรฐาน สอบราคาสินค้า สอบปากคำผู้ต้องหา สอบพิมพ์ดีด.สอบ ๑ ก. ตรวจ ทดลอง เปรียบเทียบ หรือไล่เลียง เพื่อหาข้อเท็จจริง หรือวัดให้รู้ว่ามีความรู้หรือความสามารถแค่ไหน เช่น สอบตาชั่งให้ได้มาตรฐาน สอบราคาสินค้า สอบปากคำผู้ต้องหา สอบพิมพ์ดีด.
สอบข้อเขียน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สอบความรู้โดยให้ผู้สอบเขียนคำตอบลงในกระดาษ.สอบข้อเขียน ก. สอบความรู้โดยให้ผู้สอบเขียนคำตอบลงในกระดาษ.
สอบเขตที่ดิน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจสอบที่ดินโดยพนักงานที่ดินและบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบเนื้อที่และแนวเขตที่แน่นอน.สอบเขตที่ดิน ก. ตรวจสอบที่ดินโดยพนักงานที่ดินและบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบเนื้อที่และแนวเขตที่แน่นอน.
สอบแข่งขัน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเพื่อพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับทุนหรือบรรจุในตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งเป็นต้น.สอบแข่งขัน ก. สอบเพื่อพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับทุนหรือบรรจุในตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งเป็นต้น.
สอบความถนัด เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทดสอบดูว่ามีความถนัดหรือความสามารถในทางใดบ้าง, ทดสอบดูว่ามีความถนัดในสาขาวิชาที่ต้องการเข้าศึกษาหรือในงานที่จะต้องทำหรือไม่.สอบความถนัด ก. ทดสอบดูว่ามีความถนัดหรือความสามารถในทางใดบ้าง, ทดสอบดูว่ามีความถนัดในสาขาวิชาที่ต้องการเข้าศึกษาหรือในงานที่จะต้องทำหรือไม่.
สอบซ่อม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเพื่อให้ผ่านวิชาที่เคยสอบตก.สอบซ่อม ก. สอบเพื่อให้ผ่านวิชาที่เคยสอบตก.
สอบซ้อม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทดสอบความรู้ก่อนสอบไล่ (ใช้ในโรงเรียน).สอบซ้อม ก. ทดสอบความรู้ก่อนสอบไล่ (ใช้ในโรงเรียน).
สอบถาม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ถามเพื่อขอทราบข้อมูลที่ต้องการ เช่น สอบถามเวลาเดินรถ.สอบถาม ก. ถามเพื่อขอทราบข้อมูลที่ต้องการ เช่น สอบถามเวลาเดินรถ.
สอบทาน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น.สอบทาน ก. ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น.
สอบเทียบ, สอบเทียบความรู้ สอบเทียบ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ สอบเทียบความรู้ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเพื่อเทียบว่ามีความรู้เข้าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางราชการกำหนดหรือไม่.สอบเทียบ, สอบเทียบความรู้ ก. สอบเพื่อเทียบว่ามีความรู้เข้าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางราชการกำหนดหรือไม่.
สอบใบขับขี่ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเพื่อแสดงว่ามีความรู้ในกฎจราจรและสามารถขับขี่ยานยนต์ได้.สอบใบขับขี่ ก. สอบเพื่อแสดงว่ามีความรู้ในกฎจราจรและสามารถขับขี่ยานยนต์ได้.
สอบประวัติส่วนบุคคล เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ขอให้เจ้าพนักงานตำรวจท้องที่ที่บุคคลซึ่งจะบรรจุเข้ารับราชการเป็นต้นอาศัยอยู่ สอบประวัติย่อ ภูมิลำเนาครั้งสุดท้าย และลายพิมพ์นิ้วมือเป็นต้นของบุคคลนั้น.สอบประวัติส่วนบุคคล ก. ขอให้เจ้าพนักงานตำรวจท้องที่ที่บุคคลซึ่งจะบรรจุเข้ารับราชการเป็นต้นอาศัยอยู่ สอบประวัติย่อ ภูมิลำเนาครั้งสุดท้าย และลายพิมพ์นิ้วมือเป็นต้นของบุคคลนั้น.
สอบปากคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ซักถามเพื่อให้บุคคลให้การโดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ เช่น สอบปากคําพยาน สอบปากคําผู้ต้องหา, กฎหมายใช้ว่า ถามปากคํา.สอบปากคำ ก. ซักถามเพื่อให้บุคคลให้การโดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ เช่น สอบปากคําพยาน สอบปากคําผู้ต้องหา, กฎหมายใช้ว่า ถามปากคํา.
สอบปากเปล่า เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สอบโดยวิธีซักถามให้ตอบด้วยวาจา.สอบปากเปล่า ก. สอบโดยวิธีซักถามให้ตอบด้วยวาจา.
สอบพยาน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ซักถามพยานเพื่อหาข้อเท็จจริง.สอบพยาน ก. ซักถามพยานเพื่อหาข้อเท็จจริง.
สอบราคา เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สอบดูราคาสิ่งของตามร้านค้าต่าง ๆ ว่าแตกต่างกันอย่างไร, ตรวจสอบราคาที่ขายว่าถูกต้องตามที่ทางราชการกำหนดไว้หรือไม่, สอบถามราคาในการพิมพ์หรือการซื้อเป็นต้นจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อหาราคาต่ำสุด.สอบราคา ก. สอบดูราคาสิ่งของตามร้านค้าต่าง ๆ ว่าแตกต่างกันอย่างไร, ตรวจสอบราคาที่ขายว่าถูกต้องตามที่ทางราชการกำหนดไว้หรือไม่, สอบถามราคาในการพิมพ์หรือการซื้อเป็นต้นจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อหาราคาต่ำสุด.
สอบไล่ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด.สอบไล่ ก. สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด.
สอบสวน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง รวบรวมพยานหลักฐานและดําเนินการอย่างอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนได้ทําไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทําผิดมาฟ้องลงโทษ.สอบสวน (กฎ) ก. รวบรวมพยานหลักฐานและดําเนินการอย่างอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนได้ทําไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทําผิดมาฟ้องลงโทษ.
สอบสวนทวนพยาน เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สอบพยาน.สอบสวนทวนพยาน (สำ) ก. สอบพยาน.
สอบสัมภาษณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สอบท่วงทีวาจาและไหวพริบพิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่.สอบสัมภาษณ์ ก. สอบท่วงทีวาจาและไหวพริบพิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่.
สอบอารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สอบถามประสบการณ์ทางจิตของผู้ที่เจริญวิปัสสนากรรมฐานว่าก้าวหน้าไปถึงขั้นใดแล้ว.สอบอารมณ์ ก. สอบถามประสบการณ์ทางจิตของผู้ที่เจริญวิปัสสนากรรมฐานว่าก้าวหน้าไปถึงขั้นใดแล้ว.
สอบ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะเรียวลงด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้ง ๒ ด้าน (ใช้แก่รูปทรงของภาชนะหรือสิ่งที่มีลักษณะกลวง) เช่น พ้อมก้นสอบปากสอบ เสื้อแขนสอบ กางเกงขาสอบ.สอบ ๒ ว. มีลักษณะเรียวลงด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้ง ๒ ด้าน (ใช้แก่รูปทรงของภาชนะหรือสิ่งที่มีลักษณะกลวง) เช่น พ้อมก้นสอบปากสอบ เสื้อแขนสอบ กางเกงขาสอบ.
สอพลอ เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง[สอพฺลอ] เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวร้ายป้ายสีผู้อื่นเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีฐานะสูงกว่าเกลียดชังผู้นั้นเพื่อประโยชน์ของตน.สอพลอ [สอพฺลอ] ก. กล่าวร้ายป้ายสีผู้อื่นเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีฐานะสูงกว่าเกลียดชังผู้นั้นเพื่อประโยชน์ของตน.
ส้อม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เหล็ก ๒ ง่าม ปลายแหลม ใช้แทงปลาเป็นต้น; เครื่องใช้จิ้มอาหารกิน, คู่กับ ช้อน; ไม้ไผ่ที่จักให้เป็นซี่ ๆ ทำปลายซี่ให้แหลมสำหรับเสียบอ้อยที่ควั่นเป็นข้อ ๆ, เรียกอ้อยควั่นที่เสียบซี่ไม้ไผ่ปลายแหลมดังกล่าวว่า อ้อยส้อม. เป็นคำกริยา หมายถึง ปาด เหลา หรือเจียน เช่น ส้อมงวงมะพร้าว.ส้อม น. เหล็ก ๒ ง่าม ปลายแหลม ใช้แทงปลาเป็นต้น; เครื่องใช้จิ้มอาหารกิน, คู่กับ ช้อน; ไม้ไผ่ที่จักให้เป็นซี่ ๆ ทำปลายซี่ให้แหลมสำหรับเสียบอ้อยที่ควั่นเป็นข้อ ๆ, เรียกอ้อยควั่นที่เสียบซี่ไม้ไผ่ปลายแหลมดังกล่าวว่า อ้อยส้อม. ก. ปาด เหลา หรือเจียน เช่น ส้อมงวงมะพร้าว.
ส้อมเสียง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ทำด้วยโลหะเป็นรูปอักษร U มีก้านสำหรับจับยึด เมื่อเคาะจะเกิดเสียงที่มีความถี่คงที่ เป็นเวลานาน ใช้เป็นความถี่อ้างอิง เช่นใช้เทียบเสียงเครื่องดนตรี.ส้อมเสียง น. อุปกรณ์ทำด้วยโลหะเป็นรูปอักษร U มีก้านสำหรับจับยึด เมื่อเคาะจะเกิดเสียงที่มีความถี่คงที่ เป็นเวลานาน ใช้เป็นความถี่อ้างอิง เช่นใช้เทียบเสียงเครื่องดนตรี.
สอย เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไม้มีขอหรือมีง่ามหรือไม้จำปาเกี่ยว ดึงดัน หรือบิดเอาดอกไม้ลูกไม้เป็นต้นลงมา; แทงด้วยเข็มหรือสิ่งที่แหลมอย่างเข็มเย็บผ้าให้เป็นตะเข็บ.สอย ๑ ก. เอาไม้มีขอหรือมีง่ามหรือไม้จำปาเกี่ยว ดึงดัน หรือบิดเอาดอกไม้ลูกไม้เป็นต้นลงมา; แทงด้วยเข็มหรือสิ่งที่แหลมอย่างเข็มเย็บผ้าให้เป็นตะเข็บ.
สอยดอกฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หมายปองที่จะได้หญิงผู้สูงศักดิ์กว่าตนมาเป็นคู่ครอง.สอยดอกฟ้า (สำ) ก. หมายปองที่จะได้หญิงผู้สูงศักดิ์กว่าตนมาเป็นคู่ครอง.
สอยดาว เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการที่เดินหงายหน้าว่า เดินสอยดาว; เรียกหมัดที่ชกตวัดขึ้นสู่ปลายคางของคู่ต่อสู้ว่า หมัดสอยดาว.สอยดาว ว. เรียกอาการที่เดินหงายหน้าว่า เดินสอยดาว; เรียกหมัดที่ชกตวัดขึ้นสู่ปลายคางของคู่ต่อสู้ว่า หมัดสอยดาว.
สอยผม เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไม้แหลมเล็ก ๆ เป็นต้นแทงผมให้เรียบเรียงเส้น.สอยผม ก. เอาไม้แหลมเล็ก ๆ เป็นต้นแทงผมให้เรียบเรียงเส้น.
สอยไร เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไม้แหลมเล็ก ๆ เป็นต้นแทงผมให้เห็นรอยไร.สอยไร ก. เอาไม้แหลมเล็ก ๆ เป็นต้นแทงผมให้เห็นรอยไร.
สอย เขียนว่า สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้, ใช้เข้าคู่กันเป็น ใช้สอย.สอย ๒ ก. ใช้, ใช้เข้าคู่กันเป็น ใช้สอย.
ส่อเสียด เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่พูดยุยงให้ผู้อื่นแตกแยกกัน.ส่อเสียด ก. อาการที่พูดยุยงให้ผู้อื่นแตกแยกกัน.
สะ ๑, สะสวย สะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ สะสวย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย.สะ ๑, สะสวย ว. สวย.
สะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.สะ ๒ ก. ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.
สะกด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง กลั้นไว้, ข่มไว้, เช่น เมื่อเกิดความไม่พอใจ ก็รู้จักสะกดอารมณ์ไว้บ้าง; เขียนหรือบอกตัวอักษรที่ประกอบกันเป็นคํา, เรียกพยัญชนะที่บังคับตัวอักษรข้างหน้าให้เป็นมาตราต่าง ๆ เช่น แม่กน น สะกด แม่กด ด สะกด. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกประคําที่เป็นลูกคั่นว่า ลูกสะกด. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร สงฺกด เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก.สะกด ก. กลั้นไว้, ข่มไว้, เช่น เมื่อเกิดความไม่พอใจ ก็รู้จักสะกดอารมณ์ไว้บ้าง; เขียนหรือบอกตัวอักษรที่ประกอบกันเป็นคํา, เรียกพยัญชนะที่บังคับตัวอักษรข้างหน้าให้เป็นมาตราต่าง ๆ เช่น แม่กน น สะกด แม่กด ด สะกด. น. เรียกลูกประคําที่เป็นลูกคั่นว่า ลูกสะกด. (เทียบ ข. สงฺกด).
สะกดจิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้อำนาจจิตเป็นสื่อสะกดให้หลับแล้วบังคับให้กระทําตามความต้องการของตน.สะกดจิต ก. ใช้อำนาจจิตเป็นสื่อสะกดให้หลับแล้วบังคับให้กระทําตามความต้องการของตน.
สะกดทัพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้อำนาจเวทมนตร์บังคับให้ทหารในกองทัพของฝ่ายตรงข้ามหลับ.สะกดทัพ ก. ใช้อำนาจเวทมนตร์บังคับให้ทหารในกองทัพของฝ่ายตรงข้ามหลับ.
สะกดผี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เวทมนตร์สะกดไม่ให้ผีอาละวาดหรือให้อยู่ในอำนาจเป็นต้น.สะกดผี ก. ใช้เวทมนตร์สะกดไม่ให้ผีอาละวาดหรือให้อยู่ในอำนาจเป็นต้น.
สะกดรอย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตามไปติด ๆ โดยไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ตัว.สะกดรอย ก. ตามไปติด ๆ โดยไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ตัว.
สะกดอกสะกดใจ, สะกดอารมณ์ สะกดอกสะกดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน สะกดอารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ข่มอารมณ์มิให้หวั่นไหวต่อเหตุการณ์ที่ผ่านไปแล้วหรือที่กำลังประสบ.สะกดอกสะกดใจ, สะกดอารมณ์ ก. ข่มอารมณ์มิให้หวั่นไหวต่อเหตุการณ์ที่ผ่านไปแล้วหรือที่กำลังประสบ.
สะกอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตะกอ, หนุ่ม, รุ่น, ในคำว่า หนุ่มสะกอ รุ่นสะกอ; รวมอยู่เป็นพวก ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สรกอ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง ว่า รุ่นราวคราวเดียวกัน .สะกอ ว. ตะกอ, หนุ่ม, รุ่น, ในคำว่า หนุ่มสะกอ รุ่นสะกอ; รวมอยู่เป็นพวก ๆ. (ข. สรกอ ว่า รุ่นราวคราวเดียวกัน).
สะกาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักจระเข้อย่างหนึ่ง มีเงี่ยง ๒ ข้าง สําหรับผูกเหยื่อลอยนํ้าไว้; เครื่องล่อใจ เช่น สินสะกาง; ตะกาง ก็เรียก.สะกาง น. เครื่องดักจระเข้อย่างหนึ่ง มีเงี่ยง ๒ ข้าง สําหรับผูกเหยื่อลอยนํ้าไว้; เครื่องล่อใจ เช่น สินสะกาง; ตะกาง ก็เรียก.
สะการะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สะการะ น. ดอกไม้. (ช.).
สะการะตาหรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ดอกกรรณิการ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สะการะตาหรา น. ดอกกรรณิการ์. (ช.).
สะกิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปลายเล็บหรือสิ่งที่คล้ายคลึงกันเขี่ยหรือแคะแต่เบา ๆ เพื่อให้รู้ตัวหรือเพื่อให้หลุดหรือให้แตกออกเป็นต้น เช่น เอามือสะกิดสีข้าง ใช้เข็มสะกิดฝีให้หนองออก; โดยปริยายหมายความว่า เตือนให้นึกถึง.สะกิด ก. เอาปลายเล็บหรือสิ่งที่คล้ายคลึงกันเขี่ยหรือแคะแต่เบา ๆ เพื่อให้รู้ตัวหรือเพื่อให้หลุดหรือให้แตกออกเป็นต้น เช่น เอามือสะกิดสีข้าง ใช้เข็มสะกิดฝีให้หนองออก; โดยปริยายหมายความว่า เตือนให้นึกถึง.
สะกิดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ฉุกคิดถึงเหตุการณ์หรือถ้อยคำที่เคยได้เห็นหรือได้ยินมา เช่น คำพูดของเขาสะกิดใจฉัน เมื่อได้ยินเขาพูดเรื่องเงิน ก็รู้สึกสะกิดใจว่าเขาจะมาทวงหนี้.สะกิดใจ ก. ฉุกคิดถึงเหตุการณ์หรือถ้อยคำที่เคยได้เห็นหรือได้ยินมา เช่น คำพูดของเขาสะกิดใจฉัน เมื่อได้ยินเขาพูดเรื่องเงิน ก็รู้สึกสะกิดใจว่าเขาจะมาทวงหนี้.
สะกิดสะเกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สะกิดบ่อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงพูดหรือทำให้กระทบใจบ่อย ๆ เช่น เรื่องนี้จบไปแล้วจะสะกิดสะเกาขึ้นมาทำไม.สะกิดสะเกา ก. สะกิดบ่อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงพูดหรือทำให้กระทบใจบ่อย ๆ เช่น เรื่องนี้จบไปแล้วจะสะกิดสะเกาขึ้นมาทำไม.
สะเก็ด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชิ้นย่อยของไม้หรือหินเป็นต้นที่ตัดหรือแยกออกจากส่วนใหญ่ เช่น สะเก็ดไม้; เลือดและนํ้าเหลืองซึ่งแห้งติดกรังอยู่ที่ปากแผล เช่น สะเก็ดแผล; โดยปริยายหมายความว่า เศษเล็กเศษน้อยซึ่งมีค่าตํ่ากว่ามาตรฐาน, เลว, เช่น คนสะเก็ดอย่างนั้น ใครจะคบด้วย.สะเก็ด น. ชิ้นย่อยของไม้หรือหินเป็นต้นที่ตัดหรือแยกออกจากส่วนใหญ่ เช่น สะเก็ดไม้; เลือดและนํ้าเหลืองซึ่งแห้งติดกรังอยู่ที่ปากแผล เช่น สะเก็ดแผล; โดยปริยายหมายความว่า เศษเล็กเศษน้อยซึ่งมีค่าตํ่ากว่ามาตรฐาน, เลว, เช่น คนสะเก็ดอย่างนั้น ใครจะคบด้วย.
สะเก็ดตีนเมรุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เลวมาก, ไม่มีค่า, เช่น เขาเป็นพวกสะเก็ดตีนเมรุ จะอบรมสั่งสอนอย่างไรก็ไม่ได้ดี.สะเก็ดตีนเมรุ (ปาก) ก. เลวมาก, ไม่มีค่า, เช่น เขาเป็นพวกสะเก็ดตีนเมรุ จะอบรมสั่งสอนอย่างไรก็ไม่ได้ดี.
สะแก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Combretum quadrangulare Kurz ในวงศ์ Combretaceae นิยมใช้ทําฟืน เมล็ดใช้ทํายาได้.สะแก ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Combretum quadrangulare Kurz ในวงศ์ Combretaceae นิยมใช้ทําฟืน เมล็ดใช้ทํายาได้.
สะแกวัลย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Combretum punctatum Blume ในวงศ์ Combretaceae.สะแกวัลย์ น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Combretum punctatum Blume ในวงศ์ Combretaceae.
สะแก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันชนิดหนึ่งคล้ายสกา.สะแก ๒ น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่งคล้ายสกา.
สะแกแสง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cananga latifolia Finet et Gagnep. ในวงศ์ Annonaceae ใช้ทํายาได้.สะแกแสง น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cananga latifolia Finet et Gagnep. ในวงศ์ Annonaceae ใช้ทํายาได้.
สะคร้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่างดู ตะคร้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง.สะคร้อ ดู ตะคร้อ.
สะคราญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงาม เช่น โฉมสะคราญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, สวย, เช่น สะคราญตา สะคราญใจ.สะคราญ น. หญิงงาม เช่น โฉมสะคราญ. ว. งาม, สวย, เช่น สะคราญตา สะคราญใจ.
สะค้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งในสกุล Piper วงศ์ Piperaceae ใช้ทํายาได้, ตะค้าน ก็เรียก.สะค้าน น. ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งในสกุล Piper วงศ์ Piperaceae ใช้ทํายาได้, ตะค้าน ก็เรียก.
สะเงาะสะแงะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปะปะอย่างคนเมา เช่น เดินสะเงาะสะแงะ พูดจาสะเงาะสะแงะ.สะเงาะสะแงะ ว. เปะปะอย่างคนเมา เช่น เดินสะเงาะสะแงะ พูดจาสะเงาะสะแงะ.
สะใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนําใจ, สาแก่ใจ, สมใจอยาก, เช่น อยากกินหูฉลามมานานแล้ว วันนี้ต้องกินให้สะใจเสียที เขาโมโหน้องมาก เลยตีเสียสะใจ.สะใจ ว. หนําใจ, สาแก่ใจ, สมใจอยาก, เช่น อยากกินหูฉลามมานานแล้ว วันนี้ต้องกินให้สะใจเสียที เขาโมโหน้องมาก เลยตีเสียสะใจ.
สะดม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ปล้นโดยใช้วิธีรมยาให้เจ้าของทรัพย์หลับสนิทไม่รู้สึกตัว, ใช้เข้าคู่กับคำ ปล้น เป็น ปล้นสะดม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สณฺฎํ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด.สะดม ก. ปล้นโดยใช้วิธีรมยาให้เจ้าของทรัพย์หลับสนิทไม่รู้สึกตัว, ใช้เข้าคู่กับคำ ปล้น เป็น ปล้นสะดม. (ข. สณฺฎํ).
สะดวก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล่อง, ไม่ติดขัด, เช่น ทางสะดวก การเดินทางสมัยนี้สะดวกกว่าสมัยก่อน, มักใช้เข้าคู่กับคำ สบาย เป็น สะดวกสบาย.สะดวก ว. คล่อง, ไม่ติดขัด, เช่น ทางสะดวก การเดินทางสมัยนี้สะดวกกว่าสมัยก่อน, มักใช้เข้าคู่กับคำ สบาย เป็น สะดวกสบาย.
สะดัก, สังดัก สะดัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ สังดัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง คอย, กั้นไว้.สะดัก, สังดัก ก. คอย, กั้นไว้.
สะดิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัดจริตดีดดิ้น เช่น ทำเป็นสะดิ้งไปได้ อย่าสะดิ้งให้มากนัก, สะดุ้งสะดิ้ง ก็ว่า.สะดิ้ง (ปาก) ว. ดัดจริตดีดดิ้น เช่น ทำเป็นสะดิ้งไปได้ อย่าสะดิ้งให้มากนัก, สะดุ้งสะดิ้ง ก็ว่า.
สะดึง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กรอบไม้สําหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร, กรอบไม้หรือไม้แบบสําหรับขึงผ้าในเวลาปักดิ้นหรือไหมเป็นต้น, ขอบไม้สําหรับขึงเปล มี ๔ ด้าน.สะดึง น. กรอบไม้สําหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร, กรอบไม้หรือไม้แบบสําหรับขึงผ้าในเวลาปักดิ้นหรือไหมเป็นต้น, ขอบไม้สําหรับขึงเปล มี ๔ ด้าน.
สะดือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายอยู่ตรงกลางพื้นท้องเป็นรูหวําเข้าไป.สะดือ น. ส่วนของร่างกายอยู่ตรงกลางพื้นท้องเป็นรูหวําเข้าไป.
สะดือจุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สะดือที่มีลักษณะโปนออกมา.สะดือจุ่น น. สะดือที่มีลักษณะโปนออกมา.
สะดือทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณทะเลตอนที่มีน้ำไหลวนเป็นเกลียวลึกลงไปซึ่งถือกันว่าเป็นศูนย์กลางของทะเล.สะดือทะเล น. บริเวณทะเลตอนที่มีน้ำไหลวนเป็นเกลียวลึกลงไปซึ่งถือกันว่าเป็นศูนย์กลางของทะเล.
สะดืออ่าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รูเหนือท่อน้ำทิ้งที่อ่างล้างหน้าหรืออ่างอาบน้ำเป็นต้น สำหรับให้น้ำไหลลงสู่ท่อน้ำทิ้ง.สะดืออ่าง น. รูเหนือท่อน้ำทิ้งที่อ่างล้างหน้าหรืออ่างอาบน้ำเป็นต้น สำหรับให้น้ำไหลลงสู่ท่อน้ำทิ้ง.
สะดุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไหวตัวขึ้นทันทีด้วยความตกใจ เพราะไม่ทันรู้ตัวหรือไม่ได้นึกคาดหมายไว้เป็นต้น เช่น เมื่อได้ยินเสียงระเบิดก็สะดุ้งสุดตัว.สะดุ้ง ๑ ก. ไหวตัวขึ้นทันทีด้วยความตกใจ เพราะไม่ทันรู้ตัวหรือไม่ได้นึกคาดหมายไว้เป็นต้น เช่น เมื่อได้ยินเสียงระเบิดก็สะดุ้งสุดตัว.
สะดุ้งมาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระพุทธรูปปางมารวิชัย คือ ปางชนะมาร ว่า พระสะดุ้งมาร.สะดุ้งมาร (ปาก) น. เรียกพระพุทธรูปปางมารวิชัย คือ ปางชนะมาร ว่า พระสะดุ้งมาร.
สะดุ้งสะเทือน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หวั่นไหว, เดือดร้อน, กังวลใจ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ใครจะนินทาว่าร้ายอย่างไรก็ไม่สะดุ้งสะเทือน มหาเศรษฐีเสียเงินล้านสองล้านไม่สะดุ้งสะเทือนหรอก.สะดุ้งสะเทือน ก. หวั่นไหว, เดือดร้อน, กังวลใจ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ใครจะนินทาว่าร้ายอย่างไรก็ไม่สะดุ้งสะเทือน มหาเศรษฐีเสียเงินล้านสองล้านไม่สะดุ้งสะเทือนหรอก.
สะดุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายยอยก, อีสานเรียก กะดุ้ง.สะดุ้ง ๒ น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายยอยก, อีสานเรียก กะดุ้ง.
สะดุ้งสะดิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัดจริตดีดดิ้น, สะดิ้ง ก็ว่า.สะดุ้งสะดิ้ง ว. ดัดจริตดีดดิ้น, สะดิ้ง ก็ว่า.
สะดุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เดินหรือวิ่ง ปลายเท้าไปกระทบสิ่งที่ขวางหน้า ทําให้ก้าวผิดจังหวะ เซ ถลา หรือหกล้ม เป็นต้น เช่น เขาสะดุดก้อนหินล้มลง เด็กวิ่งไปสะดุดตอไม้.สะดุด ๑ ก. อาการที่เดินหรือวิ่ง ปลายเท้าไปกระทบสิ่งที่ขวางหน้า ทําให้ก้าวผิดจังหวะ เซ ถลา หรือหกล้ม เป็นต้น เช่น เขาสะดุดก้อนหินล้มลง เด็กวิ่งไปสะดุดตอไม้.
สะดุดขาตัวเอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำผิดหลักเกณฑ์ที่ตนกำหนดไว้เอง.สะดุดขาตัวเอง (สำ) ก. ทำผิดหลักเกณฑ์ที่ตนกำหนดไว้เอง.
สะดุดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ฉุกคิดขึ้นมาได้, ฉุกใจได้คิดเมื่อมีบางสิ่งบางอย่างมากระทบใจทำให้รู้สึกสงสัยตงิด ๆ.สะดุดใจ ก. ฉุกคิดขึ้นมาได้, ฉุกใจได้คิดเมื่อมีบางสิ่งบางอย่างมากระทบใจทำให้รู้สึกสงสัยตงิด ๆ.
สะดุดตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบตาชวนให้มอง เช่น ผู้หญิงคนนี้สวยสะดุดตาจริง ๆ วันนี้เขาใส่เสื้อสีสะดุดตา, ชวนให้สนใจ เช่น เขามีบุคลิกลักษณะเด่นกว่าคนอื่น ๆ เห็นแล้วรู้สึกสะดุดตาทีเดียว, ที่เห็นเด่นชัด เช่น ร้านอาหารร้านนี้ทาสีแดง สะดุดตาแต่ไกล.สะดุดตา ก. กระทบตาชวนให้มอง เช่น ผู้หญิงคนนี้สวยสะดุดตาจริง ๆ วันนี้เขาใส่เสื้อสีสะดุดตา, ชวนให้สนใจ เช่น เขามีบุคลิกลักษณะเด่นกว่าคนอื่น ๆ เห็นแล้วรู้สึกสะดุดตาทีเดียว, ที่เห็นเด่นชัด เช่น ร้านอาหารร้านนี้ทาสีแดง สะดุดตาแต่ไกล.
สะดุดหู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบหูชวนให้อยากฟัง หรือรู้สึกเคลือบแคลงใจเป็นต้น เช่น ได้ยินเสียงเพลงเขมรไทรโยค รู้สึกสะดุดหูทำให้นึกถึงความหลัง ได้ยินเสียงคนพาลพูดแขวะ รู้สึกสะดุดหูทันที.สะดุดหู ก. กระทบหูชวนให้อยากฟัง หรือรู้สึกเคลือบแคลงใจเป็นต้น เช่น ได้ยินเสียงเพลงเขมรไทรโยค รู้สึกสะดุดหูทำให้นึกถึงความหลัง ได้ยินเสียงคนพาลพูดแขวะ รู้สึกสะดุดหูทันที.
สะดุด ๒, สะดุด ๆ สะดุด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก สะดุด ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ราบเรียบ (ใช้แก่ภาษาหนังสือทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง) เช่น เรียงความสำนวนนี้อ่านสะดุด ๆ, ตะกุกตะกัก เช่น เด็กคนนี้ยังอ่านหนังสือสะดุดมาก, ไม่สม่ำเสมอ เช่น เครื่องจักรเดินสะดุด ๆ.สะดุด ๒, สะดุด ๆ ว. ไม่ราบเรียบ (ใช้แก่ภาษาหนังสือทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง) เช่น เรียงความสำนวนนี้อ่านสะดุด ๆ, ตะกุกตะกัก เช่น เด็กคนนี้ยังอ่านหนังสือสะดุดมาก, ไม่สม่ำเสมอ เช่น เครื่องจักรเดินสะดุด ๆ.
สะเด็ด ๑, สะเด็ดน้ำ สะเด็ด ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก สะเด็ดน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้น้ำหยุดหยดหรือหยุดไหลโดยวิธีรินหรือสงเป็นต้น เช่น เช็ดน้ำข้าวให้สะเด็ดน้ำ สงถั่วงอกให้สะเด็ดน้ำ.สะเด็ด ๑, สะเด็ดน้ำ ก. ทำให้น้ำหยุดหยดหรือหยุดไหลโดยวิธีรินหรือสงเป็นต้น เช่น เช็ดน้ำข้าวให้สะเด็ดน้ำ สงถั่วงอกให้สะเด็ดน้ำ.
สะเด็ด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างยิ่ง เช่น กับข้าววันนี้อร่อยสะเด็ด.สะเด็ด ๒ (ปาก) ว. อย่างยิ่ง เช่น กับข้าววันนี้อร่อยสะเด็ด.
สะเด็ดยาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างที่สุด เช่น ผู้หญิงคนนั้นสวยสะเด็ดยาด.สะเด็ดยาด (ปาก) ว. อย่างที่สุด เช่น ผู้หญิงคนนั้นสวยสะเด็ดยาด.
สะเด็ด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ดู หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.สะเด็ด ๓ ดู หมอ ๒.
สะเดา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Azadirachta indica Juss. var. siamensis Valeton ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทํายาได้.สะเดา น. ชื่อไม้ต้นชนิด Azadirachta indica Juss. var. siamensis Valeton ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทํายาได้.
สะเดาอินเดีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Azadirachta indica Juss. var. indica Juss. ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทํายาได้, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นชนิดเดียวกับต้นซิงโคนาที่ใช้เปลือกสกัดเป็นยาควินิน.สะเดาอินเดีย น. ชื่อไม้ต้นชนิด Azadirachta indica Juss. var. indica Juss. ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทํายาได้, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นชนิดเดียวกับต้นซิงโคนาที่ใช้เปลือกสกัดเป็นยาควินิน.
สะเดาดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hydrolea zeylanica (L.) Vahl ในวงศ์ Hydrophyllaceae ขึ้นในนา ใบยาวคล้ายหญ้า. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lobelia alsinoides Lam. ในวงศ์ Campanulaceae ต้นเล็กกว่าชนิดแรก ใบค่อนข้างป้อม. (๓) ดู ขวง เขียนว่า ขอ-ไข่-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ ๑.สะเดาดิน น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hydrolea zeylanica (L.) Vahl ในวงศ์ Hydrophyllaceae ขึ้นในนา ใบยาวคล้ายหญ้า. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lobelia alsinoides Lam. ในวงศ์ Campanulaceae ต้นเล็กกว่าชนิดแรก ใบค่อนข้างป้อม. (๓) ดู ขวง ๑.
สะเดาะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หลุดออกมาด้วยคาถาอาคม เช่น สะเดาะโซ่ตรวน สะเดาะกุญแจ; ทำให้หมดสิ้นไปหรือเบาบางลง เช่น ทำบุญสะเดาะเคราะห์ ปล่อยนกปล่อยปลาสะเดาะเคราะห์.สะเดาะ ก. ทําให้หลุดออกมาด้วยคาถาอาคม เช่น สะเดาะโซ่ตรวน สะเดาะกุญแจ; ทำให้หมดสิ้นไปหรือเบาบางลง เช่น ทำบุญสะเดาะเคราะห์ ปล่อยนกปล่อยปลาสะเดาะเคราะห์.
สะตอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Parkia speciosa Hassk. ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบน เมล็ดในกินได้ มีมากทางภาคใต้.สะตอ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Parkia speciosa Hassk. ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบน เมล็ดในกินได้ มีมากทางภาคใต้.
สะตอเบา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อาดู กระถิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.สะตอเบา ดู กระถิน.
สะตาหมัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สวน. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา สะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ว่า หนึ่ง, ตาหมัน ว่า สวน .สะตาหมัน น. สวน. (ช. สะ ว่า หนึ่ง, ตาหมัน ว่า สวน).
สะตึ, สะตึ ๆ สะตึ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ สะตึ ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้วเสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก.สะตึ, สะตึ ๆ (ปาก) ว. ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้วเสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก.
สะตือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Crudia chrysantha Schum. ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบนกลม ใช้ทํายาได้.สะตือ ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Crudia chrysantha Schum. ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบนกลม ใช้ทํายาได้.
สะตือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Notopterus borneensis ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย แต่ไม่มีจุดดําเด่น มีจุดสีนํ้าตาลกระจายอยู่ทั่วตัว.สะตือ ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Notopterus borneensis ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย แต่ไม่มีจุดดําเด่น มีจุดสีนํ้าตาลกระจายอยู่ทั่วตัว.
สะตุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง แปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่นเกลือ สารส้ม จุนสี ให้เป็นผงบริสุทธิ์โดยวิธีทําให้ร้อนจัดด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่ต้องการสลายกลายเป็นควันไป.สะตุ ก. แปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่นเกลือ สารส้ม จุนสี ให้เป็นผงบริสุทธิ์โดยวิธีทําให้ร้อนจัดด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่ต้องการสลายกลายเป็นควันไป.
สะเต๊ะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อหมูหรือเนื้อวัวเป็นต้นที่ปรุงรสแล้วเสียบไม้ย่างไฟ กินกับนํ้าจิ้มและอาจาด.สะเต๊ะ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อหมูหรือเนื้อวัวเป็นต้นที่ปรุงรสแล้วเสียบไม้ย่างไฟ กินกับนํ้าจิ้มและอาจาด.
สะโตก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ขันโตก.สะโตก น. ขันโตก.
สะทกสะท้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเกรงกลัว, รู้สึกเกรงกลัวจนตัวสั่น, เช่น เขาข่มขู่ฉันเสียจนสะทกสะท้านพูดไม่ถูก เธอตอบคำถามผู้บังคับบัญชาอย่างไม่สะทกสะท้าน.สะทกสะท้าน ก. รู้สึกเกรงกลัว, รู้สึกเกรงกลัวจนตัวสั่น, เช่น เขาข่มขู่ฉันเสียจนสะทกสะท้านพูดไม่ถูก เธอตอบคำถามผู้บังคับบัญชาอย่างไม่สะทกสะท้าน.
สะทน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สะท้อน, หวั่นไหว.สะทน ก. สะท้อน, หวั่นไหว.
สะท้อน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง วกกลับ, ย้อนกลับ, เช่น แสงสะท้อน เสียงสะท้อน, โดยปริยายหมายความว่า แสดงให้เห็นภาพหรือลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นวนิยายสะท้อนภาพสังคม ละครสะท้อนชีวิตจริง.สะท้อน ๑ ก. วกกลับ, ย้อนกลับ, เช่น แสงสะท้อน เสียงสะท้อน, โดยปริยายหมายความว่า แสดงให้เห็นภาพหรือลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นวนิยายสะท้อนภาพสังคม ละครสะท้อนชีวิตจริง.
สะท้อนใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หายใจแรงขึ้น ๆ ลง ๆ เพราะอารมณ์สะเทือนใจเป็นต้น.สะท้อนใจ ก. อาการที่หายใจแรงขึ้น ๆ ลง ๆ เพราะอารมณ์สะเทือนใจเป็นต้น.
สะท้อน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ดู กระท้อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.สะท้อน ๒ ดู กระท้อน ๑.
สะท้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจ ทําให้ครั่นคร้าม หรือหวั่นกลัวจนตัวสั่น เช่น เห็นไฟไหม้แล้วสะท้าน, หนาวสั่น เช่น หนาวสะท้านเหมือนจะเป็นไข้ หนาวสะท้านเพราะเดินกรำฝนมาหลายชั่วโมง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สะทก เป็น สะทกสะท้าน; ดังลั่น, ดังก้อง, สั่นสะเทือน, เช่น เสียงปืนใหญ่ดังสะท้านก้องไปทั้งกรุง.สะท้าน ก. รู้สึกเย็นเยือกเข้าหัวใจ ทําให้ครั่นคร้าม หรือหวั่นกลัวจนตัวสั่น เช่น เห็นไฟไหม้แล้วสะท้าน, หนาวสั่น เช่น หนาวสะท้านเหมือนจะเป็นไข้ หนาวสะท้านเพราะเดินกรำฝนมาหลายชั่วโมง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สะทก เป็น สะทกสะท้าน; ดังลั่น, ดังก้อง, สั่นสะเทือน, เช่น เสียงปืนใหญ่ดังสะท้านก้องไปทั้งกรุง.
สะทึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ใจเต้นตึก ๆ.สะทึก ก. ใจเต้นตึก ๆ.
สะทึน, สะทึ่น สะทึน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู สะทึ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใจผิดปรกติ, ใจเป็นทุกข์, เช่น พระทองผทมตื่นขึ้น สะทึ่นเที้ยรสระอื้น. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.สะทึน, สะทึ่น (กลอน) ว. ใจผิดปรกติ, ใจเป็นทุกข์, เช่น พระทองผทมตื่นขึ้น สะทึ่นเที้ยรสระอื้น. (ลอ).
สะเทิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครึ่ง ๆ กลาง ๆ, กํ้ากึ่ง, เช่น สาวสะเทิน คือ เพิ่งจะขึ้นสาว หรืออยู่ในระหว่างสาวกับเด็กกํ้ากึ่งกัน.สะเทิน ๑ ว. ครึ่ง ๆ กลาง ๆ, กํ้ากึ่ง, เช่น สาวสะเทิน คือ เพิ่งจะขึ้นสาว หรืออยู่ในระหว่างสาวกับเด็กกํ้ากึ่งกัน.
สะเทินน้ำสะเทินบก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่อยู่ได้หรือปฏิบัติการได้ทั้งในนํ้าและบนบก เช่น การรบสะเทินนํ้าสะเทินบก เรือสะเทินนํ้าสะเทินบก เครื่องบินสะเทินนํ้าสะเทินบก, เรียกสัตว์จําพวกที่อยู่ได้ทั้งในนํ้าและบนบก เช่น กบ คางคก อึ่งอ่าง ว่า สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก.สะเทินน้ำสะเทินบก ว. ที่อยู่ได้หรือปฏิบัติการได้ทั้งในนํ้าและบนบก เช่น การรบสะเทินนํ้าสะเทินบก เรือสะเทินนํ้าสะเทินบก เครื่องบินสะเทินนํ้าสะเทินบก, เรียกสัตว์จําพวกที่อยู่ได้ทั้งในนํ้าและบนบก เช่น กบ คางคก อึ่งอ่าง ว่า สัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบก.
สะเทิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้เป็นกลาง เช่น สามารถสะเทินด่างได้.สะเทิน ๒ (เคมี) ก. ทำให้เป็นกลาง เช่น สามารถสะเทินด่างได้.
สะเทิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว, โคลง, เช่น ช้างตัวนี้เดินไม่สะเทิน.สะเทิน ๓ ก. ไหว, โคลง, เช่น ช้างตัวนี้เดินไม่สะเทิน.
สะเทิ้น, สะเทิ้นอาย สะเทิ้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู สะเทิ้นอาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาอย่างขัด ๆ เขิน ๆ เพราะรู้สึกขวยอาย (มักใช้แก่หญิงสาว) เช่น หญิงสาวพอมีผู้ชายชมว่าสวยก็รู้สึกสะเทิ้น หญิงสาวพอมีชายหนุ่มมาจ้องมองก็สะเทิ้นอาย.สะเทิ้น, สะเทิ้นอาย ก. แสดงกิริยาวาจาอย่างขัด ๆ เขิน ๆ เพราะรู้สึกขวยอาย (มักใช้แก่หญิงสาว) เช่น หญิงสาวพอมีผู้ชายชมว่าสวยก็รู้สึกสะเทิ้น หญิงสาวพอมีชายหนุ่มมาจ้องมองก็สะเทิ้นอาย.
สะเทือน, สะเทื้อน สะเทือน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู สะเทื้อน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มีอาการเหมือนไหวหรือสั่นเพราะถูกกระทบกระทั่ง เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกสะเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านสะเทือน, โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกหวั่นไหว เช่น เขาว่าลูกก็สะเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่สะเทือน, กระเทือน ก็ว่า.สะเทือน, สะเทื้อน ก. มีอาการเหมือนไหวหรือสั่นเพราะถูกกระทบกระทั่ง เช่น นั่งรถที่แล่นไปตามทางขรุขระก็รู้สึกสะเทือน เสียงระเบิดทำให้บ้านสะเทือน, โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกหวั่นไหว เช่น เขาว่าลูกก็สะเทือนไปถึงแม่ ใครจะว่าอย่างไร ๆ ก็ไม่สะเทือน, กระเทือน ก็ว่า.
สะเทือนใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงในเมื่อได้ประสบกับสิ่งที่ไม่น่าพอใจ เช่น เห็นภาพแม่กอดศพลูกร้องไห้แล้วรู้สึกสะเทือนใจ.สะเทือนใจ ก. มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงในเมื่อได้ประสบกับสิ่งที่ไม่น่าพอใจ เช่น เห็นภาพแม่กอดศพลูกร้องไห้แล้วรู้สึกสะเทือนใจ.
สะเทือนอารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบทำให้รู้สึกเศร้าหมอง เช่น นวนิยายสะเทือนอารมณ์ อ่านเรื่องเศร้าแล้วสะเทือนอารมณ์.สะเทือนอารมณ์ ก. มีจิตใจหวั่นไหวอย่างแรงเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบทำให้รู้สึกเศร้าหมอง เช่น นวนิยายสะเทือนอารมณ์ อ่านเรื่องเศร้าแล้วสะเทือนอารมณ์.
สะบะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ตะกร้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .สะบะ น. ตะกร้อ. (ช.).
สะบัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกส่วนที่เป็นฐานรองรับต้นแขน อยู่ถัดบ่าลงไปข้างหลัง ปลายด้านนอกเป็นที่หัวกระดูกต้นแขนเกาะยึด. ในวงเล็บ รูปภาพ สะบัก.สะบัก น. กระดูกส่วนที่เป็นฐานรองรับต้นแขน อยู่ถัดบ่าลงไปข้างหลัง ปลายด้านนอกเป็นที่หัวกระดูกต้นแขนเกาะยึด. (รูปภาพ สะบัก).
สะบักจม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-จอ-จาน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ปวดเมื่อยบริเวณสะบักเพราะเลือดเดินไม่สะดวก.สะบักจม ก. อาการที่ปวดเมื่อยบริเวณสะบักเพราะเลือดเดินไม่สะดวก.
สะบักสะบอม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง บอบชํ้าเต็มที เช่น ถูกชกเสียสะบักสะบอม.สะบักสะบอม ก. บอบชํ้าเต็มที เช่น ถูกชกเสียสะบักสะบอม.
สะบัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไหวหรือทําให้เคลื่อนไหวไปมาอย่างเร็วและแรง เพื่อให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไป เช่น หมาสะบัดขนเพื่อให้นํ้าที่ติดอยู่หลุดกระเซ็นไป หรือเพื่อให้หมดทางต่อสู้ดิ้นรน เช่น แมวคาบหนูสะบัดไปมา หรือเพื่อให้เข้าที่ ให้กลับเข้ารูปเดิม เป็นต้น เช่น เขาชอบสะบัดผม สะบัดแขนเสื้อ, เอาใบมีดโกนปัดไปปัดมาบนแผ่นหนังเป็นต้นเพื่อลับให้คม เรียกว่า สะบัดมีดโกน หรือ สะบัดมีด, เรียกอาการของสิ่งเช่นธงเมื่อถูกลมพัดกระพือหรือถูกโบกไปมาเป็นต้นให้ปลิวพลิ้วเกิดเป็นริ้ว ๆ ว่า ธงสะบัด, สลัด ปัด หรือ ฟัด ก็ใช้โดยอนุโลม; โดยปริยายหมายความว่า อย่างมาก, อย่างยิ่ง, เช่น สวยสะบัด โกงสะบัด; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ฉ้อโกง, กระบัด ประบัด หรือ ตระบัด ก็ใช้.สะบัด ก. เคลื่อนไหวหรือทําให้เคลื่อนไหวไปมาอย่างเร็วและแรง เพื่อให้สิ่งที่ติดอยู่หลุดไป เช่น หมาสะบัดขนเพื่อให้นํ้าที่ติดอยู่หลุดกระเซ็นไป หรือเพื่อให้หมดทางต่อสู้ดิ้นรน เช่น แมวคาบหนูสะบัดไปมา หรือเพื่อให้เข้าที่ ให้กลับเข้ารูปเดิม เป็นต้น เช่น เขาชอบสะบัดผม สะบัดแขนเสื้อ, เอาใบมีดโกนปัดไปปัดมาบนแผ่นหนังเป็นต้นเพื่อลับให้คม เรียกว่า สะบัดมีดโกน หรือ สะบัดมีด, เรียกอาการของสิ่งเช่นธงเมื่อถูกลมพัดกระพือหรือถูกโบกไปมาเป็นต้นให้ปลิวพลิ้วเกิดเป็นริ้ว ๆ ว่า ธงสะบัด, สลัด ปัด หรือ ฟัด ก็ใช้โดยอนุโลม; โดยปริยายหมายความว่า อย่างมาก, อย่างยิ่ง, เช่น สวยสะบัด โกงสะบัด; (โบ) ฉ้อโกง, กระบัด ประบัด หรือ ตระบัด ก็ใช้.
สะบัด ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดห้วน ๆ ไม่มีหางเสียง แสดงความไม่พอใจ เช่น แม่ค้าไม่พอใจที่ลูกค้าต่อราคามากไป จึงพูดสะบัด ๆ.สะบัด ๆ ว. อาการที่พูดห้วน ๆ ไม่มีหางเสียง แสดงความไม่พอใจ เช่น แม่ค้าไม่พอใจที่ลูกค้าต่อราคามากไป จึงพูดสะบัด ๆ.
สะบัดก้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลุกผละไปทันทีด้วยความไม่พอใจเป็นต้น เช่น กินแล้วก็สะบัดก้นไป พูดยังไม่ทันรู้เรื่องก็โกรธสะบัดก้นไปแล้ว.สะบัดก้น ก. อาการที่ลุกผละไปทันทีด้วยความไม่พอใจเป็นต้น เช่น กินแล้วก็สะบัดก้นไป พูดยังไม่ทันรู้เรื่องก็โกรธสะบัดก้นไปแล้ว.
สะบัดช่อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างที่สุด เช่น สวยสะบัดช่อ.สะบัดช่อ (ปาก) ว. อย่างที่สุด เช่น สวยสะบัดช่อ.
สะบัดมือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ลุกไปทันทีเป็นเชิงเอาเปรียบหรือรู้มาก เช่น งานยังไม่ทันเสร็จก็สะบัดมือไปแล้ว กินอิ่มแล้วก็สะบัดมือไป.สะบัดมือ ก. ลุกไปทันทีเป็นเชิงเอาเปรียบหรือรู้มาก เช่น งานยังไม่ทันเสร็จก็สะบัดมือไปแล้ว กินอิ่มแล้วก็สะบัดมือไป.
สะบัดย่าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ม้าเดินเหยาะย่างอย่างสง่างามพร้อมกับสะบัดหางด้วย ในความว่า ม้าเดินสะบัดย่าง.สะบัดย่าง ว. อาการที่ม้าเดินเหยาะย่างอย่างสง่างามพร้อมกับสะบัดหางด้วย ในความว่า ม้าเดินสะบัดย่าง.
สะบัดร้อนสะบัดหนาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ครั่นเนื้อครั่นตัว, มีอาการคล้ายจะเป็นไข้เพราะเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว, โดยปริยายหมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษหรือถูกตำหนิเป็นต้น เช่น ผู้ที่ทำความผิดไว้ พอเห็นผู้บังคับบัญชามาก็รู้สึกสะบัดร้อนสะบัดหนาว, ร้อน ๆ หนาว ๆ หรือ หนาว ๆ ร้อน ๆ ก็ว่า.สะบัดร้อนสะบัดหนาว ก. ครั่นเนื้อครั่นตัว, มีอาการคล้ายจะเป็นไข้เพราะเดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว, โดยปริยายหมายความว่า มีความเร่าร้อนใจกลัวว่าจะถูกลงโทษหรือถูกตำหนิเป็นต้น เช่น ผู้ที่ทำความผิดไว้ พอเห็นผู้บังคับบัญชามาก็รู้สึกสะบัดร้อนสะบัดหนาว, ร้อน ๆ หนาว ๆ หรือ หนาว ๆ ร้อน ๆ ก็ว่า.
สะบัดลุกสะบัดนั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ผุดลุกผุดนั่ง, มีอาการคล้ายกระวนกระวายใจเพราะเดี๋ยวลุกเดี๋ยวนั่ง.สะบัดลุกสะบัดนั่ง ก. ผุดลุกผุดนั่ง, มีอาการคล้ายกระวนกระวายใจเพราะเดี๋ยวลุกเดี๋ยวนั่ง.
สะบัดสะบิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการกะบึงกะบอนแสนงอน เช่น เวลางอนก็ทำกิริยาสะบัดสะบิ้ง. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทแบบหนึ่ง.สะบัดสะบิ้ง ก. แสดงอาการกะบึงกะบอนแสนงอน เช่น เวลางอนก็ทำกิริยาสะบัดสะบิ้ง. น. ชื่อกลบทแบบหนึ่ง.
สะบัดหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่พอใจโดยผินหรือเบือนหน้าไปทันที เช่น สะบัดหน้าหนี.สะบัดหน้า ก. ไม่พอใจโดยผินหรือเบือนหน้าไปทันที เช่น สะบัดหน้าหนี.