สงเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[–เคฺราะ] เป็นคำนาม หมายถึง การช่วยเหลือ, การอุดหนุน, เช่น ฌาปนกิจสงเคราะห์; การรวบรวม เช่น หนังสือนามสงเคราะห์. เป็นคำกริยา หมายถึง อุดหนุน เช่น สงเคราะห์เด็กกำพร้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สงฺคฺรห เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ และมาจากภาษาบาลี สงฺคห เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ.สงเคราะห์ [–เคฺราะ] น. การช่วยเหลือ, การอุดหนุน, เช่น ฌาปนกิจสงเคราะห์; การรวบรวม เช่น หนังสือนามสงเคราะห์. ก. อุดหนุน เช่น สงเคราะห์เด็กกำพร้า. (ส. สงฺคฺรห; ป. สงฺคห).
สงฆ์ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ภิกษุ เช่น ของสงฆ์ พิธีสงฆ์, บางทีก็ใช้ควบกับคํา พระ หรือ ภิกษุ เป็น พระสงฆ์ หรือ ภิกษุสงฆ์ เช่น นิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ มีภิกษุสงฆ์มารับบิณฑบาตมาก, ลักษณนามว่า รูป หรือ องค์ เช่น ภิกษุสงฆ์ ๒ รูป พระสงฆ์ ๔ องค์; ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทําสังฆกรรม แต่จํานวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจํานวนที่กําหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจํานวนใช้ไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สงฺฆ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง และมาจากภาษาสันสกฤต สํฆ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ระ-คัง.สงฆ์ น. ภิกษุ เช่น ของสงฆ์ พิธีสงฆ์, บางทีก็ใช้ควบกับคํา พระ หรือ ภิกษุ เป็น พระสงฆ์ หรือ ภิกษุสงฆ์ เช่น นิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ มีภิกษุสงฆ์มารับบิณฑบาตมาก, ลักษณนามว่า รูป หรือ องค์ เช่น ภิกษุสงฆ์ ๒ รูป พระสงฆ์ ๔ องค์; ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทําสังฆกรรม แต่จํานวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจํานวนที่กําหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจํานวนใช้ไม่ได้. (ป. สงฺฆ; ส. สํฆ).
สงบ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺงบ] เป็นคำกริยา หมายถึง ระงับ เช่น สงบจิตสงบใจ สงบสติอารมณ์ สงบศึก, หยุดนิ่ง เช่น คลื่นลมสงบ พายุสงบ, กลับเป็นปรกติ เช่น เหตุการณ์สงบแล้ว, ปราศจากสิ่งรบกวน เช่น จิตใจสงบ, ไม่กำเริบ เช่น อาการไข้สงบลง ภูเขาไฟสงบ, ไม่วุ่นวาย เช่น บ้านเมืองสงบปราศจากโจรผู้ร้าย.สงบ [สะหฺงบ] ก. ระงับ เช่น สงบจิตสงบใจ สงบสติอารมณ์ สงบศึก, หยุดนิ่ง เช่น คลื่นลมสงบ พายุสงบ, กลับเป็นปรกติ เช่น เหตุการณ์สงบแล้ว, ปราศจากสิ่งรบกวน เช่น จิตใจสงบ, ไม่กำเริบ เช่น อาการไข้สงบลง ภูเขาไฟสงบ, ไม่วุ่นวาย เช่น บ้านเมืองสงบปราศจากโจรผู้ร้าย.
สงบเงียบ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ปราศจากเสียงรบกวน เช่น เด็ก ๆ ไม่อยู่บ้าน ทำให้บ้านสงบเงียบ.สงบเงียบ ก. ปราศจากเสียงรบกวน เช่น เด็ก ๆ ไม่อยู่บ้าน ทำให้บ้านสงบเงียบ.
สงบปากสงบคำ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง นิ่ง, ไม่พูด, เช่น เขาเป็นคนสงบปากสงบคำ, ไม่โต้เถียง เช่น สงบปากสงบคำเสียบ้าง อย่าไปต่อล้อต่อเถียงเขาเลย.สงบปากสงบคำ ก. นิ่ง, ไม่พูด, เช่น เขาเป็นคนสงบปากสงบคำ, ไม่โต้เถียง เช่น สงบปากสงบคำเสียบ้าง อย่าไปต่อล้อต่อเถียงเขาเลย.
สงบราบคาบ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เรียบร้อยปราศจากเสี้ยนหนามหรือความกระด้างกระเดื่อง เช่น บ้านเมืองสงบราบคาบ.สงบราบคาบ ก. เรียบร้อยปราศจากเสี้ยนหนามหรือความกระด้างกระเดื่อง เช่น บ้านเมืองสงบราบคาบ.
สงบเสงี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ระงับกิริยาวาจาด้วยความสุภาพเรียบร้อย เช่น เวลาอยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ต้องสงบเสงี่ยมเจียมตัว.สงบเสงี่ยม ก. ระงับกิริยาวาจาด้วยความสุภาพเรียบร้อย เช่น เวลาอยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ต้องสงบเสงี่ยมเจียมตัว.
สงวน เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู[สะหฺงวน] เป็นคำกริยา หมายถึง ถนอมรักษาไว้ เช่น เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ (โลกนิติ) สงวนมรดกของชาติ, หวงแหนไว้ เช่น สงวนเนื้อสงวนตัว สงวนลิขสิทธิ์ สงวนสิทธิ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่รักษาหวงแหนไว้ เช่น ป่าสงวน.สงวน [สะหฺงวน] ก. ถนอมรักษาไว้ เช่น เสียสินสงวนศักดิ์ไว้ วงศ์หงส์ (โลกนิติ) สงวนมรดกของชาติ, หวงแหนไว้ เช่น สงวนเนื้อสงวนตัว สงวนลิขสิทธิ์ สงวนสิทธิ์. ว. ที่รักษาหวงแหนไว้ เช่น ป่าสงวน.
สงวนท่าที, สงวนทีท่า สงวนท่าที เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี สงวนทีท่า เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่แสดงท่าทีให้ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อไม่ให้ผู้อื่นรู้ความคิดของตน เช่น เขาสงวนท่าทีไม่ยอมแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม, ระมัดระวังกิริยาวาจาไม่ให้ใครดูถูก เช่น ก่อนจะทักทายใคร ควรสงวนทีท่าไว้บ้าง.สงวนท่าที, สงวนทีท่า ก. ไม่แสดงท่าทีให้ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อไม่ให้ผู้อื่นรู้ความคิดของตน เช่น เขาสงวนท่าทีไม่ยอมแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม, ระมัดระวังกิริยาวาจาไม่ให้ใครดูถูก เช่น ก่อนจะทักทายใคร ควรสงวนทีท่าไว้บ้าง.
สงวนปากสงวนคำ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดด้วยความระมัดระวัง, ระมัดระวังคำพูด, เช่น จะพูดจาอะไร รู้จักสงวนปากสงวนคำไว้บ้าง ผู้อื่นจะรู้ความคิด.สงวนปากสงวนคำ ก. พูดด้วยความระมัดระวัง, ระมัดระวังคำพูด, เช่น จะพูดจาอะไร รู้จักสงวนปากสงวนคำไว้บ้าง ผู้อื่นจะรู้ความคิด.
สงเษป เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา[–เสบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สังเขป เช่น สวมแสดงบันทึกสาร สงเษป ไส้พ่อ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํเกฺษป เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา และมาจากภาษาบาลี สงฺเขป เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา.สงเษป [–เสบ] (แบบ) น. สังเขป เช่น สวมแสดงบันทึกสาร สงเษป ไส้พ่อ. (ยวนพ่าย). (ส. สํเกฺษป; ป. สงฺเขป).
ส่งสการ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สังสการ.ส่งสการ น. สังสการ.
สงสัย เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก; ทราบไม่ได้แน่ชัด, เคลือบแคลง, เช่น สงสัยว่าคำตอบข้อไหนถูก สงสัยว่าเขาจะเป็นขโมย; เอาแน่ไม่ได้ เช่น สงสัยว่าเขาจะมาหรือไม่มา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สํสย เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สํศย เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก.สงสัย ก. ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก; ทราบไม่ได้แน่ชัด, เคลือบแคลง, เช่น สงสัยว่าคำตอบข้อไหนถูก สงสัยว่าเขาจะเป็นขโมย; เอาแน่ไม่ได้ เช่น สงสัยว่าเขาจะมาหรือไม่มา. (ป. สํสย; ส. สํศย).
สงสาร ๑, สงสาร– สงสาร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สงสาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [สงสาน, สงสาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, การเวียนตายเวียนเกิด; โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํสาร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สงสาร ๑, สงสาร– [สงสาน, สงสาระ–] น. การเวียนว่ายตายเกิด, การเวียนตายเวียนเกิด; โลก. (ป., ส. สํสาร).
สงสารทุกข์ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ทุกข์ที่ต้องเวียนว่ายตายเกิด.สงสารทุกข์ น. ทุกข์ที่ต้องเวียนว่ายตายเกิด.
สงสารวัฏ เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, สังสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร ก็ว่า.สงสารวัฏ น. การเวียนว่ายตายเกิด, สังสารวัฏ หรือ วัฏสงสาร ก็ว่า.
สงสาร เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [สงสาน] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึกสงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร.สงสาร ๒ [สงสาน] ก. รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น, รู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณา, เช่น เห็นเด็ก ๆ อดอยากก็รู้สึกสงสาร เห็นเขาประสบอัคคีภัยแล้วสงสาร.
สงัด เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[สะหฺงัด] เป็นคำกริยา หมายถึง เงียบสงบ เช่น คลื่นสงัด ลมสงัด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงียบเชียบ, สงบเงียบเพราะปราศจากเสียงรบกวน, เช่น ดึกสงัด ยามสงัด.สงัด [สะหฺงัด] ก. เงียบสงบ เช่น คลื่นสงัด ลมสงัด. ว. เงียบเชียบ, สงบเงียบเพราะปราศจากเสียงรบกวน, เช่น ดึกสงัด ยามสงัด.
สงัดคลื่น เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีเสียงคลื่น.สงัดคลื่น ก. ไม่มีเสียงคลื่น.
สงัดคลื่นสงัดลม เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีคลื่นไม่มีลม เช่น ทะเลสงัดคลื่นสงัดลม.สงัดคลื่นสงัดลม ก. ไม่มีคลื่นไม่มีลม เช่น ทะเลสงัดคลื่นสงัดลม.
สงัดผู้สงัดคน เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เงียบเชียบเพราะไม่มีผู้คนผ่านไปมา.สงัดผู้สงัดคน ก. เงียบเชียบเพราะไม่มีผู้คนผ่านไปมา.
สงัดลม เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีลมพัด.สงัดลม ก. ไม่มีลมพัด.
สง่า เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[สะหฺง่า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะผึ่งผายเป็นที่น่ายำเกรงหรือน่านิยมยกย่อง เช่น ผู้นำจะต้องมีบุคลิกลักษณะสง่า, เป็นที่น่าเกรงขาม เช่น เสือโคร่งมีท่าทางสง่า.สง่า [สะหฺง่า] ว. มีลักษณะผึ่งผายเป็นที่น่ายำเกรงหรือน่านิยมยกย่อง เช่น ผู้นำจะต้องมีบุคลิกลักษณะสง่า, เป็นที่น่าเกรงขาม เช่น เสือโคร่งมีท่าทางสง่า.
สง่างาม เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีท่าทางภูมิฐานแลดูงาม.สง่างาม ว. มีท่าทางภูมิฐานแลดูงาม.
สง่าผ่าเผย เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีท่าทางองอาจผึ่งผาย.สง่าผ่าเผย ว. มีท่าทางองอาจผึ่งผาย.
สง่าราศี เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีท่าทางภูมิฐานผิวพรรณมีน้ำมีนวล.สง่าราศี ว. มีท่าทางภูมิฐานผิวพรรณมีน้ำมีนวล.
สฐะ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โกง, ล่อลวง; โอ้อวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สฐะ (แบบ) ว. โกง, ล่อลวง; โอ้อวด. (ป.).
สณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชัฏ, ดง, ที่รก, ที่ทึบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สณฺฑ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท และมาจากภาษาสันสกฤต ษณฺฑ เขียนว่า สอ-รือ-สี-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท.สณฑ์ (แบบ) น. ชัฏ, ดง, ที่รก, ที่ทึบ. (ป. สณฺฑ; ส. ษณฺฑ).
สด เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหม่ ใช้แก่ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นใหม่ ๆ ยังไม่ทันเสื่อมหรือเสียคุณภาพของสิ่งนั้น คือ ไม่เหี่ยวแห้ง ซีดจาง และอาจบริโภคหรือใช้ได้ดีในสภาพของขณะนั้น เช่น ไข่สด กุ้งสด ปลาสด, มีอยู่หรือได้มาใหม่ ๆ เช่น ข่าวสด, ดิบ คือ ยังไม่สุกด้วยไฟ ไม่แห้งหรือหมักดองเป็นต้น เช่น น้ำพริกผักสด ผลไม้สด น้ำตาลสด เบียร์สด ขนมจีนแป้งสด.สด ว. ใหม่ ใช้แก่ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นใหม่ ๆ ยังไม่ทันเสื่อมหรือเสียคุณภาพของสิ่งนั้น คือ ไม่เหี่ยวแห้ง ซีดจาง และอาจบริโภคหรือใช้ได้ดีในสภาพของขณะนั้น เช่น ไข่สด กุ้งสด ปลาสด, มีอยู่หรือได้มาใหม่ ๆ เช่น ข่าวสด, ดิบ คือ ยังไม่สุกด้วยไฟ ไม่แห้งหรือหมักดองเป็นต้น เช่น น้ำพริกผักสด ผลไม้สด น้ำตาลสด เบียร์สด ขนมจีนแป้งสด.
สด ๆ, สด ๆ ร้อน ๆ สด ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก สด ๆ ร้อน ๆ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยก ๆ, ใหม่ ๆ, เร็ว ๆ นี้, ไว ๆ นี้, เช่น เขาเพิ่งจบการศึกษามาจากต่างประเทศสด ๆ ร้อน ๆ สินค้าเพิ่งผลิตออกจากโรงงานสด ๆ ร้อน ๆ; ซึ่ง ๆ หน้า เช่น เจ้าข้าเอ่ยบุคคลผู้ใดเลย ในโลกนี้ที่น่าจะเจรจาตลบเลี้ยวลดสด ๆ ร้อน ๆ เหมือนเจ้าพระยาเวสสันดรชีไพรเป็นว่าหามิได้นี้แล้วแล (เวสสันดร), โกหกสด ๆ ร้อน ๆ.สด ๆ, สด ๆ ร้อน ๆ ว. หยก ๆ, ใหม่ ๆ, เร็ว ๆ นี้, ไว ๆ นี้, เช่น เขาเพิ่งจบการศึกษามาจากต่างประเทศสด ๆ ร้อน ๆ สินค้าเพิ่งผลิตออกจากโรงงานสด ๆ ร้อน ๆ; ซึ่ง ๆ หน้า เช่น เจ้าข้าเอ่ยบุคคลผู้ใดเลย ในโลกนี้ที่น่าจะเจรจาตลบเลี้ยวลดสด ๆ ร้อน ๆ เหมือนเจ้าพระยาเวสสันดรชีไพรเป็นว่าหามิได้นี้แล้วแล (เวสสันดร), โกหกสด ๆ ร้อน ๆ.
สดคาว เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดิบ ๆ และยังมีคาวอย่างปลาสดหรือเนื้อสด เช่น เขาชอบกินอาหารสดคาว, อาหารที่แสลงแก่โรค เช่น เป็นโรคริดสีดวงห้ามกินของสดคาว.สดคาว ว. ดิบ ๆ และยังมีคาวอย่างปลาสดหรือเนื้อสด เช่น เขาชอบกินอาหารสดคาว, อาหารที่แสลงแก่โรค เช่น เป็นโรคริดสีดวงห้ามกินของสดคาว.
สดชื่น เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหม่และบริสุทธิ์ทำให้เบิกบานใจและกระปรี้กระเปร่าขึ้น เช่น จิตใจสดชื่น อากาศสดชื่น ดอกไม้บานสดชื่น ผิวพรรณสดชื่น หน้าตาสดชื่น.สดชื่น ว. ใหม่และบริสุทธิ์ทำให้เบิกบานใจและกระปรี้กระเปร่าขึ้น เช่น จิตใจสดชื่น อากาศสดชื่น ดอกไม้บานสดชื่น ผิวพรรณสดชื่น หน้าตาสดชื่น.
สดใส เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผ่องใส, ไม่ขุ่นมัว, เช่น หน้าตาสดใส สีสันสดใส.สดใส ว. ผ่องใส, ไม่ขุ่นมัว, เช่น หน้าตาสดใส สีสันสดใส.
สดก เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[สะดก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หมวด ๑๐๐, จํานวนร้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตก เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต ศตก เขียนว่า สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.สดก [สะดก] (แบบ) น. หมวด ๑๐๐, จํานวนร้อย. (ป. สตก; ส. ศตก).
สดน, สดัน สดน เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู สดัน เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู [สะดน, สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เต้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี ถน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู.สดน, สดัน [สะดน, สะ–] (แบบ) น. เต้านม. (ส. สฺตน; ป. ถน).
สดมภ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด[สะดม] เป็นคำนาม หมายถึง เสา, หลัก; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง ช่องในแนวตั้งสําหรับกรอกรายการต่าง ๆ เช่น ตัวเลข สัญลักษณ์ สูตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตมฺภ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาบาลี ถมฺภ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา.สดมภ์ [สะดม] น. เสา, หลัก; (คณิต) ช่องในแนวตั้งสําหรับกรอกรายการต่าง ๆ เช่น ตัวเลข สัญลักษณ์ สูตร. (ส. สฺตมฺภ; ป. ถมฺภ).
สดับ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[สะดับ] เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งใจฟัง เช่น สดับพระธรรมเทศนา, มักใช้เข้าคู่กับคําตรับฟัง เป็น สดับตรับฟัง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ได้ยิน เช่น ถึงแม้ว่าจะสนิทนิทรา ก็ผวาเมื่อสดับศัพท์เสียงพี่. (วิวาหพระสมุท). (ข. สฎาบ่).สดับ [สะดับ] ก. ตั้งใจฟัง เช่น สดับพระธรรมเทศนา, มักใช้เข้าคู่กับคําตรับฟัง เป็น สดับตรับฟัง; (วรรณ) ได้ยิน เช่น ถึงแม้ว่าจะสนิทนิทรา ก็ผวาเมื่อสดับศัพท์เสียงพี่. (วิวาหพระสมุท). (ข. สฎาบ่).
สดับตรับฟัง เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ฟังด้วยความเอาใจใส่ เช่น สดับตรับฟังพระธรรมเทศนา.สดับตรับฟัง ก. ฟังด้วยความเอาใจใส่ เช่น สดับตรับฟังพระธรรมเทศนา.
สดับปกรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[สะดับปะกอน] เป็นคำกริยา หมายถึง บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย). เป็นคำนาม หมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุบันใช้เฉพาะเจ้านาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สตฺตปฺปกรณ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน และมาจากภาษาสันสกฤต สปฺตปฺรกรณ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน หมายถึง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู พระอภิธรรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ๗ เขียนว่า เจ็ด คัมภีร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด .สดับปกรณ์ [สะดับปะกอน] ก. บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย). น. พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุบันใช้เฉพาะเจ้านาย. (ป. สตฺตปฺปกรณ; ส. สปฺตปฺรกรณ หมายถึง พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์).
สดำ เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ[สะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขวา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺฎำ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อำ.สดำ [สะ–] ว. ขวา. (ข. สฺฎำ).
สดี เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง นางที่มีความซื่อสัตย์ต่อสามี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สตี เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี.สดี [สะ–] น. นางที่มีความซื่อสัตย์ต่อสามี. (ส. สตี).
สดุดี เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คํายกย่อง, คําสรรเสริญ, (โดยปรกติใช้ในลักษณะเป็นพิธีการ), เช่น กล่าวสดุดีวีรกรรมของทหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตุติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ถุติ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สดุดี [สะ–] น. คํายกย่อง, คําสรรเสริญ, (โดยปรกติใช้ในลักษณะเป็นพิธีการ), เช่น กล่าวสดุดีวีรกรรมของทหาร. (ส. สฺตุติ; ป. ถุติ).
สดูป เขียนว่า สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา[สะดูบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สถูป, สิ่งก่อสร้างซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกแห่งบุคคลที่นับถือเป็นต้น, สตูป ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตูป เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา และมาจากภาษาบาลี ถูป เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา.สดูป [สะดูบ] (แบบ) น. สถูป, สิ่งก่อสร้างซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกแห่งบุคคลที่นับถือเป็นต้น, สตูป ก็ว่า. (ส. สฺตูป; ป. ถูป).
สต–, สตะ สต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า สตะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [สะตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ร้อย (๑๐๐). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศต เขียนว่า สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า.สต–, สตะ ๑ [สะตะ–] น. ร้อย (๑๐๐). (ป.; ส. ศต).
สตมาหะ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ครบ ๑๐๐.สตมาหะ น. วันที่ครบ ๑๐๐.
สตกะ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[สะตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หมวด ๑๐๐, จํานวนร้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สตกะ [สะตะ–] น. หมวด ๑๐๐, จํานวนร้อย. (ป.).
สตน, สตัน สตน เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู สตัน เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู [สะตน, สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เต้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี ถน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู.สตน, สตัน [สะตน, สะ–] (แบบ) น. เต้านม. (ส. สฺตน; ป. ถน).
สตภิสชะ, ศตภิษัช สตภิสชะ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ ศตภิษัช เขียนว่า สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง [สะตะพิดชะ, สะตะพิสัด] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๔ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปทิมทองหรือมังกร, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์ ก็เรียก.สตภิสชะ, ศตภิษัช [สะตะพิดชะ, สะตะพิสัด] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๔ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปทิมทองหรือมังกร, ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์ ก็เรียก.
สตรอนเชียม เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[สะตฺรอน–] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๘ สัญลักษณ์ Sr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีเหลืองอ่อน ไวต่อปฏิกิริยาเคมี หลอมละลายที่ ๗๕๒°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ strontium เขียนว่า เอส-ที-อา-โอ-เอ็น-ที-ไอ-ยู-เอ็ม.สตรอนเชียม [สะตฺรอน–] น. ธาตุลําดับที่ ๓๘ สัญลักษณ์ Sr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน สีเหลืองอ่อน ไวต่อปฏิกิริยาเคมี หลอมละลายที่ ๗๕๒°ซ. (อ. strontium).
สตริกนิน เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[สะตฺริก–] เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C21H22N2O2 ลักษณะเป็นผลึกหรือผงสีขาว ละลายได้เล็กน้อยในนํ้า หลอมละลายที่ ๒๖๘°–๒๙๐°ซ. เป็นพิษอย่างแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ strychnine เขียนว่า เอส-ที-อา-วาย-ซี-เอช-เอ็น-ไอ-เอ็น-อี.สตริกนิน [สะตฺริก–] น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C21H22N2O2 ลักษณะเป็นผลึกหรือผงสีขาว ละลายได้เล็กน้อยในนํ้า หลอมละลายที่ ๒๖๘°–๒๙๐°ซ. เป็นพิษอย่างแรง. (อ. strychnine).
สตรี เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[สัดตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หญิง, เพศหญิง, คู่กับ บุรุษ, (ใช้ในลักษณะที่สุภาพ). (ส.; ป. อิตฺถี, ถี).สตรี [สัดตฺรี] น. ผู้หญิง, เพศหญิง, คู่กับ บุรุษ, (ใช้ในลักษณะที่สุภาพ). (ส.; ป. อิตฺถี, ถี).
สตรีเพศ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง เพศหญิง, คู่กับ บุรุษเพศ.สตรีเพศ น. เพศหญิง, คู่กับ บุรุษเพศ.
สตรีลิงค์, สตรีลึงค์ สตรีลิงค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด สตรีลึงค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง เพศของคําที่เป็นเพศหญิง เช่น ย่า ยาย แม่ นารี, อิตถีลิงค์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตรีลิงฺค เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี อิตฺถีลิงฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.สตรีลิงค์, สตรีลึงค์ (ไว) น. เพศของคําที่เป็นเพศหญิง เช่น ย่า ยาย แม่ นารี, อิตถีลิงค์ ก็ว่า. (ส. สฺตรีลิงฺค; ป. อิตฺถีลิงฺค).
สตะ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระลึกได้, จําได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมฺฤต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า.สตะ ๒ ว. ระลึกได้, จําได้. (ป.; ส. สฺมฺฤต).
สตันย์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นํ้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ถฺ เขียนว่า ถอ-ถุง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง.สตันย์ [สะ–] (แบบ) น. นํ้านม. (ส.; ป. ถฺ).
สตัพธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด[สะตับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งกระด้าง, เย่อหยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตพฺธ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พอ-พาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง และมาจากภาษาบาลี ถทฺธ เขียนว่า ถอ-ถุง-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง.สตัพธ์ [สะตับ] (แบบ) ว. แข็งกระด้าง, เย่อหยิ่ง. (ส. สฺตพฺธ; ป. ถทฺธ).
สตัฟฟ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ทัน-ทะ-คาด[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การนําวัสดุบางอย่างบรรจุในโครงหนังสัตว์ซึ่งผ่านกรรมวิธีทางเคมีสําหรับรักษาไม่ให้เน่าเปื่อยแล้วตกแต่งให้ดูเหมือนสัตว์จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ stuff เขียนว่า เอส-ที-ยู-เอฟ-เอฟ.สตัฟฟ์ [สะ–] น. การนําวัสดุบางอย่างบรรจุในโครงหนังสัตว์ซึ่งผ่านกรรมวิธีทางเคมีสําหรับรักษาไม่ให้เน่าเปื่อยแล้วตกแต่งให้ดูเหมือนสัตว์จริง. (อ. stuff).
สตัมภ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด[สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสา, หลัก; เครื่องคํ้าจุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตมฺภ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา สฺตมฺพ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน และมาจากภาษาบาลี ถมฺภ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา.สตัมภ์ [สะ–] (แบบ) น. เสา, หลัก; เครื่องคํ้าจุน. (ส. สฺตมฺภ, สฺตมฺพ; ป. ถมฺภ).
สตางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[สะตาง] เป็นคำนาม หมายถึง เหรียญกระษาปณ์ปลีกย่อย ๑๐๐ สตางค์ เป็น ๑ บาท, อักษรย่อว่า สต., โดยปริยายหมายถึงเงินที่ใช้สอย เช่น วันนี้ไม่มีสตางค์ติดตัวมาเลย เขาเป็นคนมีสตางค์; ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๐.๑๕ กรัม; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง มาตราวัดน้ำฝนเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของทศางค์.สตางค์ [สะตาง] น. เหรียญกระษาปณ์ปลีกย่อย ๑๐๐ สตางค์ เป็น ๑ บาท, อักษรย่อว่า สต., โดยปริยายหมายถึงเงินที่ใช้สอย เช่น วันนี้ไม่มีสตางค์ติดตัวมาเลย เขาเป็นคนมีสตางค์; ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สําหรับกําหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๐.๑๕ กรัม; (โบ) มาตราวัดน้ำฝนเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของทศางค์.
สติ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว, เช่น ได้สติ ฟื้นคืนสติ สิ้นสติ, ความรู้สึกผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมฺฤติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สติ [สะติ] น. ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว, เช่น ได้สติ ฟื้นคืนสติ สิ้นสติ, ความรู้สึกผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. (ป.; ส. สฺมฺฤติ).
สติแตก เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ควบคุมสติไม่ได้.สติแตก ก. ควบคุมสติไม่ได้.
สติปัญญา เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ปัญญารอบคอบ, ปัญญารู้คิด, เช่น เขาเป็นคนมีสติปัญญาดี.สติปัญญา น. ปัญญารอบคอบ, ปัญญารู้คิด, เช่น เขาเป็นคนมีสติปัญญาดี.
สติปัฏฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สติปัฏฐาน น. ชื่อธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม. (ป.).
สติฟั่นเฟือน เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คุ้มดีคุ้มร้าย.สติฟั่นเฟือน ว. คุ้มดีคุ้มร้าย.
สติไม่ดี เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ้า ๆ บอ ๆ; หลง ๆ ลืม ๆ เช่น หมู่นี้สติไม่ดี ทำงานผิดพลาดบ่อย ๆ.สติไม่ดี ว. บ้า ๆ บอ ๆ; หลง ๆ ลืม ๆ เช่น หมู่นี้สติไม่ดี ทำงานผิดพลาดบ่อย ๆ.
สติลอย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหม่อ, เผลอสติ, เช่น เขาเดินสติลอยเลยถูกรถชน.สติลอย ว. เหม่อ, เผลอสติ, เช่น เขาเดินสติลอยเลยถูกรถชน.
สติวินัย เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจําเลยไว้ซึ่งเรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สติวินัย น. วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจําเลยไว้ซึ่งเรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. (ป.).
สติวิปลาส เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[–วิปะลาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสติฟั่นเฟือนคล้ายคนบ้า, สัญญาวิปลาส ก็ว่า.สติวิปลาส [–วิปะลาด] ว. มีสติฟั่นเฟือนคล้ายคนบ้า, สัญญาวิปลาส ก็ว่า.
สติสัมปชัญญะ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความระลึกได้และความรู้ตัว, ความรู้สึกตัวด้วยความรอบคอบ, เช่น จะทำอะไรต้องมีสติสัมปชัญญะ.สติสัมปชัญญะ น. ความระลึกได้และความรู้ตัว, ความรู้สึกตัวด้วยความรอบคอบ, เช่น จะทำอะไรต้องมีสติสัมปชัญญะ.
สติอารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความคิดที่ฟุ้งซ่าน เช่น สงบสติอารมณ์เสียบ้าง อย่าคิดมากไปเลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สติอารมณ์ น. ความคิดที่ฟุ้งซ่าน เช่น สงบสติอารมณ์เสียบ้าง อย่าคิดมากไปเลย. (ป.).
สตี เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง นางที่มีความซื่อสัตย์ต่อสามี; ธรรมเนียมที่ผู้หญิงชาวฮินดูเผาตัวบนกองไฟพร้อมกับศพสามีเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและความบริสุทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สตี [สะ–] น. นางที่มีความซื่อสัตย์ต่อสามี; ธรรมเนียมที่ผู้หญิงชาวฮินดูเผาตัวบนกองไฟพร้อมกับศพสามีเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีและความบริสุทธิ์. (ส.).
สตู เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารคาวชนิดหนึ่ง นำเนื้อหรือไก่เป็นต้นเคี่ยวในน้ำสต๊อกให้นุ่มด้วยไฟอ่อน ๆ ใส่ผัก เช่น มะเขือเทศ ถั่วแขก มันฝรั่ง มีน้ำข้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ stew เขียนว่า เอส-ที-อี-ดับเบิลยู.สตู [สะ–] น. อาหารคาวชนิดหนึ่ง นำเนื้อหรือไก่เป็นต้นเคี่ยวในน้ำสต๊อกให้นุ่มด้วยไฟอ่อน ๆ ใส่ผัก เช่น มะเขือเทศ ถั่วแขก มันฝรั่ง มีน้ำข้น. (อ. stew).
สตูป เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา[สะตูบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สถูป, สิ่งก่อสร้างซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกแห่งบุคคลที่นับถือเป็นต้น, สดูป ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ถูป เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา.สตูป [สะตูบ] (แบบ) น. สถูป, สิ่งก่อสร้างซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกแห่งบุคคลที่นับถือเป็นต้น, สดูป ก็ว่า. (ส.; ป. ถูป).
สเต๊ก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-กอ-ไก่[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารคาวชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยเนื้อสันหรือปลาเป็นต้น หั่นชิ้นใหญ่ ๆ มักปรุงรส แล้วนำไปย่างหรือทอด กินกับมันฝรั่งทอด บดหรือต้ม และผักบางชนิด ใส่เครื่องปรุงรสตามชอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ steak เขียนว่า เอส-ที-อี-เอ-เค.สเต๊ก [สะ–] น. ชื่ออาหารคาวชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทำด้วยเนื้อสันหรือปลาเป็นต้น หั่นชิ้นใหญ่ ๆ มักปรุงรส แล้วนำไปย่างหรือทอด กินกับมันฝรั่งทอด บดหรือต้ม และผักบางชนิด ใส่เครื่องปรุงรสตามชอบ. (อ. steak).
สถน เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-นอ-หนู[สะถน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เต้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺตน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี ถน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู.สถน [สะถน] (แบบ) น. เต้านม. (ส. สฺตน; ป. ถน).
สถบดี เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[สะถะบอดี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างก่อสร้าง, ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถปติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ถปติ เขียนว่า ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สถบดี [สะถะบอดี] (แบบ) น. ช่างก่อสร้าง, ช่างไม้. (ส. สฺถปติ; ป. ถปติ).
สถล, สถล– สถล เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง สถล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง [สะถน, สะถนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ที่บก, ที่ดอน, ที่สูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ถล เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง.สถล, สถล– [สะถน, สะถนละ–] น. ที่บก, ที่ดอน, ที่สูง. (ส.; ป. ถล).
สถลทิน เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสถานที่สําหรับทําพิธีเกี่ยวกับรับช้างเผือก ทําเป็นเนินดินมีเสาโครงเพดานผ้าขาวเป็นที่หุงข้าวเภาและปักต้นอ้อย.สถลทิน น. ชื่อสถานที่สําหรับทําพิธีเกี่ยวกับรับช้างเผือก ทําเป็นเนินดินมีเสาโครงเพดานผ้าขาวเป็นที่หุงข้าวเภาและปักต้นอ้อย.
สถลบถ, สถลมารค สถลบถ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง สถลมารค เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ทางบก เช่น กระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สถลบถ, สถลมารค น. ทางบก เช่น กระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค. (ส.).
สถวีระ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[สะถะวีระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พระเถระ; ชื่อนิกายหนึ่งของฝ่ายเถรวาท เรียกว่า นิกายสถวีระ หรือ สถีรวาท. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถวิร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ ว่า ผู้ใหญ่, ผู้สูงอายุ และมาจากภาษาบาลี เถร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ.สถวีระ [สะถะวีระ] (แบบ) น. พระเถระ; ชื่อนิกายหนึ่งของฝ่ายเถรวาท เรียกว่า นิกายสถวีระ หรือ สถีรวาท. (ส. สฺถวิร ว่า ผู้ใหญ่, ผู้สูงอายุ; ป. เถร).
สถาน เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ [สะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้ง เช่น สถานเสาวภา สถานพยาบาล สถานพักฟื้น สถานบริบาลทารก, ถ้าใช้ประกอบคำอื่นหมายถึง ที่, แหล่ง, เช่น โบราณสถาน ศาสนสถาน ฌาปนสถาน ปูชนียสถาน สังเวชนียสถาน; ประการ เช่น มีความผิดหลายสถาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี าน เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สถาน ๑ [สะถาน] น. ที่ตั้ง เช่น สถานเสาวภา สถานพยาบาล สถานพักฟื้น สถานบริบาลทารก, ถ้าใช้ประกอบคำอื่นหมายถึง ที่, แหล่ง, เช่น โบราณสถาน ศาสนสถาน ฌาปนสถาน ปูชนียสถาน สังเวชนียสถาน; ประการ เช่น มีความผิดหลายสถาน. (ส.; ป. าน).
สถานกงสุล เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ที่ทำการของกงสุล.สถานกงสุล น. ที่ทำการของกงสุล.
สถานที่ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้ง, แหล่ง, เช่น สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ตากอากาศ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ.สถานที่ น. ที่ตั้ง, แหล่ง, เช่น สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ตากอากาศ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ.
สถานทูต เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ที่ทำการของทูต.สถานทูต น. ที่ทำการของทูต.
สถานธนานุเคราะห์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง โรงรับจำนำของกรมประชาสงเคราะห์.สถานธนานุเคราะห์ น. โรงรับจำนำของกรมประชาสงเคราะห์.
สถานธนานุบาล เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง โรงรับจำนำของกรุงเทพมหานคร, โรงรับจำนำของเทศบาล.สถานธนานุบาล น. โรงรับจำนำของกรุงเทพมหานคร, โรงรับจำนำของเทศบาล.
สถานบริการ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้บริการโดยหวังประโยชน์ในการค้า ดังต่อไปนี้ (๑) สถานเต้นรำ รำวง หรือรองเง็ง ประเภทที่มีและประเภทที่ไม่มีหญิงพาตเนอร์บริการ (๒) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่ายและบริการ โดยมีหญิงบำเรอสำหรับปรนนิบัติลูกค้า หรือโดยมีที่สำหรับพักผ่อนหลับนอนหรือมีบริการนวดให้แก่ลูกค้า (๓) สถานอาบน้ำ นวด หรืออบตัว ซึ่งมีผู้บริการให้แก่ลูกค้า (๔) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่าย โดยจัดให้มีการแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง.สถานบริการ (กฎ) น. สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อให้บริการโดยหวังประโยชน์ในการค้า ดังต่อไปนี้ (๑) สถานเต้นรำ รำวง หรือรองเง็ง ประเภทที่มีและประเภทที่ไม่มีหญิงพาตเนอร์บริการ (๒) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่ายและบริการ โดยมีหญิงบำเรอสำหรับปรนนิบัติลูกค้า หรือโดยมีที่สำหรับพักผ่อนหลับนอนหรือมีบริการนวดให้แก่ลูกค้า (๓) สถานอาบน้ำ นวด หรืออบตัว ซึ่งมีผู้บริการให้แก่ลูกค้า (๔) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจำหน่าย โดยจัดให้มีการแสดงดนตรี หรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง.
สถานประกอบการ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ซึ่งผู้ประกอบการใช้ประกอบกิจการเป็นประจำและหมายความรวมถึงสถานที่ซึ่งใช้เป็นที่ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจำด้วย.สถานประกอบการ (กฎ) น. สถานที่ซึ่งผู้ประกอบการใช้ประกอบกิจการเป็นประจำและหมายความรวมถึงสถานที่ซึ่งใช้เป็นที่ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจำด้วย.
สถาน– ๒, สถานะ สถาน– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู สถานะ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [สะถานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, เช่น เขาอยู่ในสถานะยากไร้ เศรษฐกิจของประเทศไทยมีสถานะมั่นคง น้ำมีสถานะปรกติเป็นของเหลว.สถาน– ๒, สถานะ [สะถานะ–] น. ความเป็นไป, ความเป็นอยู่, เช่น เขาอยู่ในสถานะยากไร้ เศรษฐกิจของประเทศไทยมีสถานะมั่นคง น้ำมีสถานะปรกติเป็นของเหลว.
สถานการณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เหตุการณ์ที่กําลังเป็นไป เช่น สถานการณ์บ้านเมืองเป็นปรกติดี.สถานการณ์ น. เหตุการณ์ที่กําลังเป็นไป เช่น สถานการณ์บ้านเมืองเป็นปรกติดี.
สถานการณ์ฉุกเฉิน เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคง หรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร หรืออันอาจทำให้ประเทศตกอยู่ในภาวะคับขัน หรือภาวะการรบหรือการสงคราม.สถานการณ์ฉุกเฉิน (กฎ) น. สถานการณ์อันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคง หรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร หรืออันอาจทำให้ประเทศตกอยู่ในภาวะคับขัน หรือภาวะการรบหรือการสงคราม.
สถานภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ฐานะ เช่น ราชบัณฑิตยสถานมีสถานภาพเป็นแหล่งค้นคว้าและบำรุงสรรพวิชา; ตําแหน่งหรือเกียรติยศของบุคคลที่ปรากฏในสังคม เช่น เขามีสถานภาพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี; สิทธิหน้าที่ตามบทบาทของบุคคล เช่น เขามีสถานภาพทางครอบครัวเป็นบิดา.สถานภาพ น. ฐานะ เช่น ราชบัณฑิตยสถานมีสถานภาพเป็นแหล่งค้นคว้าและบำรุงสรรพวิชา; ตําแหน่งหรือเกียรติยศของบุคคลที่ปรากฏในสังคม เช่น เขามีสถานภาพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางโบราณคดี; สิทธิหน้าที่ตามบทบาทของบุคคล เช่น เขามีสถานภาพทางครอบครัวเป็นบิดา.
สถานี เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี[สะถานี] เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยที่ตั้งเป็นที่พักหรือที่ทําการ เช่น สถานีตํารวจ สถานีรถไฟ สถานีตรวจอากาศ สถานีขนส่ง; ฐานส่งกำลังบำรุงของกองทัพเรือที่ประจำอยู่บนบก มีฐานใหญ่ ๆ ๓ แห่ง เรียกว่า สถานีทหารเรือ คือ สถานีทหารเรือกรุงเทพ สถานีทหารเรือสงขลา สถานีทหารเรือพังงา, ฐานส่งกำลังบำรุงหน่วยย่อยสำหรับการปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง เรียกว่า สถานีเรือ เช่น สถานีเรืออำเภอเชียงคาน สถานีเรืออำเภอโขงเจียม สถานีเรืออำเภอธาตุพนม; ตำแหน่งของเรือขณะอยู่ในรูปกระบวน เช่น เรือ ก รักษาสถานีทางขวาของเรือ ข ระยะ ๕๐๐ หลา; ที่ที่กำหนดให้ทหารเรือประจำเพื่อปฏิบัติการตามภารกิจต่าง ๆ เช่น สถานีรบ สถานีจอดเรือ สถานีออกเรือ สถานีช่วยคนตกน้ำ สถานีรับส่งสิ่งของทางทะเล; ที่ที่มีหน่วยปฏิบัติการเฉพาะ เช่น สถานีสื่อสารดาวเทียม สถานีสมุทรศาสตร์ สถานีตรวจอากาศ.สถานี [สะถานี] น. หน่วยที่ตั้งเป็นที่พักหรือที่ทําการ เช่น สถานีตํารวจ สถานีรถไฟ สถานีตรวจอากาศ สถานีขนส่ง; ฐานส่งกำลังบำรุงของกองทัพเรือที่ประจำอยู่บนบก มีฐานใหญ่ ๆ ๓ แห่ง เรียกว่า สถานีทหารเรือ คือ สถานีทหารเรือกรุงเทพ สถานีทหารเรือสงขลา สถานีทหารเรือพังงา, ฐานส่งกำลังบำรุงหน่วยย่อยสำหรับการปฏิบัติการตามลำแม่น้ำโขง เรียกว่า สถานีเรือ เช่น สถานีเรืออำเภอเชียงคาน สถานีเรืออำเภอโขงเจียม สถานีเรืออำเภอธาตุพนม; ตำแหน่งของเรือขณะอยู่ในรูปกระบวน เช่น เรือ ก รักษาสถานีทางขวาของเรือ ข ระยะ ๕๐๐ หลา; ที่ที่กำหนดให้ทหารเรือประจำเพื่อปฏิบัติการตามภารกิจต่าง ๆ เช่น สถานีรบ สถานีจอดเรือ สถานีออกเรือ สถานีช่วยคนตกน้ำ สถานีรับส่งสิ่งของทางทะเล; ที่ที่มีหน่วยปฏิบัติการเฉพาะ เช่น สถานีสื่อสารดาวเทียม สถานีสมุทรศาสตร์ สถานีตรวจอากาศ.
สถานีอนามัย เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจำ ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตำบลและหมู่บ้าน, เดิมเรียกว่า สุขศาลา.สถานีอนามัย น. สถานบริการสาธารณสุขที่ไม่มีแพทย์ประจำ ให้บริการสาธารณสุขทุกสาขา และส่งเสริมป้องกันด้านอนามัยแก่ประชาชนในระดับตำบลและหมู่บ้าน, เดิมเรียกว่า สุขศาลา.
สถาบก เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สร้าง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาปก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-กอ-ไก่ ว่า ผู้ตั้ง, ผู้สร้าง .สถาบก [สะ–] (โบ) ก. สร้าง. (จารึกสยาม). (ส. สฺถาปก ว่า ผู้ตั้ง, ผู้สร้าง).
สถาบัน เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสังคมศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งซึ่งคนในส่วนรวม คือ สังคม จัดตั้งให้มีขึ้นเพราะเห็นประโยชน์ว่ามีความต้องการและจําเป็นแก่วิถีชีวิตของตน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันการศึกษา สถาบันการเมือง สถาบันการเงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สถาบัน [สะ–] (สังคม) น. สิ่งซึ่งคนในส่วนรวม คือ สังคม จัดตั้งให้มีขึ้นเพราะเห็นประโยชน์ว่ามีความต้องการและจําเป็นแก่วิถีชีวิตของตน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันการศึกษา สถาบันการเมือง สถาบันการเงิน. (ส.).
สถาปนา เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[สะถาปะนา] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้น เช่นเลื่อนเจ้านายให้สูงศักดิ์ขึ้น หรือยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง, ตั้งขึ้น (มักใช้แก่หน่วยราชการหรือองค์การที่สําคัญ ๆ ในระดับกระทรวง ทบวงมหาวิทยาลัย) เช่น วันสถาปนากระทรวงมหาดไทย วันสถาปนาราชบัณฑิตยสถาน วันสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาปน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี าปน เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู.สถาปนา [สะถาปะนา] ก. ยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้น เช่นเลื่อนเจ้านายให้สูงศักดิ์ขึ้น หรือยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง, ตั้งขึ้น (มักใช้แก่หน่วยราชการหรือองค์การที่สําคัญ ๆ ในระดับกระทรวง ทบวงมหาวิทยาลัย) เช่น วันสถาปนากระทรวงมหาดไทย วันสถาปนาราชบัณฑิตยสถาน วันสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ส. สฺถาปน; ป. าปน).
สถาปนิก เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[สะถาปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิในการสร้างสรรค์ทางออกแบบก่อสร้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สถาปนิก [สะถาปะ–] น. ผู้ทรงคุณวุฒิในการสร้างสรรค์ทางออกแบบก่อสร้าง. (ส.).
สถาปนียพยากรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[–นียะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การจําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยอาการนิ่ง.สถาปนียพยากรณ์ [–นียะ–] น. การจําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยอาการนิ่ง.
สถาปนียวาที เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี[–นียะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้จําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยการนิ่ง.สถาปนียวาที [–นียะ–] น. ผู้จําแนกธรรมหรือพยากรณ์ปัญหาธรรมโดยการนิ่ง.
สถาปัตยกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[สะถาปัดตะยะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะและวิทยาเกี่ยวกับงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาปตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + กรฺมนฺ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ .สถาปัตยกรรม [สะถาปัดตะยะกํา] น. ศิลปะและวิทยาเกี่ยวกับงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ. (ส. สฺถาปตฺย + กรฺมนฺ).
สถาปัตยกรรมศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สะถาปัดตะยะกำมะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการออกแบบงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ.สถาปัตยกรรมศาสตร์ [สะถาปัดตะยะกำมะสาด] น. วิชาว่าด้วยการออกแบบงานก่อสร้างที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ.
สถาปัตยเรขา เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา[สะถาปัดตะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แบบร่างหรือต้นแบบการออกแบบก่อสร้าง.สถาปัตยเรขา [สะถาปัดตะยะ–] น. แบบร่างหรือต้นแบบการออกแบบก่อสร้าง.
สถาปัตยเวท เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน[สะถาปัดตะยะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาการก่อสร้าง เป็นสาขาหนึ่งของอุปเวท. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาปตฺย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + เวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน . ในวงเล็บ ดู อุปเวท ประกอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .สถาปัตยเวท [สะถาปัดตะยะเวด] น. วิชาการก่อสร้าง เป็นสาขาหนึ่งของอุปเวท. (ส. สฺถาปตฺย + เวท). (ดู อุปเวท ประกอบ).
สถาพร, สถาวร สถาพร เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ สถาวร เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ [สะถาพอน, –วอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยืนยง, มั่นคง, เช่น ขอให้มีความสุขสถาพร สถิตสถาพร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาวร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ถาวร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ.สถาพร, สถาวร [สะถาพอน, –วอน] ว. ยืนยง, มั่นคง, เช่น ขอให้มีความสุขสถาพร สถิตสถาพร. (ส. สฺถาวร; ป. ถาวร).
สถาล เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[สะถาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะใส่ของ, จาน, ชาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถาล เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี ถาล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.สถาล [สะถาน] (แบบ) น. ภาชนะใส่ของ, จาน, ชาม. (ส. สฺถาล; ป. ถาล).
สถิต เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[สะถิด] เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, (ใช้เป็นคํายกย่องแก่สิ่งหรือบุคคลที่อยู่ในฐานะสูง) เช่น พระเจ้าสถิตบนสวรรค์ พระมหากษัตริย์สถิตบนพระที่นั่ง สมเด็จพระสังฆราชสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถิต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี ิต เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สถิต [สะถิด] ก. อยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, (ใช้เป็นคํายกย่องแก่สิ่งหรือบุคคลที่อยู่ในฐานะสูง) เช่น พระเจ้าสถิตบนสวรรค์ พระมหากษัตริย์สถิตบนพระที่นั่ง สมเด็จพระสังฆราชสถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร. (ส. สฺถิต; ป. ิต).
สถิตยศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สะถิดตะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งว่าด้วยแรงที่กระทําต่อเทหวัตถุซึ่งเป็นของแข็ง โดยที่เทหวัตถุนั้น ๆ หยุดนิ่งอยู่กับที่. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ statics เขียนว่า เอส-ที-เอ-ที-ไอ-ซี-เอส.สถิตยศาสตร์ [สะถิดตะยะ–] น. วิชากลศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งว่าด้วยแรงที่กระทําต่อเทหวัตถุซึ่งเป็นของแข็ง โดยที่เทหวัตถุนั้น ๆ หยุดนิ่งอยู่กับที่. (อ. statics).
สถิติ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสําหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถิติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ิติ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สถิติ [สะ–] น. หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสําหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. (ส. สฺถิติ; ป. ิติ).
สถิติศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยสถิติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ statistics เขียนว่า เอส-ที-เอ-ที-ไอ-เอส-ที-ไอ-ซี-เอส.สถิติศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยสถิติ. (อ. statistics).
สถิร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ[สะถิระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถิร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ถิร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ.สถิร– [สะถิระ–] ว. มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง. (ส. สฺถิร; ป. ถิร).
สถีรวาท เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน[สะถีระวาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนิกายหนึ่งของฝ่ายเถรวาท เรียกว่า นิกายสถีรวาท หรือ สถวีระ.สถีรวาท [สะถีระวาด] (แบบ) น. ชื่อนิกายหนึ่งของฝ่ายเถรวาท เรียกว่า นิกายสถีรวาท หรือ สถวีระ.
สถุล เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง[สะถุน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบ, ตํ่าช้า, เลวทราม, (ใช้เป็นคำด่า), เช่น เลวสถุล, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไพร่ เป็น ไพร่สถุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺถูล เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง ว่า อ้วน, หยาบ และมาจากภาษาบาลี ถูล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง.สถุล [สะถุน] ว. หยาบ, ตํ่าช้า, เลวทราม, (ใช้เป็นคำด่า), เช่น เลวสถุล, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไพร่ เป็น ไพร่สถุล. (ส. สฺถูล ว่า อ้วน, หยาบ; ป. ถูล).
สถูป เขียนว่า สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา[สะถูบ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งก่อสร้างที่มีรูปโอคว่ำซึ่งก่อไว้สำหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์เป็นต้น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ เจดีย์ เป็น สถูปเจดีย์ เช่น เดินเวียนเทียนรอบพระสถูปเจดีย์. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป หมายถึง สดูป, สตูป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ถูป เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา และมาจากภาษาสันสกฤต สฺตูป เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา.สถูป [สะถูบ] น. สิ่งก่อสร้างที่มีรูปโอคว่ำซึ่งก่อไว้สำหรับบรรจุของควรบูชามีกระดูกของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์เป็นต้น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ เจดีย์ เป็น สถูปเจดีย์ เช่น เดินเวียนเทียนรอบพระสถูปเจดีย์. (แบบ) สดูป, สตูป. (ป. ถูป; ส. สฺตูป).
สทิง เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แม่น้ำ, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺทึง เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ว่า คลอง .สทิง [สะ–] น. แม่น้ำ, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
สทึง เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สรทึง ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺทึง เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ว่า คลอง .สทึง [สะ–] น. แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
สทุม เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรือน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สทฺมนฺ เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ.สทุม [สะ–] น. เรือน. (ป.; ส. สทฺมนฺ).
สธนะ เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สะทะนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเงิน, รํ่ารวย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สธนะ [สะทะนะ] ว. มีเงิน, รํ่ารวย. (ป., ส.).
สธุสะ, สาธุสะ สธุสะ เขียนว่า สอ-เสือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ สาธุสะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ คําเปล่งขึ้นก่อนกล่าวคําอื่น เพื่อขอความสวัสดิมงคลอย่างเดียวกับคํา ศุภมัสดุ.สธุสะ, สาธุสะ คําเปล่งขึ้นก่อนกล่าวคําอื่น เพื่อขอความสวัสดิมงคลอย่างเดียวกับคํา ศุภมัสดุ.
สน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา (Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (P. kesiya Royle ex Gordon) ในวงศ์ Pinaceae, ทั้ง ๒ ชนิดนี้ สนเขา ก็เรียก, พายัพเรียก จ๋วง; สนหางกระรอก (Dacrydium elatum Blume) ในวงศ์ Cupressaceae; สนฉําฉา หรือ สนญี่ปุ่น [Podocarpus macrophyllus (Thunb.) D. Don] ในวงศ์ Podocarpaceae; สนทราย หรือ สนสร้อย (Baeckea frutescens L.) ในวงศ์ Myrtaceae; สนทะเล (Casuarina equisetifolia J.R. et G. Forst.) ในวงศ์ Casuarinaceae.สน ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา (Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (P. kesiya Royle ex Gordon) ในวงศ์ Pinaceae, ทั้ง ๒ ชนิดนี้ สนเขา ก็เรียก, พายัพเรียก จ๋วง; สนหางกระรอก (Dacrydium elatum Blume) ในวงศ์ Cupressaceae; สนฉําฉา หรือ สนญี่ปุ่น [Podocarpus macrophyllus (Thunb.) D. Don] ในวงศ์ Podocarpaceae; สนทราย หรือ สนสร้อย (Baeckea frutescens L.) ในวงศ์ Myrtaceae; สนทะเล (Casuarina equisetifolia J.R. et G. Forst.) ในวงศ์ Casuarinaceae.
สนแผง, สนหางสิงห์ สนแผง เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-งอ-งู สนหางสิงห์ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Thuja orientalis L. ในวงศ์ Cupressaceae ใบเป็นแผง ใบและเมล็ดใช้ทํายาได้.สนแผง, สนหางสิงห์ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Thuja orientalis L. ในวงศ์ Cupressaceae ใบเป็นแผง ใบและเมล็ดใช้ทํายาได้.
สน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร้อยด้วยเชือกหรือด้ายเป็นต้น เช่น สนเข็ม สนตะพาย.สน ๒ ก. ร้อยด้วยเชือกหรือด้ายเป็นต้น เช่น สนเข็ม สนตะพาย.
สนเข็ม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ร้อยด้ายหรือไหมเป็นต้นเข้าไปในรูเข็ม.สนเข็ม ก. ร้อยด้ายหรือไหมเป็นต้นเข้าไปในรูเข็ม.
สนตะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะ ซึ่งเรียกว่า ตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทําตามด้วยความจําใจ ความหลง หรือ ความโง่เขลาเบาปัญญา.สนตะพาย ก. กิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะ ซึ่งเรียกว่า ตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทําตามด้วยความจําใจ ความหลง หรือ ความโง่เขลาเบาปัญญา.
ส้น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนท้ายของเท้า เช่น อย่าเดินลงส้น รองเท้ากัดส้น, เรียกเต็มว่า ส้นเท้า, ส่วนท้ายของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ส้นปืน.ส้น น. ส่วนท้ายของเท้า เช่น อย่าเดินลงส้น รองเท้ากัดส้น, เรียกเต็มว่า ส้นเท้า, ส่วนท้ายของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ส้นปืน.
ส้นตีน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ส้นเท้า, (มักใช้เป็นคำด่า).ส้นตีน (ปาก) น. ส้นเท้า, (มักใช้เป็นคำด่า).
ส้นตีนส้นมือ, ส้นมือส้นตีน ส้นตีนส้นมือ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ส้นมือส้นตีน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไร้สาระ, ไม่มีแก่นสาร, เช่น เรื่องส้นมือส้นตีนเท่านี้ ก็ต้องมาฟ้องด้วย, ใช้เป็นคำด่า.ส้นตีนส้นมือ, ส้นมือส้นตีน (ปาก) ว. ไร้สาระ, ไม่มีแก่นสาร, เช่น เรื่องส้นมือส้นตีนเท่านี้ ก็ต้องมาฟ้องด้วย, ใช้เป็นคำด่า.
ส้นมือ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนท้ายของฝ่ามือ.ส้นมือ น. ส่วนท้ายของฝ่ามือ.
ส้นรองเท้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนล่างตอนท้ายของรองเท้าที่รองรับส้น.ส้นรองเท้า น. ส่วนล่างตอนท้ายของรองเท้าที่รองรับส้น.
สนใจ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดเรื่องใดเป็นพิเศษ เช่น เขาสนใจวิชาคณิตศาสตร์มาก, ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เห็นเป็นต้น เช่น เขาสนใจการเมืองมาตั้งแต่เด็ก.สนใจ ก. ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดเรื่องใดเป็นพิเศษ เช่น เขาสนใจวิชาคณิตศาสตร์มาก, ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เห็นเป็นต้น เช่น เขาสนใจการเมืองมาตั้งแต่เด็ก.
สนเดก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สํานัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สนฺติก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.สนเดก (แบบ) น. สํานัก. (ป. สนฺติก).
สนทนา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[สนทะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง คุยกัน, ปรึกษาหารือกัน, พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น สนทนาปัญหาบ้านเมือง สนทนาสารทุกข์สุกดิบ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่คุยกัน, ที่ปรึกษาหารือกัน, ที่พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น บทสนทนาในนวนิยาย บทสนทนาภาษาอังกฤษ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาบาลี สํสนฺทนา เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ว่า การเทียบเคียง, การเปรียบเทียบ .สนทนา [สนทะ–] ก. คุยกัน, ปรึกษาหารือกัน, พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น สนทนาปัญหาบ้านเมือง สนทนาสารทุกข์สุกดิบ. ว. ที่คุยกัน, ที่ปรึกษาหารือกัน, ที่พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น บทสนทนาในนวนิยาย บทสนทนาภาษาอังกฤษ. (เทียบ ป. สํสนฺทนา ว่า การเทียบเคียง, การเปรียบเทียบ).
สนทรรศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา[–ทัด] เป็นคำนาม หมายถึง ภาพ, สิ่งที่ปรากฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด + ทรฺศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา .สนทรรศ [–ทัด] น. ภาพ, สิ่งที่ปรากฏ. (ส. สํ + ทรฺศ).
สนทรรศน์ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[–ทัด] เป็นคำนาม หมายถึง การดู, การจ้องดู, การแลเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด + ทรฺศน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู .สนทรรศน์ [–ทัด] น. การดู, การจ้องดู, การแลเห็น. (ส. สํ + ทรฺศน).
สนทิศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง ชี้แจง, สั่ง, บอกกล่าว, ประกาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด + ทิศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา .สนทิศ ก. ชี้แจง, สั่ง, บอกกล่าว, ประกาศ. (ส. สํ + ทิศ).
สนเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่ง, ข่าวสาร, ใบบอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สนฺเทส เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ.สนเทศ น. คําสั่ง, ข่าวสาร, ใบบอก. (ส.; ป. สนฺเทส).
สนเท่ห์ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สงสัย, ฉงน, ไม่แน่ใจ, เช่น รู้สึกสนเท่ห์, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฉงน เป็น ฉงนสนเท่ห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สนฺเทห เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ.สนเท่ห์ ก. สงสัย, ฉงน, ไม่แน่ใจ, เช่น รู้สึกสนเท่ห์, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฉงน เป็น ฉงนสนเท่ห์. (ป., ส. สนฺเทห).
สนธยา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[สนทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาโพล้เพล้พลบคํ่า, บางทีใช้ว่า ยํ่าสนธยา; ช่วงเวลาที่ต่อระหว่างกลางวันกับกลางคืน คือเวลาที่พระอาทิตย์ขึ้นหรือพระอาทิตย์ตก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สนธยา [สนทะ–] น. เวลาโพล้เพล้พลบคํ่า, บางทีใช้ว่า ยํ่าสนธยา; ช่วงเวลาที่ต่อระหว่างกลางวันกับกลางคืน คือเวลาที่พระอาทิตย์ขึ้นหรือพระอาทิตย์ตก. (ส.).
สนธิ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ต่อ, การติดต่อ; การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม ราช + อุปถัมภ์ เป็น ราชูปถัมภ์ นว + อรห + อาทิ + คุณ เป็น นวารหาทิคุณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สนธิ น. ที่ต่อ, การติดต่อ; การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น พจน + อนุกรม เป็น พจนานุกรม ราช + อุปถัมภ์ เป็น ราชูปถัมภ์ นว + อรห + อาทิ + คุณ เป็น นวารหาทิคุณ. (ป., ส.).
สนธิสัญญา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสัญญาที่สําคัญยิ่งและทําเป็นตราสารสมบูรณ์แบบ, ความตกลงระหว่างประเทศ; หนังสือสัญญาที่ทําขึ้นระหว่างประเทศเอกราชตั้งแต่ ๒ ประเทศขึ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ treaty เขียนว่า ที-อา-อี-เอ-ที-วาย.สนธิสัญญา น. หนังสือสัญญาที่สําคัญยิ่งและทําเป็นตราสารสมบูรณ์แบบ, ความตกลงระหว่างประเทศ; หนังสือสัญญาที่ทําขึ้นระหว่างประเทศเอกราชตั้งแต่ ๒ ประเทศขึ้นไป. (อ. treaty).
สนธิอลงกต เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-ตอ-เต่า[–อะลงกด] เป็นคำนาม หมายถึง โคลงนาคพันธ์.สนธิอลงกต [–อะลงกด] น. โคลงนาคพันธ์.
สนน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-นอ-หนู[สะหฺนน] เป็นคำนาม หมายถึง ถนน.สนน [สะหฺนน] น. ถนน.
สนนราคา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา[สะหฺนน–] เป็นคำนาม หมายถึง ราคา.สนนราคา [สะหฺนน–] น. ราคา.
สนม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะหฺนม] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานซึ่งทรงพระเมตตายกย่องขึ้นเป็นชั้นสูง โดยได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี เรียกว่า พระสนม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนํ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-นิก-คะ-หิด.สนม ๑ [สะหฺนม] น. เจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานซึ่งทรงพระเมตตายกย่องขึ้นเป็นชั้นสูง โดยได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี เรียกว่า พระสนม. (ข. สฺนํ).
สนมเอก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าจอมมารดาที่ได้รับพระราชทานพานทองเพิ่มจากหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี เรียกว่า พระสนมเอก ในสมัยโบราณมี ๔ ตำแหน่ง คือ ท้าวอินสุเรนทร์ ท้าวศรีสุดาจันทร์ ท้าวอินทรเทวี และท้าวศรีจุฬาลักษณ์.สนมเอก น. เจ้าจอมมารดาที่ได้รับพระราชทานพานทองเพิ่มจากหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี เรียกว่า พระสนมเอก ในสมัยโบราณมี ๔ ตำแหน่ง คือ ท้าวอินสุเรนทร์ ท้าวศรีสุดาจันทร์ ท้าวอินทรเทวี และท้าวศรีจุฬาลักษณ์.
สนม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะหฺนม] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการในพระราชสํานักทําหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทําสุกําศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น เรียกว่า เจ้าพนักงานสนมพลเรือน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนุํ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นิก-คะ-หิด.สนม ๒ [สะหฺนม] น. ข้าราชการในพระราชสํานักทําหน้าที่เกี่ยวกับพิธีศพ ทําสุกําศพหีบ จัดดอกไม้ ดูแลรักษาเครื่องนมัสการ โกศ หีบ เป็นต้น เรียกว่า เจ้าพนักงานสนมพลเรือน. (ข. สฺนุํ).
สนม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะหฺนม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เขตพระราชฐานซึ่งเป็นที่กักบริเวณผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนม, เรียกลักษณะที่ถูกกักบริเวณเช่นนั้นว่า ติดสนม.สนม ๓ [สะหฺนม] (โบ) น. เขตพระราชฐานซึ่งเป็นที่กักบริเวณผู้มีฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์หรือข้าทูลละอองธุลีพระบาทชั้นผู้ใหญ่โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของพวกสนม, เรียกลักษณะที่ถูกกักบริเวณเช่นนั้นว่า ติดสนม.
สนวน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู[สะหฺนวน]ดู ฉนวน เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๔.สนวน [สะหฺนวน] ดู ฉนวน ๔.
สนอง เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู[สะหฺนอง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทำตามที่ได้รับคำสั่งหรือคำขอร้องเป็นต้น เช่น สนองโครงการในพระราชดำริ สนองนโยบายของรัฐบาล; โต้ตอบ เช่น กรรมตามสนอง, ตอบรับการเสนอ เช่น เสนอขายสนองซื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนง เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-งอ-งู.สนอง [สะหฺนอง] ก. ทำตามที่ได้รับคำสั่งหรือคำขอร้องเป็นต้น เช่น สนองโครงการในพระราชดำริ สนองนโยบายของรัฐบาล; โต้ตอบ เช่น กรรมตามสนอง, ตอบรับการเสนอ เช่น เสนอขายสนองซื้อ. (ข. สฺนง).
สนองไข เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่ เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวตอบ, อธิบาย.สนองไข ก. กล่าวตอบ, อธิบาย.
สนองได เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เกาหลัง.สนองได (ราชา) น. ไม้เกาหลัง.
สนอบ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺนอบ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานใช้นุ่งห่มเฉพาะในพระราชพิธี โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือในเวลารับแขกเมือง เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนบ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้ ว่า ผ้าห่อศพ .สนอบ [สะหฺนอบ] (โบ) น. เสื้อที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานใช้นุ่งห่มเฉพาะในพระราชพิธี โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือในเวลารับแขกเมือง เป็นต้น. (ข. สฺนบ ว่า ผ้าห่อศพ).
สนอม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[สะหฺนอม] เป็นคำกริยา หมายถึง ถนอม.สนอม [สะหฺนอม] ก. ถนอม.
สนะ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สะหฺนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อ; เครื่องสอบสวน; หนัง. เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บ, ชุน, ปัก.สนะ [สะหฺนะ] น. เสื้อ; เครื่องสอบสวน; หนัง. ก. เย็บ, ชุน, ปัก.
สนัด เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[สะหฺนัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ถนัด, สันทัด, มั่นเหมาะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชัด, แม่นยํา.สนัด [สะหฺนัด] ก. ถนัด, สันทัด, มั่นเหมาะ. ว. ชัด, แม่นยํา.
สนัดใจ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถนัดใจ.สนัดใจ ว. ถนัดใจ.
สนั่น เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู[สะหฺนั่น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กึกก้อง, ดังลั่น, ดังมาก, เช่น ฟ้าผ่าเสียงดังสนั่น.สนั่น [สะหฺนั่น] ว. กึกก้อง, ดังลั่น, ดังมาก, เช่น ฟ้าผ่าเสียงดังสนั่น.
สนับ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [สะหฺนับ] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อ; เครื่องสวม; เครื่องรองอย่างเครื่องรองมือของช่างเย็บเพื่อกันเข็มแทงมือเป็นต้น. เป็นคำกริยา หมายถึง ทาบ, ซ้อน, เช่นหญ้าที่โทรมทับหญ้าที่ขึ้นใหม่อีก เรียกว่า ตกสนับ.สนับ ๑ [สะหฺนับ] น. เสื้อ; เครื่องสวม; เครื่องรองอย่างเครื่องรองมือของช่างเย็บเพื่อกันเข็มแทงมือเป็นต้น. ก. ทาบ, ซ้อน, เช่นหญ้าที่โทรมทับหญ้าที่ขึ้นใหม่อีก เรียกว่า ตกสนับ.
สนับแข้ง เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมแข้ง.สนับแข้ง น. เครื่องสวมแข้ง.
สนับงา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหุ้มที่โคนงาช้าง.สนับงา น. เนื้อหุ้มที่โคนงาช้าง.
สนับนิ้ว, สนับนิ้วมือ สนับนิ้ว เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน สนับนิ้วมือ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ปลอกโลหะสวมปลายนิ้วมือสําหรับดุนก้นเข็มเพื่อไม่ให้เจ็บนิ้วมือ.สนับนิ้ว, สนับนิ้วมือ น. ปลอกโลหะสวมปลายนิ้วมือสําหรับดุนก้นเข็มเพื่อไม่ให้เจ็บนิ้วมือ.
สนับเพลา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–เพฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง กางเกงชั้นในมีขายาวประมาณครึ่งแข้งแล้วนุ่งผ้าโจงกระเบนทับอย่างตัวละคร, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระสนับเพลา.สนับเพลา [–เพฺลา] น. กางเกงชั้นในมีขายาวประมาณครึ่งแข้งแล้วนุ่งผ้าโจงกระเบนทับอย่างตัวละคร, (ราชา) พระสนับเพลา.
สนับมือ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องรองใบลานเพื่อจารหนังสือได้ถนัด; เครื่องสวมมือมักทําด้วยทองเหลืองเป็นรูปเหมือนแหวน ๔ วงติดกันสําหรับสวมนิ้วมือเวลาชก.สนับมือ น. เครื่องรองใบลานเพื่อจารหนังสือได้ถนัด; เครื่องสวมมือมักทําด้วยทองเหลืองเป็นรูปเหมือนแหวน ๔ วงติดกันสําหรับสวมนิ้วมือเวลาชก.
สนับ ๒, สนับทึบ สนับ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ สนับทึบ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์นํ้าเค็มไม่มีกระดูกสันหลังในสกุล Lepas วงศ์ Lepadidae, เพรียงคอห่าน ก็เรียก.สนับ ๒, สนับทึบ น. ชื่อสัตว์นํ้าเค็มไม่มีกระดูกสันหลังในสกุล Lepas วงศ์ Lepadidae, เพรียงคอห่าน ก็เรียก.
สนับสนุน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการกีฬา สนับสนุนการศึกษา.สนับสนุน ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการกีฬา สนับสนุนการศึกษา.
สนาดก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[สะนา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ได้รับนํ้าสรงในพิธีสนานหลังจากจบการศึกษาแล้ว ซึ่งตามคติชีวิตของชาวฮินดูถือเป็นการสิ้นสุดชีวิตขั้นที่ ๑ ในอาศรม ๔ คือ พรหมจารี และย่างเข้าขั้นที่ ๒ คือ คฤหัสถ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺนาตก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี นหาตก เขียนว่า นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.สนาดก [สะนา–] (แบบ) น. ผู้ได้รับนํ้าสรงในพิธีสนานหลังจากจบการศึกษาแล้ว ซึ่งตามคติชีวิตของชาวฮินดูถือเป็นการสิ้นสุดชีวิตขั้นที่ ๑ ในอาศรม ๔ คือ พรหมจารี และย่างเข้าขั้นที่ ๒ คือ คฤหัสถ์. (ส. สฺนาตก; ป. นหาตก).
สนาน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะหฺนาน] เป็นคำนาม หมายถึง การอาบนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺนาน เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี นหาน เขียนว่า นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สนาน [สะหฺนาน] น. การอาบนํ้า. (ส. สฺนาน; ป. นหาน).
สนาบก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[สะนา–] เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีหน้าที่อาบนํ้าให้ผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺนาปก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี นหาปก เขียนว่า นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-กอ-ไก่.สนาบก [สะนา–] น. คนที่มีหน้าที่อาบนํ้าให้ผู้อื่น. (ส. สฺนาปก; ป. นหาปก).
สนาบัน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สะนา–] เป็นคำนาม หมายถึง การอาบนํ้า, การอาบนํ้าให้ผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี นหาปน เขียนว่า นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู.สนาบัน [สะนา–] น. การอาบนํ้า, การอาบนํ้าให้ผู้อื่น. (ส.; ป. นหาปน).
สนาม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[สะหฺนาม] เป็นคำนาม หมายถึง ลาน, ที่ว่าง, ที่โล่ง, ที่เล่น, เช่น เขานั่งอยู่ริมสนาม เด็ก ๆ วิ่งเล่นในสนาม, ที่สำหรับเล่นหรือแข่งขันกีฬาต่าง ๆ เช่น สนามฟุตบอล สนามกอล์ฟ สนามชนวัว.สนาม [สะหฺนาม] น. ลาน, ที่ว่าง, ที่โล่ง, ที่เล่น, เช่น เขานั่งอยู่ริมสนาม เด็ก ๆ วิ่งเล่นในสนาม, ที่สำหรับเล่นหรือแข่งขันกีฬาต่าง ๆ เช่น สนามฟุตบอล สนามกอล์ฟ สนามชนวัว.
สนามกีฬา เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่สำหรับฝึกซ้อมหรือแข่งขันกีฬา.สนามกีฬา น. สถานที่สำหรับฝึกซ้อมหรือแข่งขันกีฬา.
สนามเด็กเล่น เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่จัดให้เด็กเล่น มักมีอุปกรณ์การเล่น เช่น ชิงช้า ไม้ลื่น.สนามเด็กเล่น น. สถานที่ที่จัดให้เด็กเล่น มักมีอุปกรณ์การเล่น เช่น ชิงช้า ไม้ลื่น.
สนามบิน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง (กฎ) พื้นที่ที่กำหนดไว้บนพื้นดินหรือน้ำสำหรับใช้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเพื่อการขึ้นลงหรือเคลื่อนไหวของอากาศยาน รวมตลอดถึงอาคาร สิ่งติดตั้งและบริภัณฑ์ซึ่งอยู่ภายในสนามบินนั้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ท่าอากาศยาน.สนามบิน น. (กฎ) พื้นที่ที่กำหนดไว้บนพื้นดินหรือน้ำสำหรับใช้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเพื่อการขึ้นลงหรือเคลื่อนไหวของอากาศยาน รวมตลอดถึงอาคาร สิ่งติดตั้งและบริภัณฑ์ซึ่งอยู่ภายในสนามบินนั้น; (ปาก) ท่าอากาศยาน.
สนามบินอนุญาต เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สนามบินที่บุคคลได้รับอนุญาตให้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศและสนามบินที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกำหนด.สนามบินอนุญาต (กฎ) น. สนามบินที่บุคคลได้รับอนุญาตให้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศและสนามบินที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกำหนด.
สนามเพลาะ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง คูที่ขุดกำบังตัวในเวลารบ.สนามเพลาะ น. คูที่ขุดกำบังตัวในเวลารบ.
สนามไฟฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่มีอำนาจไฟฟ้า, บริเวณที่มีเส้นแรงไฟฟ้าผ่าน.สนามไฟฟ้า (วิทยา) น. บริเวณที่มีอำนาจไฟฟ้า, บริเวณที่มีเส้นแรงไฟฟ้าผ่าน.
สนามแม่เหล็ก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่มีอำนาจแม่เหล็ก, บริเวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กผ่าน.สนามแม่เหล็ก (วิทยา) น. บริเวณที่มีอำนาจแม่เหล็ก, บริเวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กผ่าน.
สนามรบ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่คู่สงครามต่อสู้กัน เช่น เขาได้ผ่านสนามรบมามากแล้ว.สนามรบ น. บริเวณที่คู่สงครามต่อสู้กัน เช่น เขาได้ผ่านสนามรบมามากแล้ว.
สนามวัด เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแต่ละสำนักได้กำหนดให้เป็นที่ทดสอบบาลีก่อนที่จะส่งเข้าสอบบาลีสนามหลวง.สนามวัด น. สถานที่ที่สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแต่ละสำนักได้กำหนดให้เป็นที่ทดสอบบาลีก่อนที่จะส่งเข้าสอบบาลีสนามหลวง.
สนามสอบ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่สำหรับจัดสอบไล่หรือสอบคัดเลือก.สนามสอบ น. สถานที่สำหรับจัดสอบไล่หรือสอบคัดเลือก.
สนามหลวง เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สถานซึ่งกําหนดให้เป็นที่สอบไล่นักธรรมและบาลี ในคำว่า สอบธรรมสนามหลวง สอบบาลีสนามหลวง.สนามหลวง น. สถานซึ่งกําหนดให้เป็นที่สอบไล่นักธรรมและบาลี ในคำว่า สอบธรรมสนามหลวง สอบบาลีสนามหลวง.
สนายุ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ[สะนา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เอ็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺนายุ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ.สนายุ [สะนา–] (แบบ) น. เอ็น. (ส. สฺนายุ).
สนิกะ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[สะนิกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อย ๆ, เบา ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สนิกะ [สะนิกะ] (แบบ) ว. ค่อย ๆ, เบา ๆ. (ป.).
สนิท เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน[สะหฺนิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างใกล้ชิด, ชิดชอบ, เช่น เพื่อนสนิท คนสนิท เขาสนิทกันมาก, แนบชิด เช่น เข้าปากไม้ได้สนิท; กลมกล่อม, กลมกลืน, ในลักษณะที่เข้ากันได้ดีไม่มีอะไรบกพร่อง ซึ่งดูประหนึ่งว่าเป็นเนื้อเดียวหรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ประตูปิดสนิท สีเข้ากันสนิทเป็นเนื้อเดียวกัน ผนังห้องแต่ละด้านแม้จะทาสีต่างกันแต่สีก็เข้ากันได้สนิท; อย่างแท้จริง หรือทั้งหมดโดยไม่มีอะไรแทรกหรือเจือปน เช่น มะปรางหวานสนิท เชื่อสนิท ตีหน้าสนิท. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สินิทฺธ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง ว่า เสน่หา, รักใคร่ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺนิคฺธ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ทอ-ทง.สนิท [สะหฺนิด] ว. อย่างใกล้ชิด, ชิดชอบ, เช่น เพื่อนสนิท คนสนิท เขาสนิทกันมาก, แนบชิด เช่น เข้าปากไม้ได้สนิท; กลมกล่อม, กลมกลืน, ในลักษณะที่เข้ากันได้ดีไม่มีอะไรบกพร่อง ซึ่งดูประหนึ่งว่าเป็นเนื้อเดียวหรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ประตูปิดสนิท สีเข้ากันสนิทเป็นเนื้อเดียวกัน ผนังห้องแต่ละด้านแม้จะทาสีต่างกันแต่สีก็เข้ากันได้สนิท; อย่างแท้จริง หรือทั้งหมดโดยไม่มีอะไรแทรกหรือเจือปน เช่น มะปรางหวานสนิท เชื่อสนิท ตีหน้าสนิท. (ป. สินิทฺธ ว่า เสน่หา, รักใคร่; ส. สฺนิคฺธ).
สนิทใจ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรต้องแคลงใจหรือสงสัย เช่น เชื่ออย่างสนิทใจ, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่สนิทใจ หมายความว่า มีลักษณะพึงรังเกียจ เช่น พื้นสกปรกนั่งแล้วไม่สนิทใจ ผ้าเช็ดมือในห้องน้ำรวม ใช้ได้ไม่สนิทใจเลย.สนิทใจ ว. ไม่มีอะไรต้องแคลงใจหรือสงสัย เช่น เชื่ออย่างสนิทใจ, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่สนิทใจ หมายความว่า มีลักษณะพึงรังเกียจ เช่น พื้นสกปรกนั่งแล้วไม่สนิทใจ ผ้าเช็ดมือในห้องน้ำรวม ใช้ได้ไม่สนิทใจเลย.
สนิทปาก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่รู้สึกกระดากใจหรือตะขิดตะขวงใจ เช่น พูดเท็จได้สนิทปาก พูดคำหยาบโลนได้สนิทปาก, สนิทปากสนิทคอ ก็ว่า.สนิทปาก ว. ไม่รู้สึกกระดากใจหรือตะขิดตะขวงใจ เช่น พูดเท็จได้สนิทปาก พูดคำหยาบโลนได้สนิทปาก, สนิทปากสนิทคอ ก็ว่า.
สนิทสนม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบพอ, คุ้นเคยกันดี, เช่น สองคนนี้สนิทสนมกันมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แนบเนียน เช่น เขาพูดเท็จได้อย่างสนิทสนม เขาชำระแผลให้คนเป็นโรคเรื้อนได้อย่างสนิทสนมโดยไม่รังเกียจ.สนิทสนม ก. ชอบพอ, คุ้นเคยกันดี, เช่น สองคนนี้สนิทสนมกันมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก. ว. แนบเนียน เช่น เขาพูดเท็จได้อย่างสนิทสนม เขาชำระแผลให้คนเป็นโรคเรื้อนได้อย่างสนิทสนมโดยไม่รังเกียจ.
สนิธ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง[สะหฺนิด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนิท.สนิธ [สะหฺนิด] (โบ) ว. สนิท.
สนิม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะหฺนิม] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของผิวโลหะที่แปรสภาพไปจากเดิมเนื่องด้วยปฏิกิริยาเคมีเป็นสาเหตุให้เกิดการผุกร่อน เช่น มีดขึ้นสนิม; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง มลทิน เช่น สนิมในใจ.สนิม ๑ [สะหฺนิม] น. ส่วนของผิวโลหะที่แปรสภาพไปจากเดิมเนื่องด้วยปฏิกิริยาเคมีเป็นสาเหตุให้เกิดการผุกร่อน เช่น มีดขึ้นสนิม; (ปาก) มลทิน เช่น สนิมในใจ.
สนิมขุม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สนิมซึ่งเกิดที่ผิวโลหะแล้วทำให้ผิวโลหะเป็นจุด ๆ หรือเป็นรู ๆ เช่น พระพุทธรูปสัมฤทธิ์เกิดสนิมขุม.สนิมขุม น. สนิมซึ่งเกิดที่ผิวโลหะแล้วทำให้ผิวโลหะเป็นจุด ๆ หรือเป็นรู ๆ เช่น พระพุทธรูปสัมฤทธิ์เกิดสนิมขุม.
สนิม เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะหฺนิม] เป็นคำนาม หมายถึง ถนิม, เครื่องประดับ ในคำว่า สนิมพิมพาภรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ธฺนิม เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า.สนิม ๒ [สะหฺนิม] น. ถนิม, เครื่องประดับ ในคำว่า สนิมพิมพาภรณ์. (ข. ธฺนิม).
สนิมสร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[สะหฺนิมส้อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถนิมสร้อย, หนักไม่เอาเบาไม่สู้, ทำเป็นเหยาะแหยะ, ทำเป็นอ่อนแอ, (ใช้เป็นคำตำหนิ), เช่น ดุว่านิดหน่อยก็น้ำตาร่วง ทำเป็นแม่สนิมสร้อยไปได้.สนิมสร้อย [สะหฺนิมส้อย] ว. ถนิมสร้อย, หนักไม่เอาเบาไม่สู้, ทำเป็นเหยาะแหยะ, ทำเป็นอ่อนแอ, (ใช้เป็นคำตำหนิ), เช่น ดุว่านิดหน่อยก็น้ำตาร่วง ทำเป็นแม่สนิมสร้อยไปได้.
สนุก เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[สะหฺนุก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทำให้รู้สึกเพลิดเพลิน, ทำให้เบิกบานใจ, เช่น หนังสือเรื่องนี้อ่านสนุก ภาพยนตร์เรื่องนี้สนุก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรณุก เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.สนุก [สะหฺนุก] ว. ทำให้รู้สึกเพลิดเพลิน, ทำให้เบิกบานใจ, เช่น หนังสือเรื่องนี้อ่านสนุก ภาพยนตร์เรื่องนี้สนุก. (ข. สฺรณุก).
สนุกสนาน เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร่าเริงบันเทิงใจ, เพลิดเพลินเจริญใจ, เช่น เด็ก ๆ เล่นสาดน้ำในเทศกาลสงกรานต์กันอย่างสนุกสนาน.สนุกสนาน ว. ร่าเริงบันเทิงใจ, เพลิดเพลินเจริญใจ, เช่น เด็ก ๆ เล่นสาดน้ำในเทศกาลสงกรานต์กันอย่างสนุกสนาน.
สนุกเกอร์ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สะนุก–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกีฬาในร่มชนิดหนึ่งเล่นบนโต๊ะบิลเลียด ผู้เล่นใช้ไม้แทงลูกเรียกว่า ไม้คิว แทงลูกกลมสีขาวให้กระทบลูกกลมสีต่าง ๆ ซึ่งมีลูกแดง ๑๕ ลูก ลูกดํา ชมพู นํ้าเงิน นํ้าตาล เขียว และเหลือง อีกอย่างละ ๑ ลูก ให้ลงหลุมทีละลูกตามที่กําหนดไว้ในกติกา หรือทําให้คู่ต่อสู้ไม่สามารถแทงลูกสีขาวให้กระทบกับลูกที่ต้องถูกกระทบได้ ซึ่งเรียกว่า ทําสนุก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ snooker เขียนว่า เอส-เอ็น-โอ-โอ-เค-อี-อา.สนุกเกอร์ [สะนุก–] น. ชื่อกีฬาในร่มชนิดหนึ่งเล่นบนโต๊ะบิลเลียด ผู้เล่นใช้ไม้แทงลูกเรียกว่า ไม้คิว แทงลูกกลมสีขาวให้กระทบลูกกลมสีต่าง ๆ ซึ่งมีลูกแดง ๑๕ ลูก ลูกดํา ชมพู นํ้าเงิน นํ้าตาล เขียว และเหลือง อีกอย่างละ ๑ ลูก ให้ลงหลุมทีละลูกตามที่กําหนดไว้ในกติกา หรือทําให้คู่ต่อสู้ไม่สามารถแทงลูกสีขาวให้กระทบกับลูกที่ต้องถูกกระทบได้ ซึ่งเรียกว่า ทําสนุก. (อ. snooker).
สนุข เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่[สะหฺนุก] เป็นคำนาม หมายถึง สุข. (แผลงมาจาก สุข).สนุข [สะหฺนุก] น. สุข. (แผลงมาจาก สุข).
สนุต เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า[สะนุด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหล, ย้อย, (ใช้แก่น้ำนมแม่). (ส.).สนุต [สะนุด] ว. ไหล, ย้อย, (ใช้แก่น้ำนมแม่). (ส.).
สนุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺนุ่น] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Salix tetrasperma Roxb. ในวงศ์ Salicaceae ชอบขึ้นริมนํ้า ใบเรียวเล็ก ท้องใบขาว เปลือกและรากใช้ทํายา, ตะไคร้บก ก็เรียก.สนุ่น ๑ [สะหฺนุ่น] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Salix tetrasperma Roxb. ในวงศ์ Salicaceae ชอบขึ้นริมนํ้า ใบเรียวเล็ก ท้องใบขาว เปลือกและรากใช้ทํายา, ตะไคร้บก ก็เรียก.
สนุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺนุ่น] เป็นคำนาม หมายถึง สวะหรือซากผุพังของพืชพรรณที่ซับซ้อนกันมาก ๆ ในบึงหรือหนองนํ้า สามารถเหยียบเดินไปได้.สนุ่น ๒ [สะหฺนุ่น] น. สวะหรือซากผุพังของพืชพรรณที่ซับซ้อนกันมาก ๆ ในบึงหรือหนองนํ้า สามารถเหยียบเดินไปได้.
สบ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง พบ, ปะ, เช่น สบโชค สบตา สบเหมาะ ฟันบนสบฟันล่าง, ถูก, ต้อง, เช่น สบใจ สบปาก สบอารมณ์. เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่แม่นํ้าตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปมาบรรจบกัน เช่น สามสบ คือบริเวณที่แม่น้ำบีคี่ใหญ่ ห้วยซองกะเลีย และแม่น้ำรันตี รวม ๓ สาย มาสบกัน แล้วไหลลงสู่แม่น้ำแควน้อย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทุก ๆ, เสมอ, เช่น สบไถง ว่า ทุกวัน, สบสมัย ว่า ทุกสมัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สบ ก. พบ, ปะ, เช่น สบโชค สบตา สบเหมาะ ฟันบนสบฟันล่าง, ถูก, ต้อง, เช่น สบใจ สบปาก สบอารมณ์. น. บริเวณที่แม่นํ้าตั้งแต่ ๒ สายขึ้นไปมาบรรจบกัน เช่น สามสบ คือบริเวณที่แม่น้ำบีคี่ใหญ่ ห้วยซองกะเลีย และแม่น้ำรันตี รวม ๓ สาย มาสบกัน แล้วไหลลงสู่แม่น้ำแควน้อย. ว. ทุก ๆ, เสมอ, เช่น สบไถง ว่า ทุกวัน, สบสมัย ว่า ทุกสมัย. (ข.).
สบประมาท เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาดูถูกดูหมิ่นซึ่ง ๆ หน้า เช่น เขาถูกสบประมาทในที่ประชุม, ประมาทหน้า.สบประมาท ก. แสดงกิริยาวาจาดูถูกดูหมิ่นซึ่ง ๆ หน้า เช่น เขาถูกสบประมาทในที่ประชุม, ประมาทหน้า.
สบสังวาส เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ร่วมกัน เช่น พระสงฆ์ที่มีศีลเสมอกันร่วมทําสังฆกรรมด้วยกันได้ เรียกว่า สงฆ์สบสังวาส.สบสังวาส ว. อยู่ร่วมกัน เช่น พระสงฆ์ที่มีศีลเสมอกันร่วมทําสังฆกรรมด้วยกันได้ เรียกว่า สงฆ์สบสังวาส.
สบง เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู[สะบง] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้านุ่งของภิกษุสามเณร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺบ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-งอ-งู.สบง [สะบง] น. ผ้านุ่งของภิกษุสามเณร. (ข. สฺบ่ง).
สบจ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน[สะบด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คนชาติตํ่าช้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปจ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-จอ-จาน และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวปจ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-จอ-จาน.สบจ [สะบด] (แบบ) น. คนชาติตํ่าช้า. (ป. สปจ; ส. ศฺวปจ).
สบถ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง[สะบด] เป็นคำกริยา หมายถึง เปล่งถ้อยคำเพื่อเน้นให้คนเชื่อโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ลงโทษตนหรือให้ภัยพิบัติต่าง ๆ เกิดกับตนถ้าหากตนไม่ปฏิบัติตามหรือไม่เป็นไปอย่างที่พูดไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปถ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง และมาจากภาษาสันสกฤต ศปถ เขียนว่า สอ-สา-ลา-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง.สบถ [สะบด] ก. เปล่งถ้อยคำเพื่อเน้นให้คนเชื่อโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์ลงโทษตนหรือให้ภัยพิบัติต่าง ๆ เกิดกับตนถ้าหากตนไม่ปฏิบัติตามหรือไม่เป็นไปอย่างที่พูดไว้. (ป. สปถ; ส. ศปถ).
สบเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบพอ, โปรดปราน.สบเสีย ๑ ก. ชอบพอ, โปรดปราน.
สบเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดูถูก.สบเสีย ๒ ก. ดูถูก.
สบัน เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง สาบาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปน เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-นอ-หนู.สบัน [สะ–] (แบบ) ก. สาบาน. (ป. สปน).
สบาย เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[สะบาย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ดีกินดี เช่น เดี๋ยวนี้เขาสบายขึ้น ลูก ๆ ทำงานหมดแล้ว, เป็นสุขกายสุขใจ เช่น เวลานี้เขาสบายแล้ว เพราะมีฐานะดีขึ้น ไม่มีวิตกกังวลใด ๆ; สะดวก เช่น ทำตามสบายไม่ต้องเกรงใจ มีรถส่วนตัวสบายกว่าไปรถประจำทาง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สุข หรือ สะดวก เป็น สุขสบาย หรือ สะดวกสบาย; พอเหมาะพอดี เช่น เก้าอี้ตัวนี้นั่งสบาย; ไม่ลำบากกาย เช่น เขาทำงานสบายขึ้น ไม่ต้องแบกหามเหมือนเมื่อก่อน; ไม่เจ็บไม่ไข้ เช่น เวลานี้เขาสบายดี ไม่ป่วยไข้; มีความพอใจเมื่อได้สัมผัส เช่น สบายหู สบายตา สบายกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปฺปาย เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.สบาย [สะบาย] ว. อยู่ดีกินดี เช่น เดี๋ยวนี้เขาสบายขึ้น ลูก ๆ ทำงานหมดแล้ว, เป็นสุขกายสุขใจ เช่น เวลานี้เขาสบายแล้ว เพราะมีฐานะดีขึ้น ไม่มีวิตกกังวลใด ๆ; สะดวก เช่น ทำตามสบายไม่ต้องเกรงใจ มีรถส่วนตัวสบายกว่าไปรถประจำทาง, มักใช้เข้าคู่กับคำ สุข หรือ สะดวก เป็น สุขสบาย หรือ สะดวกสบาย; พอเหมาะพอดี เช่น เก้าอี้ตัวนี้นั่งสบาย; ไม่ลำบากกาย เช่น เขาทำงานสบายขึ้น ไม่ต้องแบกหามเหมือนเมื่อก่อน; ไม่เจ็บไม่ไข้ เช่น เวลานี้เขาสบายดี ไม่ป่วยไข้; มีความพอใจเมื่อได้สัมผัส เช่น สบายหู สบายตา สบายกาย. (ป. สปฺปาย).
สบายใจ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีทุกข์มีร้อน เช่น ลูก ๆ เรียนจบหมดแล้วก็สบายใจ ทำงานเสร็จเรียบร้อยแล้วสบายใจ.สบายใจ ว. ไม่มีทุกข์มีร้อน เช่น ลูก ๆ เรียนจบหมดแล้วก็สบายใจ ทำงานเสร็จเรียบร้อยแล้วสบายใจ.
สบายอารมณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอารมณ์เบิกบาน เช่น เขาทำงานไปร้องเพลงไปอย่างสบายอารมณ์ วันนี้ขอดูภาพยนตร์ให้สบายอารมณ์สักวัน.สบายอารมณ์ ว. มีอารมณ์เบิกบาน เช่น เขาทำงานไปร้องเพลงไปอย่างสบายอารมณ์ วันนี้ขอดูภาพยนตร์ให้สบายอารมณ์สักวัน.
สบู่ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ [สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Jatropha วงศ์ Euphorbiaceae คือ สบู่ขาว หรือ สบู่ดํา (J. curcas L.) ก้านใบและใบอ่อนสีเขียว และ สบู่แดง (J. gossypifolia L.) ก้านใบและใบสีแดง, ทั้ง ๒ ชนิดมียางใส เมล็ดนําไปหีบได้นํ้ามันใช้เป็นเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ทุกส่วนเป็นพิษ.สบู่ ๑ [สะ–] น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Jatropha วงศ์ Euphorbiaceae คือ สบู่ขาว หรือ สบู่ดํา (J. curcas L.) ก้านใบและใบอ่อนสีเขียว และ สบู่แดง (J. gossypifolia L.) ก้านใบและใบสีแดง, ทั้ง ๒ ชนิดมียางใส เมล็ดนําไปหีบได้นํ้ามันใช้เป็นเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ทุกส่วนเป็นพิษ.
สบู่ เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ [สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ผลิตขึ้นโดยนําไขสัตว์เช่นไขวัว หรือนํ้ามันพืชเช่นนํ้ามันมะพร้าวนํ้ามันมะกอกไปต้มกับด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะได้สบู่แข็ง หรือนําไปต้มกับด่างโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ จะได้สบู่อ่อน ใช้ชําระล้างและซักฟอก. (โปรตุเกส sapu).สบู่ ๒ [สะ–] น. สิ่งที่ผลิตขึ้นโดยนําไขสัตว์เช่นไขวัว หรือนํ้ามันพืชเช่นนํ้ามันมะพร้าวนํ้ามันมะกอกไปต้มกับด่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ จะได้สบู่แข็ง หรือนําไปต้มกับด่างโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ จะได้สบู่อ่อน ใช้ชําระล้างและซักฟอก. (โปรตุเกส sapu).
สบู่เลือด เขียนว่า สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถามีหัวชนิด Stephania venosa (Blume) Spreng. ในวงศ์ Menispermaceae ใบ เถา และผิวของหัวมีนํ้ายางสีแดง.สบู่เลือด น. ชื่อไม้เถามีหัวชนิด Stephania venosa (Blume) Spreng. ในวงศ์ Menispermaceae ใบ เถา และผิวของหัวมีนํ้ายางสีแดง.
สไบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าแถบ, ผ้าคาดอกผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ไสฺบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้.สไบ [สะ–] น. ผ้าแถบ, ผ้าคาดอกผู้หญิง. (ข. ไสฺบ).
สไบกรองทอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าสไบที่ถักด้วยไหมทองไหมเงินให้เป็นลวดลายโปร่งรูปดอกไม้เป็นต้น และมีผ้าซับในอีกชั้นหนึ่ง.สไบกรองทอง น. ผ้าสไบที่ถักด้วยไหมทองไหมเงินให้เป็นลวดลายโปร่งรูปดอกไม้เป็นต้น และมีผ้าซับในอีกชั้นหนึ่ง.
สไบเฉียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วิธีห่มผ้าสไบให้เฉวียงบ่าข้างใดข้างหนึ่ง เรียกว่า ห่มสไบเฉียง.สไบเฉียง น. วิธีห่มผ้าสไบให้เฉวียงบ่าข้างใดข้างหนึ่ง เรียกว่า ห่มสไบเฉียง.
สไบปัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าสไบที่ปักด้วยดิ้นเงินหรือดิ้นทองและสอดไส้ด้วยไหมสีต่าง ๆ.สไบปัก น. ผ้าสไบที่ปักด้วยดิ้นเงินหรือดิ้นทองและสอดไส้ด้วยไหมสีต่าง ๆ.
สไบนาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู กระแตไต่ไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๒.สไบนาง ดู กระแตไต่ไม้ ๒.
สปริง เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[สะปฺริง] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ยืดหรือหดแล้วคืนตัวได้เอง มักทำด้วยโลหะ เช่น นาฬิกาเรือนนี้สปริงหลุด จึงไม่เดิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยืดหรือหดแล้วคืนตัวได้เอง เช่น เบาะสปริง เตียงสปริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spring เขียนว่า เอส-พี-อา-ไอ-เอ็น-จี.สปริง [สะปฺริง] น. สิ่งที่ยืดหรือหดแล้วคืนตัวได้เอง มักทำด้วยโลหะ เช่น นาฬิกาเรือนนี้สปริงหลุด จึงไม่เดิน. ว. ที่ยืดหรือหดแล้วคืนตัวได้เอง เช่น เบาะสปริง เตียงสปริง. (อ. spring).
สปริงตัว เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ดีดตัวออก เช่น นักบินสปริงตัวออกจากเครื่องบิน.สปริงตัว ก. ดีดตัวออก เช่น นักบินสปริงตัวออกจากเครื่องบิน.
สปอร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยขยายพันธุ์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่คล้ายเมล็ดพืชแต่ไม่มีเอ็มบริโอ เมื่อสิ่งแวดล้อมเหมาะสมจะเจริญเป็นต้นใหม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spore เขียนว่า เอส-พี-โอ-อา-อี.สปอร์ น. หน่วยขยายพันธุ์ขนาดเล็ก ทำหน้าที่คล้ายเมล็ดพืชแต่ไม่มีเอ็มบริโอ เมื่อสิ่งแวดล้อมเหมาะสมจะเจริญเป็นต้นใหม่ได้. (อ. spore).
สปาเกตตี เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารอิตาลีชนิดหนึ่ง ทําจากแป้งสาลี เป็นเส้นกลมตันคล้ายเส้นขนมจีนแต่โตกว่าเล็กน้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spaghetti เขียนว่า เอส-พี-เอ-จี-เอช-อี-ที-ที-ไอ.สปาเกตตี น. ชื่ออาหารอิตาลีชนิดหนึ่ง ทําจากแป้งสาลี เป็นเส้นกลมตันคล้ายเส้นขนมจีนแต่โตกว่าเล็กน้อย. (อ. spaghetti).
สเปกตรัม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spectrum เขียนว่า เอส-พี-อี-ซี-ที-อา-ยู-เอ็ม.สเปกตรัม (ฟิสิกส์) น. ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ. (อ. spectrum).
สเปกโทรสโกป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ศึกษาการวิเคราะห์สเปกตรัม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spectroscope เขียนว่า เอส-พี-อี-ซี-ที-อา-โอ-เอส-ซี-โอ-พี-อี.สเปกโทรสโกป น. เครื่องมือที่ใช้ศึกษาการวิเคราะห์สเปกตรัม. (อ. spectroscope).
สไปริลลัม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง แบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นเส้นหรือท่อนที่งอไปงอมาหรือบิดเป็นเกลียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ spirillum เขียนว่า เอส-พี-ไอ-อา-ไอ-แอล-แอล-ยู-เอ็ม.สไปริลลัม น. แบคทีเรียที่มีรูปร่างเป็นเส้นหรือท่อนที่งอไปงอมาหรือบิดเป็นเกลียว. (อ. spirillum).
สพั้น เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทองเหลือง, ทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺพาน่ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-เอก.สพั้น [สะ–] น. ทองเหลือง, ทองแดง. (ข. สฺพาน่).
สพาบ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้[สะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พังพาบ เช่น ก็มาให้มึงล้มสพาบ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .สพาบ [สะ–] ว. พังพาบ เช่น ก็มาให้มึงล้มสพาบ. (ม. คำหลวง ชูชก). (ข.).
สภา เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง องค์การหรือสถานที่ประชุม เช่น สภาผู้แทนราษฎร สภาสตรีแห่งชาติ สภามหาวิทยาลัย วุฒิสภา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สภา น. องค์การหรือสถานที่ประชุม เช่น สภาผู้แทนราษฎร สภาสตรีแห่งชาติ สภามหาวิทยาลัย วุฒิสภา. (ป., ส.).
สภากาชาด เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง องค์การพยาบาลและบรรเทาทุกข์.สภากาชาด น. องค์การพยาบาลและบรรเทาทุกข์.
สภาจาร เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ขนบธรรมเนียมขององค์การหรือสถานที่ประชุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สภาจาร น. ขนบธรรมเนียมขององค์การหรือสถานที่ประชุม. (ส.).
สภานายก, สภาบดี สภานายก เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ สภาบดี เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นประธานในที่ประชุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สภานายก, สภาบดี น. ผู้เป็นประธานในที่ประชุม. (ส.).
สภาผู้แทนราษฎร เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง ซึ่งเมื่อรวมกับวุฒิสภาแล้วประกอบเป็นรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐) สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวน ๕๐๐ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองจัดทำขึ้น จำนวน ๑๐๐ คน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จำนวน ๔๐๐ คน มีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ และมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ตามระบบการปกครองแบบรัฐสภา.สภาผู้แทนราษฎร (กฎ) น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง ซึ่งเมื่อรวมกับวุฒิสภาแล้วประกอบเป็นรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐) สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจำนวน ๕๐๐ คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองจัดทำขึ้น จำนวน ๑๐๐ คน และสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จำนวน ๔๐๐ คน มีหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ และมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ตามระบบการปกครองแบบรัฐสภา.
สภาค เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย[สะพาก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร่วมกัน, อยู่หมวดเดียวกัน; เหมือนกัน, เท่ากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สภาค [สะพาก] ว. ร่วมกัน, อยู่หมวดเดียวกัน; เหมือนกัน, เท่ากัน. (ป.).
สภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเองตามธรรมดาหรือตามธรรมชาติ เช่น สภาพความเป็นอยู่ สภาพดินฟ้าอากาศ, ลักษณะในตัวเอง; ภาวะ, ธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สภาว เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวภาว เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.สภาพ น. ความเป็นเองตามธรรมดาหรือตามธรรมชาติ เช่น สภาพความเป็นอยู่ สภาพดินฟ้าอากาศ, ลักษณะในตัวเอง; ภาวะ, ธรรมชาติ. (ป. สภาว; ส. สฺวภาว).
สภาพเดิม เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะหรือภาวะหรือธรรมชาติที่เป็นมาแต่แรก.สภาพเดิม น. ลักษณะหรือภาวะหรือธรรมชาติที่เป็นมาแต่แรก.
สภาพธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หลักแห่งความเป็นเอง.สภาพธรรม น. หลักแห่งความเป็นเอง.
สภาว–, สภาวะ สภาว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน สภาวะ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [สะพาวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สภาพ เช่น สภาวะดินฟ้าอากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สภาว–, สภาวะ [สะพาวะ–] น. สภาพ เช่น สภาวะดินฟ้าอากาศ. (ป.).
สภาวการณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เหตุการณ์ที่เป็นไปตามธรรมชาติ เช่น บ้านเมืองตกอยู่ในสภาวการณ์เดือดร้อนเพราะภัยธรรมชาติ.สภาวการณ์ น. เหตุการณ์ที่เป็นไปตามธรรมชาติ เช่น บ้านเมืองตกอยู่ในสภาวการณ์เดือดร้อนเพราะภัยธรรมชาติ.
สม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย, รับกัน เช่น หัวแหวนสมกับเรือนแหวน; ตรงกับ เช่น สมคะเน สมปรารถนา สมความตั้งใจ. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สมน้ำหน้า เช่น สมแล้วที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย, รับกัน เช่น หัวแหวนสมกับเรือนแหวน; ตรงกับ เช่น สมคะเน สมปรารถนา สมความตั้งใจ. (ปาก) สมน้ำหน้า เช่น สมแล้วที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.
สมควร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรยิ่ง, เหมาะสมยิ่ง, เช่น เขาทำงานดีสมควรขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น.สมควร ว. ควรยิ่ง, เหมาะสมยิ่ง, เช่น เขาทำงานดีสมควรขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น.
สมคะเน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เหมาะกับที่คาด, ตรงกับที่คิดไว้.สมคะเน ก. เหมาะกับที่คาด, ตรงกับที่คิดไว้.
สมจริง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรถือได้ว่าเป็นจริง, คล้ายกับที่เป็นจริง, เช่น เขาแสดงบทบาทในละครได้อย่างสมจริง; ตามความเป็นจริง เช่น เขาทำได้สมจริงอย่างที่พูดไว้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง เหมือนจริงแต่ไม่ใช่ความจริงทั้งหมด เช่น นวนิยายสมจริง เรื่องสมจริง.สมจริง ว. ควรถือได้ว่าเป็นจริง, คล้ายกับที่เป็นจริง, เช่น เขาแสดงบทบาทในละครได้อย่างสมจริง; ตามความเป็นจริง เช่น เขาทำได้สมจริงอย่างที่พูดไว้; (วรรณ) เหมือนจริงแต่ไม่ใช่ความจริงทั้งหมด เช่น นวนิยายสมจริง เรื่องสมจริง.
สมจริงสมจัง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล้ายกับที่เป็นจริงมาก เช่น เขาเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ได้สมจริงสมจัง.สมจริงสมจัง ว. คล้ายกับที่เป็นจริงมาก เช่น เขาเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ได้สมจริงสมจัง.
สมใจ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นไปดังที่คิดไว้ เช่น เขาอยากได้หนังสือเล่มนี้มานานแล้ว วันนี้มีคนเอามาให้ ก็เลยได้ไว้สมใจ.สมใจ ก. เป็นไปดังที่คิดไว้ เช่น เขาอยากได้หนังสือเล่มนี้มานานแล้ว วันนี้มีคนเอามาให้ ก็เลยได้ไว้สมใจ.
สมนอก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เลกของเจ้านายที่ทรงกรมหรือขุนนางที่มีสิทธิ์มีเลก.สมนอก น. เลกของเจ้านายที่ทรงกรมหรือขุนนางที่มีสิทธิ์มีเลก.
สมนัย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สอดคล้องกับ, สอดคล้องกัน.สมนัย ก. สอดคล้องกับ, สอดคล้องกัน.
สมน้ำสมเนื้อ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอเหมาะพอดีกัน เช่น ขิงก็ราข่าก็แรง สมน้ำสมเนื้อกันดีแล้ว.สมน้ำสมเนื้อ ว. พอเหมาะพอดีกัน เช่น ขิงก็ราข่าก็แรง สมน้ำสมเนื้อกันดีแล้ว.
สมน้ำหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําแดกดันหรือซํ้าเติมว่าควรได้รับผลร้ายเช่นนั้น เช่น ขี้เกียจท่องหนังสือ สอบตกก็สมน้ำหน้า, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สม ก็ว่า เช่น สมแล้วที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.สมน้ำหน้า ว. คําแดกดันหรือซํ้าเติมว่าควรได้รับผลร้ายเช่นนั้น เช่น ขี้เกียจท่องหนังสือ สอบตกก็สมน้ำหน้า, (ปาก) สม ก็ว่า เช่น สมแล้วที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก.
สมใน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เลกของเจ้านายฝ่ายใน.สมใน น. เลกของเจ้านายฝ่ายใน.
สมบุญ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะแก่ที่มีบุญ.สมบุญ ว. เหมาะแก่ที่มีบุญ.
สมประกอบ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอวัยวะสมบูรณ์เป็นปรกติ เช่น เขาเป็นคนมีร่างกายสมประกอบ.สมประกอบ ว. มีอวัยวะสมบูรณ์เป็นปรกติ เช่น เขาเป็นคนมีร่างกายสมประกอบ.
สมพรปาก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่คํารับคำหวังดีต่อผู้ที่พูดอวยพรให้เป็นมงคล เช่น ขอให้สมพรปากนะ.สมพรปาก คํารับคำหวังดีต่อผู้ที่พูดอวยพรให้เป็นมงคล เช่น ขอให้สมพรปากนะ.
สมสัก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชายที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปี นับว่าเป็นชายฉกรรจ์ควรจะสักข้อมือประจําการรับราชการแผ่นดินว่า เลกสมสัก.สมสัก (โบ) น. เรียกชายที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปี นับว่าเป็นชายฉกรรจ์ควรจะสักข้อมือประจําการรับราชการแผ่นดินว่า เลกสมสัก.
สมส่วน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีส่วนสัดเหมาะเจาะ เช่น การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสมส่วน, รับกันพอเหมาะพอดี เช่น หลังคากับตัวเรือนสมส่วนกันดี.สมส่วน ว. มีส่วนสัดเหมาะเจาะ เช่น การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสมส่วน, รับกันพอเหมาะพอดี เช่น หลังคากับตัวเรือนสมส่วนกันดี.
สมหน้าสมตา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะแก่เกียรติและฐานะ เช่น ลูกสาวบ้านนั้นเขาแต่งงานไปอย่างสมหน้าสมตา.สมหน้าสมตา ว. เหมาะแก่เกียรติและฐานะ เช่น ลูกสาวบ้านนั้นเขาแต่งงานไปอย่างสมหน้าสมตา.
สมหวัง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ดังที่หวัง.สมหวัง ก. ได้ดังที่หวัง.
สมเหตุสมผล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล.สมเหตุสมผล ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล.
สมอ้าง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับรองถ้อยคําที่เขากล่าว.สมอ้าง ก. รับรองถ้อยคําที่เขากล่าว.
สม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ใช้ประกอบกับคำกริยาบางคำมีความหมายว่า ร่วมด้วยกัน รวมกัน เช่น สมคิด สมรู้.สม ๒ ใช้ประกอบกับคำกริยาบางคำมีความหมายว่า ร่วมด้วยกัน รวมกัน เช่น สมคิด สมรู้.
สมคบ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมคบคิดกัน (ใช้ในทางไม่ดี) เช่น เขาสมคบกันไปปล้น.สมคบ ก. ร่วมคบคิดกัน (ใช้ในทางไม่ดี) เช่น เขาสมคบกันไปปล้น.
สมจร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมประเวณี เช่น เจ้าสมจรด้วยเมียข้าคนตนเองไซ้ ท่านให้ไหมให้ผัวมันเปนไท… ข้าสมจรด้วยกันพ่อแม่แลเจ้าข้ามิให้แลมันภากันหนีไกล… (สามดวง) มีนิทานเรื่องนางนาคสมจรกับงูดิน.สมจร ก. ร่วมประเวณี เช่น เจ้าสมจรด้วยเมียข้าคนตนเองไซ้ ท่านให้ไหมให้ผัวมันเปนไท… ข้าสมจรด้วยกันพ่อแม่แลเจ้าข้ามิให้แลมันภากันหนีไกล… (สามดวง) มีนิทานเรื่องนางนาคสมจรกับงูดิน.
สมทบ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง รวมเข้าด้วย เช่น เดินล่วงหน้าไปก่อนแล้วจะตามไปสมทบ.สมทบ ก. รวมเข้าด้วย เช่น เดินล่วงหน้าไปก่อนแล้วจะตามไปสมทบ.
สมยอม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาบางอย่าง (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น เจ้าทุกข์สมยอมกับเจ้าหน้าที่.สมยอม ก. ยอมตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาบางอย่าง (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น เจ้าทุกข์สมยอมกับเจ้าหน้าที่.
สมรัก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมประเวณี เช่น ชายลอบลักสมรักทำชู้ด้วยลูกสาวท่านก็ดี… สองลอบสมรักด้วยกัน มิได้สู่ขอมีขันหมากเปนคำนับ. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.สมรัก ก. ร่วมประเวณี เช่น ชายลอบลักสมรักทำชู้ด้วยลูกสาวท่านก็ดี… สองลอบสมรักด้วยกัน มิได้สู่ขอมีขันหมากเปนคำนับ. (สามดวง).
สมรู้ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมคิดกัน, เป็นใจกัน, (มักใช้ในทางที่ไม่ดี) เช่น เขาสมรู้กันในทางทุจริต, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ร่วมคิด เป็น สมรู้ร่วมคิด เช่น เขาสมรู้ร่วมคิดกันในการฉ้อราษฎร์บังหลวง.สมรู้ ก. ร่วมคิดกัน, เป็นใจกัน, (มักใช้ในทางที่ไม่ดี) เช่น เขาสมรู้กันในทางทุจริต, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ร่วมคิด เป็น สมรู้ร่วมคิด เช่น เขาสมรู้ร่วมคิดกันในการฉ้อราษฎร์บังหลวง.
สมสอง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่เป็นคู่ผัวเมีย, เขียนเป็น สํสอง ก็มี เช่น ยงงขวบคืนสํสอง เศกไท้. (กำสรวล).สมสอง (วรรณ) ก. อยู่เป็นคู่ผัวเมีย, เขียนเป็น สํสอง ก็มี เช่น ยงงขวบคืนสํสอง เศกไท้. (กำสรวล).
สมสู่ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมประเวณี (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น เขาไปสมสู่กันเอง สมสู่อยู่กินกันฉันผัวเมีย, บางทีก็ใช้กับสัตว์บางชนิด เช่น เดือน ๑๒ เป็นฤดูที่สุนัขสมสู่กัน.สมสู่ ก. ร่วมประเวณี (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น เขาไปสมสู่กันเอง สมสู่อยู่กินกันฉันผัวเมีย, บางทีก็ใช้กับสัตว์บางชนิด เช่น เดือน ๑๒ เป็นฤดูที่สุนัขสมสู่กัน.
สม– เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [สะมะ–, สมมะ–, สม–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่ากัน, เสมอกัน.สม– ๓ [สะมะ–, สมมะ–, สม–] ว. เท่ากัน, เสมอกัน.
สมการ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[สะมะกาน, สมมะกาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ เฉพาะบางค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ หรือการเหมือนกันของข้อความย่อย ๒ ข้อความที่ปรากฏอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเครื่องหมาย =. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ equation เขียนว่า อี-คิว-ยู-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น.สมการ [สะมะกาน, สมมะกาน] (คณิต) น. ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ ๒ นิพจน์ เฉพาะบางค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้น ๆ หรือการเหมือนกันของข้อความย่อย ๒ ข้อความที่ปรากฏอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเครื่องหมาย =. (อ. equation).
สมการเคมี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chemical เขียนว่า ซี-เอช-อี-เอ็ม-ไอ-ซี-เอ-แอล equation เขียนว่า อี-คิว-ยู-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น .สมการเคมี (เคมี) น. สมการที่เขียนขึ้นโดยอาศัยสัญลักษณ์ของธาตุ เพื่อแสดงปฏิกิริยาเคมีและปริมาณของธาตุต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเคมีนั้น ๆ. (อ. chemical equation).
สมจารี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[สะมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประพฤติสมํ่าเสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมจารี [สะมะ–] น. ผู้ประพฤติสมํ่าเสมอ. (ป.).
สมดุล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง[สะมะดุน, สมดุน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอกัน, เท่ากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ equilibrium เขียนว่า อี-คิว-ยู-ไอ-แอล-ไอ-บี-อา-ไอ-ยู-เอ็ม.สมดุล [สะมะดุน, สมดุน] ว. เสมอกัน, เท่ากัน. (อ. equilibrium).
สมมูล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง[สะมะมูน, สมมูน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีค่าเท่าเทียมกัน, เสมอเหมือนกัน, เปลี่ยนแทนกันได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ equivalent เขียนว่า อี-คิว-ยู-ไอ-วี-เอ-แอล-อี-เอ็น-ที.สมมูล [สะมะมูน, สมมูน] ว. มีค่าเท่าเทียมกัน, เสมอเหมือนกัน, เปลี่ยนแทนกันได้. (อ. equivalent).
สมมูลเคมี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทําปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chemical เขียนว่า ซี-เอช-อี-เอ็ม-ไอ-ซี-เอ-แอล equivalent เขียนว่า อี-คิว-ยู-ไอ-วี-เอ-แอล-อี-เอ็น-ที .สมมูลเคมี น. จํานวนเลขที่บ่งแสดงนํ้าหนักของสารที่ทําปฏิกิริยาโดยทางตรงหรือทางอ้อมได้พอดีกับ ๑.๐๐๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุไฮโดรเจน หรือกับ ๘ หน่วยนํ้าหนักเดียวกันของธาตุออกซิเจน. (อ. chemical equivalent).
สมวัย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[สะมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีวัยเสมอกัน, รุ่นราวคราวเดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาอังกฤษ contemporary เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-ที-อี-เอ็ม-พี-โอ-อา-เอ-อา-วาย.สมวัย [สะมะ–] ว. มีวัยเสมอกัน, รุ่นราวคราวเดียวกัน. (ป.; อ. contemporary).
ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Citrus วงศ์ Rutaceae ใบ ดอก และผิวผลมีต่อมนํ้ามัน กลิ่นฉุน ผลรสเปรี้ยวหรือหวาน กินได้ เช่น ส้มซ่า (C. aurantium L.) ส้มโอ [C. maxima (Burm.) Merr.] ส้มแก้ว (C. nobilis Lour.) ส้มจุก ส้มเขียวหวาน ส้มจันทบูร (C. reticulata Blanco) ส้มเกลี้ยง ส้มเช้ง (C. sinensis Osbeck), ถ้าผลไม้จําพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคํา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเหลืองเจือแดง เรียกว่า สีส้ม.ส้ม ๑ น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Citrus วงศ์ Rutaceae ใบ ดอก และผิวผลมีต่อมนํ้ามัน กลิ่นฉุน ผลรสเปรี้ยวหรือหวาน กินได้ เช่น ส้มซ่า (C. aurantium L.) ส้มโอ [C. maxima (Burm.) Merr.] ส้มแก้ว (C. nobilis Lour.) ส้มจุก ส้มเขียวหวาน ส้มจันทบูร (C. reticulata Blanco) ส้มเกลี้ยง ส้มเช้ง (C. sinensis Osbeck), ถ้าผลไม้จําพวกนี้มี มะ อยู่หน้า ต้องตัดคํา ส้ม ออก เช่น ส้มมะนาว ส้มมะกรูด เป็น มะนาว มะกรูด. ว. สีเหลืองเจือแดง เรียกว่า สีส้ม.
ส้มทับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ส้มจีนขนาดเล็กที่เชื่อมแล้วทับให้แห้ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ส้มทับ น. ส้มจีนขนาดเล็กที่เชื่อมแล้วทับให้แห้ง. (พจน. ๒๔๙๓).
ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปรี้ยว เช่น สารส้ม. เป็นคำนาม หมายถึง คําใช้ประกอบหน้าชื่อพรรณไม้และของกินที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้มเช้า ส้มตำ ส้มฟัก.ส้ม ๒ ว. เปรี้ยว เช่น สารส้ม. น. คําใช้ประกอบหน้าชื่อพรรณไม้และของกินที่มีรสเปรี้ยว เช่น ส้มเช้า ส้มตำ ส้มฟัก.
ส้มกุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่งทําด้วยกุ้ง ใช้หมักด้วยข้าวสุก เกลือ และกระเทียม มีรสเปรี้ยว, กุ้งส้ม ก็ว่า.ส้มกุ้ง ๑ น. ของกินชนิดหนึ่งทําด้วยกุ้ง ใช้หมักด้วยข้าวสุก เกลือ และกระเทียม มีรสเปรี้ยว, กุ้งส้ม ก็ว่า.
ส้มจี๊ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง ใช้พุทราตากแห้งป่นให้ละเอียด กวนกับน้ำตาลทรายให้งวด อัดเป็นแท่ง.ส้มจี๊ น. ของกินชนิดหนึ่ง ใช้พุทราตากแห้งป่นให้ละเอียด กวนกับน้ำตาลทรายให้งวด อัดเป็นแท่ง.
ส้มฉุน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง ใช้มะม่วงดิบมะยมดิบยำกับกุ้งแห้งใส่น้ำปลาน้ำตาล บางทีก็นำไปตากแดด, ส้มลิ้ม ก็เรียก.ส้มฉุน น. ของกินชนิดหนึ่ง ใช้มะม่วงดิบมะยมดิบยำกับกุ้งแห้งใส่น้ำปลาน้ำตาล บางทีก็นำไปตากแดด, ส้มลิ้ม ก็เรียก.
ส้มตำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง เอาผลไม้มีมะละกอเป็นต้นมาตําประสมกับเครื่องปรุงมี กระเทียม พริก มะนาว กุ้งแห้ง เป็นต้น มีรสเปรี้ยว, บางท้องถิ่นเรียก ตําส้ม.ส้มตำ น. ของกินชนิดหนึ่ง เอาผลไม้มีมะละกอเป็นต้นมาตําประสมกับเครื่องปรุงมี กระเทียม พริก มะนาว กุ้งแห้ง เป็นต้น มีรสเปรี้ยว, บางท้องถิ่นเรียก ตําส้ม.
ส้มแผ่น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง มะม่วงสุกที่กวนแล้วแผ่เป็นแผ่นบาง ๆ, ส้มลิ้ม ก็เรียก.ส้มแผ่น น. มะม่วงสุกที่กวนแล้วแผ่เป็นแผ่นบาง ๆ, ส้มลิ้ม ก็เรียก.
ส้มฟัก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง อาหารทําด้วยปลาสับละเอียดผสมกับข้าวสุกหมักเกลือ กระเทียม โขลกจนเหนียวแล้วห่อใบตองทับเอาไว้จนมีรสเปรี้ยว.ส้มฟัก น. อาหารทําด้วยปลาสับละเอียดผสมกับข้าวสุกหมักเกลือ กระเทียม โขลกจนเหนียวแล้วห่อใบตองทับเอาไว้จนมีรสเปรี้ยว.
ส้มมะขาม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อในมะขามเปรี้ยวที่แก่จัด ซึ่งใช้เป็นเครื่องปรุงอาหารให้มีรสเปรี้ยว, ถ้าปั้นเป็นก้อนเรียก มะขามเปียก.ส้มมะขาม น. เนื้อในมะขามเปรี้ยวที่แก่จัด ซึ่งใช้เป็นเครื่องปรุงอาหารให้มีรสเปรี้ยว, ถ้าปั้นเป็นก้อนเรียก มะขามเปียก.
ส้มลิ้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง ใช้มะม่วงดิบมะยมดิบยำกับกุ้งแห้งใส่น้ำปลาน้ำตาล บางทีก็นำไปตากแดด, ส้มฉุน ก็เรียก; มะม่วงสุกที่กวนแล้วแผ่เป็นแผ่นบาง ๆ, ส้มแผ่น ก็เรียก.ส้มลิ้ม ๑ น. ของกินชนิดหนึ่ง ใช้มะม่วงดิบมะยมดิบยำกับกุ้งแห้งใส่น้ำปลาน้ำตาล บางทีก็นำไปตากแดด, ส้มฉุน ก็เรียก; มะม่วงสุกที่กวนแล้วแผ่เป็นแผ่นบาง ๆ, ส้มแผ่น ก็เรียก.
ส้มกุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒.ส้มกุ้ง ๑ ดูใน ส้ม ๒.
ส้มกุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Ampelocissus martinii Planch. ในวงศ์ Vitaceae เถาและใบมีขนสีแดง ผลกลมออกเป็นพวงคล้ายองุ่น. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Embelia ribes Burm.f. ในวงศ์ Myrsinaceae เถาและใบเกลี้ยง ผลกลมออกเป็นช่อ ใช้ทํายาได้. (๓) ชื่อไม้เถาชนิด Rubus moluccanus L. ในวงศ์ Rosaceae เถามีขนและหนาม ผลออกเป็นกระจุก สุกสีแดง กินได้. (๔) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Begonia inflata C.B. Clarke ในวงศ์ Begoniaceae ต้นและใบอวบนํ้า ใบมีรสเปรี้ยว.ส้มกุ้ง ๒ น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Ampelocissus martinii Planch. ในวงศ์ Vitaceae เถาและใบมีขนสีแดง ผลกลมออกเป็นพวงคล้ายองุ่น. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Embelia ribes Burm.f. ในวงศ์ Myrsinaceae เถาและใบเกลี้ยง ผลกลมออกเป็นช่อ ใช้ทํายาได้. (๓) ชื่อไม้เถาชนิด Rubus moluccanus L. ในวงศ์ Rosaceae เถามีขนและหนาม ผลออกเป็นกระจุก สุกสีแดง กินได้. (๔) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Begonia inflata C.B. Clarke ในวงศ์ Begoniaceae ต้นและใบอวบนํ้า ใบมีรสเปรี้ยว.
ส้มชื่น เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเขยตาย. ในวงเล็บ ดู เขยตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.ส้มชื่น (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. ต้นเขยตาย. (ดู เขยตาย).
ส้มเช้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia ligularia Roxb. ในวงศ์ Euphorbiaceae ต้นคล้ายต้นสลัดได แต่มีใบซึ่งมีรสเปรี้ยวในเวลาเช้า. (๒) ดู ต้นตายใบเป็น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู.ส้มเช้า น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia ligularia Roxb. ในวงศ์ Euphorbiaceae ต้นคล้ายต้นสลัดได แต่มีใบซึ่งมีรสเปรี้ยวในเวลาเช้า. (๒) ดู ต้นตายใบเป็น.
สมญา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา[สมยา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อที่ตั้งให้ กร่อนมาจากคำว่า สมัญญา.สมญา [สมยา] น. ชื่อที่ตั้งให้ กร่อนมาจากคำว่า สมัญญา.
สมญานาม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[สมยานาม] เป็นคำนาม หมายถึง สมญา.สมญานาม [สมยานาม] น. สมญา.
สมเญศ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ยอ-หยิง-สอ-สา-ลา[สมเยด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อ.สมเญศ [สมเยด] (กลอน) น. ชื่อ.
สมณ–, สมณะ สมณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน สมณะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [สะมะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สงบกิเลสแล้ว โดยเฉพาะหมายถึงภิกษุในพระพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรมณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน.สมณ–, สมณะ [สะมะนะ–] น. ผู้สงบกิเลสแล้ว โดยเฉพาะหมายถึงภิกษุในพระพุทธศาสนา. (ป.; ส. ศฺรมณ).
สมณบริขาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้สอยของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา มี ๘ อย่าง คือ สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกนหรือมีดตัดเล็บ เข็ม ประคดเอว กระบอกกรองนํ้า (ธมกรก), อัฐบริขาร ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมณบริขาร น. เครื่องใช้สอยของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา มี ๘ อย่าง คือ สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกนหรือมีดตัดเล็บ เข็ม ประคดเอว กระบอกกรองนํ้า (ธมกรก), อัฐบริขาร ก็เรียก. (ป.).
สมณโวหาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่ควรแก่สมณะ เช่น อาตมา ฉันจังหัน กัปปิยภัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมณโวหาร น. ถ้อยคําที่ควรแก่สมณะ เช่น อาตมา ฉันจังหัน กัปปิยภัณฑ์. (ป.).
สมณศักดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกําหนด.สมณศักดิ์ น. ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้น แต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกําหนด.
สมณสารูป เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สมควรแก่พระ (ใช้แก่กิริยามารยาทเป็นต้น). เป็นคำนาม หมายถึง กิริยามารยาทเป็นต้นที่สมควรแก่สมณะ เช่น ภิกษุพูดจาควรมีสมณสารูป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมณสารุปฺป เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.สมณสารูป ว. ที่สมควรแก่พระ (ใช้แก่กิริยามารยาทเป็นต้น). น. กิริยามารยาทเป็นต้นที่สมควรแก่สมณะ เช่น ภิกษุพูดจาควรมีสมณสารูป. (ป. สมณสารุปฺป).
สมณสาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[–สาด] เป็นคำนาม หมายถึง จดหมายของสมเด็จพระสังฆราชหรือประมุขของประเทศซึ่งเป็นนักบวชที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ.สมณสาสน์ [–สาด] น. จดหมายของสมเด็จพระสังฆราชหรือประมุขของประเทศซึ่งเป็นนักบวชที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ.
สมเด็จ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง คํายกย่องหน้าชื่อฐานันดรศักดิ์โดยกำเนิด หรือแต่งตั้ง หมายความว่า ยิ่งใหญ่หรือประเสริฐ เช่น สมเด็จพระราชินี สมเด็จเจ้าฟ้า สมเด็จเจ้าพระยา สมเด็จพระราชาคณะ, ใช้แต่ลำพังว่า สมเด็จ ก็มี.สมเด็จ น. คํายกย่องหน้าชื่อฐานันดรศักดิ์โดยกำเนิด หรือแต่งตั้ง หมายความว่า ยิ่งใหญ่หรือประเสริฐ เช่น สมเด็จพระราชินี สมเด็จเจ้าฟ้า สมเด็จเจ้าพระยา สมเด็จพระราชาคณะ, ใช้แต่ลำพังว่า สมเด็จ ก็มี.
สมเด็จพระสังฆราช เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ประมุขแห่งคณะสงฆ์ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก.สมเด็จพระสังฆราช (กฎ) น. ประมุขแห่งคณะสงฆ์ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก.
สมถ–, สมถะ สมถ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ถอ-ถุง สมถะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ [สะมะถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การทำใจให้สงบโดยเพ่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอารมณ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มักน้อย เช่น คนสมถะมีความเป็นอยู่เรียบง่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศมถ เขียนว่า สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง.สมถ–, สมถะ [สะมะถะ–] น. การทำใจให้สงบโดยเพ่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอารมณ์. ว. มักน้อย เช่น คนสมถะมีความเป็นอยู่เรียบง่าย. (ป.; ส. ศมถ).
สมถยานิก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีสมถะเป็นยาน, ผู้บำเพ็ญสมถะจนได้ฌานก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมถยานิก น. ผู้มีสมถะเป็นยาน, ผู้บำเพ็ญสมถะจนได้ฌานก่อนแล้วจึงเจริญวิปัสสนา. (ป.).
สมถวิปัสสนา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สมถะและวิปัสสนา เป็นแบบปฏิบัติในการเจริญกรรมฐานทางพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . ในวงเล็บ ดู วิปัสสนา ประกอบ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .สมถวิปัสสนา น. สมถะและวิปัสสนา เป็นแบบปฏิบัติในการเจริญกรรมฐานทางพุทธศาสนา. (ป.). (ดู วิปัสสนา ประกอบ).
สมนาคุณ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน[สมมะนาคุน] เป็นคำกริยา หมายถึง ตอบแทนบุญคุณด้วยทรัพย์ สิ่งของ หรือแรงงาน เป็นต้นแล้วแต่กรณี เช่น ร้านค้ามีของสมนาคุณผู้ซื้อ ธนาคารให้ของสมนาคุณแก่ลูกค้า, เรียกทรัพย์หรือสิ่งของเป็นต้นที่ให้ในลักษณะเช่นนั้นว่า เงินสมนาคุณ ของสมนาคุณ.สมนาคุณ [สมมะนาคุน] ก. ตอบแทนบุญคุณด้วยทรัพย์ สิ่งของ หรือแรงงาน เป็นต้นแล้วแต่กรณี เช่น ร้านค้ามีของสมนาคุณผู้ซื้อ ธนาคารให้ของสมนาคุณแก่ลูกค้า, เรียกทรัพย์หรือสิ่งของเป็นต้นที่ให้ในลักษณะเช่นนั้นว่า เงินสมนาคุณ ของสมนาคุณ.
สมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ความถึงพร้อม หมายถึง ทรัพย์สิน เงินทอง ของใช้ เป็นต้นที่มีอยู่ เช่น ถึงมีสมบัติมากมายก็ไม่พ้นความตายไป ทำงานมาเกือบ ๒๐ ปี มีสมบัติอย่างเดียวคือบ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺปตฺติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สมบัติ ๑ น. ความถึงพร้อม หมายถึง ทรัพย์สิน เงินทอง ของใช้ เป็นต้นที่มีอยู่ เช่น ถึงมีสมบัติมากมายก็ไม่พ้นความตายไป ทำงานมาเกือบ ๒๐ ปี มีสมบัติอย่างเดียวคือบ้าน. (ป., ส. สมฺปตฺติ).
สมบัตินักเลง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สมบัติที่ได้มาด้วยการเสี่ยงโชค.สมบัตินักเลง น. ทรัพย์สมบัติที่ได้มาด้วยการเสี่ยงโชค.
สมบัติบ้า เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินหรือยศถาบรรดาศักดิ์ที่เพ้อฝันว่าจะได้ เช่น คิดสมบัติบ้า; ข้าวของที่เก็บไว้แต่ไม่มีประโยชน์ เช่น สมบัติบ้าเต็มตู้ไปหมด ไม่รู้จักทิ้งเสียบ้าง.สมบัติบ้า น. ทรัพย์สินหรือยศถาบรรดาศักดิ์ที่เพ้อฝันว่าจะได้ เช่น คิดสมบัติบ้า; ข้าวของที่เก็บไว้แต่ไม่มีประโยชน์ เช่น สมบัติบ้าเต็มตู้ไปหมด ไม่รู้จักทิ้งเสียบ้าง.
สมบัติผู้ดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง มารยาทของผู้ที่มีความประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา และความคิด.สมบัติผู้ดี น. มารยาทของผู้ที่มีความประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา และความคิด.
สมบัติพัสถาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สมบัดพัดสะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สิน ที่ดิน และบ้านเรือน.สมบัติพัสถาน [สมบัดพัดสะถาน] น. ทรัพย์สิน ที่ดิน และบ้านเรือน.
สมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะประจําของสาร เช่น ไอโอดีน มีสมบัติเป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาดําเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔°ซ. เมื่อระเหิดให้ไอสีม่วง.สมบัติ ๒ (วิทยา) น. ลักษณะประจําของสาร เช่น ไอโอดีน มีสมบัติเป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาดําเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔°ซ. เมื่อระเหิดให้ไอสีม่วง.
สมบุกสมบัน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทนลําบากตรากตรำโดยไม่คิดถึงตัว เช่น เขาทำงานสมบุกสมบันจึงประสบความสำเร็จ; อาการที่ใช้โดยไม่ปรานีปราศรัยหรือโดยไม่ทะนุถนอม เช่น ใช้เสื้อผ้าสมบุกสมบันทำให้ขาดเร็ว ใช้วัวควายไถนาอย่างสมบุกสมบันโดยไม่ให้พักผ่อน.สมบุกสมบัน ว. ทนลําบากตรากตรำโดยไม่คิดถึงตัว เช่น เขาทำงานสมบุกสมบันจึงประสบความสำเร็จ; อาการที่ใช้โดยไม่ปรานีปราศรัยหรือโดยไม่ทะนุถนอม เช่น ใช้เสื้อผ้าสมบุกสมบันทำให้ขาดเร็ว ใช้วัวควายไถนาอย่างสมบุกสมบันโดยไม่ให้พักผ่อน.
สมบูรณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง บริบูรณ์ เช่น สมบูรณ์ด้วยโภคสมบัติ สมบูรณ์ด้วยข้าทาสบริวาร, ครบถ้วน เช่น หลักฐานยังไม่สมบูรณ์; อ้วนท้วน, แข็งแรง, เช่น เขาสมบูรณ์ขึ้น เดี๋ยวนี้สุขภาพเขาสมบูรณ์ดีแล้ว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะครบถ้วน เช่น มีคุณสมบัติสมบูรณ์ตามที่กำหนด; อ้วนท้วน, แข็งแรง, เช่น มีร่างกายสมบูรณ์ สุขภาพสมบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สมบูรณ์ ก. บริบูรณ์ เช่น สมบูรณ์ด้วยโภคสมบัติ สมบูรณ์ด้วยข้าทาสบริวาร, ครบถ้วน เช่น หลักฐานยังไม่สมบูรณ์; อ้วนท้วน, แข็งแรง, เช่น เขาสมบูรณ์ขึ้น เดี๋ยวนี้สุขภาพเขาสมบูรณ์ดีแล้ว. ว. มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะครบถ้วน เช่น มีคุณสมบัติสมบูรณ์ตามที่กำหนด; อ้วนท้วน, แข็งแรง, เช่น มีร่างกายสมบูรณ์ สุขภาพสมบูรณ์. (ส.).
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[สมบูระนายาสิดทิราด] เป็นคำนาม หมายถึง ระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอํานาจสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ absolute เขียนว่า เอ-บี-เอส-โอ-แอล-ยู-ที-อี monarchy เขียนว่า เอ็ม-โอ-เอ็น-เอ-อา-ซี-เอช-วาย .สมบูรณาญาสิทธิราชย์ [สมบูระนายาสิดทิราด] น. ระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอํานาจสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ. (อ. absolute monarchy).
สมประดี, สมปฤดี, สมปฤๅดี สมประดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี สมปฤดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี สมปฤๅดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี [สมปฺระ–, สมปะรึ–, สมปะรือ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺมฺฤติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี สติ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สมประดี, สมปฤดี, สมปฤๅดี [สมปฺระ–, สมปะรึ–, สมปะรือ–] น. ความรู้สึกตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ สติ เป็น สติสมประดี เช่น ไม่ได้สติสมประดี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
ส้มป่อย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Acacia concinna (Willd.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นฝอยคล้ายใบชะอมแต่รสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้ ฝักใช้สระ หัวต่างสบู่และใช้ทํายาได้.ส้มป่อย น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Acacia concinna (Willd.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นฝอยคล้ายใบชะอมแต่รสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้ ฝักใช้สระ หัวต่างสบู่และใช้ทํายาได้.
สมปัก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าลายหรือผ้าปูมสมัยเก่าสําหรับขุนนางนุ่งหรือห่อคัมภีร์เป็นต้น, ผ้าเกี้ยว ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร สํพต เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-พอ-พาน-ตอ-เต่า ว่า ผ้านุ่ง .สมปัก น. ผ้าลายหรือผ้าปูมสมัยเก่าสําหรับขุนนางนุ่งหรือห่อคัมภีร์เป็นต้น, ผ้าเกี้ยว ก็เรียก. (เทียบ ข. สํพต ว่า ผ้านุ่ง).
สมผุส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ[–ผุด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง การคํานวณชนิดหนึ่งเกี่ยวกับโลกและดาวพระเคราะห์เล็งร่วมกัน.สมผุส [–ผุด] (โหร) น. การคํานวณชนิดหนึ่งเกี่ยวกับโลกและดาวพระเคราะห์เล็งร่วมกัน.
สมพง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Tetrameles nudiflora R. Br. ในวงศ์ Datiscaceae ชอบขึ้นริมนํ้า โคนต้นเป็นพอนแผ่กว้าง เปลือกสีเทาหรือเทาแกมนํ้าตาลเลื่อมเป็นมัน ใบมน ทิ้งใบหมดต้นในฤดูร้อน เนื้อไม้อ่อนเบา ใช้ทําก้านไม้ขีดไฟ เรือขุด และฝ้าเพดานได้, กะพง ก็เรียก.สมพง น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Tetrameles nudiflora R. Br. ในวงศ์ Datiscaceae ชอบขึ้นริมนํ้า โคนต้นเป็นพอนแผ่กว้าง เปลือกสีเทาหรือเทาแกมนํ้าตาลเลื่อมเป็นมัน ใบมน ทิ้งใบหมดต้นในฤดูร้อน เนื้อไม้อ่อนเบา ใช้ทําก้านไม้ขีดไฟ เรือขุด และฝ้าเพดานได้, กะพง ก็เรียก.
สมพงศ์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การร่วมวงศ์หรือตระกูลกัน, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ หมายถึง วิธีคํานวณว่าหญิงชายที่จะเป็นคู่ครองกันมีชะตาต้องกันหรือไม่.สมพงศ์ น. การร่วมวงศ์หรือตระกูลกัน, (โหร) วิธีคํานวณว่าหญิงชายที่จะเป็นคู่ครองกันมีชะตาต้องกันหรือไม่.
สมพล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง ความหมายที่ [–พน] เป็นคำนาม หมายถึง เลกของขุนนางที่ปกครองหัวเมือง; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง แบบวิธีเลขไทยในการฝึกหัดให้คูณคล่อง.สมพล ๑ [–พน] น. เลกของขุนนางที่ปกครองหัวเมือง; (โบ) แบบวิธีเลขไทยในการฝึกหัดให้คูณคล่อง.
สมพล ๒, สัมพล สมพล ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง สัมพล เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง อาหาร, เสบียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศมฺพล เขียนว่า สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-ลอ-ลิง.สมพล ๒, สัมพล น. อาหาร, เสบียง. (ป.; ส. ศมฺพล).
สมพัตสร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-รอ-เรือ[–พัดสอน] เป็นคำนาม หมายถึง อากรสวนใหญ่เก็บจากผลของไม้ยืนต้นเป็นรายปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สํวตฺสร เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ ว่า ปี .สมพัตสร [–พัดสอน] น. อากรสวนใหญ่เก็บจากผลของไม้ยืนต้นเป็นรายปี. (ส. สํวตฺสร ว่า ปี).
สมพาส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[–พาด] เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่ร่วม, การร่วมประเวณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํวาส เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.สมพาส [–พาด] น. การอยู่ร่วม, การร่วมประเวณี. (ป., ส. สํวาส).
สมเพช เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง[–เพด] เป็นคำกริยา หมายถึง สงสารสลดใจ, ควรได้รับความกรุณา, เช่น เห็นคนอนาถาแล้วอดสมเพชไม่ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ เวทนา เป็น สมเพชเวทนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สํเวชน เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู ว่า สยดสยอง, สังเวช .สมเพช [–เพด] ก. สงสารสลดใจ, ควรได้รับความกรุณา, เช่น เห็นคนอนาถาแล้วอดสมเพชไม่ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ เวทนา เป็น สมเพชเวทนา. (ป., ส. สํเวชน ว่า สยดสยอง, สังเวช).
สมโพธน์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง คําร้องเรียก, คําอาลปนะในไวยากรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ว่า การร้องเรียก, การปราศรัย .สมโพธน์ น. คําร้องเรียก, คําอาลปนะในไวยากรณ์. (ส. ว่า การร้องเรียก, การปราศรัย).
สมโพธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[–โพด] เป็นคำนาม หมายถึง การตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมโพธิ [–โพด] น. การตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. (ป.).
สมภพ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน[–พบ] เป็นคำนาม หมายถึง การเกิด, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชสมภพ และ พระบรมราชสมภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺภว เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน.สมภพ [–พบ] น. การเกิด, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระราชสมภพ และ พระบรมราชสมภพ. (ป., ส. สมฺภว).
สมภาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–พาน] เป็นคำนาม หมายถึง พระที่เป็นเจ้าอาวาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺภาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.สมภาร [–พาน] น. พระที่เป็นเจ้าอาวาส. (ป., ส. สมฺภาร).
สมโภค เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย[–โพก] เป็นคำนาม หมายถึง การเสวยสุขกายใจอันเป็นไปในทางโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมโภค [–โพก] น. การเสวยสุขกายใจอันเป็นไปในทางโลก. (ป., ส.).
สมโภช เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง[–โพด] เป็นคำนาม หมายถึง การกินร่วม, การเลี้ยงอาหาร; งานเลี้ยง, งานฉลองในพิธีมงคลเพื่อความยินดีร่าเริง เช่น งานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี งานสมโภชพระสุพรรณบัฏ (ใช้เฉพาะแต่ในงานพระราชพิธีเท่านั้น). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺโภชน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.สมโภช [–โพด] น. การกินร่วม, การเลี้ยงอาหาร; งานเลี้ยง, งานฉลองในพิธีมงคลเพื่อความยินดีร่าเริง เช่น งานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี งานสมโภชพระสุพรรณบัฏ (ใช้เฉพาะแต่ในงานพระราชพิธีเท่านั้น). (ป.; ส. สมฺโภชน).
สมมต, สมมติ, สมมติ–, สมมุติ, สมมุติ– สมมต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า สมมติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ สมมติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ สมมุติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ สมมุติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ [สมมด, สมมด, สมมดติ–, สมมุด, สมมุดติ–] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกนึกเอาว่า เช่น สมมติให้ตุ๊กตาเป็นน้อง. เป็นคำสันธาน หมายถึง ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดกสิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยอมรับตกลงกันเองโดยปริยาย โดยไม่คํานึงถึงสภาพที่แท้จริง เช่น สมมติเทพ.สมมต, สมมติ, สมมติ–, สมมุติ, สมมุติ– [สมมด, สมมด, สมมดติ–, สมมุด, สมมุดติ–] ก. รู้สึกนึกเอาว่า เช่น สมมติให้ตุ๊กตาเป็นน้อง. สัน. ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดกสิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก. ว. ที่ยอมรับตกลงกันเองโดยปริยาย โดยไม่คํานึงถึงสภาพที่แท้จริง เช่น สมมติเทพ.
สมมติฐาน, สมมุติฐาน สมมติฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู สมมุติฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู [สมมดติ–, สมมุดติ–] เป็นคำนาม หมายถึง ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hypothesis เขียนว่า เอช-วาย-พี-โอ-ที-เอช-อี-เอส-ไอ-เอส.สมมติฐาน, สมมุติฐาน [สมมดติ–, สมมุดติ–] น. ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล การทดลอง หรือการวิจัย. (อ. hypothesis).
สมมติเทพ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาโดยสมมติ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน.สมมติเทพ น. เทวดาโดยสมมติ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน.
สมมาตร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[สมมาด] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่รูป ๒ รูปหรือรูปรูปเดียว แต่แยกได้เป็น ๒ ส่วน มีสมบัติว่า ถ้านํารูปแรกไปทับรูปที่ ๒ หรือพับส่วนแรกไปทับส่วนที่ ๒ ในกรณีที่เป็นรูปเดียวกันแล้ว ทั้ง ๒ รูปหรือ ๒ ส่วนนั้นจะทับกันสนิท, ถ้าเป็นรูปทรง ๓ มิติ เมื่อแบ่งครึ่งออกไป ๒ ซีกจะเหมือนกันทุกประการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ symmetry เขียนว่า เอส-วาย-เอ็ม-เอ็ม-อี-ที-อา-วาย.สมมาตร [สมมาด] น. ลักษณะที่รูป ๒ รูปหรือรูปรูปเดียว แต่แยกได้เป็น ๒ ส่วน มีสมบัติว่า ถ้านํารูปแรกไปทับรูปที่ ๒ หรือพับส่วนแรกไปทับส่วนที่ ๒ ในกรณีที่เป็นรูปเดียวกันแล้ว ทั้ง ๒ รูปหรือ ๒ ส่วนนั้นจะทับกันสนิท, ถ้าเป็นรูปทรง ๓ มิติ เมื่อแบ่งครึ่งออกไป ๒ ซีกจะเหมือนกันทุกประการ. (อ. symmetry).
ส้มมือ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อส้มชนิด Citrus medica L. var. sarcodactylis Swing. ในวงศ์ Rutaceae ส่วนล่างของผลมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ ใช้ทํายาดมได้.ส้มมือ น. ชื่อส้มชนิด Citrus medica L. var. sarcodactylis Swing. ในวงศ์ Rutaceae ส่วนล่างของผลมีลักษณะคล้ายนิ้วมือ ใช้ทํายาดมได้.
สมโมท เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน[–โมด] เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดี, ร่าเริง, พอใจ, สัมโมท ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมฺโมท เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน.สมโมท [–โมด] ก. ยินดี, ร่าเริง, พอใจ, สัมโมท ก็ว่า. (ป., ส. สมฺโมท).
สมโยค เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[–โยก] เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมประเวณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สมโยค [–โยก] ก. ร่วมประเวณี. (ส.).
สมร ๑, สมร– สมร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ สมร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ [สะหฺมอน, สะหฺมอนระ–, สะหฺมอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การรบ, การสงคราม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมร ๑, สมร– [สะหฺมอน, สะหฺมอนระ–, สะหฺมอระ–] น. การรบ, การสงคราม. (ป., ส.).
สมรภูมิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ[สะหฺมอนระพูม, สะหฺมอระพูม] เป็นคำนาม หมายถึง สนามรบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สมรภูมิ [สะหฺมอนระพูม, สะหฺมอระพูม] น. สนามรบ. (ส.).
สมร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ ความหมายที่ [สะหฺมอน] เป็นคำนาม หมายถึง นางงามซึ่งเป็นที่รัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺมร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ ว่า กามเทพ .สมร ๒ [สะหฺมอน] น. นางงามซึ่งเป็นที่รัก. (ส. สฺมร ว่า กามเทพ).
สมรด เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตกแต่งขอบต้นแขน และปลายแขนเสื้อครุย ปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ; ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สํารด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก.สมรด น. เครื่องตกแต่งขอบต้นแขน และปลายแขนเสื้อครุย ปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ; ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สํารด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก.
สมรรถ, สมรรถ– สมรรถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง สมรรถ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง [สะมัด, สะมัดถะ–, สะหมัดถะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมรฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง ว่า ผู้สามารถ และมาจากภาษาบาลี สมตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.สมรรถ, สมรรถ– [สะมัด, สะมัดถะ–, สะหมัดถะ–] ว. สามารถ. (ส. สมรฺถ ว่า ผู้สามารถ; ป. สมตฺถ).
สมรรถภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[สะมัดถะ–, สะหฺมัดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถ เช่น เขาเป็นคนมีสมรรถภาพในการทำงานสูงสมควรได้เลื่อนตำแหน่ง.สมรรถภาพ [สะมัดถะ–, สะหฺมัดถะ–] น. ความสามารถ เช่น เขาเป็นคนมีสมรรถภาพในการทำงานสูงสมควรได้เลื่อนตำแหน่ง.
สมรรถนะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สะมัดถะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถ (ใช้แก่เครื่องยนต์) เช่น รถยนต์แบบนี้มีสมรรถนะดีเยี่ยมเหมาะสำหรับเดินทางไกล.สมรรถนะ [สะมัดถะนะ] น. ความสามารถ (ใช้แก่เครื่องยนต์) เช่น รถยนต์แบบนี้มีสมรรถนะดีเยี่ยมเหมาะสำหรับเดินทางไกล.
สมรส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–รด] เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งงาน เช่น นาย ก สมรสกับนางสาว ข. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกี่ยวกับการแต่งงาน เช่น พิธีมงคลสมรส.สมรส [–รด] ก. แต่งงาน เช่น นาย ก สมรสกับนางสาว ข. ว. ที่เกี่ยวกับการแต่งงาน เช่น พิธีมงคลสมรส.
สมฤดี, สมฤๅดี สมฤดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี สมฤๅดี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี [สมรึดี, สมรือดี] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี สมปฤๅดี หรือ สมประดี ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺมฺฤติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี สติ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สมฤดี, สมฤๅดี [สมรึดี, สมรือดี] น. ความรู้สึกตัว, ใช้เป็น สมปฤดี สมปฤๅดี หรือ สมประดี ก็มี. (ส. สฺมฺฤติ; ป. สติ).
สมฤติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะมะรึติ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ทางศาสนาพราหมณ์ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังคัมภีร์พวกศรุติ เช่น คัมภีร์เวทางคศาสตร์ ศูตระ รามายณะ มหาภารตะ ปุราณะ ธรรมศาสตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สมฤติ [สะมะรึติ] น. ชื่อคัมภีร์ทางศาสนาพราหมณ์ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังคัมภีร์พวกศรุติ เช่น คัมภีร์เวทางคศาสตร์ ศูตระ รามายณะ มหาภารตะ ปุราณะ ธรรมศาสตร์. (ส.).
ส้มลิ้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ดูใน ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒.ส้มลิ้ม ๑ ดูใน ส้ม ๒.
ส้มลิ้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ส้มลิ้ม ๒ น. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
สมวายะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[สะมะวายะ] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, พวก, ประชุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมวายะ [สะมะวายะ] น. หมู่, พวก, ประชุม. (ป., ส.).
ส้มสันดาน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Cissus hastata Miq. ในวงศ์ Vitaceae ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้.ส้มสันดาน น. ชื่อไม้เถาชนิด Cissus hastata Miq. ในวงศ์ Vitaceae ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้.
สมเสร็จ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Tapirus indicus ในวงศ์ Tapiridae เป็นสัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ ลําตัวตอนกลางสีขาว ส่วนหัวและท้ายสีดํา ขอบหูสีขาว จมูกและริมฝีปากบนยื่นยาวออกมาคล้ายงวงยืดหดเข้าออกได้ หางสั้น ลูกเกิดใหม่ตัวมีลายสีขาวตามยาว กินหญ้า ใบไม้ และผลไม้ เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย, ผสมเสร็จ ก็เรียก.สมเสร็จ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Tapirus indicus ในวงศ์ Tapiridae เป็นสัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ ลําตัวตอนกลางสีขาว ส่วนหัวและท้ายสีดํา ขอบหูสีขาว จมูกและริมฝีปากบนยื่นยาวออกมาคล้ายงวงยืดหดเข้าออกได้ หางสั้น ลูกเกิดใหม่ตัวมีลายสีขาวตามยาว กินหญ้า ใบไม้ และผลไม้ เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย, ผสมเสร็จ ก็เรียก.
ส้มเสี้ยว เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Bauhinia malabarica Roxb. ในวงศ์ Leguminosae ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้.ส้มเสี้ยว น. ชื่อไม้ต้นชนิด Bauhinia malabarica Roxb. ในวงศ์ Leguminosae ใบมีรสเปรี้ยว ใช้ทํายาได้.
สมอ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะหฺมอ] เป็นคำนาม หมายถึง หิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺม เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-มอ-ม้า; ของหนักที่ล่ามโซ่หรือเชือกอยู่กับเรือ เวลาจอดเรือใช้ทอดลงไปในนํ้าให้เกาะพื้นเพื่อไม่ให้เรือเคลื่อนไปที่อื่น.สมอ ๑ [สะหฺมอ] น. หิน. (ข. ถฺม); ของหนักที่ล่ามโซ่หรือเชือกอยู่กับเรือ เวลาจอดเรือใช้ทอดลงไปในนํ้าให้เกาะพื้นเพื่อไม่ให้เรือเคลื่อนไปที่อื่น.
สมอเกา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่สมอหลุดจากพื้นที่ทอดไว้ แล้วครูดไปตามพื้นท้องน้ำด้วยแรงลมและกระแสน้ำ.สมอเกา ก. อาการที่สมอหลุดจากพื้นที่ทอดไว้ แล้วครูดไปตามพื้นท้องน้ำด้วยแรงลมและกระแสน้ำ.
สมอ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะหฺมอ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์ Combretaceae ใช้ทํายาได้ เช่น สมอไทย (T. chebula Retz.), สมอพิเภก [T. bellirica (Gaertn.) Roxb.], สมอดีงู [T. citrina (Gaertn.) Roxb. ex Flem.].สมอ ๒ [สะหฺมอ] น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์ Combretaceae ใช้ทํายาได้ เช่น สมอไทย (T. chebula Retz.), สมอพิเภก [T. bellirica (Gaertn.) Roxb.], สมอดีงู [T. citrina (Gaertn.) Roxb. ex Flem.].
สมอ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ [สะหฺมอ] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกฝ้าย.สมอ ๓ [สะหฺมอ] น. ลูกฝ้าย.
สมอกานน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนูดู ตีนนก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-นอ-หนู-กอ-ไก่ (๑).สมอกานน ดู ตีนนก (๑).
สมอง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู[สะหฺมอง] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกส่วนที่อยู่ภายในกะโหลกศีรษะ มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ เป็นลูกคลื่น เป็นที่รวมประสาทให้เกิดความรู้สึก ฯลฯ ว่า มันสมอง; โดยปริยายหมายความว่า ปัญญาความคิด เช่น เขาเป็นคนสมองดี, หัวสมอง ก็ว่า, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ขมอง.สมอง [สะหฺมอง] น. เรียกส่วนที่อยู่ภายในกะโหลกศีรษะ มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ เป็นลูกคลื่น เป็นที่รวมประสาทให้เกิดความรู้สึก ฯลฯ ว่า มันสมอง; โดยปริยายหมายความว่า ปัญญาความคิด เช่น เขาเป็นคนสมองดี, หัวสมอง ก็ว่า, (ปาก) ขมอง.
สมองตาย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สภาวะที่สมองถูกทําลายจนสูญเสียการทํางานโดยสิ้นเชิง ถือว่าสิ้นชีวิตแล้ว.สมองตาย ว. สภาวะที่สมองถูกทําลายจนสูญเสียการทํางานโดยสิ้นเชิง ถือว่าสิ้นชีวิตแล้ว.
สมองฝ่อ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อสมองน้อยลงเนื่องจากมีการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทและเนื้อเยื่อของสมองหรืออย่างใดอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cerebral เขียนว่า ซี-อี-อา-อี-บี-อา-เอ-แอล atrophy เขียนว่า เอ-ที-อา-โอ-พี-เอช-วาย .สมองฝ่อ น. เนื้อสมองน้อยลงเนื่องจากมีการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทและเนื้อเยื่อของสมองหรืออย่างใดอย่างหนึ่ง. (อ. cerebral atrophy).
สมอจีน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนูดู กาน้า เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา.สมอจีน ดู กาน้า.
สมอทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิงดู กุระ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ.สมอทะเล ดู กุระ.
สมอสำเภา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสิธยะ ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.สมอสำเภา น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสิธยะ ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.
สมะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความสงบ, ความราบคาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมะ น. ความสงบ, ความราบคาบ. (ป.).
สมัคร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ[สะหฺมัก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นความจำนงขอเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือร่วมในกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นต้น เช่น สมัครเป็นสมาชิกสมาคม สมัครเข้าทำงาน, บางทีก็มีคํา ใจ ประกอบอยู่ด้วย ซึ่งเป็นคําผสมชนิดที่ต้องการเน้น เช่น ใจสมัคร ว่า ใจที่สมัคร, สมัครใจ ว่า สมัครด้วยความเต็มใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาพม่า สมัค เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย ว่า เต็มใจ; ป. สมคฺค และมาจากภาษาสันสกฤต สมคฺร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า พร้อม .สมัคร [สะหฺมัก] ก. ยื่นความจำนงขอเข้าร่วมเป็นสมาชิกหรือร่วมในกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นต้น เช่น สมัครเป็นสมาชิกสมาคม สมัครเข้าทำงาน, บางทีก็มีคํา ใจ ประกอบอยู่ด้วย ซึ่งเป็นคําผสมชนิดที่ต้องการเน้น เช่น ใจสมัคร ว่า ใจที่สมัคร, สมัครใจ ว่า สมัครด้วยความเต็มใจ. (ต. สมัค ว่า เต็มใจ; ป. สมคฺค; ส. สมคฺร ว่า พร้อม).
สมัครใจ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง สมัครด้วยความเต็มใจ เช่น งานนี้เขาสมัครใจเป็นแม่ครัว ชาวเขาสมัครใจย้ายถิ่นฐาน. เป็นคำนาม หมายถึง ความเต็มใจ เช่น ทำโดยสมัครใจ.สมัครใจ ก. สมัครด้วยความเต็มใจ เช่น งานนี้เขาสมัครใจเป็นแม่ครัว ชาวเขาสมัครใจย้ายถิ่นฐาน. น. ความเต็มใจ เช่น ทำโดยสมัครใจ.
สมัครพรรคพวก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-พอ-พาน-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เข้าร่วมเป็นพวกด้วย เช่น เขาเป็นคนกว้างขวาง มีสมัครพรรคพวกมาก.สมัครพรรคพวก น. ผู้เข้าร่วมเป็นพวกด้วย เช่น เขาเป็นคนกว้างขวาง มีสมัครพรรคพวกมาก.
สมัครสมา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา[สะหฺมักสะมา] เป็นคำกริยา หมายถึง ขอขมาในความผิดที่ได้กระทําไปแล้ว.สมัครสมา [สะหฺมักสะมา] ก. ขอขมาในความผิดที่ได้กระทําไปแล้ว.
สมัครสมาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะหฺมักสะหฺมาน] เป็นคำกริยา หมายถึง เชื่อมสามัคคี เช่น จะทำการงานอะไรขอให้สมัครสมานกัน.สมัครสมาน [สะหฺมักสะหฺมาน] ก. เชื่อมสามัคคี เช่น จะทำการงานอะไรขอให้สมัครสมานกัน.
สมังคี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี[สะมัง–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประกอบด้วย, พร้อมเพรียงด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมังคี [สะมัง–] ว. ประกอบด้วย, พร้อมเพรียงด้วย. (ป.).
สมัช, สมัชชา สมัช เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง สมัชชา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา [สะมัด–] เป็นคำนาม หมายถึง การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ไปร่วมประชุมสมัชชาแห่งชาติ; ที่ประชุม เช่น สมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมัช, สมัชชา [สะมัด–] น. การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ไปร่วมประชุมสมัชชาแห่งชาติ; ที่ประชุม เช่น สมัชชาใหญ่องค์การสหประชาชาติ. (ป.).
สมัญญา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา[สะมันยา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อที่มีผู้ยกย่องหรือตั้งให้ เช่น พระพุทธเจ้าได้รับสมัญญาว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ศาสดาของศาสนาเชนได้รับสมัญญาว่า มหาวีระ เพราะเป็นผู้มีความกล้าหาญมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมัญญา [สะมันยา] น. ชื่อที่มีผู้ยกย่องหรือตั้งให้ เช่น พระพุทธเจ้าได้รับสมัญญาว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ศาสดาของศาสนาเชนได้รับสมัญญาว่า มหาวีระ เพราะเป็นผู้มีความกล้าหาญมาก. (ป.).
สมัต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า[สะมัด] เป็นคำกริยา หมายถึง จบแล้ว, จบข้อความ, สําเร็จแล้ว; เต็ม, บริบูรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.สมัต [สะมัด] ก. จบแล้ว, จบข้อความ, สําเร็จแล้ว; เต็ม, บริบูรณ์. (ป. สมตฺต).
สมัน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[สะหฺมัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Cervus schomburgki ในวงศ์ Cervidae ขนาดเล็กกว่ากวางป่า ขนสีนํ้าตาล หางสั้น เขาแตกแขนงมากกว่ากวางชนิดอื่น เป็นกวางที่มีเขาสวยงามมาก และมีถิ่นกําเนิดเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น เป็นสัตว์ป่าสงวน ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว, เนื้อสมัน ก็เรียก.สมัน [สะหฺมัน] น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Cervus schomburgki ในวงศ์ Cervidae ขนาดเล็กกว่ากวางป่า ขนสีนํ้าตาล หางสั้น เขาแตกแขนงมากกว่ากวางชนิดอื่น เป็นกวางที่มีเขาสวยงามมาก และมีถิ่นกําเนิดเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น เป็นสัตว์ป่าสงวน ซึ่งสูญพันธุ์แล้ว, เนื้อสมัน ก็เรียก.
สมันต์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[สะมัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยรอบ, ใกล้เคียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมันต์ [สะมัน] ว. โดยรอบ, ใกล้เคียง. (ป., ส.).
สมัย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[สะไหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมัย [สะไหฺม] น. เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. (ป., ส.).
สมัยเก่า เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สมัยโบราณ เช่น ถ้วยชามชุดนี้เป็นของสมัยเก่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้นสมัย, ไม่ใช่สมัยใหม่, ก่อนเวลาปัจจุบัน, เช่น เขามีความคิดอย่างคนสมัยเก่า.สมัยเก่า น. สมัยโบราณ เช่น ถ้วยชามชุดนี้เป็นของสมัยเก่า. ว. พ้นสมัย, ไม่ใช่สมัยใหม่, ก่อนเวลาปัจจุบัน, เช่น เขามีความคิดอย่างคนสมัยเก่า.
สมัยนิยม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ความนิยมในแต่ละสมัย เช่น แต่งตัวตามสมัยนิยม ไว้ผมตามสมัยนิยม.สมัยนิยม น. ความนิยมในแต่ละสมัย เช่น แต่งตัวตามสมัยนิยม ไว้ผมตามสมัยนิยม.
สมัยใหม่ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง สมัยปัจจุบัน เช่น ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ปรัชญาสมัยใหม่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทันสมัย เช่น แม้เขาจะอายุมาก แต่เขามีความคิดอย่างคนสมัยใหม่.สมัยใหม่ น. สมัยปัจจุบัน เช่น ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ปรัชญาสมัยใหม่. ว. ทันสมัย เช่น แม้เขาจะอายุมาก แต่เขามีความคิดอย่างคนสมัยใหม่.
สมา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [สะมา] เป็นคำกริยา หมายถึง ขมา.สมา ๑ [สะมา] ก. ขมา.
สมา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [สะมา] เป็นคำนาม หมายถึง ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมา ๒ [สะมา] น. ปี. (ป., ส.).
สมาคม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า[สะมา–] เป็นคำนาม หมายถึง การประชุม, การเข้าร่วมพวกร่วมคณะ, การคบค้า; แหล่งหรือที่ประชุมของบุคคลหลายคนมาร่วมกันด้วยมีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการ เช่น เข้าสมาคม สมาคมศิษย์เก่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง นิติบุคคลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อกระทําการใด ๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกันและมิใช่เป็นการหาผลกําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน สมาคมต้องมีข้อบังคับและจดทะเบียนตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . เป็นคำกริยา หมายถึง คบค้า, คบหา, เช่น อย่าสมาคมกับคนพาล ให้สมาคมกับนักปราชญ์.สมาคม [สะมา–] น. การประชุม, การเข้าร่วมพวกร่วมคณะ, การคบค้า; แหล่งหรือที่ประชุมของบุคคลหลายคนมาร่วมกันด้วยมีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการ เช่น เข้าสมาคม สมาคมศิษย์เก่า; (กฎ) นิติบุคคลที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อกระทําการใด ๆ อันมีลักษณะต่อเนื่องร่วมกันและมิใช่เป็นการหาผลกําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน สมาคมต้องมีข้อบังคับและจดทะเบียนตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. (ป., ส.). ก. คบค้า, คบหา, เช่น อย่าสมาคมกับคนพาล ให้สมาคมกับนักปราชญ์.
สมาคมการค้า เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถาบันที่บุคคลหลายคนซึ่งเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นเพื่อทำการส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจอันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน.สมาคมการค้า (กฎ) น. สถาบันที่บุคคลหลายคนซึ่งเป็นผู้ประกอบวิสาหกิจจัดตั้งขึ้นเพื่อทำการส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจอันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน.
สมาจาร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[สะมาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติที่ดี, ธรรมเนียม, ประเพณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาจาร [สะมาจาน] น. ความประพฤติที่ดี, ธรรมเนียม, ประเพณี. (ป., ส.).
สมาชิก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะมา–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาชิก ๑ [สะมา–] น. ผู้มีสิทธิและมีส่วนร่วมในสมาคม องค์การ หรือกิจกรรมใด ๆ เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสมาคมศิษย์เก่า สมาชิกวารสาร, (ปาก) ลูกค้า, ขาประจำ, เช่น หมู่นี้สมาชิกไม่ค่อยมาอุดหนุนที่ร้านเลย. (ป., ส.).
สมาชิกวุฒิสภา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สมาชิกของวุฒิสภา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง วุฒิสมาชิก.สมาชิกวุฒิสภา น. สมาชิกของวุฒิสภา, (ปาก) วุฒิสมาชิก.
สมาชิก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะมา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งแต่ละสิ่งที่มีปรากฏอยู่ในเซตใดเซตหนึ่ง เช่น { ก, ข, ค } คือ เซตของอักษร ๓ ตัวแรกในภาษาไทย มีสมาชิก ๓ ตัว, สิ่งที่ปรากฏอยู่ในคู่อันดับใดคู่อันดับหนึ่ง เช่น (ก, ข) คือ คู่อันดับหนึ่งที่มี ก เป็นสมาชิกตัวหน้า ข เป็นสมาชิกตัวหลัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ element เขียนว่า อี-แอล-อี-เอ็ม-อี-เอ็น-ที member เขียนว่า เอ็ม-อี-เอ็ม-บี-อี-อา .สมาชิก ๒ [สะมา–] (คณิต) น. สิ่งแต่ละสิ่งที่มีปรากฏอยู่ในเซตใดเซตหนึ่ง เช่น { ก, ข, ค } คือ เซตของอักษร ๓ ตัวแรกในภาษาไทย มีสมาชิก ๓ ตัว, สิ่งที่ปรากฏอยู่ในคู่อันดับใดคู่อันดับหนึ่ง เช่น (ก, ข) คือ คู่อันดับหนึ่งที่มี ก เป็นสมาชิกตัวหน้า ข เป็นสมาชิกตัวหลัง. (อ. element, member).
สมาทาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะมา–] เป็นคำกริยา หมายถึง รับเอาถือเอาเป็นข้อปฏิบัติ เช่น สมาทานศีล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาทาน [สะมา–] ก. รับเอาถือเอาเป็นข้อปฏิบัติ เช่น สมาทานศีล. (ป., ส.).
สมาธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[สะมาทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งมั่นแห่งจิต; ความสํารวมใจให้แน่วแน่เพื่อให้จิตใจสงบหรือเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาธิ [สะมาทิ] น. ความตั้งมั่นแห่งจิต; ความสํารวมใจให้แน่วแน่เพื่อให้จิตใจสงบหรือเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง. (ป., ส.).
สมาน– เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ [สะมานะ–, สะหฺมานนะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอกัน, เท่ากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาน– ๑ [สะมานะ–, สะหฺมานนะ–] ว. เสมอกัน, เท่ากัน. (ป., ส.).
สมานคติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะมานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การดําเนินอย่างเดียวกัน, การมีความเห็นพ้องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .สมานคติ [สะมานะ–] น. การดําเนินอย่างเดียวกัน, การมีความเห็นพ้องกัน. (ส.).
สมานฉันท์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด[สะมานะ–, สะหฺมานนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้องกัน, เช่น มีความเห็นเป็นสมานฉันท์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู + ฉนฺท เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน .สมานฉันท์ [สะมานะ–, สะหฺมานนะ–] น. ความพอใจร่วมกัน, ความเห็นพ้องกัน, เช่น มีความเห็นเป็นสมานฉันท์. (ป. สมาน + ฉนฺท).
สมานสังวาส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[สะมานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่ร่วมเสมอกัน (ใช้แก่พระสงฆ์ที่มีศีลเสมอกัน ทําอุโบสถหรือสังฆกรรมร่วมกันได้). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมานสํวาส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.สมานสังวาส [สะมานะ–] น. การอยู่ร่วมเสมอกัน (ใช้แก่พระสงฆ์ที่มีศีลเสมอกัน ทําอุโบสถหรือสังฆกรรมร่วมกันได้). (ป. สมานสํวาส).
สมาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺมาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ติดกัน, ทําให้สนิท, เช่น ยาสมานแผล การสมานเนื้อไม้; เชื่อม, ผูกพัน, เช่น สมานไมตรี.สมาน ๒ [สะหฺมาน] ก. ทําให้ติดกัน, ทําให้สนิท, เช่น ยาสมานแผล การสมานเนื้อไม้; เชื่อม, ผูกพัน, เช่น สมานไมตรี.
สมาบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะมาบัด] เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่จิตสงบประณีต, คุณวิเศษที่เกิดจากการที่จิตเพ่งอารมณ์จนแน่วแน่, การบรรลุคุณวิเศษชั้นสูงด้วยอำนาจของการเข้าสมาธิ, มีหลายอย่าง เช่น ฌานสมาบัติ ผลสมาบัติ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฌาน เป็น ฌานสมาบัติ มี ๘ ได้แก่ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมาปตฺติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.สมาบัติ [สะมาบัด] น. ภาวะที่จิตสงบประณีต, คุณวิเศษที่เกิดจากการที่จิตเพ่งอารมณ์จนแน่วแน่, การบรรลุคุณวิเศษชั้นสูงด้วยอำนาจของการเข้าสมาธิ, มีหลายอย่าง เช่น ฌานสมาบัติ ผลสมาบัติ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฌาน เป็น ฌานสมาบัติ มี ๘ ได้แก่ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔. (ป., ส. สมาปตฺติ).
สมาพันธรัฐ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน[–พันทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รัฐหลาย ๆ รัฐที่รวมกันเพื่อประโยชน์ร่วมกันบางอย่าง โดยมีข้อตกลงระหว่างกันให้มีรัฐบาลกลาง และให้มีอํานาจหน้าที่เฉพาะกิจการบางอย่างที่รัฐสมาชิกยินยอมมอบหมายให้เท่านั้น, ปัจจุบันไม่มีแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ confederation เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-เอฟ-อี-ดี-อี-อา-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น of เขียนว่า โอ-เอฟ states เขียนว่า เอส-ที-เอ-ที-อี-เอส .สมาพันธรัฐ [–พันทะ–] น. รัฐหลาย ๆ รัฐที่รวมกันเพื่อประโยชน์ร่วมกันบางอย่าง โดยมีข้อตกลงระหว่างกันให้มีรัฐบาลกลาง และให้มีอํานาจหน้าที่เฉพาะกิจการบางอย่างที่รัฐสมาชิกยินยอมมอบหมายให้เท่านั้น, ปัจจุบันไม่มีแล้ว. (อ. confederation of states).
สมาส เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[สะหฺมาด] เป็นคำนาม หมายถึง การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมาส [สะหฺมาด] น. การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาต่อกันเป็นศัพท์เดียวตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สุนทร + พจน์ เป็น สุนทรพจน์ รัฐ + ศาสตร์ เป็น รัฐศาสตร์ อุดม + การณ์ เป็น อุดมการณ์. (ป., ส.).
สม่ำเสมอ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง[สะหฺมํ่าสะเหฺมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอเป็นปรกติ เช่น มาประชุมสม่ำเสมอ, เสมอตามกำหนด เช่น ส่งดอกเบี้ยสม่ำเสมอ; ราบเรียบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พื้นไม่สม่ำเสมอ.สม่ำเสมอ [สะหฺมํ่าสะเหฺมอ] ว. เสมอเป็นปรกติ เช่น มาประชุมสม่ำเสมอ, เสมอตามกำหนด เช่น ส่งดอกเบี้ยสม่ำเสมอ; ราบเรียบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พื้นไม่สม่ำเสมอ.
สมิง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[สะหฺมิง] เป็นคำนาม หมายถึง เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้ หรือเสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้ เรียกว่า เสือสมิง; ตําแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ฝ่ายมอญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาพม่า สมิง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ว่า พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าเมือง, ผู้ปกครอง .สมิง [สะหฺมิง] น. เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้ หรือเสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้ เรียกว่า เสือสมิง; ตําแหน่งขุนนางผู้ใหญ่ฝ่ายมอญ. (ต. สมิง ว่า พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้าเมือง, ผู้ปกครอง).
สมิงพราย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าผี.สมิงพราย น. เจ้าผี.
สมิงมิ่งชาย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชายชาติทหาร, ยอดชาย.สมิงมิ่งชาย น. ชายชาติทหาร, ยอดชาย.
สมิงทอง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.สมิงทอง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
สมิต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ความหมายที่ [สะมิด] เป็นคำกริยา หมายถึง ยิ้ม, เบิกบาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.สมิต ๑ [สะมิด] ก. ยิ้ม, เบิกบาน. (ส.; ป. สิต).
สมิต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ความหมายที่ [สะมิด] เป็นคำกริยา หมายถึง ประสม, รวบรวม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมิต ๒ [สะมิด] ก. ประสม, รวบรวม. (ป.).
สมิต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ความหมายที่ [สะมิด] เป็นคำนาม หมายถึง กิ่งแห้งของต้นไม้บางชนิด เช่นต้นโพใช้เป็นเชื้อไฟในพิธีโหมกูณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ; ใบไม้ ๓ ชนิด คือ ใบมะม่วง ใบทอง และใบตะขบ ที่ถวายพระเจ้าแผ่นดินในพิธีอภิเษก เช่นราชาภิเษก.สมิต ๓ [สะมิด] น. กิ่งแห้งของต้นไม้บางชนิด เช่นต้นโพใช้เป็นเชื้อไฟในพิธีโหมกูณฑ์. (ส.); ใบไม้ ๓ ชนิด คือ ใบมะม่วง ใบทอง และใบตะขบ ที่ถวายพระเจ้าแผ่นดินในพิธีอภิเษก เช่นราชาภิเษก.
สมิต เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ดู สมิทธ์, สมิทธิ สมิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด สมิทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ .สมิต ๔ ดู สมิทธ์, สมิทธิ.
สมิติ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ประชุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมิติ [สะ–] น. ที่ประชุม. (ป., ส.).
สมิทธ์, สมิทธิ สมิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด สมิทธิ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ [สะมิด, สะมิดทิ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําเร็จพร้อม, สมบูรณ์, สัมฤทธิ์, เขียนว่า สมิต ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมิทธ์, สมิทธิ [สะมิด, สะมิดทิ] ว. สําเร็จพร้อม, สมบูรณ์, สัมฤทธิ์, เขียนว่า สมิต ก็มี. (ป.).
สมี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [สะหฺมี] เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ขั้นปาราชิก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง คําใช้เรียกพระภิกษุ.สมี ๑ [สะหฺมี] น. คําเรียกพระภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ขั้นปาราชิก; (โบ) คําใช้เรียกพระภิกษุ.
สมี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [สะหฺมี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Sesbania sesban (L.) Merr. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลืองมีประสีนํ้าตาล ใบคล้ายใบโสนใช้ทํายาและใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ศมี เขียนว่า สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี.สมี ๒ [สะหฺมี] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Sesbania sesban (L.) Merr. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลืองมีประสีนํ้าตาล ใบคล้ายใบโสนใช้ทํายาและใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. (ส. ศมี).
สมีปะ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ[สะมี–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใกล้ เช่น สมีปสร้อยสระศรี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมีปะ [สะมี–] (แบบ) ว. ใกล้ เช่น สมีปสร้อยสระศรี. (สมุทรโฆษ). (ป.).
สมีระ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[สะมี–] เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมีรณ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-นอ-เนน.สมีระ [สะมี–] น. ลม. (ป., ส. สมีรณ).
สมุก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺมุก] เป็นคำนาม หมายถึง ถ่านทําจากใบตองแห้งใบหญ้าคาเป็นต้นป่นให้เป็นผงประสมกับรักนํ้าเกลี้ยง สําหรับทารองพื้นบนสิ่งต่าง ๆ เช่นบานประตูหน้าต่างโบสถ์วิหารก่อนที่จะเขียนลายรดนํ้าปิดทอง.สมุก ๑ [สะหฺมุก] น. ถ่านทําจากใบตองแห้งใบหญ้าคาเป็นต้นป่นให้เป็นผงประสมกับรักนํ้าเกลี้ยง สําหรับทารองพื้นบนสิ่งต่าง ๆ เช่นบานประตูหน้าต่างโบสถ์วิหารก่อนที่จะเขียนลายรดนํ้าปิดทอง.
สมุก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [สะหฺมุก] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานก้น ๔ มุม มีฝาสวมครอบ สําหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมุคฺค เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย ว่า หีบ, ตะกร้า .สมุก ๒ [สะหฺมุก] น. ภาชนะสานก้น ๔ มุม มีฝาสวมครอบ สําหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ. (ป. สมุคฺค ว่า หีบ, ตะกร้า).
สมุจจัย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[สะหฺมุดไจ] เป็นคำนาม หมายถึง การรวบรวม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมุจจัย [สะหฺมุดไจ] น. การรวบรวม. (ป., ส.).
สมุจเฉท, สมุจเฉท– สมุจเฉท เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน สมุจเฉท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน [สะหฺมุดเฉด, –เฉดทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การตัดขาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมุจเฉท, สมุจเฉท– [สะหฺมุดเฉด, –เฉดทะ–] น. การตัดขาด. (ป., ส.).
สมุจเฉทปหาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–ปะหาน] เป็นคำนาม หมายถึง การละกิเลสได้ขาดอย่างพระอรหันต์.สมุจเฉทปหาน [–ปะหาน] น. การละกิเลสได้ขาดอย่างพระอรหันต์.
สมุฏฐาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะหฺมุดถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ, เช่น สมุฏฐานของโรค โรคนี้มีจิตเป็นสมุฏฐาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สมุฏฐาน [สะหฺมุดถาน] น. ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ, เช่น สมุฏฐานของโรค โรคนี้มีจิตเป็นสมุฏฐาน. (ป.).
สมุด เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก[สะหฺมุด] เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ทําเป็นเล่ม มีหลายชนิดเรียกชื่อตามประโยชน์ใช้สอย เช่น สมุดวาดเขียน สมุดแผนที่ สมุดแบบฝึกหัดคัดลายมือ.สมุด [สะหฺมุด] น. กระดาษที่ทําเป็นเล่ม มีหลายชนิดเรียกชื่อตามประโยชน์ใช้สอย เช่น สมุดวาดเขียน สมุดแผนที่ สมุดแบบฝึกหัดคัดลายมือ.
สมุดข่อย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สมุดไทย.สมุดข่อย น. สมุดไทย.
สมุดไทย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สมุดที่ทําด้วยกระดาษข่อยแผ่นยาว ๆ หน้าแคบ พับทางขวางทบกลับไปกลับมาคล้ายผ้าจีบ เป็นสมุดเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีทั้งชนิดกระดาษขาวและกระดาษดํา, สมุดข่อย ก็เรียก.สมุดไทย น. สมุดที่ทําด้วยกระดาษข่อยแผ่นยาว ๆ หน้าแคบ พับทางขวางทบกลับไปกลับมาคล้ายผ้าจีบ เป็นสมุดเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีทั้งชนิดกระดาษขาวและกระดาษดํา, สมุดข่อย ก็เรียก.
สมุดปูมเดินทาง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จํานวนชั่วโมง ฯลฯ.สมุดปูมเดินทาง น. สมุดบันทึกรายการต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือหรือการเดินอากาศ เช่น เดินทางจากไหนถึงไหน วันที่เดินทาง จํานวนชั่วโมง ฯลฯ.
สมุดรายงาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สมุดบันทึกผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน, เดิมเรียกว่า สมุดพก.สมุดรายงาน น. สมุดบันทึกผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน, เดิมเรียกว่า สมุดพก.
สมุตถาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะหฺมุดถาน] เป็นคำนาม หมายถึง สมุฏฐาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สมุฏฺฺาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สมุตถาน [สะหฺมุดถาน] น. สมุฏฐาน. (ส.; ป. สมุฏฺฺาน).
สมุทร ๑, สมุทร– สมุทร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ สมุทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ [สะหฺมุด, สะหฺมุดทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลลึก; เรียกทะเลขนาดใหญ่ ซึ่งมีแผ่นดินโอบล้อมเป็นตอน ๆ ว่า มหาสมุทร เช่น มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สมุทฺท เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.สมุทร ๑, สมุทร– [สะหฺมุด, สะหฺมุดทฺระ–] น. ทะเลลึก; เรียกทะเลขนาดใหญ่ ซึ่งมีแผ่นดินโอบล้อมเป็นตอน ๆ ว่า มหาสมุทร เช่น มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก. (ส.; ป. สมุทฺท).
สมุทรโจร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-รอ-เรือ[สะหฺมุดทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง โจรสลัด.สมุทรโจร [สะหฺมุดทฺระ–] น. โจรสลัด.
สมุทรศาสตร์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สะหฺมุดทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของนํ้าทะเล ชีววิทยาทะเล และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ oceanography เขียนว่า โอ-ซี-อี-เอ-เอ็น-โอ-จี-อา-เอ-พี-เอช-วาย.สมุทรศาสตร์ [สะหฺมุดทฺระ–] น. วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของนํ้าทะเล ชีววิทยาทะเล และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร. (อ. oceanography).
สมุทรเสนา เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[สะหฺมุดทฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกเสือพวกหนึ่งตามจังหวัดชายทะเลว่า ลูกเสือสมุทรเสนา.สมุทรเสนา [สะหฺมุดทฺระ–] (เลิก) น. เรียกลูกเสือพวกหนึ่งตามจังหวัดชายทะเลว่า ลูกเสือสมุทรเสนา.
สมุทร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ ความหมายที่ [สะหฺมุด] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวเนปจูน.สมุทร ๒ [สะหฺมุด] น. ดาวเนปจูน.
สมุทรโคดม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า[สะหฺมุดทฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวฟ่างสมุทรโคดม. ในวงเล็บ ดู ข้าวฟ่าง เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.สมุทรโคดม [สะหฺมุดทฺระ–] น. ข้าวฟ่างสมุทรโคดม. (ดู ข้าวฟ่าง ที่ ข้าว).
สมุทัย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[สะหฺมุไท, สะหฺมุดไท] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเหตุ, ที่เกิด, ในคำว่า ทุกขสมุทัย หมายถึง ต้นเหตุหรือที่เกิดแห่งทุกข์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .สมุทัย [สะหฺมุไท, สะหฺมุดไท] น. ต้นเหตุ, ที่เกิด, ในคำว่า ทุกขสมุทัย หมายถึง ต้นเหตุหรือที่เกิดแห่งทุกข์. (ป., ส.).
สมุน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺมุน] เป็นคำนาม หมายถึง บริวาร, คนอยู่ในบังคับ, มักเรียกว่า ลูกสมุน.สมุน ๑ [สะหฺมุน] น. บริวาร, คนอยู่ในบังคับ, มักเรียกว่า ลูกสมุน.
สมุน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺมุน] เป็นคำนาม หมายถึง จาก คา หรือใบไม้ที่ใช้มุงหลบหลังคา.สมุน ๒ [สะหฺมุน] น. จาก คา หรือใบไม้ที่ใช้มุงหลบหลังคา.
สมุน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺมุน] เป็นคำนาม หมายถึง สวะหญ้าขนาดใหญ่ที่อยู่ชายฝั่ง.สมุน ๓ [สะหฺมุน] น. สวะหญ้าขนาดใหญ่ที่อยู่ชายฝั่ง.
สมุน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ [สะหฺมุน] เป็นคำนาม หมายถึง หมอทําพิธีเบิกไพรเพื่อป้องกันภัยในป่า.สมุน ๔ [สะหฺมุน] น. หมอทําพิธีเบิกไพรเพื่อป้องกันภัยในป่า.
สมุนไพร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ[สะหฺมุนไพฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และแร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตํารับยา เพื่อบําบัดโรค บํารุงร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ เช่น กระเทียม นํ้าผึ้ง รากดิน (ไส้เดือน) เขากวางอ่อน กํามะถัน ยางน่อง โล่ติ๊น.สมุนไพร [สะหฺมุนไพฺร] น. ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และแร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตํารับยา เพื่อบําบัดโรค บํารุงร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ เช่น กระเทียม นํ้าผึ้ง รากดิน (ไส้เดือน) เขากวางอ่อน กํามะถัน ยางน่อง โล่ติ๊น.
สมุลแว้ง เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-งอ-งู[สะหฺมุนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cinnamomum thailandica Kosterm. ในวงศ์ Lauraceae เปลือกมีกลิ่นหอมร้อน ใช้ทํายาได้.สมุลแว้ง [สะหฺมุนละ–] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cinnamomum thailandica Kosterm. ในวงศ์ Lauraceae เปลือกมีกลิ่นหอมร้อน ใช้ทํายาได้.
สมุห–, สมุห์ สมุห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ สมุห์ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด [สะหฺมุหะ–, สะหฺมุ] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, กอง, พวก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมูห เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ; หัวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ เช่น สมุหพระราชพิธี สมุหราชองครักษ์ สมุห์บัญชี; ตําแหน่งพระฐานานุกรมเหนือใบฎีกา เช่น พระสมุห์ พระครูสมุห์.สมุห–, สมุห์ [สะหฺมุหะ–, สะหฺมุ] น. หมู่, กอง, พวก. (ป.; ส. สมูห); หัวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ เช่น สมุหพระราชพิธี สมุหราชองครักษ์ สมุห์บัญชี; ตําแหน่งพระฐานานุกรมเหนือใบฎีกา เช่น พระสมุห์ พระครูสมุห์.
สมุหกลาโหม, สมุหพระกลาโหม สมุหกลาโหม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า สมุหพระกลาโหม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหารครั้งโบราณ.สมุหกลาโหม, สมุหพระกลาโหม น. ตําแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหารครั้งโบราณ.
สมุหเทศาภิบาล เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สําเร็จราชการมณฑลสมัยโบราณ.สมุหเทศาภิบาล น. ผู้สําเร็จราชการมณฑลสมัยโบราณ.
สมุหนาม เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คํานามที่บอกลักษณะของคน สัตว์ และสิ่งของที่รวมกันอยู่เป็นหมวด เป็นหมู่ เป็นพวก เช่น กอง หมู่ คณะ ฝูง พวก.สมุหนาม (ไว) น. คํานามที่บอกลักษณะของคน สัตว์ และสิ่งของที่รวมกันอยู่เป็นหมวด เป็นหมู่ เป็นพวก เช่น กอง หมู่ คณะ ฝูง พวก.
สมุหนายก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือนครั้งโบราณ.สมุหนายก น. ตําแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือนครั้งโบราณ.
สมุหประธาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เสนาบดีชั้นจตุสดมภ์ คือ เวียง วัง คลัง นา.สมุหประธาน (โบ) น. เสนาบดีชั้นจตุสดมภ์ คือ เวียง วัง คลัง นา.
สโมธาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[สะโมทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การประชุม, การรวมกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สมวธาน เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.สโมธาน [สะโมทาน] น. การประชุม, การรวมกัน. (ป.; ส. สมวธาน).
สโมสร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ[สะโมสอน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับร่วมประชุมคบหากัน เช่น สโมสรข้าราชการ สโมสรทหารบก. เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมชุมนุมกัน เช่น ไปร่วมสโมสร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สโมสรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน และมาจากภาษาสันสกฤต สมวสรณ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน.สโมสร [สะโมสอน] น. ที่สําหรับร่วมประชุมคบหากัน เช่น สโมสรข้าราชการ สโมสรทหารบก. ก. ร่วมชุมนุมกัน เช่น ไปร่วมสโมสร. (ป. สโมสรณ; ส. สมวสรณ).
สโมสรสันนิบาต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง งานชุมนุมใหญ่อย่างเป็นทางการ เช่น รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาลเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา.สโมสรสันนิบาต น. งานชุมนุมใหญ่อย่างเป็นทางการ เช่น รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาลเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา.
สยด เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[สะหฺยด] เป็นคำกริยา หมายถึง ใจหายวาบขึ้นทันที เพราะความหวาดกลัวต่อสิ่งที่ได้เห็น.สยด [สะหฺยด] ก. ใจหายวาบขึ้นทันที เพราะความหวาดกลัวต่อสิ่งที่ได้เห็น.
สยดสยอง เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู[สะหฺยดสะหฺยอง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกหวาดเสียวมีอาการขนลุกขนพองตามมาด้วย เช่น เห็นเขาใช้ดาบแทงกันจนไส้ทะลักรู้สึกสยดสยอง.สยดสยอง [สะหฺยดสะหฺยอง] ว. รู้สึกหวาดเสียวมีอาการขนลุกขนพองตามมาด้วย เช่น เห็นเขาใช้ดาบแทงกันจนไส้ทะลักรู้สึกสยดสยอง.
สยดแสยง เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สยดโดยมีอาการขยะแขยงทั้งเกลียดทั้งกลัวตามมาด้วย.สยดแสยง ก. สยดโดยมีอาการขยะแขยงทั้งเกลียดทั้งกลัวตามมาด้วย.
สยนะ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[สะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ที่นอน; การนอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .สยนะ [สะยะ–] น. ที่นอน; การนอน. (ป.).
สยบ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้[สะหฺยบ] เป็นคำกริยา หมายถึง ซบลง, ฟุบลง, เช่น สยบอยู่แทบเท้า; แพ้ เช่น เขายอมสยบอย่างราบคาบ, ทําให้พ่ายแพ้ เช่น พระพุทธเจ้าสยบมาร.สยบ [สะหฺยบ] ก. ซบลง, ฟุบลง, เช่น สยบอยู่แทบเท้า; แพ้ เช่น เขายอมสยบอย่างราบคาบ, ทําให้พ่ายแพ้ เช่น พระพุทธเจ้าสยบมาร.
สยมพร เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[สะหฺยมพอน] เป็นคำนาม หมายถึง พิธีเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ; การเลือกผัวของนางกษัตริย์สมัยโบราณ, สยัมพร สยุมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สยํวร เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวยํวร เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-รอ-เรือ.สยมพร [สะหฺยมพอน] น. พิธีเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ; การเลือกผัวของนางกษัตริย์สมัยโบราณ, สยัมพร สยุมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้. (ป. สยํวร; ส. สฺวยํวร).
สยมภู เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู[สะหฺยมพู] เป็นคำนาม หมายถึง พระผู้เป็นเอง, พระอิศวร, สวยมภู ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สยมฺภู เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวยมฺภู เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู.สยมภู [สะหฺยมพู] น. พระผู้เป็นเอง, พระอิศวร, สวยมภู ก็ใช้. (ป. สยมฺภู; ส. สฺวยมฺภู).
สยอง เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู[สะหฺยอง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขนลุกขนชันเพราะความหวาดกลัว ในความว่า ขนพองสยองเกล้า.สยอง [สะหฺยอง] ว. อาการที่ขนลุกขนชันเพราะความหวาดกลัว ในความว่า ขนพองสยองเกล้า.
สยองขวัญ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าหวาดกลัวจนขวัญหาย เช่น นวนิยายสยองขวัญ.สยองขวัญ ว. น่าหวาดกลัวจนขวัญหาย เช่น นวนิยายสยองขวัญ.
สยอน เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-นอ-หนู[สะหฺยอน] เป็นคำกริยา หมายถึง หวาดเสียว, กลัว.สยอน [สะหฺยอน] ก. หวาดเสียว, กลัว.
สยัมพร เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[สะหฺยําพอน] เป็นคำนาม หมายถึง สยมพร, สยุมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้.สยัมพร [สะหฺยําพอน] น. สยมพร, สยุมพร หรือ สวยมพร ก็ใช้.
สยัมวรา เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[สะยําวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เลือกคู่เอาเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สยํวรา เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา สฺวยํวรา เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา .สยัมวรา [สะยําวะ–] น. หญิงที่เลือกคู่เอาเอง. (ป.; ส. สยํวรา, สฺวยํวรา).
สยาม, สยาม– สยาม เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า สยาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า [สะหฺยาม, สะหฺยามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒; ของประเทศไทย.สยาม, สยาม– [สะหฺยาม, สะหฺยามมะ–] น. ชื่อเรียกประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒; ของประเทศไทย.
สยามานุสติ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[สะหฺยามมานุดสะติ, สะหฺยามานุดสะติ] เป็นคำนาม หมายถึง การระลึกถึงประเทศสยาม, ชื่อโคลง ๔ สุภาพ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.สยามานุสติ [สะหฺยามมานุดสะติ, สะหฺยามานุดสะติ] น. การระลึกถึงประเทศสยาม, ชื่อโคลง ๔ สุภาพ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.
สยามินทร์ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[สะหฺยามิน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในสยามหมายถึง พระมหากษัตริย์ของประเทศไทย.สยามินทร์ [สะหฺยามิน] น. ผู้เป็นใหญ่ในสยามหมายถึง พระมหากษัตริย์ของประเทศไทย.
สยามรัฐ เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน[สะหฺยามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แคว้นไทย, ประเทศไทย.สยามรัฐ [สะหฺยามมะ–] น. แคว้นไทย, ประเทศไทย.