ฦ, ฦๅ ฦ เขียนว่า ลอ-ลึ ฦๅ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต.ฦ, ฦๅ ๑ วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต.
ฦๅ เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ลือ.ฦๅ ๒ (โบ) ก. ลือ.
ฦๅชา เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ลือชา.ฦๅชา (โบ) ก. ลือชา.
ฦๅสาย เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ลือสาย.ฦๅสาย (โบ) น. ลือสาย.
เขียนว่า วอ-แหวนพยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น กล่าว นิ้ว. พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น กล่าว นิ้ว.
วก เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี.วก ก. หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี.
วกวน เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ลดเลี้ยวไปมา, คดไปคดมา, เช่น ทางเข้าออกวกวน, อ้อมไปอ้อมมา, ย้อนไปย้อนมา, เช่น ให้การวกวน เขียนหนังสือวกวนอ่านไม่เข้าใจ.วกวน ก. ลดเลี้ยวไปมา, คดไปคดมา, เช่น ทางเข้าออกวกวน, อ้อมไปอ้อมมา, ย้อนไปย้อนมา, เช่น ให้การวกวน เขียนหนังสือวกวนอ่านไม่เข้าใจ.
วกะ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่.วกะ น. หมาป่า. (ป.; ส. วฺฤก).
วกุละ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[วะกุละ] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นพิกุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พกุล เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง วกุล เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง .วกุละ [วะกุละ] น. ต้นพิกุล. (ป.; ส. พกุล, วกุล).
วง เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น วงราชการ วงดนตรี; ส่วนสัดของมือที่ใช้ในการรํา, คู่กับ เหลี่ยม คือ ส่วนสัดของขาที่ใช้ในการรํา; ลักษณนามใช้เรียกของที่เป็นวง เช่น แหวนวงหนึ่ง หรืออาการที่คนหลาย ๆ คนนั่งหรือยืนล้อมกันเป็นวง เช่น ไพ่วงหนึ่ง ระบำชาวไร่ ๒ วง นั่งล้อมวงกินข้าว ๓ วง หรือการเล่นที่มีคนหลาย ๆ คนร่วมกันเป็นชุดเป็นคณะ เช่น เครื่องสายวงหนึ่ง แตรวงวงหนึ่ง ดนตรี ๒ วงประชันกัน. เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อมรอบ, ทําเครื่องหมายเป็นรูปวงอย่างเอาดินสอเขียนเป็นรูปวงหมายไว้ หรือใช้ด้ายหรือเชือกอ้อมมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์.วง น. รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น วงราชการ วงดนตรี; ส่วนสัดของมือที่ใช้ในการรํา, คู่กับ เหลี่ยม คือ ส่วนสัดของขาที่ใช้ในการรํา; ลักษณนามใช้เรียกของที่เป็นวง เช่น แหวนวงหนึ่ง หรืออาการที่คนหลาย ๆ คนนั่งหรือยืนล้อมกันเป็นวง เช่น ไพ่วงหนึ่ง ระบำชาวไร่ ๒ วง นั่งล้อมวงกินข้าว ๓ วง หรือการเล่นที่มีคนหลาย ๆ คนร่วมกันเป็นชุดเป็นคณะ เช่น เครื่องสายวงหนึ่ง แตรวงวงหนึ่ง ดนตรี ๒ วงประชันกัน. ก. ล้อมรอบ, ทําเครื่องหมายเป็นรูปวงอย่างเอาดินสอเขียนเป็นรูปวงหมายไว้ หรือใช้ด้ายหรือเชือกอ้อมมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์.
วงกบ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กรอบประตูหรือหน้าต่าง, กรอบเช็ดหน้า หรือ เช็ดหน้า ก็เรียก.วงกบ น. กรอบประตูหรือหน้าต่าง, กรอบเช็ดหน้า หรือ เช็ดหน้า ก็เรียก.
วงกลม เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง รูปวงที่กลม รอบมีรัศมีจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบมีขนาดเท่ากันหมด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง รูปที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะเท่ากัน.วงกลม น. รูปวงที่กลม รอบมีรัศมีจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบมีขนาดเท่ากันหมด; (คณิต) รูปที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะเท่ากัน.
วงการ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู.วงการ น. กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู.
วงแขน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อ้อมแขน เช่น โอบไว้ในวงแขน ได้ถ้วยรางวัลมา กอดไว้ในวงแขนไม่ยอมวาง.วงแขน น. อ้อมแขน เช่น โอบไว้ในวงแขน ได้ถ้วยรางวัลมา กอดไว้ในวงแขนไม่ยอมวาง.
วงเงิน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเงินที่กําหนดไว้เพื่อทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ค้ำประกันในวงเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ซื้อของได้ในวงเงิน ๑,๐๐๐ บาทเท่านั้น.วงเงิน น. จํานวนเงินที่กําหนดไว้เพื่อทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ค้ำประกันในวงเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ซื้อของได้ในวงเงิน ๑,๐๐๐ บาทเท่านั้น.
วงจร เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไปครบรอบ, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วงจรชีวิต.วงจร (ไฟฟ้า) น. เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไปครบรอบ, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วงจรชีวิต.
วงจรชีวิต เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ.วงจรชีวิต น. การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ.
วงจรปิด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้ากําลังเคลื่อนที่อยู่ครบวงจร.วงจรปิด (ไฟฟ้า) น. วงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้ากําลังเคลื่อนที่อยู่ครบวงจร.
วงจรเปิด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ครบวงจร.วงจรเปิด (ไฟฟ้า) น. วงจรไฟฟ้าที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ครบวงจร.
วงเดือน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเลื่อยชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นแผ่นกลม มีฟันอยู่โดยรอบ.วงเดือน น. ชื่อเลื่อยชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นแผ่นกลม มีฟันอยู่โดยรอบ.
วงนอก เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกถือเป็นคนวงนอก, ตรงข้ามกับ วงใน.วงนอก ว. ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกถือเป็นคนวงนอก, ตรงข้ามกับ วงใน.
วงใน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ข่าวนี้รู้มาจากวงในของราชการ เรื่องนี้พูดกันแต่วงในของคณะรัฐมนตรี, ตรงข้ามกับ วงนอก.วงใน ว. ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ข่าวนี้รู้มาจากวงในของราชการ เรื่องนี้พูดกันแต่วงในของคณะรัฐมนตรี, ตรงข้ามกับ วงนอก.
วงพาด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง รั้วสี่เหลี่ยมภายในเพนียด ใช้ล้อมช้าง ทําด้วยซุงเป็นต้น ๆ ปักเรียงรายเว้นระยะพอให้คนลอดเข้าออกได้ มีไม้ตีพาดเสาเหล่านั้นให้ยึดติดกันโดยรอบ. ในวงเล็บ รูปภาพ วงพาด.วงพาด น. รั้วสี่เหลี่ยมภายในเพนียด ใช้ล้อมช้าง ทําด้วยซุงเป็นต้น ๆ ปักเรียงรายเว้นระยะพอให้คนลอดเข้าออกได้ มีไม้ตีพาดเสาเหล่านั้นให้ยึดติดกันโดยรอบ. (รูปภาพ วงพาด).
วงรี เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง รูปวงที่กลมเรียวอย่างลูกสมอหรือเมล็ดข้าวสาร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง รูปคล้ายรูปไข่ที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่ง โดยผลบวกของระยะจากจุดแต่ละจุดไปยังจุดตรึงอยู่กับที่ ๒ จุด มีค่าคงตัวเสมอ.วงรี น. รูปวงที่กลมเรียวอย่างลูกสมอหรือเมล็ดข้าวสาร; (คณิต) รูปคล้ายรูปไข่ที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่ง โดยผลบวกของระยะจากจุดแต่ละจุดไปยังจุดตรึงอยู่กับที่ ๒ จุด มีค่าคงตัวเสมอ.
วงเล็บ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บนั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ (ความอยากได้) โทสะ(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิลา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา; ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น
    ลายมือชื่อ
        (นายเสริม วินิจฉัยกุล)
    ลายมือชื่อ
        (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์),
ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ(๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 – b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.
วงเล็บ น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บนั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ (ความอยากได้) โทสะ(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. (ป.; ส. ศิลา); ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น
    ลายมือชื่อ
        (นายเสริม วินิจฉัยกุล)
    ลายมือชื่อ
        (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์),
ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ(๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 – b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า.
วงเล็บปีกกา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น (มีรูปภาพ) ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = {2, 4, 6, 8}, 2x — 5{7 — (x — 6) + 3x} — 28 = 39.วงเล็บปีกกา น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น (มีรูปภาพ) ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = {2, 4, 6, 8}, 2x — 5{7 — (x — 6) + 3x} — 28 = 39.
วงเล็บเหลี่ยม เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับใช้กันคำหรือข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่นในอีกลักษณะหนึ่ง เมื่อข้อความนั้นได้มีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นด้วย เช่น กตัญญู น. ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้], ใช้บอกคำอ่านในหนังสือประเภทพจนานุกรม เช่น ขนง [ขะหฺนง] น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ตรี อมาตยกุล] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[x + 4 - 3{x + 5 - 4(x + 1)}] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [Ba2+][F-2] = 1.05.10–6, Na2 [Fe(Cn)5(NO)]•2H2O.วงเล็บเหลี่ยม น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับใช้กันคำหรือข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่นในอีกลักษณะหนึ่ง เมื่อข้อความนั้นได้มีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นด้วย เช่น กตัญญู น. ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้], ใช้บอกคำอ่านในหนังสือประเภทพจนานุกรม เช่น ขนง [ขะหฺนง] น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ตรี อมาตยกุล] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[x + 4 - 3{x + 5 - 4(x + 1)}] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [Ba2+][F-2] = 1.05.10–6, Na2 [Fe(Cn)5(NO)]•2H2O.
วงวัง เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง การล้อม.วงวัง น. การล้อม.
วงเวียน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง กงเวียน หรือ กางเวียน ก็ว่า; ที่ซึ่งมีลักษณะกลมเป็นที่รวมแห่งถนนหลาย ๆ สาย เช่น วงเวียนใหญ่ วงเวียน ๒๒ กรกฎา.วงเวียน น. เครื่องมือสําหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, (โบ) กงเวียน หรือ กางเวียน ก็ว่า; ที่ซึ่งมีลักษณะกลมเป็นที่รวมแห่งถนนหลาย ๆ สาย เช่น วงเวียนใหญ่ วงเวียน ๒๒ กรกฎา.
วงแหวน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู[–แหฺวน] เป็นคำนาม หมายถึง โลหะหรือแผ่นหนังเป็นต้นที่ทําเป็นรูปแหวนสําหรับรองอย่างที่หัวสลักเกลียวหรือที่เพลา เพื่อกันสึกหรอหรือเพื่อให้กระชับแน่น, มักเรียกว่า แหวน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน.วงแหวน [–แหฺวน] น. โลหะหรือแผ่นหนังเป็นต้นที่ทําเป็นรูปแหวนสําหรับรองอย่างที่หัวสลักเกลียวหรือที่เพลา เพื่อกันสึกหรอหรือเพื่อให้กระชับแน่น, มักเรียกว่า แหวน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน.
วงก์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เบ็ด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, โค้ง, ลดเลี้ยว; คดโกง, ไม่ซื่อตรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺร เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ.วงก์ น. เบ็ด. ว. คด, โค้ง, ลดเลี้ยว; คดโกง, ไม่ซื่อตรง. (ป.; ส. วกฺร).
วงกต เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทําให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทําคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุกว่าเขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วงกต น. ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทําให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทําคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุกว่าเขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้. (ป.).
วงศ–, วงศ์ วงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด [วงสะ–, วง] เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย, เหล่ากอ, ตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วํศ เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี วํส เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ.วงศ–, วงศ์ [วงสะ–, วง] น. เชื้อสาย, เหล่ากอ, ตระกูล. (ส. วํศ; ป. วํส).
วงศกร เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ต้นตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วงศกร น. ผู้ต้นตระกูล. (ส.).
วงศ์ทศกัณฐ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกญาติพี่น้องมากว่า วงศ์ทศกัณฐ์.วงศ์ทศกัณฐ์ (ปาก) น. เรียกญาติพี่น้องมากว่า วงศ์ทศกัณฐ์.
วงศ์วาน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลูกหลานเหลนในตระกูล, มักใช้เข้าคู่กับคํา ว่านเครือ เป็น วงศ์วานว่านเครือ.วงศ์วาน น. ลูกหลานเหลนในตระกูล, มักใช้เข้าคู่กับคํา ว่านเครือ เป็น วงศ์วานว่านเครือ.
วงศา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์.วงศา (กลอน) น. วงศ์.
วงศาคณาญาติ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้อง.วงศาคณาญาติ น. ญาติพี่น้อง.
วงศา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อาดู วงศ–, วงศ์ วงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด .วงศา ดู วงศ–, วงศ์.
วงศาคณาญาติ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู วงศ–, วงศ์ วงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด .วงศาคณาญาติ ดู วงศ–, วงศ์.
วงษ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์.วงษ์ (โบ) น. วงศ์.
วจนะ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วะจะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วจนะ [วะจะ–] (แบบ) น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป., ส.).
วจะ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ[วะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา, คํากล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วจสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ.วจะ [วะ–] (แบบ) น. คําพูด, ถ้อยคํา, คํากล่าว. (ป.; ส. วจสฺ).
วจา เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา[วะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ว่านนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วจา [วะ–] น. ว่านนํ้า. (ป.).
วจี เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี[วะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วจิ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ วาจฺ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-พิน-ทุ .วจี [วะ–] น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป.; ส. วจิ, วาจฺ).
วจีกรรม เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, การกระทําทางวาจา, เช่น การกล่าวเท็จเป็นการทำผิดทางวจีกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจีกมฺม เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.วจีกรรม น. การพูด, การกระทําทางวาจา, เช่น การกล่าวเท็จเป็นการทำผิดทางวจีกรรม. (ป. วจีกมฺม).
วจีทุจริต เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[วะจีทุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑.วจีทุจริต [วะจีทุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑.
วจีเภท เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง การเปล่งถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วจีเภท น. การเปล่งถ้อยคํา. (ป.).
วจีวิภาค เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ.วจีวิภาค น. ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ.
วจีสุจริต เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[วะจีสุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ๑ การไม่พูดคำหยาบ ๑ การไม่พูดส่อเสียด ๑ การไม่พูดเพ้อเจ้อ ๑.วจีสุจริต [วะจีสุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ๑ การไม่พูดคำหยาบ ๑ การไม่พูดส่อเสียด ๑ การไม่พูดเพ้อเจ้อ ๑.
วชะ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ[วะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คอกสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรช เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง.วชะ [วะ–] น. คอกสัตว์. (ป.; ส. วฺรช).
วชิร–, วชิระ วชิร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ วชิระ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [วะชิระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สายฟ้า; เพชร; อาวุธพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ.วชิร–, วชิระ [วะชิระ–] น. สายฟ้า; เพชร; อาวุธพระอินทร์. (ป.; ส. วชฺร).
วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ วชิรปาณี เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี วชิรหัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วชฺรปาณิ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ วชฺรหสฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า .วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์. (ป.; ส. วชฺรปาณิ, วชฺรหสฺต).
วชิราวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ” คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วชิราวุธ น. “ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ” คือ พระอินทร์. (ป.).
วชิราวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทงดู วชิร–, วชิระ วชิร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ วชิระ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .วชิราวุธ ดู วชิร–, วชิระ.
วฏะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ[วะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไทร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วฏะ [วะ–] (แบบ) น. ไม้ไทร. (ป., ส.).
วฏาการ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[วะตากาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วฏาการ [วะตากาน] (แบบ) น. สายเชือก. (ป., ส.).
วฏุมะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ถนน, หนทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วฏุมะ (แบบ) น. ถนน, หนทาง. (ป.).
วณ–, วณะ วณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน วณะ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [วะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แผล, ฝี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรณ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน.วณ–, วณะ [วะนะ–] น. แผล, ฝี. (ป.; ส. วฺรณ).
วณบัตร, วณพันธน์ วณบัตร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ วณพันธน์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าพันแผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณปฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ วณพนฺธน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พอ-พาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรณปฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่.วณบัตร, วณพันธน์ น. ผ้าพันแผล. (ป. วณปฏฺฏก, วณพนฺธน; ส. วฺรณปฏฺฏก).
วณิช เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง[วะนิด] เป็นคำนาม หมายถึง พ่อค้า, ผู้ทําการค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาณิช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง.วณิช [วะนิด] น. พ่อค้า, ผู้ทําการค้า. (ป., ส. วาณิช).
วณิชชา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา[วะนิดชา] เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วณิชฺยา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.วณิชชา [วะนิดชา] น. การค้าขาย. (ป.; ส. วณิชฺยา).
วณิชชากร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําการค้าขาย, พวกพ่อค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วณิชชากร น. ผู้ทําการค้าขาย, พวกพ่อค้า. (ป.).
วณิชย์, วณิชยา วณิชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด วณิชยา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา [วะนิด, วะนิดชะยา] เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วณิชย์, วณิชยา [วะนิด, วะนิดชะยา] น. การค้าขาย. (ส.).
วณิพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่[วะนิบพก, วะนิพก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วนิพก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่ วนิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วนีปก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-กอ-ไก่ วนียก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ .วณิพก [วะนิบพก, วะนิพก] (แบบ) น. วนิพก. (ป. วณิพฺพก, วนิพฺพก; ส. วนีปก, วนียก).
วดี เขียนว่า วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง รั้ว, กําแพง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วติ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.วดี ๑ น. รั้ว, กําแพง. (ป. วติ; ส. วฺฤติ).
วดี เขียนว่า วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว.วดี ๒ คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว.
วต–, วตะ วต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า วตะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [วะตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ; การจําศีล, การบําเพ็ญทางศาสนา, การปฏิบัติ; ประเพณี, ธรรมเนียม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า.วต–, วตะ [วะตะ–] น. พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ; การจําศีล, การบําเพ็ญทางศาสนา, การปฏิบัติ; ประเพณี, ธรรมเนียม. (ป. วต; ส. วฺรต).
วทนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วะทะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, คําพูด; ปาก, หน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วทน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ว่า ปาก, หน้า .วทนะ [วะทะนะ] (แบบ) น. การพูด, คําพูด; ปาก, หน้า. (ป., ส. วทน ว่า ปาก, หน้า).
วทะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ[วะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด. เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, กล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วทะ [วะ–] น. คําพูด. ก. พูด, กล่าว. (ป.).
วทัญญุตา เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้เอื้อเฟื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วทัญญุตา น. ความเป็นผู้เอื้อเฟื้อ. (ป.).
วทัญญู เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่; ใจดี, ใจบุญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วทัญญู (แบบ) ว. เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่; ใจดี, ใจบุญ. (ป.).
วทานิย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก[วะทานิยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เอื้อเฟื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วทานีย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต วทานฺย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.วทานิย– [วะทานิยะ–] น. ผู้เอื้อเฟื้อ. (ป. วทานีย; ส. วทานฺย).
วธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง[วะทะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วธ– [วะทะ–] ก. ฆ่า. (ป., ส.).
วธกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วะทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง คนฆ่า, ผู้ฆ่า; เพชฌฆาต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วธกะ [วะทะกะ] น. คนฆ่า, ผู้ฆ่า; เพชฌฆาต. (ป., ส.).
วธุกา เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสะใภ้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วธุกา น. ลูกสะใภ้. (ป.).
วธู เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วธู น. หญิงสาว. (ป., ส.).
วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เวียนไปโดยรอบ เช่น ขับรถวนรอบสนาม, ไปโดยรอบเข้าหาศูนย์กลางหรือออกจากศูนย์กลาง เช่น น้ำวน วนเป็นก้นหอย.วน ๑ ก. เวียนไปโดยรอบ เช่น ขับรถวนรอบสนาม, ไปโดยรอบเข้าหาศูนย์กลางหรือออกจากศูนย์กลาง เช่น น้ำวน วนเป็นก้นหอย.
วนเวียน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง วนไปวนมา, กลับไปกลับมา, เช่น เดินวนเวียนอยู่ระหว่างบ้านกับตลาด กระเป๋าสตางค์หล่นหายเดินวนเวียนหาอยู่หลายรอบ.วนเวียน ก. วนไปวนมา, กลับไปกลับมา, เช่น เดินวนเวียนอยู่ระหว่างบ้านกับตลาด กระเป๋าสตางค์หล่นหายเดินวนเวียนหาอยู่หลายรอบ.
วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [วะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ป่าไม้, ดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วนสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ ว่า ป่า; นํ้า .วน– ๒ [วะนะ–] น. ป่าไม้, ดง. (ป.; ส. วนสฺ ว่า ป่า; นํ้า).
วนจร, วนจรก วนจร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ วนจรก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ [วะนะจอน, วะนะจะรก] เป็นคำนาม หมายถึง คนเที่ยวป่า, พรานป่า. เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วนจร, วนจรก [วะนะจอน, วะนะจะรก] น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.).
วนภู, วนภูมิ วนภู เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู วนภูมิ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง แถบป่า, แถวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วนภู, วนภูมิ น. แถบป่า, แถวป่า. (ป., ส.).
วนศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการทํานุบํารุงรักษา และปลูกป่า.วนศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการทํานุบํารุงรักษา และปลูกป่า.
วนสณฑ์, วนสัณฑ์ วนสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสูง, ป่าดง, ราวป่า, แนวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วนสณฑ์, วนสัณฑ์ น. ป่าสูง, ป่าดง, ราวป่า, แนวป่า. (ป.).
วนอุทยาน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสงวนที่มีลักษณะธรรมชาติสวยงาม เช่นมีนํ้าตก ถํ้า และทางราชการได้เข้าไปปรับปรุงตกแต่งสถานที่ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน.วนอุทยาน น. ป่าสงวนที่มีลักษณะธรรมชาติสวยงาม เช่นมีนํ้าตก ถํ้า และทางราชการได้เข้าไปปรับปรุงตกแต่งสถานที่ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน.
วนัปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[วะนับปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ใหญ่, พญาไม้; ผีเจ้าป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนปฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วนสฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.วนัปติ [วะนับปะ–] น. ไม้ใหญ่, พญาไม้; ผีเจ้าป่า. (ป. วนปฺปติ; ส. วนสฺปติ).
วนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู.วนา (กลอน) น. ป่า. (ป., ส. วน).
วนาดร, วนาดอน วนาดร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ วนาดอน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสูง. (วนา + ดอน), พนาดอน หรือ พนาดร ก็ว่า.วนาดร, วนาดอน น. ป่าสูง. (วนา + ดอน), พนาดอน หรือ พนาดร ก็ว่า.
วนานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชายป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วนานต์ น. ชายป่า. (ป., ส.).
วนาลัย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาลย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก.วนาลัย น. ป่า. (ส. วนาลย).
วนาลี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ทางป่า; แนวไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วนาลี น. ทางป่า; แนวไม้. (ส.).
วนาวาส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วนาวาส น. ที่อยู่ในป่า. (ส.).
วนาศรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาศฺรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า.วนาศรม น. ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาศฺรม).
วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ วนาสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนาสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, พนาสณฑ์ หรือ พนาสัณฑ์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนสณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + ขณฺฑ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + ษณฺฑ เขียนว่า สอ-รือ-สี-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท .วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ น. ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, พนาสณฑ์ หรือ พนาสัณฑ์ ก็ว่า. (ป. วนสณฺฑ; ส. วน + ขณฺฑ, วน + ษณฺฑ).
วนัปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนัปติ ดู วน– ๒.
วนัส, วนัส– วนัส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วนัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ [วะนัด, วะนัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู.วนัส, วนัส– [วะนัด, วะนัดสะ–] น. ป่า. (ส.; ป. วน).
วนัสบดี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[วะนัดสะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ใหญ่, พญาไม้, (ในภาษาสันสกฤตหมายเฉพาะต้นไทรและต้นมะเดื่อชุมพร). (ส. วนสฺปติ; ป. วนปฺปติ).วนัสบดี [วะนัดสะบอดี] น. ไม้ใหญ่, พญาไม้, (ในภาษาสันสกฤตหมายเฉพาะต้นไทรและต้นมะเดื่อชุมพร). (ส. วนสฺปติ; ป. วนปฺปติ).
วนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อาดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนา ดู วน– ๒.
วนาดร, วนาดอน วนาดร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ วนาดอน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาดร, วนาดอน ดู วน– ๒.
วนานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาดดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนานต์ ดู วน– ๒.
วนาลัย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาลัย ดู วน– ๒.
วนาลี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อีดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาลี ดู วน– ๒.
วนาวาส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาวาส ดู วน– ๒.
วนาศรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาศรม ดู วน– ๒.
วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ วนาสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนาสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ดู วน– เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ ดู วน– ๒.
วนิดา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หญิง, หญิงสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วินิตา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.วนิดา น. หญิง, หญิงสาว. (ป.; ส. วินิตา).
วนิพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่[วะนิบพก, วะนิพก] เป็นคำนาม หมายถึง คนขอทานโดยร้องเพลงหรือดีดสีตีเป่าให้ฟัง, ใช้ว่า วณิพก หรือ วันนิพก ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่.วนิพก [วะนิบพก, วะนิพก] น. คนขอทานโดยร้องเพลงหรือดีดสีตีเป่าให้ฟัง, ใช้ว่า วณิพก หรือ วันนิพก ก็มี. (ป. วนิพฺพก).
วเนจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ[วะเนจอน] เป็นคำนาม หมายถึง คนเที่ยวป่า, พรานป่า. เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วเนจร [วะเนจอน] น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.).
วโนทยาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[วะโนทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สวนป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + อุทฺยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู .วโนทยาน [วะโนทะ–] น. สวนป่า. (ส. วน + อุทฺยาน).
วปนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วะปะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การหว่าน (ใช้แก่ข้าว), การเพาะปลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วปนะ [วะปะ–] (แบบ) น. การหว่าน (ใช้แก่ข้าว), การเพาะปลูก. (ป., ส.).
วปุ เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตัว, ร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วปุ (แบบ) น. ตัว, ร่างกาย. (ป., ส.).
วยัคฆ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยคฺฆ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ.วยัคฆ์ น. เสือ. (ป. วฺยคฺฆ, พฺยคฺฆ; ส. วฺยาฆฺร).
วยัญชนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง พยัญชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี วฺยฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู พฺยฺชน เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู .วยัญชนะ น. พยัญชนะ. (ส. วฺยฺชน; ป. วฺยฺชน, พฺยฺชน).
วยัมหะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยมฺห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พิน-ทุ-หอ-หีบ.วยัมหะ น. วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์. (ป. วฺยมฺห).
วยัสย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รุ่นราวคราวเดียวกัน, เพื่อน, เกลอ, สหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วยัสย์ น. ผู้รุ่นราวคราวเดียวกัน, เพื่อน, เกลอ, สหาย. (ส.).
วยากรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พยากรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยากรณ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน.วยากรณ์ น. พยากรณ์. (ป., ส. วฺยากรณ).
วยาฆร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วฺยคฺฆ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง .วยาฆร์ น. เสือ. (ส. วฺยาฆฺร; ป. วฺยคฺฆ, พฺยคฺฆ).
วยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[วะยาทิ] เป็นคำนาม หมายถึง พยาธิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ พฺยาธิ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.วยาธิ [วะยาทิ] น. พยาธิ. (ป. วฺยาธิ, พฺยาธิ; ส. วฺยาธิ).
วยามะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัด ยาวเท่ากับ ๑ วา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า พฺยาม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.วยามะ น. มาตราวัด ยาวเท่ากับ ๑ วา. (ป. วฺยาม, พฺยาม; ส. วฺยาม).
วยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง พยายาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี วายาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.วยายาม น. พยายาม. (ส. วฺยายาม; ป. วายาม).
วร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ[วะระ–, วอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง พร; ของขวัญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วร– [วะระ–, วอระ–] น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. (ป., ส.).
วรดนู เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อู[วะระดะ–, วอระดะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรตนุ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ.วรดนู [วะระดะ–, วอระดะ–] น. หญิงงาม. (ส. วรตนุ).
วรทะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ[วะระทะ, วอระทะ] เป็นคำนาม หมายถึง การให้พร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วรทะ [วะระทะ, วอระทะ] น. การให้พร. (ป.).
วรทาน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[วะระทาน, วอระทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การให้พร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; การให้ของขวัญแก่เจ้าบ่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วรทาน [วะระทาน, วอระทาน] น. การให้พร. (ป.); การให้ของขวัญแก่เจ้าบ่าว. (ส.).
วรมหาวิหาร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[วอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระธาตุพนม, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดจักรวรรดิ วัดระฆัง.วรมหาวิหาร [วอระ–] น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระธาตุพนม, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดจักรวรรดิ วัดระฆัง.
วรวิหาร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[วอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา.วรวิหาร [วอระ–] น. เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา.
วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ วรุตดม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วรุตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ วโรดม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วโรตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ [วะรุดดม, วะรุดตะมะ, วะโรดม, วะโรดตะมะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประเสริฐสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ + อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า .วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ [วะรุดดม, วะรุดตะมะ, วะโรดม, วะโรดตะมะ] ว. ประเสริฐสุด. (ป. วร + อุตฺตม).
วรงค์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[วะรง] เป็นคำนาม หมายถึง “ส่วนสําคัญของร่างกาย” คือ หัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ + องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย .วรงค์ [วะรง] น. “ส่วนสําคัญของร่างกาย” คือ หัว. (ส. วร + องฺค).
วรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[วะระนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ป้อม, กําแพง, ที่ป้องกัน; การป้องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วรณะ [วะระนะ] น. ป้อม, กําแพง, ที่ป้องกัน; การป้องกัน. (ป., ส.).
วรรค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย[วัก] เป็นคำนาม หมายถึง ตอน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กันเป็น วรรคตอน เช่น เครื่องหมายวรรคตอน เขียนหนังสือควรให้มีวรรคตอน, หมวด เช่น วรรค ก; ช่วงหนึ่งของคําหรือข้อความที่สุดลงแล้วเว้นเป็นช่องว่างไว้ระยะหนึ่ง เรียกว่า เว้นวรรค, ถ้าเป็นเรื่องร้อยกรองถือข้อความช่วงหนึ่ง เป็น วรรคหนึ่ง เช่น ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร; ชื่อมาตราปักษคณนา ๔ หรือ ๕ ปักษ์ เรียก วรรคหนึ่ง คือ ปักษ์ถ้วน ๓ ปักษ์ขาด ๑ เรียก จุลวรรค, ปักษ์ถ้วน ๔ ปักษ์ขาด ๑ เรียก มหาวรรค; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ย่อหน้าหนึ่ง ๆ ของบทบัญญัติในแต่ละมาตราของกฎหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี วคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.วรรค [วัก] น. ตอน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กันเป็น วรรคตอน เช่น เครื่องหมายวรรคตอน เขียนหนังสือควรให้มีวรรคตอน, หมวด เช่น วรรค ก; ช่วงหนึ่งของคําหรือข้อความที่สุดลงแล้วเว้นเป็นช่องว่างไว้ระยะหนึ่ง เรียกว่า เว้นวรรค, ถ้าเป็นเรื่องร้อยกรองถือข้อความช่วงหนึ่ง เป็น วรรคหนึ่ง เช่น ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร; ชื่อมาตราปักษคณนา ๔ หรือ ๕ ปักษ์ เรียก วรรคหนึ่ง คือ ปักษ์ถ้วน ๓ ปักษ์ขาด ๑ เรียก จุลวรรค, ปักษ์ถ้วน ๔ ปักษ์ขาด ๑ เรียก มหาวรรค; (กฎ) ย่อหน้าหนึ่ง ๆ ของบทบัญญัติในแต่ละมาตราของกฎหมาย. (ส. วรฺค; ป. วคฺค).
วรรคย์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[วัก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับหมู่กับคณะ, เป็นหมวด, เป็นหมู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺคฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี วคฺคิย เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.วรรคย์ [วัก] ว. เกี่ยวกับหมู่กับคณะ, เป็นหมวด, เป็นหมู่. (ส. วรฺคฺย; ป. วคฺคิย).
วรรช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง[วัด] เป็นคำนาม หมายถึง โทษ, ความผิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง.วรรช [วัด] น. โทษ, ความผิด. (ส. วรฺช; ป. วชฺช).
วรรชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[วัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ควรเว้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺชฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.วรรชย์ [วัด] ว. ที่ควรเว้น. (ส. วรฺชฺย).
วรรณ–, วรรณะ วรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน วรรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [วันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี วณฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน.วรรณ–, วรรณะ [วันนะ–] น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. (ส. วรฺณ; ป. วณฺณ).
วรรณกรรม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย.วรรณกรรม น. งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน; (กฎ) งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย.
วรรณคดี เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน.วรรณคดี น. วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน.
วรรณยุกต์, วรรณยุต วรรณยุกต์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด วรรณยุต เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ  ่ (ไม้เอก)  ้ (ไม้โท)  ๊ (ไม้ตรี)  ๋ (ไม้จัตวา).วรรณยุกต์, วรรณยุต น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ  ่ (ไม้เอก)  ้ (ไม้โท)  ๊ (ไม้ตรี)  ๋ (ไม้จัตวา).
วรรณศิลป์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี.วรรณศิลป์ น. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี.
วรรณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[วันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี วณฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.วรรณนา [วันนะ–] น. พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. (ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา).
วรรณพฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-พาน-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[วันนะพรึด] เป็นคำนาม หมายถึง ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ.วรรณพฤติ [วันนะพรึด] น. ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ.
วรรณึก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณิก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.วรรณึก น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. (ส. วรฺณิก).
วรรธกะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วัดทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เจริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺธก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-กอ-ไก่ ว่า ผู้ทําให้เจริญ และมาจากภาษาบาลี วฑฺฒก เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่.วรรธกะ [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. (ส. วรฺธก ว่า ผู้ทําให้เจริญ; ป. วฑฺฒก).
วรรธนะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วัดทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺธน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี วฑฺฒน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู.วรรธนะ [วัดทะนะ] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ส. วรฺธน; ป. วฑฺฒน).
วรรษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี[วัด] เป็นคำนาม หมายถึง พรรษ, ฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ.วรรษ [วัด] น. พรรษ, ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส).
วรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[วัดสา] เป็นคำนาม หมายถึง พรรษา, ฤดูฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วรรษา [วัดสา] น. พรรษา, ฤดูฝน; ปี. (ส.).
วรัญญู เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู[วะรันยู] เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้ตรัสรู้ธรรมอันประเสริฐ” คือ พระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วรัญญู [วะรันยู] น. “ผู้ตรัสรู้ธรรมอันประเสริฐ” คือ พระพุทธเจ้า. (ป.).
วรากะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตุ่ม, ไห, หม้อนํ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าเวทนา, น่าสงสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วรากะ (แบบ) น. ตุ่ม, ไห, หม้อนํ้า. ว. น่าเวทนา, น่าสงสาร. (ป., ส.).
วรางคณา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้ประเสริฐ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วรางคณา น. หญิงผู้ประเสริฐ. (ส.).
วราห์, วราหะ วราห์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด วราหะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หมู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วราห์, วราหะ น. หมู. (ป., ส.).
วรุณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง พระพิรุณ, เทวดาแห่งนํ้า, เทวดาแห่งฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วรุณ น. พระพิรุณ, เทวดาแห่งนํ้า, เทวดาแห่งฝน. (ส.).
วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ วรุตดม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วรุตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ วโรดม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วโรตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ดู วร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ.วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ ดู วร–.
วรูถะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ[วะรูถะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก; เครื่องป้องกัน; เกราะ, โล่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วรูถะ [วะรูถะ] (แบบ) น. การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก; เครื่องป้องกัน; เกราะ, โล่. (ส.).
วฤก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-กอ-ไก่[วฺรึก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี วก เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่.วฤก [วฺรึก] (แบบ) น. หมาป่า. (ส. วฺฤก; ป. วก).
วฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา[วฺรึสบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พฤษภ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาบาลี วสภ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา.วฤษภ [วฺรึสบ] (แบบ) น. พฤษภ. (ส. วฺฤษภ; ป. วสภ).
วฤษละ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[วฺรึสะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คนชั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษล เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี วสล เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง.วฤษละ [วฺรึสะละ] (แบบ) น. คนชั่ว. (ส. วฺฤษล; ป. วสล).
วลัช เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ปลาชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วลัช (แบบ) น. ปลาชนิดหนึ่ง. (ป.).
วลัญช์ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-ทัน-ทะ-คาด[วะลัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง รอย, เครื่องหมาย; ทาง; การใช้สอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วลัญช์ [วะลัน] (แบบ) น. รอย, เครื่องหมาย; ทาง; การใช้สอย. (ป.).
วลัญชน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การใช้สอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วลัญชน์ น. การใช้สอย. (ป.).
วลัย เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[วะไล] เป็นคำนาม หมายถึง กําไลมือ, ทองกร; ของที่เป็นวงกลม, วงกลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วลัย [วะไล] น. กําไลมือ, ทองกร; ของที่เป็นวงกลม, วงกลม. (ป., ส.).
วลาหก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่[วะลาหก] เป็นคำนาม หมายถึง เมฆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วลาหก [วะลาหก] น. เมฆ. (ป.).
วลี เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[วะลี] เป็นคำนาม หมายถึง แถว, รอย, รอยย่น (ที่หน้า). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง กลุ่มคําที่เรียงติดต่อกันเป็นระเบียบและมีกระแสความเป็นที่หมายรู้กันได้ แต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น หนูแหวนแขนอ่อน เวลาดึกดื่นเที่ยงคืน ทางเดินเข้าสวนมะพร้าว.วลี [วะลี] น. แถว, รอย, รอยย่น (ที่หน้า). (ป., ส.); (ไว) กลุ่มคําที่เรียงติดต่อกันเป็นระเบียบและมีกระแสความเป็นที่หมายรู้กันได้ แต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น หนูแหวนแขนอ่อน เวลาดึกดื่นเที่ยงคืน ทางเดินเข้าสวนมะพร้าว.
วศค เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-คอ-ควาย[วะสก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่ในอํานาจ, ผู้อยู่ในบังคับ, ผู้เชื่อฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วสค เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-คอ-ควาย.วศค [วะสก] (แบบ) น. ผู้อยู่ในอํานาจ, ผู้อยู่ในบังคับ, ผู้เชื่อฟัง. (ส.; ป. วสค).
วศะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ, การบังคับบัญชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ.วศะ น. อํานาจ, การบังคับบัญชา. (ส.; ป. วส).
วศิน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วศิน (แบบ) น. ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์. (ส.).
วสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [วะสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่, บ้าน; การอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วสนะ ๑ [วะสะ–] (แบบ) น. ที่อยู่, บ้าน; การอยู่. (ป.).
วสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [วะสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสนะ ๒ [วะสะ–] (แบบ) น. เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.).
วสภะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อะ[วะสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วัวตัวผู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา.วสภะ [วะสะ–] (แบบ) น. วัวตัวผู้. (ป.; ส. วฺฤษภ).
วสละ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[วะสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนชั่ว, คนถ่อย, คนตํ่าช้า, คนชั้นตํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษล เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง.วสละ [วะสะ–] น. คนชั่ว, คนถ่อย, คนตํ่าช้า, คนชั้นตํ่า. (ป.; ส. วฺฤษล).
วสลี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[วะสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงชั่ว, หญิงตํ่าช้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษลิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ.วสลี [วะสะ–] น. หญิงชั่ว, หญิงตํ่าช้า. (ป.; ส. วฺฤษลิ).
วสวัดดี, วสวัตตี วสวัดดี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี วสวัตตี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี [วะสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยังสัตว์ให้อยู่ในอํานาจ; ชื่อของเทวบุตรมาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วสวัดดี, วสวัตตี [วะสะ–] น. ผู้ยังสัตว์ให้อยู่ในอํานาจ; ชื่อของเทวบุตรมาร. (ป.).
วสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ, กําลัง; ความตั้งใจ, ความปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วศ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา.วสะ น. อํานาจ, กําลัง; ความตั้งใจ, ความปรารถนา. (ป.; ส. วศ).
วสันต–, วสันต์ วสันต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า วสันต์ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด [วะสันตะ–, วะสัน] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิในคำว่า ฤดูวสันต์, วสันตฤดู ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสันต–, วสันต์ [วะสันตะ–, วะสัน] น. ฤดูใบไม้ผลิในคำว่า ฤดูวสันต์, วสันตฤดู ก็ว่า. (ป., ส.).
วสันตฤดู เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิ, ฤดูวสันต์ ก็ว่า.วสันตฤดู น. ฤดูใบไม้ผลิ, ฤดูวสันต์ ก็ว่า.
วสันตวิษุวัต เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จุดราตรีเสมอภาค ที่เมื่อดวงอาทิตย์โคจรไปถึงในราววันที่ ๒๑ มีนาคม, คู่กับ ศารทวิษุวัต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vernal เขียนว่า วี-อี-อา-เอ็น-เอ-แอล equinox เขียนว่า อี-คิว-ยู-ไอ-เอ็น-โอ-เอ็กซ์ .วสันตวิษุวัต (ดารา) น. จุดราตรีเสมอภาค ที่เมื่อดวงอาทิตย์โคจรไปถึงในราววันที่ ๒๑ มีนาคม, คู่กับ ศารทวิษุวัต. (อ. vernal equinox).
วสันตดิลก เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[วะสันตะดิหฺลก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๔ คํา เช่น
    ช่อฟ้าก็เฟื้อยกลจะฟัด   ดลฟากทิฆัมพร
  บราลีพิไลพิศบวร    นภศูลสล้างลอย.        (อิลราช).
(ป., เป็นคำสรรพนาม หมายถึง วสนฺตติลก).
วสันตดิลก [วะสันตะดิหฺลก] น. ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๔ คํา เช่น
    ช่อฟ้าก็เฟื้อยกลจะฟัด   ดลฟากทิฆัมพร
  บราลีพิไลพิศบวร    นภศูลสล้างลอย.        (อิลราช).
(ป., ส. วสนฺตติลก).
วสา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง มันเหลว; ไข, นํ้ามัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสา น. มันเหลว; ไข, นํ้ามัน. (ป., ส.).
วสี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์, ผู้ตัดกิเลสได้ดังใจ; ผู้ชํานาญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วสี น. ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์, ผู้ตัดกิเลสได้ดังใจ; ผู้ชํานาญ. (ป.).
วสุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์, สมบัติ; ชื่อเทวดาหมู่หนึ่งมี ๘ องค์ด้วยกัน เป็นบริวารของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสุ น. ทรัพย์, สมบัติ; ชื่อเทวดาหมู่หนึ่งมี ๘ องค์ด้วยกัน เป็นบริวารของพระอินทร์. (ป., ส.).
วสุธา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, พื้นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสุธา น. แผ่นดิน, พื้นดิน. (ป., ส.).
วสุนธรา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–สุนทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, พื้นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วสุนธรา [–สุนทะ–] น. แผ่นดิน, พื้นดิน. (ป., ส.).
วสุมดี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[–สุมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง โลก, แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสุมตี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี.วสุมดี [–สุมะ–] น. โลก, แผ่นดิน. (ป., ส. วสุมตี).
วหะ เขียนว่า วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง นําไป, พาไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วหะ ก. นําไป, พาไป. (ป., ส.).
วหา เขียนว่า วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วหา น. แม่นํ้า. (ส.).
วอ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ยานที่มีลักษณะเป็นรูปเรือนหลังคาทรงจั่ว สําหรับเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายในนั่ง มีคานรับอยู่ข้างใต้คู่หนึ่ง ใช้คนหาม, เรียกรถยนต์ที่มีวอสําหรับเชิญศพตั้งอยู่บนกระบะรถว่า รถวอ.วอ น. ยานที่มีลักษณะเป็นรูปเรือนหลังคาทรงจั่ว สําหรับเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายในนั่ง มีคานรับอยู่ข้างใต้คู่หนึ่ง ใช้คนหาม, เรียกรถยนต์ที่มีวอสําหรับเชิญศพตั้งอยู่บนกระบะรถว่า รถวอ.
วอพระประเทียบ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง วอสำหรับเจ้านายฝ่ายใน.วอพระประเทียบ น. วอสำหรับเจ้านายฝ่ายใน.
วอก เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปีที่ ๙ ของรอบปีนักษัตร มีลิงเป็นเครื่องหมาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ลิง เช่น ซนเป็นอ้ายวอก; เรียกหน้าของคนที่ผัดแป้งจนขาวเกินไปว่า หน้าวอก.วอก น. ชื่อปีที่ ๙ ของรอบปีนักษัตร มีลิงเป็นเครื่องหมาย; (ปาก) ลิง เช่น ซนเป็นอ้ายวอก; เรียกหน้าของคนที่ผัดแป้งจนขาวเกินไปว่า หน้าวอก.
วอกแวก เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่จิตใจไม่จดจ่อแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เวลาฟังครูสอนมีสิ่งรบกวนทำให้จิตใจวอกแวก.วอกแวก ว. อาการที่จิตใจไม่จดจ่อแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เวลาฟังครูสอนมีสิ่งรบกวนทำให้จิตใจวอกแวก.
ว่องไว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง รวดเร็ว, คล่องแคล่ว, ปราดเปรียว, ปราดเปรื่อง, เช่น ทำงานว่องไว มีปฏิภาณว่องไว.ว่องไว ก. รวดเร็ว, คล่องแคล่ว, ปราดเปรียว, ปราดเปรื่อง, เช่น ทำงานว่องไว มีปฏิภาณว่องไว.
วอด เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไป, สิ้นไป, เช่น ไฟไหม้เสียวอดเลย, วอดวาย ก็ว่า.วอด ก. หมดไป, สิ้นไป, เช่น ไฟไหม้เสียวอดเลย, วอดวาย ก็ว่า.
วอดวาย เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไป, สิ้นไป, เช่น บ้านเรือนถูกไฟไหม้วอดวายแล้ว, วอด ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ตาย เช่น ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป. (นิ. ภูเขาทอง).วอดวาย ก. หมดไป, สิ้นไป, เช่น บ้านเรือนถูกไฟไหม้วอดวายแล้ว, วอด ก็ว่า; (วรรณ) ตาย เช่น ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป. (นิ. ภูเขาทอง).
วอน เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง รนหาที่ เช่น วอนตาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ร่ำขอ, ขอด้วยอาการออด, เฝ้าร้องขอให้ทำตามประสงค์, เช่น คำนึงนุชนาฎเนื้อ นวลสมร แม้นแม่มาจักวอน พี่ชี้. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.วอน (ปาก) ก. รนหาที่ เช่น วอนตาย; (วรรณ) ร่ำขอ, ขอด้วยอาการออด, เฝ้าร้องขอให้ทำตามประสงค์, เช่น คำนึงนุชนาฎเนื้อ นวลสมร แม้นแม่มาจักวอน พี่ชี้. (ตะเลงพ่าย).
ว่อน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปในอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก เช่น แมลงบินว่อน กระดาษปลิวว่อน, อาการที่บินวนเวียนไปมา เช่น แมลงวันตัวนี้บินว่อนอยู่ในห้องนานแล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินกันว่อน ข่าวลือว่อน.ว่อน ว. อาการที่เคลื่อนไปในอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก เช่น แมลงบินว่อน กระดาษปลิวว่อน, อาการที่บินวนเวียนไปมา เช่น แมลงวันตัวนี้บินว่อนอยู่ในห้องนานแล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินกันว่อน ข่าวลือว่อน.
ว็อบแว็บ, ว็อบ ๆ แว็บ ๆ ว็อบแว็บ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ว็อบ ๆ แว็บ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เช่น วันนี้โทรทัศน์ไม่ดี เห็นภาพว็อบแว็บหลายตอน.ว็อบแว็บ, ว็อบ ๆ แว็บ ๆ ว. อาการที่เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เช่น วันนี้โทรทัศน์ไม่ดี เห็นภาพว็อบแว็บหลายตอน.
วอมแวม, วอม ๆ แวม ๆ, ว็อมแว็ม, ว็อม ๆ แว็ม ๆ วอมแวม เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า วอม ๆ แวม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก ว็อมแว็ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ว็อม ๆ แว็ม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของแสงที่มองเห็นเรือง ๆ ไหว ๆ อยู่ในระยะไกล เช่น ในเวลากลางคืนพอมองเห็นแสงไฟวอมแวมอยู่ในที่ไกล ก็รู้สึกใจชื้นขึ้นมาหน่อย กระท่อมหลังนั้นคงมีคนอยู่ เพราะเห็นไฟวอม ๆ แวม ๆ อยู่ มีแสงไฟจากเรือหาปลาว็อมแว็ม.วอมแวม, วอม ๆ แวม ๆ, ว็อมแว็ม, ว็อม ๆ แว็ม ๆ ว. ลักษณะของแสงที่มองเห็นเรือง ๆ ไหว ๆ อยู่ในระยะไกล เช่น ในเวลากลางคืนพอมองเห็นแสงไฟวอมแวมอยู่ในที่ไกล ก็รู้สึกใจชื้นขึ้นมาหน่อย กระท่อมหลังนั้นคงมีคนอยู่ เพราะเห็นไฟวอม ๆ แวม ๆ อยู่ มีแสงไฟจากเรือหาปลาว็อมแว็ม.
วอลเลย์บอล เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กีฬาอย่างหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๖ คน แต่ละฝ่ายต้องใช้มือตีหรือตบลูกบอลข้ามตาข่ายโต้กันไปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ volley เขียนว่า วี-โอ-แอล-แอล-อี-วาย ball เขียนว่า บี-เอ-แอล-แอล .วอลเลย์บอล น. กีฬาอย่างหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๖ คน แต่ละฝ่ายต้องใช้มือตีหรือตบลูกบอลข้ามตาข่ายโต้กันไปมา. (อ. volley ball).
วอแว เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง รบกวน, เซ้าซี้, เช่น เขากำลังอารมณ์เสีย อย่าเข้าไปวอแว; เกาะแกะ เช่น อย่าไปวอแวลูกสาวเขา.วอแว ก. รบกวน, เซ้าซี้, เช่น เขากำลังอารมณ์เสีย อย่าเข้าไปวอแว; เกาะแกะ เช่น อย่าไปวอแวลูกสาวเขา.
วะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ๊ะ, คำที่เปล่งออกมาแสดงอารมณ์ผิดคาดหรือผิดหวังเป็นต้น, อุวะ หรือ ว้า ก็ว่า; คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ.วะ ๑ ว. บ๊ะ, คำที่เปล่งออกมาแสดงอารมณ์ผิดคาดหรือผิดหวังเป็นต้น, อุวะ หรือ ว้า ก็ว่า; คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ.
วะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ.วะ ๒ คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ.
วัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาอุ้งมือตักน้ำหรือของเหลวขึ้นมาค่อนข้างเร็ว เช่น ใช้มือวักน้ำกิน เอามือวักน้ำโคลนสาด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วักควัน.วัก ๑ ก. เอาอุ้งมือตักน้ำหรือของเหลวขึ้นมาค่อนข้างเร็ว เช่น ใช้มือวักน้ำกิน เอามือวักน้ำโคลนสาด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วักควัน.
วัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น เซ่นวัก.วัก ๒ ก. เซ่น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น เซ่นวัก.
วักกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไต. (โบราณแปลว่า ม้าม). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤกฺก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.วักกะ ๑ น. ไต. (โบราณแปลว่า ม้าม). (ป.; ส. วฺฤกฺก).
วักกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, ไม่ตรง, โกง, งอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺร เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ.วักกะ ๒ ว. คด, ไม่ตรง, โกง, งอ. (ป.; ส. วกฺร).
วัค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง วรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย.วัค น. วรรค. (ป. วคฺค; ส. วรฺค).
วัคคิยะ, วัคคีย์ วัคคิยะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ วัคคีย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [วักคิยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในพวก, อยู่ในหมู่, เช่น เบญจวัคคีย์ ว่า อยู่ในพวก ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัคคิยะ, วัคคีย์ [วักคิยะ] ว. อยู่ในพวก, อยู่ในหมู่, เช่น เบญจวัคคีย์ ว่า อยู่ในพวก ๕. (ป.).
วัคคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไพเราะ, เสนาะ; งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ.วัคคุ ว. ไพเราะ, เสนาะ; งาม. (ป.; ส. วลฺคุ).
วัคคุวัท เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้กล่าวไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วคฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ + วท เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ว่า ผู้กล่าว .วัคคุวัท ว. ผู้กล่าวไพเราะ. (ป. วคฺคุ + วท ว่า ผู้กล่าว).
วัคซีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทําให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สําหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vaccine เขียนว่า วี-เอ-ซี-ซี-ไอ-เอ็น-อี.วัคซีน น. ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทําให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สําหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. (อ. vaccine).
วัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ของเจ้านาย, ถ้าเป็นที่อยู่ของพระมหากษัตริย์เรียก พระราชวัง หรือ พระบรมมหาราชวัง; ห้วงนํ้าลึก เช่น วังจระเข้. เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อม, ห้อมล้อม.วัง ๑ น. ที่อยู่ของเจ้านาย, ถ้าเป็นที่อยู่ของพระมหากษัตริย์เรียก พระราชวัง หรือ พระบรมมหาราชวัง; ห้วงนํ้าลึก เช่น วังจระเข้. ก. ล้อม, ห้อมล้อม.
วังช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วิธีจับช้างเถื่อนโดยต้อนช้างเข้ามาอยู่ในวงล้อมทั้งโขลง.วังช้าง น. วิธีจับช้างเถื่อนโดยต้อนช้างเข้ามาอยู่ในวงล้อมทั้งโขลง.
วังวน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ห้วงนํ้าที่หมุนวน.วังวน น. ห้วงนํ้าที่หมุนวน.
วังหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เรียกในราชการว่า พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวงหรือพระบรมมหาราชวัง มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบวรราชวัง, ปัจจุบันเรียกพระราชวงศ์ฝ่ายนี้ว่า ฝ่ายวังหน้า.วังหน้า น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เรียกในราชการว่า พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวงหรือพระบรมมหาราชวัง มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบวรราชวัง, ปัจจุบันเรียกพระราชวงศ์ฝ่ายนี้ว่า ฝ่ายวังหน้า.
วังหลวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง.วังหลวง น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง.
วังหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข มักตั้งอยู่ทางด้านหลังของพระราชวังหลวง.วังหลัง น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข มักตั้งอยู่ทางด้านหลังของพระราชวังหลวง.
วัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตำแหน่งเจ้ากระทรวงปกครองครั้งโบราณ มีหน้าที่รักษาพระราชวัง จัดการพระราชพิธีและมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของราษฎร.วัง ๒ (โบ; เลิก) น. ตำแหน่งเจ้ากระทรวงปกครองครั้งโบราณ มีหน้าที่รักษาพระราชวัง จัดการพระราชพิธีและมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของราษฎร.
วังก์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วงก์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วังก์ น. วงก์. (ป.).
วังชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อาคำประกอบท้ายคำ กำลัง เป็น กำลังวังชา มีความหมายเท่าเดิม.วังชา คำประกอบท้ายคำ กำลัง เป็น กำลังวังชา มีความหมายเท่าเดิม.
วังเวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะบรรยากาศที่สงบเยือกเย็นทำให้เกิดความรู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว่ เปล่าเปลี่ยวใจ เช่น เข้าไปในบ้านร้างรู้สึกวังเวง.วังเวง ก. ลักษณะบรรยากาศที่สงบเยือกเย็นทำให้เกิดความรู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว่ เปล่าเปลี่ยวใจ เช่น เข้าไปในบ้านร้างรู้สึกวังเวง.
วังศะ, วังสะ วังศะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ วังสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วํศ เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี วํส เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ.วังศะ, วังสะ น. วงศ์. (ส. วํศ; ป. วํส).
วัจ–, วัจจะ วัจ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน วัจจะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ [วัดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง อุจจาระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺจสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-จอ-จาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ.วัจ–, วัจจะ [วัดจะ–] น. อุจจาระ. (ป.; ส. วรฺจสฺ).
วัจกุฎี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจฺจกุฏิ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ.วัจกุฎี น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. (ป. วจฺจกุฏิ).
วัจมรรค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ทวารหนัก, เวจมรรค ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจฺจมคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.วัจมรรค น. ทวารหนัก, เวจมรรค ก็เรียก. (ป. วจฺจมคฺค).
วัจฉ์, วัจฉก วัจฉ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ทัน-ทะ-คาด วัจฉก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ [วัด, –ฉก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกวัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วตฺส เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ วตฺสก เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ .วัจฉ์, วัจฉก [วัด, –ฉก] (แบบ) น. ลูกวัว. (ป.; ส. วตฺส, วตฺสก).
วัจฉละ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[วัดฉะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีใจกรุณา, เอ็นดู, อ่อนโยน, มีความรักใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วตฺสล เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง.วัจฉละ [วัดฉะละ] (แบบ) ว. มีใจกรุณา, เอ็นดู, อ่อนโยน, มีความรักใคร่. (ป.; ส. วตฺสล).
วัจน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วจนะ, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัจน์ (แบบ) น. วจนะ, ถ้อยคํา. (ป., ส.).
วัช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วชะ, คอกสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง.วัช ๑ (แบบ) น. วชะ, คอกสัตว์. (ป. วช).
วัช ๒, วัช–, วัชชะ วัช ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัชชะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ [วัดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺชฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก วรฺชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง .วัช ๒, วัช–, วัชชะ ๑ [วัดชะ–] น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. (ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช).
วัชพืช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ชอ-ช้าง[วัดชะพืด] เป็นคำนาม หมายถึง พืชที่ไม่ต้องการ เช่นหญ้าคาในแปลงข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง + พีช เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง .วัชพืช [วัดชะพืด] น. พืชที่ไม่ต้องการ เช่นหญ้าคาในแปลงข้าว. (ป. วชฺช + พีช).
วัช ๓, วัชชะ วัช ความหมายที่ ๓ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัชชะ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, ถ้อยคํา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรพูดติ, ควรกล่าวติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต วทฺย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.วัช ๓, วัชชะ ๒ น. การพูด, ถ้อยคํา. ว. ควรพูดติ, ควรกล่าวติ. (ป. วชฺช; ส. วทฺย).
วัชฌ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า, ทําให้ตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัชฌ์ ก. ฆ่า, ทําให้ตาย. (ป.).
วัชร–, วัชระ วัชร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [วัดชะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง วชิระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วชิร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ.วัชร–, วัชระ [วัดชะระ–] น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
วัชรธาตุมณฑล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง[–ทาตุมนทน, –ทาดมนทน] เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์ในทางปัญญาอันคมกล้าที่สามารถตัดอวิชชาได้.วัชรธาตุมณฑล [–ทาตุมนทน, –ทาดมนทน] น. สัญลักษณ์ในทางปัญญาอันคมกล้าที่สามารถตัดอวิชชาได้.
วัชรปาณี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺรปาณิ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ.วัชรปาณี น. “ผู้ถือวชิระ” คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. (ส. วชฺรปาณิ).
วัชรยาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วัชรยาน น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. (ส.).
วัชรอาสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้ เรียกว่า พระแท่นวัชรอาสน์, โพธิบัลลังก์ หรือ รัตนบัลลังก์ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺราสน เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู.วัชรอาสน์ น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้ เรียกว่า พระแท่นวัชรอาสน์, โพธิบัลลังก์ หรือ รัตนบัลลังก์ ก็เรียก. (ส. วชฺราสน).
วัชราสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ท่านั่งขัดสมาธิเพชร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วัชราสน์ น. ท่านั่งขัดสมาธิเพชร. (ส.).
วัชรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺรินฺ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ .วัชรินทร์ น. พระอินทร์. (ส. วชฺรินฺ, วชฺร + อินฺทฺร).
วัชรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วัชรี น. พระอินทร์. (ส.).
วัชเรนทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ .วัชเรนทร์ น. พระอินทร์. (ส. วชฺร + อินฺทฺร).
วัชราสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาดดู วัชร–, วัชระ วัชร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .วัชราสน์ ดู วัชร–, วัชระ.
วัชรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู วัชร–, วัชระ วัชร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .วัชรินทร์ ดู วัชร–, วัชระ.
วัชรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อีดู วัชร–, วัชระ วัชร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .วัชรี ดู วัชร–, วัชระ.
วัชเรนทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู วัชร–, วัชระ วัชร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ .วัชเรนทร์ ดู วัชร–, วัชระ.
วัญจก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-กอ-ไก่[วันจก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ลวง, คนคดโกง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัญจก [วันจก] (แบบ) น. ผู้ลวง, คนคดโกง. (ป., ส.).
วัญจนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วันจะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การหลอกลวง, การปลอม, การคดโกง; เครื่องลวง, เครื่องหลอก, ของไม่จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัญจนะ [วันจะนะ] (แบบ) น. การหลอกลวง, การปลอม, การคดโกง; เครื่องลวง, เครื่องหลอก, ของไม่จริง. (ป., ส.).
วัญฌ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-เชอ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมัน (ใช้แก่คนหรือสัตว์), ไม่มีลูก (ใช้แก่ต้นไม้), ไม่มีผล (ใช้แก่การงานทั่วไป). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัญฌ์ (แบบ) ว. หมัน (ใช้แก่คนหรือสัตว์), ไม่มีลูก (ใช้แก่ต้นไม้), ไม่มีผล (ใช้แก่การงานทั่วไป). (ป.; ส.วนฺธฺย).
วัฏ–, วัฏฏะ วัฏ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก วัฏฏะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ [วัดตะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วงกลม; การหมุน, การเวียนไป, รอบแห่งการเวียนเกิดเวียนตาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลม, เป็นวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วัฏ–, วัฏฏะ [วัดตะ–] (แบบ) น. วงกลม; การหมุน, การเวียนไป, รอบแห่งการเวียนเกิดเวียนตาย. ว. กลม, เป็นวง. (ป.; ส. วฺฤตฺต).
วัฏจักร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและดําเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น วัฏจักรแห่งฤดูกาล วัฏจักรแห่งพืช.วัฏจักร น. ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและดําเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น วัฏจักรแห่งฤดูกาล วัฏจักรแห่งพืช.
วัฏทุกข์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ทุกข์คือการเวียนเกิดเวียนตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัฏทุกข์ น. ทุกข์คือการเวียนเกิดเวียนตาย. (ป.).
วัฏสงสาร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ สังสารวัฏ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัฏสงสาร น. การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ สังสารวัฏ ก็ว่า. (ป.).
วัฏกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วัดตะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง นกกระจาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺตก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.วัฏกะ [วัดตะกะ] น. นกกระจาบ. (ป. วฏฺฏก; ส. วรฺตก).
วัฏฏิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ของกลมยาว, ไส้เทียน, เส้น, สาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺติ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.วัฏฏิ น. ของกลมยาว, ไส้เทียน, เส้น, สาย. (ป.; ส. วรฺติ).
วัฒกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วัดทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เจริญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งอกงาม, เจริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒก เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺธก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-กอ-ไก่.วัฒกะ [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. ว. งอกงาม, เจริญ. (ป. วฑฺฒก; ส. วรฺธก).
วัฒกี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี[วัดทะกี] เป็นคำนาม หมายถึง ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒกี เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี.วัฒกี [วัดทะกี] น. ช่างไม้. (ป. วฑฺฒกี).
วัฒน–, วัฒนะ วัฒน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู วัฒนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [วัดทะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู.วัฒน–, วัฒนะ [วัดทะนะ–] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ป. วฑฺฒน).
วัฒนธรรม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา.วัฒนธรรม น. สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา.
วัฒนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. เป็นคำกริยา หมายถึง เจริญ, งอกงาม.วัฒนา น. ความเจริญ, ความงอกงาม. ก. เจริญ, งอกงาม.
วัฒนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อาดู วัฒน–, วัฒนะ วัฒน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู วัฒนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .วัฒนา ดู วัฒน–, วัฒนะ.
วัณ, วัณ– วัณ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน วัณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน [วัน, วันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วณะ, แผล, ฝี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัณ, วัณ– [วัน, วันนะ–] น. วณะ, แผล, ฝี. (ป.).
วัณโรค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทําให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลําดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอดว่า ฝีในท้อง.วัณโรค น. โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทําให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลําดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอดว่า ฝีในท้อง.
วัณฏ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ขั้ว, ก้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤนฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วัณฏ์ น. ขั้ว, ก้าน. (ป.; ส. วฺฤนฺต).
วัณณะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สี, ผิว; ชนิด, อย่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน. ในวงเล็บ ดู วรรณ–, วรรณะ วรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน วรรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ .วัณณะ (แบบ) น. สี, ผิว; ชนิด, อย่าง. (ป.; ส. วรฺณ). (ดู วรรณ–, วรรณะ).
วัณนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[วันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําชี้แจง, คําอธิบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. ในวงเล็บ ดู พรรณนา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.วัณนา [วันนะ–] น. คําชี้แจง, คําอธิบาย. (ป. วณฺณนา; ส. วรฺณนา). (ดู พรรณนา).
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทางศาสนา โดยปรกติมีโบสถ์ วิหาร และที่อยู่ของสงฆ์หรือนักบวชเป็นต้น.วัด ๑ น. สถานที่ทางศาสนา โดยปรกติมีโบสถ์ วิหาร และที่อยู่ของสงฆ์หรือนักบวชเป็นต้น.
วัดราษฎร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง.วัดราษฎร์ น. วัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง.
วัดวา ๑, วัดวาอาราม วัดวา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา วัดวาอาราม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัด.วัดวา ๑, วัดวาอาราม น. วัด.
วัดหลวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง พระอารามหลวง, วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจํานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.วัดหลวง (ปาก) น. พระอารามหลวง, วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจํานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง.
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตวัดขึ้น เช่น วัดเบ็ด, เหวี่ยงแขนหรือขาไปโดยแรง เช่น นอนดิ้นวัดแขนวัดขา.วัด ๒ ก. ตวัดขึ้น เช่น วัดเบ็ด, เหวี่ยงแขนหรือขาไปโดยแรง เช่น นอนดิ้นวัดแขนวัดขา.
วัดเหวี่ยง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พอสู้กันได้, ปานกัน.วัดเหวี่ยง ก. พอสู้กันได้, ปานกัน.
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สอบขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เช่นวัดส่วนยาว ส่วนกว้าง ส่วนสูง หรือความรู้เป็นต้น.วัด ๓ ก. สอบขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เช่นวัดส่วนยาว ส่วนกว้าง ส่วนสูง หรือความรู้เป็นต้น.
วัดแดด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเวลาโดยอาศัยเงาแดดและสถานที่เป็นหลัก เช่นพอแดดถึงนอกชานก็เป็นเวลา ๘.๐๐ น.วัดแดด ก. สอบเวลาโดยอาศัยเงาแดดและสถานที่เป็นหลัก เช่นพอแดดถึงนอกชานก็เป็นเวลา ๘.๐๐ น.
วัดผล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ.วัดผล ก. ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ.
วัดพื้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง หกล้มเหยียดยาวลงบนพื้น.วัดพื้น (ปาก) ก. หกล้มเหยียดยาวลงบนพื้น.
วัดรอยตีน, วัดรอยเท้า วัดรอยตีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู วัดรอยเท้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เทียบดูว่าพอสู้ได้หรือไม่ เช่น ลูกศิษย์วัดรอยเท้าครู, คอยเทียบตัวเองกับผู้ที่เหนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น เช่น ลูกน้องวัดรอยตีนหัวหน้า.วัดรอยตีน, วัดรอยเท้า (สำ) ก. เทียบดูว่าพอสู้ได้หรือไม่ เช่น ลูกศิษย์วัดรอยเท้าครู, คอยเทียบตัวเองกับผู้ที่เหนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น เช่น ลูกน้องวัดรอยตีนหัวหน้า.
วัดวา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พอเท่า ๆ กัน, พอเสมอกัน เช่น พี่น้องสองคนนี้สวยพอวัดวากันได้.วัดวา ๒ ก. พอเท่า ๆ กัน, พอเสมอกัน เช่น พี่น้องสองคนนี้สวยพอวัดวากันได้.
วัต เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง วตะ, พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วัต น. วตะ, พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
วัตต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดกําลัง ๑ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ จูลต่อวินาที หรือ ๑๐๗ เอิร์กต่อวินาที, ๗๔๕.๗ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ กําลังม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ watt เขียนว่า ดับเบิลยู-เอ-ที-ที.วัตต์ น. หน่วยวัดกําลัง ๑ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ จูลต่อวินาที หรือ ๑๐๗ เอิร์กต่อวินาที, ๗๔๕.๗ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ กําลังม้า. (อ. watt).
วัตตา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล่าว, ผู้พูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺตฺฤ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ.วัตตา น. ผู้กล่าว, ผู้พูด. (ป.; ส. วกฺตฺฤ).
วัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ.วัตถ์ น. ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป.; ส. วสฺตฺร).
วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ วัตถาภรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วัตถาลังการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับคือผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + อาภรณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + อลงฺการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ น. เครื่องประดับคือผ้า. (ป. วตฺถ + อาภรณ, วตฺถ + อลงฺการ).
วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ วัตถาภรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วัตถาลังการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ดู วัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด.วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ ดู วัตถ์.
วัตถุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสฺตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ.วัตถุ น. สิ่งของ. (ป.; ส. วสฺตุ).
วัตถุดิบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เตรียมไว้เพื่อผลิตหรือประกอบเป็นสินค้าสําเร็จรูป; โดยปริยายหมายถึงเรื่องราว ประสบการณ์ เป็นต้น ที่นักเขียนเสาะหาหรือตระเตรียมสะสมไว้เพื่อแต่งหนังสือ.วัตถุดิบ น. สิ่งที่เตรียมไว้เพื่อผลิตหรือประกอบเป็นสินค้าสําเร็จรูป; โดยปริยายหมายถึงเรื่องราว ประสบการณ์ เป็นต้น ที่นักเขียนเสาะหาหรือตระเตรียมสะสมไว้เพื่อแต่งหนังสือ.
วัตถุนิยม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง; การให้คุณค่าแก่สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสิ่งที่เป็นนามธรรม, สสารนิยม ก็ว่า.วัตถุนิยม น. ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง; การให้คุณค่าแก่สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสิ่งที่เป็นนามธรรม, สสารนิยม ก็ว่า.
วัตถุประสงค์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผลที่ประสงค์ให้บรรลุ เช่น วัตถุประสงค์ของมัธยมศึกษาก็เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ คิดเป็น ทำเป็น และมีคุณธรรม, จุดประสงค์ ก็ว่า.วัตถุประสงค์ น. ผลที่ประสงค์ให้บรรลุ เช่น วัตถุประสงค์ของมัธยมศึกษาก็เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ คิดเป็น ทำเป็น และมีคุณธรรม, จุดประสงค์ ก็ว่า.
วัตถุวิสัย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่าการสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ objective เขียนว่า โอ-บี-เจ-อี-ซี-ที-ไอ-วี-อี.วัตถุวิสัย ว. ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่าการสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. (อ. objective).
วัตนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วัดตะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นไป, ความเป็นอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺตน เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺตน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู.วัตนะ [วัดตะนะ] น. ความเป็นไป, ความเป็นอยู่. (ป. วตฺตน; ส. วรฺตน).
วัตร, วัตร– วัตร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ วัตร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ [วัด, วัดตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง กิจพึงกระทํา เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วัตร, วัตร– [วัด, วัดตฺระ–] น. กิจพึงกระทํา เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต).
วัตรปฏิบัติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[วัดตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง การปฏิบัติตามหน้าที่หรือตามศีล.วัตรปฏิบัติ [วัดตฺระ–] น. การปฏิบัติตามหน้าที่หรือตามศีล.
วัตสดร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ[วัดสะดอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง โคหนุ่ม, โคถึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วตฺสตร เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.วัตสดร [วัดสะดอน] (แบบ) น. โคหนุ่ม, โคถึก. (ส. วตฺสตร).
วัตสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกวัว; เด็กเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วตฺส เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ.วัตสะ (แบบ) น. ลูกวัว; เด็กเล็ก. (ส. วตฺส).
วัติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[วัด, วัดติ] เป็นคำนาม หมายถึง วดี, รั้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วติ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.วัติ [วัด, วัดติ] น. วดี, รั้ว. (ป. วติ).
วัทน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วทนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วทน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู.วัทน์ (แบบ) น. วทนะ. (ป., ส. วทน).
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เวลาทําการตามที่ได้กําหนดขึ้นโดยกฎหมาย คําสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทําการตามปรกติของกิจการนั้นแล้วแต่กรณี (ใช้ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม).วัน ๑ น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน; (กฎ) เวลาทําการตามที่ได้กําหนดขึ้นโดยกฎหมาย คําสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทําการตามปรกติของกิจการนั้นแล้วแต่กรณี (ใช้ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม).
วันโกน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระปลงผม คือ วันขึ้นและวันแรม ๑๔ คํ่า หรือวันแรม ๑๓ คํ่าของเดือนขาด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่ง เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ ขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่า และแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า.วันโกน น. วันที่พระปลงผม คือ วันขึ้นและวันแรม ๑๔ คํ่า หรือวันแรม ๑๓ คํ่าของเดือนขาด, (ปาก) ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่ง เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ ขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่า และแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า.
วันเข้าพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘.วันเข้าพรรษา น. วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘.
วันแข็ง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันซึ่งถือว่าดาวมีพลังแรง ได้แก่ วันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์.วันแข็ง (โหร) น. วันซึ่งถือว่าดาวมีพลังแรง ได้แก่ วันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์.
วันครู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันพฤหัสบดี; วันที่ระลึกถึงครู ปัจจุบันกำหนดวันที่ ๑๖ มกราคมของปีเป็นวันครู.วันครู (โหร) น. วันพฤหัสบดี; วันที่ระลึกถึงครู ปัจจุบันกำหนดวันที่ ๑๖ มกราคมของปีเป็นวันครู.
วันจม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-จอ-จาน-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันเคราะห์ร้ายในเดือนทางจันทรคติ เป็นวันห้ามทํากิจการใด ๆ ทั้งสิ้น, คู่กับ วันฟู หรือ วันลอย.วันจม (โหร) น. วันเคราะห์ร้ายในเดือนทางจันทรคติ เป็นวันห้ามทํากิจการใด ๆ ทั้งสิ้น, คู่กับ วันฟู หรือ วันลอย.
วันจักรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมราชวงศ์จักรี ตรงกับวันที่ ๖ เมษายน.วันจักรี น. วันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมราชวงศ์จักรี ตรงกับวันที่ ๖ เมษายน.
วันฉัตรมงคล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิงน.วันที่ประกอบพระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตร ซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม.วันฉัตรมงคล น.วันที่ประกอบพระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตร ซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม.
วันเฉลิมพระชนมพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช.วันเฉลิมพระชนมพรรษา น. วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช.
วันดับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ ซึ่งตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่าหรือแรม ๑๕ คํ่า.วันดับ น. วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ ซึ่งตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่าหรือแรม ๑๕ คํ่า.
วันดีคืนดี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง โอกาสเหมาะ, มักใช้พูดแสดงเวลาที่ไม่แน่นอน เช่น หายหน้าไปนาน วันดีคืนดีก็มา.วันดีคืนดี (ปาก) น. โอกาสเหมาะ, มักใช้พูดแสดงเวลาที่ไม่แน่นอน เช่น หายหน้าไปนาน วันดีคืนดีก็มา.
วันตรุษ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง วันสิ้นปีซึ่งกำหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔.วันตรุษ น. วันสิ้นปีซึ่งกำหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔.
วันตัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง วันใดวันหนึ่งในรอบสัปดาห์ซึ่งตรงกับวันเกิด.วันตัว น. วันใดวันหนึ่งในรอบสัปดาห์ซึ่งตรงกับวันเกิด.
วันเถลิงศก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วันขึ้นจุลศักราชใหม่ ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน.วันเถลิงศก น. วันขึ้นจุลศักราชใหม่ ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน.
วันที่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ลำดับวันในเดือนหนึ่ง ๆ ทางสุริยคติ เช่น วันที่ ๑ สิงหาคม วันที่ ๒ กันยายน.วันที่ น. ลำดับวันในเดือนหนึ่ง ๆ ทางสุริยคติ เช่น วันที่ ๑ สิงหาคม วันที่ ๒ กันยายน.
วันเนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันที่อยู่ถัดจากวันมหาสงกรานต์ หน้าวันเถลิงศก ปรกติตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน.วันเนา น. วันที่อยู่ถัดจากวันมหาสงกรานต์ หน้าวันเถลิงศก ปรกติตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน.
วันปวารณา, วันมหาปวารณา วันปวารณา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา วันมหาปวารณา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันออกพรรษา.วันปวารณา, วันมหาปวารณา น. วันออกพรรษา.
วันปิยมหาราช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช เสด็จสวรรคต ตรงกับวันที่ ๒๓ ตุลาคม.วันปิยมหาราช น. วันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช เสด็จสวรรคต ตรงกับวันที่ ๒๓ ตุลาคม.
วันพระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ คํ่า ขึ้น ๑๕ คํ่า แรม ๘ คํ่า และแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า.วันพระ น. วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ คํ่า ขึ้น ๑๕ คํ่า แรม ๘ คํ่า และแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า.
วันพระไม่มีหนเดียว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง วันหน้ายังมีโอกาสอีก (มักใช้พูดเป็นเชิงอาฆาต).วันพระไม่มีหนเดียว (สำ) น. วันหน้ายังมีโอกาสอีก (มักใช้พูดเป็นเชิงอาฆาต).
วันเพ็ญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ไม้-ไต่-คู้-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง วันกลางเดือนนับตามจันทรคติ คือวันที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวง.วันเพ็ญ น. วันกลางเดือนนับตามจันทรคติ คือวันที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวง.
วันฟู, วันลอย วันฟู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู วันลอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ถือว่าเป็นมงคลในเดือนทางจันทรคติสําหรับเริ่มกิจการต่าง ๆ, คู่กับ วันจม.วันฟู, วันลอย (โหร) น. วันที่ถือว่าเป็นมงคลในเดือนทางจันทรคติสําหรับเริ่มกิจการต่าง ๆ, คู่กับ วันจม.
วันมหาสงกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วันเริ่มต้นเทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน.วันมหาสงกรานต์ น. วันเริ่มต้นเทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน.
วันมาฆบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันทำบุญพิเศษทางพระพุทธศาสนาเพื่อระลึกถึงความสำคัญ ๔ ประการ คือ ๑. วันเพ็ญดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อ มฆะ ส่วนในปีที่มีอธิกมาสจะตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔) ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมกันในวันนั้นล้วนเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งเรียกการบวชแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, วันจาตุรงคสันนิบาต ก็เรียก.วันมาฆบูชา น. วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันทำบุญพิเศษทางพระพุทธศาสนาเพื่อระลึกถึงความสำคัญ ๔ ประการ คือ ๑. วันเพ็ญดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อ มฆะ ส่วนในปีที่มีอธิกมาสจะตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔) ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมกันในวันนั้นล้วนเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งเรียกการบวชแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, วันจาตุรงคสันนิบาต ก็เรียก.
วันยังค่ำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอ, ทุกคราวไป, แน่ ๆ, เช่น แพ้วันยังคํ่า; ตลอดวัน เช่น ทํางานวันยังคํ่า.วันยังค่ำ (ปาก) ว. เสมอ, ทุกคราวไป, แน่ ๆ, เช่น แพ้วันยังคํ่า; ตลอดวัน เช่น ทํางานวันยังคํ่า.
วันรัฐธรรมนูญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม.วันรัฐธรรมนูญ น. วันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม.
วันแรกนา, วันแรกนาขวัญ วันแรกนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา วันแรกนาขวัญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง วันประกอบพิธีเริ่มไถนา ทางราชการเรียกว่า วันพระราชพิธีจรดพระนังคัล.วันแรกนา, วันแรกนาขวัญ น. วันประกอบพิธีเริ่มไถนา ทางราชการเรียกว่า วันพระราชพิธีจรดพระนังคัล.
วันแรงงาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วันหยุดงานเพื่อเป็นที่ระลึกแก่ผู้ใช้แรงงาน ตรงกับวันที่ ๑ พฤษภาคม, วันกรรมกร ก็เรียก.วันแรงงาน น. วันหยุดงานเพื่อเป็นที่ระลึกแก่ผู้ใช้แรงงาน ตรงกับวันที่ ๑ พฤษภาคม, วันกรรมกร ก็เรียก.
วันแล้ววันเล่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นเช่นนั้นติดต่อกันยาวนานไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ทำงานวันแล้ววันเล่าไม่รู้จักเสร็จ คอยวันแล้ววันเล่าก็ไม่มาสักที.วันแล้ววันเล่า ว. เป็นเช่นนั้นติดต่อกันยาวนานไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ทำงานวันแล้ววันเล่าไม่รู้จักเสร็จ คอยวันแล้ววันเล่าก็ไม่มาสักที.
วันวิสาขบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๖ ซึ่งเป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า.วันวิสาขบูชา น. วันเพ็ญเดือน ๖ ซึ่งเป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า.
วันสงกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วันเทศกาลเนื่องในการขึ้นปีใหม่อย่างเก่า ซึ่งกำหนดตามสุริยคติ ปรกติตกวันที่ ๑๓–๑๔–๑๕ เมษายน.วันสงกรานต์ น. วันเทศกาลเนื่องในการขึ้นปีใหม่อย่างเก่า ซึ่งกำหนดตามสุริยคติ ปรกติตกวันที่ ๑๓–๑๔–๑๕ เมษายน.
วันสหประชาชาติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง วันสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ ซึ่งเรียกว่า องค์การสหประชาชาติ ตรงกับวันที่ ๒๔ ตุลาคม.วันสหประชาชาติ น. วันสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ ซึ่งเรียกว่า องค์การสหประชาชาติ ตรงกับวันที่ ๒๔ ตุลาคม.
วันสารท เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง วันทำบุญสิ้นเดือน ๑๐.วันสารท น. วันทำบุญสิ้นเดือน ๑๐.
วันสืบพยาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยาน.วันสืบพยาน (กฎ) น. วันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยาน.
วันสุกดิบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง วันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกําหนดวันงานพิธี ๑ วัน.วันสุกดิบ น. วันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกําหนดวันงานพิธี ๑ วัน.
วันหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อาน.วันที่จะมาถึงข้างหน้า เช่น วันหน้าจะพบกันใหม่, ใช้ว่า วันหลัง ก็มี.วันหน้า น.วันที่จะมาถึงข้างหน้า เช่น วันหน้าจะพบกันใหม่, ใช้ว่า วันหลัง ก็มี.
วันหน้าวันหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วันใดวันหนึ่งในอนาคต เช่น จะทำอะไรก็เผื่อวันหน้าวันหลังไว้บ้าง.วันหน้าวันหลัง น. วันใดวันหนึ่งในอนาคต เช่น จะทำอะไรก็เผื่อวันหน้าวันหลังไว้บ้าง.
วันหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วันหลังจากวันนี้ไป เช่น วันหลังจะมาเยี่ยมอีก, ใช้ว่า วันหน้า ก็มี.วันหลัง น. วันหลังจากวันนี้ไป เช่น วันหลังจะมาเยี่ยมอีก, ใช้ว่า วันหน้า ก็มี.
วันออกพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก.วันออกพรรษา น. วันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก.
วันอัฐมี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี[–อัดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าในวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖.วันอัฐมี [–อัดถะ–] น. วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าในวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖.
วันอาสาฬหบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา[–สานหะ–, –สานละหะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๘ ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา.วันอาสาฬหบูชา [–สานหะ–, –สานละหะ–] น. วันเพ็ญเดือน ๘ ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา.
วันอุโบสถ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง วันขึ้น ๑๕ คํ่า และวันแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า เป็นวันที่พระลงอุโบสถฟังพระปาติโมกข์และเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนถืออุโบสถศีลคือ ศีล ๘.วันอุโบสถ น. วันขึ้น ๑๕ คํ่า และวันแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า เป็นวันที่พระลงอุโบสถฟังพระปาติโมกข์และเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนถืออุโบสถศีลคือ ศีล ๘.
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แมลงวัน. ในวงเล็บ ดู แมลงวัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ แมลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู.วัน ๒ น. แมลงวัน. (ดู แมลงวัน ที่ แมลง).
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู.วัน ๓ น. ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. (ป. วน).
วัน ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่ละวัน เช่น ได้รายได้เป็นวัน ๆ; บางวัน เช่น เขามาทำงานที่นี่เป็นวัน ๆ; ปล่อยให้เวลาล่วงไปอย่างซังกะตาย เช่น อยู่ไปวัน ๆ ไม่มีความหวัง.วัน ๆ ว. แต่ละวัน เช่น ได้รายได้เป็นวัน ๆ; บางวัน เช่น เขามาทำงานที่นี่เป็นวัน ๆ; ปล่อยให้เวลาล่วงไปอย่างซังกะตาย เช่น อยู่ไปวัน ๆ ไม่มีความหวัง.
วันต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง คายแล้ว, ทิ้งหรือเลิกแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วานฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วันต์ (แบบ) ก. คายแล้ว, ทิ้งหรือเลิกแล้ว. (ป.; ส. วานฺต).
วันทน–, วันทนา วันทน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู วันทนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา [วันทะนะ–, วันทะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การไหว้, การเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วันทน–, วันทนา [วันทะนะ–, วันทะนา] น. การไหว้, การเคารพ. (ป., ส.).
วันทนาการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การไหว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วันทนาการ น. การไหว้. (ป.).
วันทนีย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรไหว้, น่านับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วันทนีย์ ว. ควรไหว้, น่านับถือ. (ป., ส.).
วันทย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก[วันทะยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรไหว้, ควรนอบนบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วันทย– [วันทะยะ–] ว. ควรไหว้, ควรนอบนบ. (ส.).
วันทยหัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ท่าเคารพด้วยมือของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก มิได้ถืออาวุธ.วันทยหัตถ์ น. ท่าเคารพด้วยมือของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก มิได้ถืออาวุธ.
วันทยาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง เป็นคำนาม หมายถึง ท่าเคารพด้วยอาวุธของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก และถืออาวุธอยู่กับที่.วันทยาวุธ น. ท่าเคารพด้วยอาวุธของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก และถืออาวุธอยู่กับที่.
วันทยาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทงดู วันทย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก.วันทยาวุธ ดู วันทย–.
วันทา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้, แสดงอาการเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนฺท เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.วันทา ก. ไหว้, แสดงอาการเคารพ. (ป. วนฺท).
วันทาสีมา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้พัทธสีมาก่อนที่จะเข้าอุโบสถในพิธีอุปสมบท (ใช้แก่นาค).วันทาสีมา ก. ไหว้พัทธสีมาก่อนที่จะเข้าอุโบสถในพิธีอุปสมบท (ใช้แก่นาค).
วันทิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เชลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วันทิ (แบบ) น. เชลย. (ป., ส.).
วันนิพก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วนิพก.วันนิพก น. วนิพก.
วับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉับพลัน, ฉับไว, ใช้ประกอบอาการของแสงหรือสิ่งมีรูปร่างซึ่งปรากฏให้เห็น แล้วหมดสิ้นหรือลับหายไปอย่างรวดเร็วในทันทีทันใด เช่น แสงหายวับ พูดขาดคําก็หายตัววับลับตาไป, บางทีก็เป็นคําซ้อน เพื่อเน้นหรือเพื่อความไพเราะ เป็น หายวับไปฉับพลัน หายวับไปกับตา เป็นต้น.วับ ว. ฉับพลัน, ฉับไว, ใช้ประกอบอาการของแสงหรือสิ่งมีรูปร่างซึ่งปรากฏให้เห็น แล้วหมดสิ้นหรือลับหายไปอย่างรวดเร็วในทันทีทันใด เช่น แสงหายวับ พูดขาดคําก็หายตัววับลับตาไป, บางทีก็เป็นคําซ้อน เพื่อเน้นหรือเพื่อความไพเราะ เป็น หายวับไปฉับพลัน หายวับไปกับตา เป็นต้น.
วับ ๆ, วับวาบ, วับวาม, วับแวบ วับ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก วับวาบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ วับวาม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วับแวบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระยับตา เป็นอาการของแสงหรือเงาที่ปรากฏแล้วหายลับไปทันทีทันใดต่อเนื่องกัน เช่น แสงเพชรเป็นประกายวับ ๆ.วับ ๆ, วับวาบ, วับวาม, วับแวบ ว. ระยับตา เป็นอาการของแสงหรือเงาที่ปรากฏแล้วหายลับไปทันทีทันใดต่อเนื่องกัน เช่น แสงเพชรเป็นประกายวับ ๆ.
วับแวม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แลเห็นแสงไฟจากกระโจมไฟวับแวม, วับ ๆ แวม ๆ ก็ว่า.วับแวม ว. มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แลเห็นแสงไฟจากกระโจมไฟวับแวม, วับ ๆ แวม ๆ ก็ว่า.
วับ ๆ แวม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แสงหิ่งห้อยดูวับ ๆ แวม ๆ, วับแวม ก็ว่า; อาการที่แต่งกายไม่มิดชิด เช่น ไม่ควรแต่งตัววับ ๆแวม ๆ ในสถานที่พึงเคารพ ดูไม่สุภาพ.วับ ๆ แวม ๆ ว. มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แสงหิ่งห้อยดูวับ ๆ แวม ๆ, วับแวม ก็ว่า; อาการที่แต่งกายไม่มิดชิด เช่น ไม่ควรแต่งตัววับ ๆแวม ๆ ในสถานที่พึงเคารพ ดูไม่สุภาพ.
วับ ๆ หวำ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อำ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความหวาดหวั่น เช่น ใจวับ ๆ หวำ ๆ เวลาจะเข้ารับการผ่าตัด.วับ ๆ หวำ ๆ ว. รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความหวาดหวั่น เช่น ใจวับ ๆ หวำ ๆ เวลาจะเข้ารับการผ่าตัด.
วัปป–, วัปปะ วัปป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา วัปปะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ [วับปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การหว่านพืช เช่น พิธีวัปปมงคล; ฝั่งน้ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วป เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา ว่า ผู้หว่านพืช และมาจากภาษาสันสกฤต วปฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ฝั่งน้ำ ทุ่งที่หว่านพืชไว้ ทุ่ง .วัปป–, วัปปะ [วับปะ–] น. การหว่านพืช เช่น พิธีวัปปมงคล; ฝั่งน้ำ. (ป. วป ว่า ผู้หว่านพืช; ส. วปฺร ว่า ฝั่งน้ำ ทุ่งที่หว่านพืชไว้ ทุ่ง).
วัมมิกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง จอมปลวก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วมฺมีก เขียนว่า วอ-แหวน-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺมีก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่.วัมมิกะ น. จอมปลวก. (ป. วมฺมีก; ส. วลฺมีก).
วัย, วัย– วัย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก วัย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก [ไว, ไวยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เขตอายุ, ระยะของอายุ, เช่น วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วัยชรา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วย เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก.วัย, วัย– [ไว, ไวยะ–] น. เขตอายุ, ระยะของอายุ, เช่น วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วัยชรา. (ป., ส. วย).
วัยกลางคน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยหนุ่มสาวแต่ยังไม่แก่ อายุประมาณ ๓๐–๕๐ ปี.วัยกลางคน น. วัยที่มีอายุพ้นวัยหนุ่มสาวแต่ยังไม่แก่ อายุประมาณ ๓๐–๕๐ ปี.
วัยกำดัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง วัยรุ่น.วัยกำดัด น. วัยรุ่น.
วัยขบเผาะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วัยของเด็กหญิงที่เพิ่งเริ่มแตกเนื้อสาว.วัยขบเผาะ ว. วัยของเด็กหญิงที่เพิ่งเริ่มแตกเนื้อสาว.
วัยคะนอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วัยหนุ่มสาวที่ชอบสนุกสนาน, วัยหนุ่มสาวที่กำลังฮึกห้าว.วัยคะนอง น. วัยหนุ่มสาวที่ชอบสนุกสนาน, วัยหนุ่มสาวที่กำลังฮึกห้าว.
วัยงาม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของหญิงที่ดูงามทุกวัย เป็นลักษณะอย่าง ๆ ในเบญจกัลยาณี.วัยงาม น. ลักษณะของหญิงที่ดูงามทุกวัย เป็นลักษณะอย่าง ๆ ในเบญจกัลยาณี.
วัยจูง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กระหว่างวัยแล่นกับวัยอุ้ม.วัยจูง น. วัยของเด็กระหว่างวัยแล่นกับวัยอุ้ม.
วัยฉกรรจ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วัยหนุ่มที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง.วัยฉกรรจ์ น. วัยหนุ่มที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง.
วัยชรา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่ต่อจากวัยกลางคน อายุเกิน ๖๐ ปี.วัยชรา น. วัยที่ต่อจากวัยกลางคน อายุเกิน ๖๐ ปี.
วัยเด็ก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่อายุยังน้อย.วัยเด็ก น. วัยที่อายุยังน้อย.
วัยทารก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วัยเด็กเล็ก ๆ ที่ยังไม่เดียงสา.วัยทารก น. วัยเด็กเล็ก ๆ ที่ยังไม่เดียงสา.
วัยรุ่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุประมาณ ๑๓—๑๙ ปี, วัยกำดัด ก็ว่า.วัยรุ่น น. วัยที่มีอายุประมาณ ๑๓—๑๙ ปี, วัยกำดัด ก็ว่า.
วัยแล่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กถัดจากวัยจูง.วัยแล่น น. วัยของเด็กถัดจากวัยจูง.
วัยวุฒิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ[ไวยะวุดทิ, ไวยะวุด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วย เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก + วุฑฺฒิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ .วัยวุฒิ [ไวยะวุดทิ, ไวยะวุด] น. ความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. (ป. วย + วุฑฺฒิ).
วัยสาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี, ใช้แก่หญิง.วัยสาว น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี, ใช้แก่หญิง.
วัยหนุ่ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี, ใช้แก่ชาย.วัยหนุ่ม น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี, ใช้แก่ชาย.
วัยหนุ่มสาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี.วัยหนุ่มสาว น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕—๓๐ ปี.
วัยอุ้ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กก่อนวัยจูง.วัยอุ้ม น. วัยของเด็กก่อนวัยจูง.
วัลก์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกไม้; เกล็ดปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วัลก์ (แบบ) น. เปลือกไม้; เกล็ดปลา. (ส.).
วัลคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ[วันละคุ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, สวย, น่ารัก; ไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วลฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี วคฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ.วัลคุ [วันละคุ] (แบบ) ว. งาม, สวย, น่ารัก; ไพเราะ. (ส. วลฺคุ; ป. วคฺคุ).
วัลย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺลี เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี.วัลย์ น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส. วลฺลี).
วัลลภ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-พอ-สำ-เพา[วันลบ] เป็นคำนาม หมายถึง คนสนิท, ผู้ชอบพอ, คนโปรด, คนรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัลลภ [วันลบ] น. คนสนิท, ผู้ชอบพอ, คนโปรด, คนรัก. (ป., ส.).
วัลลี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัลลี น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส.).
วัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาล นวล เขาโค้ง สั้น มีเหนียงห้อยอยู่ใต้คอถึงอก ขนปลายหางเป็นพู่, โค ก็เรียก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง งัว.วัว ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาล นวล เขาโค้ง สั้น มีเหนียงห้อยอยู่ใต้คอถึงอก ขนปลายหางเป็นพู่, โค ก็เรียก, (ปาก) งัว.
วัวเขาเกก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วัวที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, ควายเขาเกก ก็ว่า.วัวเขาเกก น. วัวที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, ควายเขาเกก ก็ว่า.
วัวใครเข้าคอกคนนั้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง กรรมที่มีผู้ใดทําไว้ย่อมส่งผลให้แก่ผู้นั้น ดุจวัวที่กลับเข้าคอกของมันเอง.วัวใครเข้าคอกคนนั้น (สำ) น. กรรมที่มีผู้ใดทําไว้ย่อมส่งผลให้แก่ผู้นั้น ดุจวัวที่กลับเข้าคอกของมันเอง.
วัวตัวผู้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย ดาวปุรพผลคุนี หรือ ดาวปุพพผลคุนี ก็เรียก.วัวตัวผู้ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย ดาวปุรพผลคุนี หรือ ดาวปุพพผลคุนี ก็เรียก.
วัวตัวเมีย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวเพดาน หรือ ดาวอุตตรผลคุนี ก็เรียก.วัวตัวเมีย น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวเพดาน หรือ ดาวอุตตรผลคุนี ก็เรียก.
วัวเถลิง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วัวเปลี่ยว, วัวหนุ่ม.วัวเถลิง น. วัวเปลี่ยว, วัวหนุ่ม.
วัวพันหลัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี.วัวพันหลัก (สำ) ว. อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี.
วัวลืมตีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ได้ดีแล้วลืมฐานะเดิมของตน.วัวลืมตีน (สำ) น. คนที่ได้ดีแล้วลืมฐานะเดิมของตน.
วัวสันหลังหวะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีความผิดติดตัวทําให้คอยหวาดระแวง, วัวสันหลังขาด ก็ว่า.วัวสันหลังหวะ น. คนที่มีความผิดติดตัวทําให้คอยหวาดระแวง, วัวสันหลังขาด ก็ว่า.
วัวหายล้อมคอก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ของหายแล้วจึงจะเริ่มป้องกัน, เรื่องเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข.วัวหายล้อมคอก (สำ) น. ของหายแล้วจึงจะเริ่มป้องกัน, เรื่องเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข.
วัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ดู งัว เขียนว่า งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๕.วัว ๒ ดู งัว ๕.
วัวทะเล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิงดู พะยูน เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-นอ-หนู.วัวทะเล ดู พะยูน.
วัส–, วัสสะ วัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วัสสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ [วัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฝน, ฤดูฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.วัส–, วัสสะ [วัดสะ–] น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ).
วัสคณนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[วัดสะคะนะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การนับปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ + คณนา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา .วัสคณนา [วัดสะคะนะนา] น. การนับปี. (ป. วสฺส + คณนา).
วัสโสทก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วัสโสทก น. นํ้าฝน. (ป.).
วัสดุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ[วัดสะดุ] เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่นํามาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงบประมาณ). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วสฺตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี วตฺถุ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ.วัสดุ [วัดสะดุ] น. วัตถุที่นํามาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงบประมาณ). (ส. วสฺตุ; ป. วตฺถุ).
วัสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วัตถ์, ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.วัสตร์ (แบบ) น. วัตถ์, ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ส. วสฺตฺร; ป. วตฺถ).
วัสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วสนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วัสน์ (แบบ) น. วสนะ. (ป., ส.).
วัสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วัดสะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฝนตก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺษณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน.วัสนะ [วัดสะนะ] (แบบ) น. ฝนตก. (ป. วสฺสน; ส. วรฺษณ).
วัสสาน–, วัสสานะ วัสสาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู วัสสานะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [วัดสานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูฝน, หน้าฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสาน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า ฤดูฝน .วัสสาน–, วัสสานะ [วัดสานะ–] น. ฤดูฝน, หน้าฝน. (ป. วสฺสาน ว่า ฤดูฝน).
วัสสานฤดู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู[วัดสานะรึดู] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อนอันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แบ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไปบ้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้นวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, บางทีก็เขียนเพี้ยนไปเป็น วสันต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสาน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู + ภาษาสันสกฤต ฤตุ เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ = ฤดูฝน .วัสสานฤดู [วัดสานะรึดู] น. ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อนอันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แบ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไปบ้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้นวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, บางทีก็เขียนเพี้ยนไปเป็น วสันต์. (ป. วสฺสาน + ส. ฤตุ = ฤดูฝน).
วัสโสทก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู วัส–, วัสสะ วัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วัสสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ .วัสโสทก ดู วัส–, วัสสะ.
วา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง.วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง.
วาตารางเหลี่ยม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว๒.วาตารางเหลี่ยม (เลิก) น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว๒.
วา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว.วา ๒ น. เพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว.
ว่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, บอก, เช่น เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน; ดุ เช่น อย่าเอะอะไป เดี๋ยวครูว่าเอา, ติ เช่น ดีแต่ว่าเขา; ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้; ร้อง เช่น ว่าเพลง; จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก, ว่าจ้าง ก็ว่า; ใช้เป็นสันธานเชื่อมประโยค เช่น พูดว่า คิดว่า หมายความว่า มีความเห็นว่า. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่า กิน เช่น ว่าเสียเรียบ ว่าเสียเต็มคราบ ใช้แทนคำว่า ทำ เช่น ว่าเสียเอง.ว่า ก. พูด, บอก, เช่น เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน; ดุ เช่น อย่าเอะอะไป เดี๋ยวครูว่าเอา, ติ เช่น ดีแต่ว่าเขา; ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้; ร้อง เช่น ว่าเพลง; จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก, ว่าจ้าง ก็ว่า; ใช้เป็นสันธานเชื่อมประโยค เช่น พูดว่า คิดว่า หมายความว่า มีความเห็นว่า. (ปาก) ก. เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่า กิน เช่น ว่าเสียเรียบ ว่าเสียเต็มคราบ ใช้แทนคำว่า ทำ เช่น ว่าเสียเอง.
ว่ากลอนสด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวกลอนที่ผูกขึ้นอย่างปัจจุบันโดยมิได้คิดมาก่อน; โดยปริยายหมายถึงกล่าวข้อความที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน, พูดกลอนสด ก็ว่า.ว่ากลอนสด ก. กล่าวกลอนที่ผูกขึ้นอย่างปัจจุบันโดยมิได้คิดมาก่อน; โดยปริยายหมายถึงกล่าวข้อความที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน, พูดกลอนสด ก็ว่า.
ว่ากล่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตำหนิ, ตักเตือน, เช่น มาทำงานสายเป็นประจำ จึงถูกผู้บังคับบัญชาเรียกไปว่ากล่าว, สั่งสอน เช่น ผู้ใหญ่ว่ากล่าวไม่เชื่อฟัง.ว่ากล่าว ก. ตำหนิ, ตักเตือน, เช่น มาทำงานสายเป็นประจำ จึงถูกผู้บังคับบัญชาเรียกไปว่ากล่าว, สั่งสอน เช่น ผู้ใหญ่ว่ากล่าวไม่เชื่อฟัง.
ว่าการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแลตรวจตราสั่งการงาน.ว่าการ ก. ดูแลตรวจตราสั่งการงาน.
ว่าขาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา ฯ (อิเหนา).ว่าขาน ก. พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา ฯ (อิเหนา).
ว่าข้ามหัว, ว่าส่งไป ว่าข้ามหัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ว่าส่งไป เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง พูดลอย ๆ ไม่เจาะจงคู่กรณีหรือผู้ถูกว่า.ว่าข้ามหัว, ว่าส่งไป ก. พูดลอย ๆ ไม่เจาะจงคู่กรณีหรือผู้ถูกว่า.
ว่าเข้านั่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่แสดงว่าเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวนั้นไม่น่าเชื่อถือเป็นต้น.ว่าเข้านั่น (ปาก) เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่แสดงว่าเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวนั้นไม่น่าเชื่อถือเป็นต้น.
ว่าความ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง (กฎ) ว่าต่างหรือแก้ต่างแทนคู่ความในคดี; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ชําระความ เช่น ท้าวมาลีวราชว่าความ.ว่าความ ก. (กฎ) ว่าต่างหรือแก้ต่างแทนคู่ความในคดี; (โบ) ชําระความ เช่น ท้าวมาลีวราชว่าความ.
ว่าง่าย, ว่านอนสอนง่าย ว่าง่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ว่านอนสอนง่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ในโอวาท, เชื่อฟังคำสั่งสอนโดยดี.ว่าง่าย, ว่านอนสอนง่าย ก. อยู่ในโอวาท, เชื่อฟังคำสั่งสอนโดยดี.
ว่าจ้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง จ้าง, ตกลงให้ทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น เขาว่าจ้างช่างให้มาทำรั้วบ้าน, ว่า ก็ว่า.ว่าจ้าง ก. จ้าง, ตกลงให้ทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น เขาว่าจ้างช่างให้มาทำรั้วบ้าน, ว่า ก็ว่า.
ว่าด้วย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำบุรพบท หมายถึง เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์.ว่าด้วย บ. เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์.
ว่าต่าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าความแทนโจทก์, ใช้คู่กับ แก้ต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนจําเลย.ว่าต่าง (กฎ) ก. ว่าความแทนโจทก์, ใช้คู่กับ แก้ต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนจําเลย.
ว่าตามหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ติเตียนหรือนินทาเมื่อผู้ถูกว่าคล้อยหลังไปแล้ว.ว่าตามหลัง ก. ติเตียนหรือนินทาเมื่อผู้ถูกว่าคล้อยหลังไปแล้ว.
ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตนก็กลับทำในเรื่องนั้นเสียเอง.ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (สำ) ก. ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตนก็กลับทำในเรื่องนั้นเสียเอง.
ว่าที่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง รั้งตำแหน่งหรือยศ (ใช้แก่ทหารหรือตำรวจ) เช่น ว่าที่ร้อยตรี ว่าที่พันตำรวจโท; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง รั้งตำแหน่งที่จะเป็นต่อไป เช่น ว่าที่พ่อตา.ว่าที่ ก. รั้งตำแหน่งหรือยศ (ใช้แก่ทหารหรือตำรวจ) เช่น ว่าที่ร้อยตรี ว่าที่พันตำรวจโท; (ปาก) รั้งตำแหน่งที่จะเป็นต่อไป เช่น ว่าที่พ่อตา.
ว่าไปทำไมมี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง พูดไปก็เสียเวลาเปล่า ๆ เช่น ว่าไปทำไมมี เมื่อก่อนก็ไม่มีสมบัติอะไรติดตัวอยู่แล้ว; ใช้เป็นคำขึ้นต้นประโยค หมายความว่า อันที่จริง เช่น ว่าไปทำไมมี เราคนกันเองทั้งนั้น.ว่าไปทำไมมี ก. พูดไปก็เสียเวลาเปล่า ๆ เช่น ว่าไปทำไมมี เมื่อก่อนก็ไม่มีสมบัติอะไรติดตัวอยู่แล้ว; ใช้เป็นคำขึ้นต้นประโยค หมายความว่า อันที่จริง เช่น ว่าไปทำไมมี เราคนกันเองทั้งนั้น.
ว่าไม่ได้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังลงความเห็นไม่ได้, ยังไม่แน่นอน, เช่น ว่าไม่ได้เขาอาจจะถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ ก็ได้.ว่าไม่ได้ (ปาก) ว. ยังลงความเห็นไม่ได้, ยังไม่แน่นอน, เช่น ว่าไม่ได้เขาอาจจะถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ ก็ได้.
ว่าไม่ไว้หน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ดุด่าว่ากล่าวผู้ใดผู้หนึ่งต่อหน้าให้ได้รับความอับอายโดยไม่เกรงใจ.ว่าไม่ไว้หน้า ก. ดุด่าว่ากล่าวผู้ใดผู้หนึ่งต่อหน้าให้ได้รับความอับอายโดยไม่เกรงใจ.
ว่ายาก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน, ว่ายากสอนยาก ก็ว่า.ว่ายาก ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน, ว่ายากสอนยาก ก็ว่า.
ว่าลับหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง นินทา.ว่าลับหลัง ก. นินทา.
ว่าแล้ว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวนเป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่ได้เกิดเหตุการณ์ตรงตามที่ได้ว่าไว้ เช่น ฉันว่าแล้ว ไม่ผิดไปจากที่พูดเลย.ว่าแล้ว เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่ได้เกิดเหตุการณ์ตรงตามที่ได้ว่าไว้ เช่น ฉันว่าแล้ว ไม่ผิดไปจากที่พูดเลย.
ว่าแล้วว่าอีก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดหรือตำหนิติเตียนซ้ำซาก.ว่าแล้วว่าอีก ก. พูดหรือตำหนิติเตียนซ้ำซาก.
ว่าวอน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง อ้อนวอน เช่น ผ่านม่านสุวรรณซึ่งกั้นกาง เห็นนางบรรทมอยู่ในที่ พี่เลี้ยงโลมไล้ไม่ไยดี มะเดหวีจึงเข้าไปว่าวอน. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ว่าวอน (แบบ) ก. อ้อนวอน เช่น ผ่านม่านสุวรรณซึ่งกั้นกาง เห็นนางบรรทมอยู่ในที่ พี่เลี้ยงโลมไล้ไม่ไยดี มะเดหวีจึงเข้าไปว่าวอน. (อิเหนา).
ว่าส่ง ๆ, ว่าส่งเดช ว่าส่ง ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ว่าส่งเดช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพล่อย ๆ ไม่มีเหตุผล.ว่าส่ง ๆ, ว่าส่งเดช ก. พูดพล่อย ๆ ไม่มีเหตุผล.
ว่าสาดเสียเทเสีย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าอย่างเจ็บแสบทำให้เสียหายอย่างรุนแรง.ว่าสาดเสียเทเสีย (สำ) ก. ว่าอย่างเจ็บแสบทำให้เสียหายอย่างรุนแรง.
ว่าใส่หน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อว่าหรือติเตียนซึ่ง ๆ หน้า.ว่าใส่หน้า ก. ต่อว่าหรือติเตียนซึ่ง ๆ หน้า.
ว่าอะไรว่าตามกัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ปรองดองกัน, ไม่ขัดคอกัน, พูดเต็มว่า ว่าอะไรว่าตามกัน ได้เงินหม้อทองหม้อ หมายความว่า ว่าอะไรว่าตามกัน จะเกิดความเจริญมั่งคั่ง (มักใช้แก่คู่สามีภรรยา).ว่าอะไรว่าตามกัน (สำ) ก. ปรองดองกัน, ไม่ขัดคอกัน, พูดเต็มว่า ว่าอะไรว่าตามกัน ได้เงินหม้อทองหม้อ หมายความว่า ว่าอะไรว่าตามกัน จะเกิดความเจริญมั่งคั่ง (มักใช้แก่คู่สามีภรรยา).
ว่าเอาเอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดแต่งเรื่องขึ้นมาเอง.ว่าเอาเอง ก. พูดแต่งเรื่องขึ้นมาเอง.
ว้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า อย่าเสียใจไปเลยว้า.ว้า ๑ อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น. ว. คําออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า อย่าเสียใจไปเลยว้า.
ว้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่าง, เปลี่ยวใจ, เปล่าใจ, ใจหาย.ว้า ๒ ว. ว่าง, เปลี่ยวใจ, เปล่าใจ, ใจหาย.
ว้าเหว่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกอ้างว้าง, เปลี่ยวใจ, เช่น ไปต่างถิ่น พอเย็นลงก็รู้สึกว้าเหว่ คิดถึงบ้าน.ว้าเหว่ ว. รู้สึกอ้างว้าง, เปลี่ยวใจ, เช่น ไปต่างถิ่น พอเย็นลงก็รู้สึกว้าเหว่ คิดถึงบ้าน.
วาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, หาย, ว้าเหว่, เช่น ใจวาก.วาก ๑ ว. เปล่า, หาย, ว้าเหว่, เช่น ใจวาก.
วาก– ๒, วากะ วาก– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ วากะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ [วากะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกไม้, ป่าน, ปอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่.วาก– ๒, วากะ [วากะ–] น. เปลือกไม้, ป่าน, ปอ. (ป.; ส. วลฺก).
วากจิรพัสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่ทําด้วยเปลือกไม้, ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วากจิร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ ว่า ที่ทําด้วยเปลือกไม้ + ภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ผ้า .วากจิรพัสตร์ น. ผ้าที่ทําด้วยเปลือกไม้, ผ้าป่าน. (ป. วากจิร ว่า ที่ทําด้วยเปลือกไม้ + ส. วสฺตฺร ว่า ผ้า).
ว้าก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องดัง ๆ อย่างเสียงเด็กร้อง, หวาก ก็ว่า.ว้าก ว. เสียงร้องดัง ๆ อย่างเสียงเด็กร้อง, หวาก ก็ว่า.
วากย–, วากยะ วากย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก วากยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [วากกะยะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, คํากล่าว, ถ้อยคํา, ประโยค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วากย–, วากยะ [วากกะยะ] น. คําพูด, คํากล่าว, ถ้อยคํา, ประโยค. (ป., ส.).
วากยสัมพันธ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตําราไวยากรณ์ตอนที่แยกความออกเป็นประโยค ๆ และบอกความเกี่ยวข้องของคําในประโยค.วากยสัมพันธ์ น. ชื่อตําราไวยากรณ์ตอนที่แยกความออกเป็นประโยค ๆ และบอกความเกี่ยวข้องของคําในประโยค.
วากรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[วากกะรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตาข่าย; บ่วง, เครื่องดักสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาคุรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.วากรา [วากกะรา] (แบบ) น. ตาข่าย; บ่วง, เครื่องดักสัตว์. (ป.; ส. วาคุรา).
วาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งพ้นจากมือหรือบ่าเป็นต้นด้วยอาการกิริยาต่าง ๆ ตามที่ต้องการ เช่น วางข้าวของเรียงเป็นแถว วางกับดักหนู วางกระดานลงกับพื้น วางเสาพิงกับผนัง; กำหนด, ตั้ง, เช่น วางกฎ วางเงื่อนไข วางรากฐาน; จัดเข้าประจําที่ เช่น วางคน วางยาม, วางกำลัง; ปล่อยวาง เช่น วางอารมณ์ วางธุระ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปโดยรีบร้อน เช่น ขี่ช้างวางวิ่ง.วาง ก. ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งพ้นจากมือหรือบ่าเป็นต้นด้วยอาการกิริยาต่าง ๆ ตามที่ต้องการ เช่น วางข้าวของเรียงเป็นแถว วางกับดักหนู วางกระดานลงกับพื้น วางเสาพิงกับผนัง; กำหนด, ตั้ง, เช่น วางกฎ วางเงื่อนไข วางรากฐาน; จัดเข้าประจําที่ เช่น วางคน วางยาม, วางกำลัง; ปล่อยวาง เช่น วางอารมณ์ วางธุระ; (กลอน) อาการที่เคลื่อนไปโดยรีบร้อน เช่น ขี่ช้างวางวิ่ง.
วางก้าม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางโต ก็ว่า.วางก้าม ก. ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางโต ก็ว่า.
วางขรึม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทำท่าขรึม.วางขรึม ก. ทำท่าขรึม.
วางข้อ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทางว่าเก่งกล้า, แสดงท่าทางอวดดี, เช่น ทำวางข้อเป็นลูกเศรษฐี.วางข้อ ก. แสดงท่าทางว่าเก่งกล้า, แสดงท่าทางอวดดี, เช่น ทำวางข้อเป็นลูกเศรษฐี.
วางไข่ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ออกไข่ (ใช้แก่เต่าและปลา).วางไข่ ก. ออกไข่ (ใช้แก่เต่าและปลา).
วางเงิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ชําระเงินตามเงื่อนไขที่มีต่อกัน เช่น วางเงินมัดจำ.วางเงิน ก. ชําระเงินตามเงื่อนไขที่มีต่อกัน เช่น วางเงินมัดจำ.
วางใจ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เชื่อใจ, ไว้ใจ, เช่น อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง.วางใจ ก. เชื่อใจ, ไว้ใจ, เช่น อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง.
วางฎีกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นใบแจ้งขอเบิกเงินจากคลัง; ยื่นฎีกาอาราธนาพระสงฆ์ (มักใช้เนื่องในงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี).วางฎีกา ก. ยื่นใบแจ้งขอเบิกเงินจากคลัง; ยื่นฎีกาอาราธนาพระสงฆ์ (มักใช้เนื่องในงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี).
วางตลาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง นําสินค้าออกวางขายตามร้านทั่วไป.วางตลาด ก. นําสินค้าออกวางขายตามร้านทั่วไป.
วางตัว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตน เช่น วางตัวไม่ดี คนอื่นจะดูถูกได้, ปฏิบัติตน เช่น วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้างใคร.วางตัว ก. ประพฤติตน เช่น วางตัวไม่ดี คนอื่นจะดูถูกได้, ปฏิบัติตน เช่น วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้างใคร.
วางตัวเป็นกลาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เข้าข้างใคร เช่น พี่น้องทะเลาะกัน เขาเลยต้องวางตัวเป็นกลาง.วางตัวเป็นกลาง ก. ไม่เข้าข้างใคร เช่น พี่น้องทะเลาะกัน เขาเลยต้องวางตัวเป็นกลาง.
วางตา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ละสายตา, มักใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ดูไม่วางตา.วางตา ก. ละสายตา, มักใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ดูไม่วางตา.
วางโต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางก้าม ก็ว่า.วางโต ก. ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางก้าม ก็ว่า.
วางทรัพย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การที่บุคคลผู้ชำระหนี้นำทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไปวางไว้ ณ สำนักงานวางทรัพย์ประจำตำบลที่จะต้องชำระหนี้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ในกรณีที่เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำระหนี้หรือไม่สามารถจะรับชำระหนี้ได้ เพื่อให้หลุดพ้นจากหนี้นั้น.วางทรัพย์ (กฎ) น. การที่บุคคลผู้ชำระหนี้นำทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไปวางไว้ ณ สำนักงานวางทรัพย์ประจำตำบลที่จะต้องชำระหนี้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ในกรณีที่เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำระหนี้หรือไม่สามารถจะรับชำระหนี้ได้ เพื่อให้หลุดพ้นจากหนี้นั้น.
วางท่า เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าไว้ยศ เช่น วางท่าเป็นอธิบดี, วางปุ่ม ก็ว่า.วางท่า ก. ทําท่าไว้ยศ เช่น วางท่าเป็นอธิบดี, วางปุ่ม ก็ว่า.
วางเบ็ด, วางเบ็ดราว วางเบ็ด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก วางเบ็ดราว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง นำเบ็ดราวที่เกี่ยวเหยื่อแล้วไปหย่อนลงในแม่น้ำลำคลอง.วางเบ็ด, วางเบ็ดราว ก. นำเบ็ดราวที่เกี่ยวเหยื่อแล้วไปหย่อนลงในแม่น้ำลำคลอง.
วางปึ่ง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทำท่าไว้ยศไม่อยากพูดจาด้วย; ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ.วางปึ่ง ก. ทำท่าไว้ยศไม่อยากพูดจาด้วย; ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ.
วางปุ่ม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าไว้ยศ, วางท่า ก็ว่า.วางปุ่ม ก. ทําท่าไว้ยศ, วางท่า ก็ว่า.
วางผังเมือง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม.วางผังเมือง ก. ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม.
วางแผน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป, วางแผนการ ก็ว่า; ทำท่าทีใหญ่โต เช่น ทำวางแผนเป็นขุนนางชั้นสูง.วางแผน ก. กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป, วางแผนการ ก็ว่า; ทำท่าทีใหญ่โต เช่น ทำวางแผนเป็นขุนนางชั้นสูง.
วางแผนการ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป; วางแผน ก็ว่า.วางแผนการ ก. กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป; วางแผน ก็ว่า.
วางเพลิง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[–เพฺลิง] เป็นคำกริยา หมายถึง จุดไฟเผาอาคารบ้านเรือนหรือทรัพย์สมบัติ; โดยปริยายหมายความว่าให้ร้ายคนอื่น.วางเพลิง [–เพฺลิง] ก. จุดไฟเผาอาคารบ้านเรือนหรือทรัพย์สมบัติ; โดยปริยายหมายความว่าให้ร้ายคนอื่น.
วางมวย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ชกต่อยวิวาทกัน.วางมวย ก. ชกต่อยวิวาทกัน.
วางมาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทางให้เห็นว่าใหญ่โตหรือมีอํานาจเป็นต้น เช่น วางมาดเป็นดารา.วางมาด ก. แสดงท่าทางให้เห็นว่าใหญ่โตหรือมีอํานาจเป็นต้น เช่น วางมาดเป็นดารา.
วางมือ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เอาเป็นธุระ, หยุดหรือเลิกการงานที่ทําอยู่ชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น วางมือจากทำสวนไปทำกับข้าว วางมือจากการเป็นครู.วางมือ ก. ไม่เอาเป็นธุระ, หยุดหรือเลิกการงานที่ทําอยู่ชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น วางมือจากทำสวนไปทำกับข้าว วางมือจากการเป็นครู.
วางยา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ให้กินยาเพื่อรักษาโรค เช่น หมอวางยาคนไข้ได้ถูกกับโรค, ลอบเอายาพิษให้กิน เช่น โดนวางยาในอาหาร; โดยปริยายหมายความว่า พูดให้เสียหาย.วางยา ก. ให้กินยาเพื่อรักษาโรค เช่น หมอวางยาคนไข้ได้ถูกกับโรค, ลอบเอายาพิษให้กิน เช่น โดนวางยาในอาหาร; โดยปริยายหมายความว่า พูดให้เสียหาย.
วางราง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตั้งรางเพื่อให้รถไฟเป็นต้นเคลื่อนไป.วางราง ก. ติดตั้งรางเพื่อให้รถไฟเป็นต้นเคลื่อนไป.
วางวาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์, วายวาง ก็ว่า.วางวาย ก. ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์. (กฤษณา), วายวาง ก็ว่า.
วางสาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตั้งสายไฟฟ้าสายโทรศัพท์เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า จัดคนเข้าไปสืบความลับของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น วางสายเข้าไปปล้นธนาคาร.วางสาย ก. ติดตั้งสายไฟฟ้าสายโทรศัพท์เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า จัดคนเข้าไปสืบความลับของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น วางสายเข้าไปปล้นธนาคาร.
วางหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ตีหน้า เช่น วางหน้าไม่สนิท วางหน้าเก้อ ๆ.วางหน้า ก. ตีหน้า เช่น วางหน้าไม่สนิท วางหน้าเก้อ ๆ.
วางหมาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กำหนดตัวบุคคลให้เหมาะแก่งานเพื่อให้ได้ผลตามแผนการที่กำหนดไว้.วางหมาก ก. กำหนดตัวบุคคลให้เหมาะแก่งานเพื่อให้ได้ผลตามแผนการที่กำหนดไว้.
วางอาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมแพ้.วางอาวุธ ก. ยอมแพ้.
วางอำนาจ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอํานาจ, อวดอํานาจ.วางอำนาจ ก. แสดงอํานาจ, อวดอํานาจ.
ว่าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง, เช่น ห้องว่าง ที่ว่าง ตําแหน่งว่าง, บางทีใช้ควบคู่กับคํา เปล่า เป็น ว่างเปล่า; ไม่มีภาระผูกพัน เช่น วันนี้ว่างทั้งวัน เย็นนี้หมอว่างไม่มีคนไข้. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกของกินในเวลาที่ไม่ใช่เวลากินข้าวว่า ของว่าง เครื่องว่าง อาหารว่าง.ว่าง ว. เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง, เช่น ห้องว่าง ที่ว่าง ตําแหน่งว่าง, บางทีใช้ควบคู่กับคํา เปล่า เป็น ว่างเปล่า; ไม่มีภาระผูกพัน เช่น วันนี้ว่างทั้งวัน เย็นนี้หมอว่างไม่มีคนไข้. น. เรียกของกินในเวลาที่ไม่ใช่เวลากินข้าวว่า ของว่าง เครื่องว่าง อาหารว่าง.
ว่าง ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร.ว่าง ๆ ว. ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร.
ว่างงาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตกงาน, ไม่มีงานทํา.ว่างงาน ก. ตกงาน, ไม่มีงานทํา.
ว่างเปล่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรเลย เช่น โต๊ะตัวนี้ว่างเปล่าไม่มีของวางอยู่เลย.ว่างเปล่า ว. ไม่มีอะไรเลย เช่น โต๊ะตัวนี้ว่างเปล่าไม่มีของวางอยู่เลย.
ว่างมือ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรทำ เช่น ว่างมือเมื่อไร จะช่วยตัดเสื้อให้.ว่างมือ ว. ไม่มีอะไรทำ เช่น ว่างมือเมื่อไร จะช่วยตัดเสื้อให้.
ว่างเว้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป.ว่างเว้น ก. งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป.
ว้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, ว่าง.ว้าง ว. เปล่า, ว่าง.
ว้างเวิ้ง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นช่องว่างและโล่งออกไปกว้างขวาง.ว้างเวิ้ง ว. เป็นช่องว่างและโล่งออกไปกว้างขวาง.
วาจก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นผู้ทํา ผู้ใช้ ผู้ถูกทํา หรือผู้ถูกใช้ แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจก และการิตวาจก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาจก น. ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. (ไว) ก. กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นผู้ทํา ผู้ใช้ ผู้ถูกทํา หรือผู้ถูกใช้ แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจก และการิตวาจก. (ป., ส.).
วาจา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาจา น. ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. (ป., ส.).
วาจาไปยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําอ่อนหวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วาจาเปยฺย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก วาชเปยฺย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก .วาจาไปยะ (แบบ) น. คําอ่อนหวาน. (ป. วาจาเปยฺย, วาชเปยฺย).
วาจาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ช่างพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาจาล (แบบ) ว. ช่างพูด. (ป., ส.).
วาชเปยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[วาชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การดื่มเพื่อพลัง; ชื่อพิธีบูชาอย่างหนึ่งในอินเดียโบราณที่จัดทำสำหรับบุคคลในวรรณะกษัตริย์และวรรณะพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาชเปยะ [วาชะ–] น. การดื่มเพื่อพลัง; ชื่อพิธีบูชาอย่างหนึ่งในอินเดียโบราณที่จัดทำสำหรับบุคคลในวรรณะกษัตริย์และวรรณะพราหมณ์. (ส.).
วาฏกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วาตะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วงกลม, สังเวียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาฏกะ [วาตะ–] (แบบ) น. วงกลม, สังเวียน. (ป.).
วาณิช, วาณิชกะ วาณิช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วาณิชกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ [วานิด, วานิดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น พ่อค้าวาณิช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาณิช, วาณิชกะ [วานิด, วานิดชะ–] น. พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น พ่อค้าวาณิช. (ป., ส.).
วาณิชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาณิชย์ น. การค้าขาย. (ส.).
วาณี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, ภาษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; เจ้าแม่แห่งวาจา คือ พระสรัสวดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาณี น. ถ้อยคํา, ภาษา. (ป., ส.); เจ้าแม่แห่งวาจา คือ พระสรัสวดี. (ส.).
วาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วาดวิมานในอากาศเสียสวยหรู วาดโครงการในอนาคต; ทอดแขนหรือกรายแขนอย่างอ่อนช้อยในการฟ้อนรํา.วาด ๑ ก. เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วาดวิมานในอากาศเสียสวยหรู วาดโครงการในอนาคต; ทอดแขนหรือกรายแขนอย่างอ่อนช้อยในการฟ้อนรํา.
วาดเขียน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ.วาดเขียน น. วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ.
วาดปาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอานิ้วมือป้ายสีผึ้งหรือใช้ลิปสติกลูบไล้ไปตามริมฝีปากให้ทั่ว.วาดปาก ก. เอานิ้วมือป้ายสีผึ้งหรือใช้ลิปสติกลูบไล้ไปตามริมฝีปากให้ทั่ว.
วาดภาพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง วาดเป็นภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น วาดภาพคน วาดภาพทิวทัศน์.วาดภาพ ก. วาดเป็นภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น วาดภาพคน วาดภาพทิวทัศน์.
วาดลวดลาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่ารำหรือเต้นรำเป็นต้นได้งดงามไปตามจังหวะดนตรี; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง แสดงชั้นเชิง เช่น วาดลวดลายในการโฆษณา.วาดลวดลาย ก. แสดงท่ารำหรือเต้นรำเป็นต้นได้งดงามไปตามจังหวะดนตรี; (ปาก) แสดงชั้นเชิง เช่น วาดลวดลายในการโฆษณา.
วาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พายเรือโดยกวาดพายเป็นแนวโค้งเข้าหาตัว, ตรงข้ามกับ คัด.วาด ๒ ก. พายเรือโดยกวาดพายเป็นแนวโค้งเข้าหาตัว, ตรงข้ามกับ คัด.
วาต–, วาตะ วาต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า วาตะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [วาตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาต–, วาตะ [วาตะ–] น. ลม. (ป., ส.).
วาตปานะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่าง, ช่องลมที่มีบานเปิดปิดได้อย่างบานหน้าต่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาตปานะ น. หน้าต่าง, ช่องลมที่มีบานเปิดปิดได้อย่างบานหน้าต่าง. (ป.).
วาตภัย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[วาตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ภัยอันตรายที่เกิดจากพายุ.วาตภัย [วาตะ–] น. ภัยอันตรายที่เกิดจากพายุ.
วาท, วาท– วาท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน วาท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน [วาด, วาทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา; ลัทธิ, ความเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาท, วาท– [วาด, วาทะ–] น. คําพูด, ถ้อยคํา; ลัทธิ, ความเห็น. (ป., ส.).
วาทศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่นพูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rhetorics เขียนว่า อา-เอช-อี-ที-โอ-อา-ไอ-ซี-เอส.วาทศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่นพูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. (อ. rhetorics).
วาทศิลป์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ประทับใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rhetoric เขียนว่า อา-เอช-อี-ที-โอ-อา-ไอ-ซี.วาทศิลป์ น. ศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ประทับใจ. (อ. rhetoric).
วาทกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[วาทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประโคม, ผู้บรรเลงดนตรี, นักดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาทกะ [วาทะกะ] น. ผู้ประโคม, ผู้บรรเลงดนตรี, นักดนตรี. (ส.).
วาทนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วาทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การประโคม, การบรรเลงดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาทนะ [วาทะนะ] น. การประโคม, การบรรเลงดนตรี. (ส.).
วาทย–, วาทย์ วาทย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก วาทย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [วาทะยะ–, วาดทะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประโคม, เครื่องบรรเลง, เครื่องเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาทย–, วาทย์ [วาทะยะ–, วาดทะยะ–] น. เครื่องประโคม, เครื่องบรรเลง, เครื่องเป่า. (ส.).
วาทยกร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ[วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อํานวยการให้จังหวะดนตรี, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก.วาทยกร [วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน] น. ผู้อํานวยการให้จังหวะดนตรี, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก.
วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง สังคีต, ดนตรี; ผู้บรรเลงดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วาทิตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วาทิตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .วาทิต น. สังคีต, ดนตรี; ผู้บรรเลงดนตรี. (ป. วาทิต, วาทิตฺต; ส. วาทิต, วาทิตฺร).
วาทิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนเล่นดนตรี. ในวงเล็บ ดู วาที เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี.วาทิน น. คนเล่นดนตรี. (ดู วาที).
วาที เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง; คนเล่นดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาที น. ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง; คนเล่นดนตรี. (ป., ส.).
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กงเรือ. ในวงเล็บ ดู กงวาน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู; ช่องที่เจาะบากกงเรือเพื่อให้นํ้าเดิน เรียกว่า ช่องวาน.วาน ๑ น. กงเรือ. (ดู กงวาน); ช่องที่เจาะบากกงเรือเพื่อให้นํ้าเดิน เรียกว่า ช่องวาน.
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง วันก่อนวันนี้วันหนึ่ง, มักใช้ว่า เมื่อวาน หรือ เมื่อวานนี้.วาน ๒ น. วันก่อนวันนี้วันหนึ่ง, มักใช้ว่า เมื่อวาน หรือ เมื่อวานนี้.
วานซืน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วันก่อนเมื่อวานนี้วันหนึ่ง, วันก่อนวันนี้ไป ๒ วัน, มักใช้ว่า เมื่อวานซืน.วานซืน น. วันก่อนเมื่อวานนี้วันหนึ่ง, วันก่อนวันนี้ไป ๒ วัน, มักใช้ว่า เมื่อวานซืน.
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขอให้ช่วยทําแทนตัว เช่น วานเขียนหนังสือให้หน่อย วานไปซื้อตั๋วรถไฟ.วาน ๓ ก. ขอให้ช่วยทําแทนตัว เช่น วานเขียนหนังสือให้หน่อย วานไปซื้อตั๋วรถไฟ.
ว่าน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกพืชบางชนิดที่มีหัวบ้าง ไม่มีหัวบ้าง ใช้ทำยาบ้าง หรือเชื่อกันว่าทำให้อยู่ยงคงกระพันและเป็นสิริมงคล เช่น ว่านนางล้อม ว่านเสน่ห์จันทร์แดง.ว่าน น. ชื่อเรียกพืชบางชนิดที่มีหัวบ้าง ไม่มีหัวบ้าง ใช้ทำยาบ้าง หรือเชื่อกันว่าทำให้อยู่ยงคงกระพันและเป็นสิริมงคล เช่น ว่านนางล้อม ว่านเสน่ห์จันทร์แดง.
ว่านกาบหอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia spathacea Sw. วงศ์ Commelinaceae ลำต้นตั้งตรงอวบน้ำ ไม่แตกกิ่ง ใบยาว ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีม่วงแดง ช่อดอกออกที่ง่ามของลำต้น ซึ่งมีกาบรูปเรือ ๒ อันหุ้มอยู่ ดอกมีจำนวนมาก สีขาว ก้านสั้น ใช้ทำยาได้, กาบหอยแครง ก็เรียก.ว่านกาบหอย น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia spathacea Sw. วงศ์ Commelinaceae ลำต้นตั้งตรงอวบน้ำ ไม่แตกกิ่ง ใบยาว ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีม่วงแดง ช่อดอกออกที่ง่ามของลำต้น ซึ่งมีกาบรูปเรือ ๒ อันหุ้มอยู่ ดอกมีจำนวนมาก สีขาว ก้านสั้น ใช้ทำยาได้, กาบหอยแครง ก็เรียก.
ว่านกีบม้า, ว่านกีบแรด ว่านกีบม้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ว่านกีบแรด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ดู กีบแรด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก.ว่านกีบม้า, ว่านกีบแรด ดู กีบแรด.
ว่านไก่ไห้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โทดู ไก่ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท (๒).ว่านไก่ไห้ ดู ไก่ไห้ (๒).
ว่านธรณีสาร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู ธรณีสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.ว่านธรณีสาร ดู ธรณีสาร ๒.
ว่านนางกวัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ดู นางกวัก เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.ว่านนางกวัก ดู นางกวัก ๒.
ว่านนางล้อม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้าดู นางล้อม เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า.ว่านนางล้อม ดู นางล้อม.
ว่านน้ำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Acorus calamus L. ในวงศ์ Araceae ชอบขึ้นอยู่ในที่ชื้นแฉะ เหง้ามีกลิ่นฉุนแรง, พายัพเรียก กะส้มชื่น.ว่านน้ำ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Acorus calamus L. ในวงศ์ Araceae ชอบขึ้นอยู่ในที่ชื้นแฉะ เหง้ามีกลิ่นฉุนแรง, พายัพเรียก กะส้มชื่น.
ว่านพระฉิม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้าดู ข้าวข้า เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา.ว่านพระฉิม ดู ข้าวข้า.
ว่านเพชรหึง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งูดู เพชรหึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ว่านเพชรหึง ดู เพชรหึง ๒.
ว่านมหากาฬ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลาดู มหากาฬ เขียนว่า มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา ความหมายที่ ๒.ว่านมหากาฬ ดู มหากาฬ ๒.
ว่านมหานิล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิงดู มหานิล เขียนว่า มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒.ว่านมหานิล ดู มหานิล ๒.
ว่านมหาเมฆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma aeruginosa Roxb. ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย ขณะออกดอกไม่มีใบ ดอกสีเหลือง เป็นช่อตั้ง อยู่ระหว่างใบประดับสีขาวซึ่งมีปลายสีชมพู ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก ดอกอาว.ว่านมหาเมฆ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma aeruginosa Roxb. ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย ขณะออกดอกไม่มีใบ ดอกสีเหลือง เป็นช่อตั้ง อยู่ระหว่างใบประดับสีขาวซึ่งมีปลายสีชมพู ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก ดอกอาว.
ว่านมีดยับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน และภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ว่านหางช้าง. ในวงเล็บ ดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ว่านมีดยับ (ถิ่น–อีสาน, พายัพ) น. ว่านหางช้าง. (ดู หางช้าง ๑).
ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู เสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ดู เสน่ห์จันทร์ขาว.
ว่านเสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งูดู เสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู.ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ดู เสน่ห์จันทร์แดง.
ว่านหางช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ว่านหางช้าง ดู หางช้าง ๑.
ว่านเครือ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย, เหล่ากอ, มักใช้เข้าคู่กับคำ วงศ์วาน เป็น วงศ์วานว่านเครือ.ว่านเครือ น. เชื้อสาย, เหล่ากอ, มักใช้เข้าคู่กับคำ วงศ์วาน เป็น วงศ์วานว่านเครือ.
วานร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ[วานอน] เป็นคำนาม หมายถึง ลิง; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฆา มี ๕ ดวง, ดาวงอนไถ ดาวงูผู้ ดาวโคมูตร ดาวมฆะ หรือ ดาวมาฆะ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วานร [วานอน] น. ลิง; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฆา มี ๕ ดวง, ดาวงอนไถ ดาวงูผู้ ดาวโคมูตร ดาวมฆะ หรือ ดาวมาฆะ ก็เรียก. (ป., ส.).
วานรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[วานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พญาลิง.วานรินทร์ [วานะ–] น. พญาลิง.
วานรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู วานร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ.วานรินทร์ ดู วานร.
ว่านหอยแครง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งูดู กาบหอย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.ว่านหอยแครง ดู กาบหอย.
ว่านหางช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ว่านหางช้าง ดู หางช้าง ๑.
วาเนเดียม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๒๓ สัญลักษณ์ V เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๙๐๐°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vanadium เขียนว่า วี-เอ-เอ็น-เอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม.วาเนเดียม น. ธาตุลําดับที่ ๒๓ สัญลักษณ์ V เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๙๐๐°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. vanadium).
วาบ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น ขึ้นทันทีแล้วหายไปดับไป เช่น เย็นวาบ ใจหายวาบ เสียววาบ; วับ.วาบ ว. อาการที่รู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น ขึ้นทันทีแล้วหายไปดับไป เช่น เย็นวาบ ใจหายวาบ เสียววาบ; วับ.
วาบหวาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกเสียวซ่านในใจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น พอเห็นหน้าคนรักก็รู้สึกวาบหวามใจ.วาบหวาม ว. รู้สึกเสียวซ่านในใจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น พอเห็นหน้าคนรักก็รู้สึกวาบหวามใจ.
วาปะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การหว่านพืช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาปะ น. การหว่านพืช. (ป., ส.).
วาปิตะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง หว่านแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาปิตะ ก. หว่านแล้ว. (ป., ส.).
วาปี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หนองนํ้า, บึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาปี น. หนองนํ้า, บึง. (ป., ส.).
วาม ๑, วาม ๆ วาม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วาม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า ตาทรายยิ่งนิลวาม พรายเพริศ ลิงว่าผลลูกหว้า โดดดิ้นโดยตาม. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.วาม ๑, วาม ๆ ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า ตาทรายยิ่งนิลวาม พรายเพริศ ลิงว่าผลลูกหว้า โดดดิ้นโดยตาม. (โลกนิติ).
วาม– ๒, วามะ วาม– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วามะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ [วามะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซ้าย, ข้างซ้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาม– ๒, วามะ ๑ [วามะ–] ว. ซ้าย, ข้างซ้าย. (ป., ส.).
วามาจาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบซ้ายหรือฝ่ายซ้าย มีพิธีกรรมลี้ลับ อนาจาร, คู่กับ ทักษิณาจาร; ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์, เรียกผู้ปฏิบัติในลัทธินี้ว่า วามาจาริน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วามาจาร น. ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบซ้ายหรือฝ่ายซ้าย มีพิธีกรรมลี้ลับ อนาจาร, คู่กับ ทักษิณาจาร; ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์, เรียกผู้ปฏิบัติในลัทธินี้ว่า วามาจาริน. (ส.).
วามน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู[วามะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนเตี้ย, คนค่อม; ชื่อช้างประจําทิศใต้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เตี้ย, สั้น, ค่อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วามน– [วามะนะ–] น. คนเตี้ย, คนค่อม; ชื่อช้างประจําทิศใต้. ว. เตี้ย, สั้น, ค่อม. (ป., ส.).
วามนาวตาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง อวตารปางที่ ๕ ของพระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วามน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู + อวตาร เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .วามนาวตาร น. อวตารปางที่ ๕ ของพระนารายณ์. (ส. วามน + อวตาร).
วามนาวตาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู วามน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู.วามนาวตาร ดู วามน–.
วามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ดู วาม– เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒.วามะ ๑ ดู วาม– ๒.
วามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วามะ ๒ ว. งาม. (ส.).
วามาจาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู วาม– ๒, วามะ ๑ วาม– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วามะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ .วามาจาร ดู วาม– ๒, วามะ ๑.
วาโมร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-รอ-เรือ[–โมน] เป็นคำนาม หมายถึง คนป่า, คนรํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .วาโมร [–โมน] น. คนป่า, คนรํา. (ช.).
วาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยสิ้นไปตามคราวหรือกําหนดอายุเวลา เช่น มะม่วงวาย ตลาดวาย หัวใจวาย.วาย ๑ ก. ค่อยสิ้นไปตามคราวหรือกําหนดอายุเวลา เช่น มะม่วงวาย ตลาดวาย หัวใจวาย.
วายชนม์, วายชีวิต, วายปราณ, วายวาง, วายสังขาร วายชนม์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด วายชีวิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วายปราณ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน วายวาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู วายสังขาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย.วายชนม์, วายชีวิต, วายปราณ, วายวาง, วายสังขาร ก. ตาย.
วายวอด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หมดสิ้นไม่เหลือหลอ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฉิบหาย เป็น ฉิบหายวายวอด.วายวอด ก. หมดสิ้นไม่เหลือหลอ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฉิบหาย เป็น ฉิบหายวายวอด.
วาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตี เช่น วายทรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .วาย ๒ ก. ตี เช่น วายทรวง. (ข.).
ว่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไปโดยอาศัยกําลังแขน ขา ครีบ หรือ หาง แหวกไปในนํ้าหรือในอากาศ.ว่าย ก. เคลื่อนไปโดยอาศัยกําลังแขน ขา ครีบ หรือ หาง แหวกไปในนํ้าหรือในอากาศ.
ว่ายตา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แลกวาดไปในอากาศ.ว่ายตา ก. แลกวาดไปในอากาศ.
ว่ายน้ำหาจระเข้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย.ว่ายน้ำหาจระเข้ (สำ) ก. เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย.
ว่ายฟ้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไปในอากาศ เช่น ไก่ฟ้าวานว่ายฟ้า หาวหน หาสมรมายล เถื่อนท้องฯ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.ว่ายฟ้า (วรรณ) ก. เคลื่อนไปในอากาศ เช่น ไก่ฟ้าวานว่ายฟ้า หาวหน หาสมรมายล เถื่อนท้องฯ. (ตะเลงพ่าย).
ว่ายหล้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ท่องเที่ยวไปในแผ่นดิน, เขียนเป็น หว้ายหล้า ก็มี เช่น เปนขุนยศยิ่งฟ้า ฤๅบาปจำหว้ายหล้า หล่มล้มตนเดียวฯ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ว่ายหล้า (วรรณ) ก. ท่องเที่ยวไปในแผ่นดิน, เขียนเป็น หว้ายหล้า ก็มี เช่น เปนขุนยศยิ่งฟ้า ฤๅบาปจำหว้ายหล้า หล่มล้มตนเดียวฯ. (ลอ).
ว้าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง).ว้าย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง).
วายร้าย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหลือร้าย, ชั่วช้านัก.วายร้าย ว. เหลือร้าย, ชั่วช้านัก.
วายสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ[–ยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วายสะ [–ยะ–] น. กา. (ป., ส.).
วายะ, วาโย วายะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ วาโย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ วาโย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ.วายะ, วาโย น. ลม. (ป. วายุ, วาโย; ส. วายุ).
วาโยธาตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลม เป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาโยธาตุ น. ธาตุลม เป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม. (ป.).
วายามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความพยายาม, ความหมั่น, ความบากบั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.วายามะ น. ความพยายาม, ความหมั่น, ความบากบั่น. (ป.; ส. วฺยายาม).
วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ลม, อากาศ, ลมหายใจ; เทพแห่งลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู พายุ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ.วายุ น. ลม, อากาศ, ลมหายใจ; เทพแห่งลม. (ป., ส.). (ดู พายุ).
วายุภักษ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวรรณคดี แปลว่า นกกินลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วายุภักษ์ น. ชื่อนกในวรรณคดี แปลว่า นกกินลม. (ส.).
วายุกูล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ไวกูณฐ์.วายุกูล น. ไวกูณฐ์.
วายุบุตรยาตรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.วายุบุตรยาตรา น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
วาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [วาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันหนึ่ง ๆ ในสัปดาห์ เช่น อาทิตยวาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาร ๑ [วาน] น. วันหนึ่ง ๆ ในสัปดาห์ เช่น อาทิตยวาร. (ป., ส.).
วาร– ๒, วาระ วาร– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ วาระ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [วาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ครั้ง, คราว, เช่น พิจารณารวดเดียว ๓ วาระ อยู่ในตำแหน่งวาระละ ๒ ปี, เวลากำหนด เช่น วาระอันเป็นมงคล วาระสุดท้ายของชีวิต.วาร– ๒, วาระ [วาระ–] น. ครั้ง, คราว, เช่น พิจารณารวดเดียว ๓ วาระ อยู่ในตำแหน่งวาระละ ๒ ปี, เวลากำหนด เช่น วาระอันเป็นมงคล วาระสุดท้ายของชีวิต.
วารสาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์.วารสาร น. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์.
วารสารศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการทําหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และการพิมพ์ประเภทอื่น ๆ.วารสารศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการทําหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และการพิมพ์ประเภทอื่น ๆ.
วาระจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่มิได้บรรจุไว้ในระเบียบวาระ แต่ได้นำเข้ามาพิจารณาเป็นพิเศษในการประชุมคราวนั้น.วาระจร น. เรื่องที่มิได้บรรจุไว้ในระเบียบวาระ แต่ได้นำเข้ามาพิจารณาเป็นพิเศษในการประชุมคราวนั้น.
วารณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน[วาระนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วารณ– [วาระนะ–] น. ช้าง. (ป., ส.).
วารณกร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง งวงช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วารณกร น. งวงช้าง. (ส.).
วารวาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ[วาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ดอกชบา. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .วารวาริ [วาระ–] น. ดอกชบา. (ช.).
วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาริ, วารี น. นํ้า. (ป., ส.).
วาริจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วาริโคจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ.วาริจร น. สัตว์นํ้า. (ส.; ป. วาริโคจร).
วาริช, วารีช วาริช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วารีช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง เกิดแต่นํ้า คือ บัว ปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาริช, วารีช น. เกิดแต่นํ้า คือ บัว ปลา. (ป., ส.).
วาริท, วาริธร วาริท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน วาริธร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เมฆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาริท, วาริธร น. เมฆ. (ป., ส.).
วาริพินทุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง หยาดนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาริพินทุ น. หยาดนํ้า. (ป., ส.).
วาริช, วารีช วาริช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วารีช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง ดู วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี .วาริช, วารีช ดู วาริ, วารี.
วาริท, วาริธร วาริท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน วาริธร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ ดู วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี .วาริท, วาริธร ดู วาริ, วารี.
วารุณ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .วารุณ น. นํ้าดอกไม้. (ช.).
วารุณี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เทวีแห่งเหล้า; เหล้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วารุณี น. เทวีแห่งเหล้า; เหล้า. (ป., ส.).
วาล, วาล– วาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง วาล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง [วาน, วาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง หาง; ขนสัตว์, ขนหางสัตว์. (บางทีเขียน พาล). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาล, วาล– [วาน, วาละ–] น. หาง; ขนสัตว์, ขนหางสัตว์. (บางทีเขียน พาล). (ป., ส.).
วาลกัมพล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง[วาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าห่มทําด้วยขนสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาลกัมพล [วาละ–] น. ผ้าห่มทําด้วยขนสัตว์. (ป.).
วาลธิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[วาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง หาง, ขนหาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาลธิ [วาละ–] น. หาง, ขนหาง. (ป.).
วาลวีชนี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี[วาละวีชะนี] เป็นคำนาม หมายถึง พัดกับแส้ขนจามรีถือเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างหนึ่งในเบญจราชกกุธภัณฑ์, วาลวิชนี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาลวีชนี [วาละวีชะนี] น. พัดกับแส้ขนจามรีถือเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างหนึ่งในเบญจราชกกุธภัณฑ์, วาลวิชนี ก็ว่า. (ป., ส.).
วาล์ว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทําหน้าที่เป็นลิ้นปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สําหรับให้อากาศหรืออากาศผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สําหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, ลิ้น ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ valve เขียนว่า วี-เอ-แอล-วี-อี.วาล์ว น. อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทําหน้าที่เป็นลิ้นปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สําหรับให้อากาศหรืออากาศผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สําหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, ลิ้น ก็เรียก. (อ. valve).
วาลิกา, วาลุกา วาลิกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา วาลุกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กรวด, ทราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาลิกา, วาลุกา น. กรวด, ทราย. (ป., ส.).
วาว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใส, มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน, เช่น ในเวลากลางคืนตาแมวดูวาว, เป็นมัน เช่น ผ้าต่วนเป็นมันวาว พื้นเป็นมันวาว, วาบแวบ.วาว ว. สุกใส, มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน, เช่น ในเวลากลางคืนตาแมวดูวาว, เป็นมัน เช่น ผ้าต่วนเป็นมันวาว พื้นเป็นมันวาว, วาบแวบ.
วาววับ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีประกายแวววาว เช่น เสื้อปักดิ้นเดินทองวาววับ.วาววับ ว. มีประกายแวววาว เช่น เสื้อปักดิ้นเดินทองวาววับ.
วาววาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นแสงวูบวาบ เช่น แสงเพชรวาววาม.วาววาม ว. เป็นแสงวูบวาบ เช่น แสงเพชรวาววาม.
วาวแวว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน เช่น แหวนเพชรวงนี้มีน้ำวาวแวว, แวววาม หรือ แวววาว ก็ว่า.วาวแวว ว. มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน เช่น แหวนเพชรวงนี้มีน้ำวาวแวว, แวววาม หรือ แวววาว ก็ว่า.
วาวแสง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงวาว.วาวแสง ว. มีแสงวาว.
ว่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง มีไม้ไผ่เป็นต้นผูกเป็นโครงรูปต่าง ๆ แล้วปิดด้วยกระดาษหรือผ้าบาง ๆ มีสายเชือกหรือป่านผูกกับสายซุงสําหรับชักให้ลอยตามลมสูงขึ้นไปในอากาศ มีหลายชนิด เช่น ว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ว่าวงู.ว่าว ๑ น. เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง มีไม้ไผ่เป็นต้นผูกเป็นโครงรูปต่าง ๆ แล้วปิดด้วยกระดาษหรือผ้าบาง ๆ มีสายเชือกหรือป่านผูกกับสายซุงสําหรับชักให้ลอยตามลมสูงขึ้นไปในอากาศ มีหลายชนิด เช่น ว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ว่าวงู.
ว่าวขาดลอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง จากไปไม่กลับ, ว่าวขาดลมลอย ก็ว่า เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.ว่าวขาดลอย (วรรณ) ก. จากไปไม่กลับ, ว่าวขาดลมลอย ก็ว่า เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว. (ขุนช้างขุนแผน).
ว่าวติดลม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ว่าวที่ลอยกินลมอยู่ในอากาศ. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพลินจนลืมตัว.ว่าวติดลม น. ว่าวที่ลอยกินลมอยู่ในอากาศ. (สำ) ว. เพลินจนลืมตัว.
ว่าวเหลิง, ว่าวเหลิงลม ว่าวเหลิง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ว่าวเหลิงลม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า [–เหฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง ว่าวติดลมส่ายไปมาบังคับไม่อยู่. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพลินจนลืมตัว เช่น กลัวต้องลมแล้วจะหาวเหมือนว่าวเหลิง. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ว่าวเหลิง, ว่าวเหลิงลม [–เหฺลิง] น. ว่าวติดลมส่ายไปมาบังคับไม่อยู่. (สำ) ว. เพลินจนลืมตัว เช่น กลัวต้องลมแล้วจะหาวเหมือนว่าวเหลิง. (อภัย).
ว่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ในตอนต้นฤดูหนาวว่า ลมว่าว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภาซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.ว่าว ๒ น. เรียกลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ในตอนต้นฤดูหนาวว่า ลมว่าว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภาซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.
ว้าว่อน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกล่นอยู่ในอากาศ.ว้าว่อน ว. เกลื่อนกล่นอยู่ในอากาศ.
ว้าวุ่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สับสน เช่น จิตใจว้าวุ่น.ว้าวุ่น ก. สับสน เช่น จิตใจว้าวุ่น.
วาสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [วาสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การนุ่งห่ม, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสนะ ๑ [วาสะ–] น. การนุ่งห่ม, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.).
วาสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [วาสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การอบ, การทําให้หอม; เครื่องหอม, นํ้าหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสนะ ๒ [วาสะ–] น. การอบ, การทําให้หอม; เครื่องหอม, นํ้าหอม. (ป., ส.).
วาสนา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[วาดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง บุญบารมี, กุศลที่ทําให้ได้รับลาภยศ, เช่น เด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือ วาสนาบารมี เช่น เป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสนา [วาดสะหฺนา] น. บุญบารมี, กุศลที่ทําให้ได้รับลาภยศ, เช่น เด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือ วาสนาบารมี เช่น เป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก. (ป., ส.).
วาสพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พอ-พาน[วาสบ] เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วาสว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน.วาสพ [วาสบ] น. พระอินทร์. (ส., ป. วาสว).
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่, การพัก; ที่อยู่, บ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสะ ๑ น. การอยู่, การพัก; ที่อยู่, บ้าน. (ป., ส.).
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสะ ๒ น. ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.).
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การอบ; เครื่องหอม, นํ้าหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสะ ๓ น. การอบ; เครื่องหอม, นํ้าหอม. (ป., ส.).
วาสิน, วาสี วาสิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู วาสี ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่, ผู้ครอง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น คามวาสี = ผู้อยู่บ้าน อรัญวาสี = ผู้อยู่ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสิน, วาสี ๑ น. ผู้อยู่, ผู้ครอง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น คามวาสี = ผู้อยู่บ้าน อรัญวาสี = ผู้อยู่ป่า. (ป., ส.).
วาสี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มีด, พร้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาสี ๒ น. มีด, พร้า. (ป., ส.).
วาสุกรี, วาสุกี วาสุกรี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี วาสุกี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพญานาคร้ายตนหนึ่ง; พญานาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาสุกิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ.วาสุกรี, วาสุกี น. ชื่อพญานาคร้ายตนหนึ่ง; พญานาค. (ป., ส. วาสุกิ).
วาสุเทพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระนารายณ์ปางพระกฤษณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาสุเทพ น. ชื่อพระนารายณ์ปางพระกฤษณะ. (ส.).
วาหนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วาหะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พาหนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาหนะ [วาหะ–] น. พาหนะ. (ป., ส.).
วาหะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ดู พาห ๑, พ่าห์ พาห ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ พ่าห์ เขียนว่า พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด .วาหะ ๑ ดู พาห ๑, พ่าห์.
วาหะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาหะ ๒ น. ชื่อมาตราตวงอย่างหนึ่ง. (ป., ส.).
วาหินี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ทัพ, กองทัพ; หมวด; แม่นํ้า, คลอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .วาหินี น. ทัพ, กองทัพ; หมวด; แม่นํ้า, คลอง. (ส.).
วาฬ ๑, วาฬ– วาฬ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา วาฬ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา [วาน, วาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง พาฬ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วาฬ ๑, วาฬ– [วาน, วาละ–] น. พาฬ. (ป.; ส.วฺยาล).
วาฬมิค เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง พาฬมฤค, สัตว์ร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วาฬมิค น. พาฬมฤค, สัตว์ร้าย. (ป.).
วาฬ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา ความหมายที่ [วาน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odontoceti และ Mysticeti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ขนาดใหญ่มาก หัวมนใหญ่ หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ สามารถพ่นอากาศที่มีไอน้ำออกทางจมูกได้เวลาโผล่ขึ้นมาหายใจ เช่น วาฬสีน้ำเงิน (Balaenoptera musculus) ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยปรกติไม่พบในน่านน้ำไทย, วาฬแกลบครีบดำ (B. borealis) และ วาฬแกลบครีบขาวดำ (B. acutorostrata) ในวงศ์ Balaenopteridae, วาฬหัวทุย (Physeter catodon) ในวงศ์ Physeteridae, ปลาวาฬ ก็เรียก.วาฬ ๒ [วาน] น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odontoceti และ Mysticeti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ขนาดใหญ่มาก หัวมนใหญ่ หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ สามารถพ่นอากาศที่มีไอน้ำออกทางจมูกได้เวลาโผล่ขึ้นมาหายใจ เช่น วาฬสีน้ำเงิน (Balaenoptera musculus) ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยปรกติไม่พบในน่านน้ำไทย, วาฬแกลบครีบดำ (B. borealis) และ วาฬแกลบครีบขาวดำ (B. acutorostrata) ในวงศ์ Balaenopteridae, วาฬหัวทุย (Physeter catodon) ในวงศ์ Physeteridae, ปลาวาฬ ก็เรียก.
วิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิคํานําหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วิ คํานําหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. (ป., ส.).
วิกขัมภ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด[วิกขํา] เป็นคำนาม หมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วิกขัมภ์ [วิกขํา] น. เส้นผ่านศูนย์กลาง. (ป.).
วิกขัมภนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[วิกขําพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การปลดเปลื้อง, การเลิกถอน; การข่มไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .วิกขัมภนะ [วิกขําพะ–] น. การปลดเปลื้อง, การเลิกถอน; การข่มไว้. (ป.).
วิกเขป เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา[วิกเขบ, วิกเขปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การเคลื่อนหรือแกว่งไปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วิกฺเษป เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา.วิกเขป [วิกเขบ, วิกเขปะ] น. การเคลื่อนหรือแกว่งไปมา. (ป.; ส. วิกฺเษป).
วิกจะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ[–กะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง แย้ม, บาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วิกจะ [–กะ–] ก. แย้ม, บาน. (ป., ส.).
วิกรม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[วิกฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง เก่งกล้า, ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ, มีชัยชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี วิกฺกม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-มอ-ม้า.วิกรม [วิกฺรม] ก. เก่งกล้า, ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ, มีชัยชนะ. (ส. วิกฺรม; ป. วิกฺกม).
วิกรัย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[วิไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง การขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี วิกฺกย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก.วิกรัย [วิไกฺร] น. การขาย. (ส. วิกฺรย; ป. วิกฺกย).
วิกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[วิกฺราน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้าหาญ, มีชัยชนะ, ก้าวหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรานฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.วิกรานต์ [วิกฺราน] ว. กล้าหาญ, มีชัยชนะ, ก้าวหน้า. (ส. วิกฺรานฺต).
วิกฤต, วิกฤต–, วิกฤติ, วิกฤติ– วิกฤต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า วิกฤต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า วิกฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ วิกฤติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ [วิกฺริด, วิกฺริดตะ–,วิกฺริด, วิกฺริดติ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในขั้นล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การเมืองอยู่ในขั้นวิกฤติ, มักใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์ เป็น วิกฤติกาล หรือ วิกฤติการณ์, อยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ เช่น มุมวิกฤติ จุดวิกฤติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วิกต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า วิกติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ .วิกฤต, วิกฤต–, วิกฤติ, วิกฤติ– [วิกฺริด, วิกฺริดตะ–,วิกฺริด, วิกฺริดติ–] ว. อยู่ในขั้นล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การเมืองอยู่ในขั้นวิกฤติ, มักใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์ เป็น วิกฤติกาล หรือ วิกฤติการณ์, อยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ เช่น มุมวิกฤติ จุดวิกฤติ. (ส.; ป. วิกต, วิกติ).
วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์ วิกฤตการณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วิกฤติการณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เหตุการณ์อันวิกฤติ เช่น เกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง.วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์ น. เหตุการณ์อันวิกฤติ เช่น เกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง.
วิกฤตกาล, วิกฤติกาล วิกฤตกาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง วิกฤติกาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เวลาอันวิกฤติ เช่น ในวิกฤติกาลข้าวของมีราคาแพงและหาซื้อยาก.วิกฤตกาล, วิกฤติกาล น. เวลาอันวิกฤติ เช่น ในวิกฤติกาลข้าวของมีราคาแพงและหาซื้อยาก.
วิกล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง[วิกน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ปรกติ, แปลกไป, ไม่สมบูรณ์, อ่อนแอ, เช่น รูปร่างวิกล หน้าตาวิกล, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ วิการ เป็น วิกลวิการ เช่น รูปร่างวิกลวิการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วิกล [วิกน] ว. ไม่ปรกติ, แปลกไป, ไม่สมบูรณ์, อ่อนแอ, เช่น รูปร่างวิกล หน้าตาวิกล, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ วิการ เป็น วิกลวิการ เช่น รูปร่างวิกลวิการ. (ป., ส.).
วิกลจริต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[วิกนจะหฺริด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า.วิกลจริต [วิกนจะหฺริด] ว. มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า.
วิกสิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[วิกะสิด] เป็นคำกริยา หมายถึง บาน, แย้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .วิกสิต [วิกะสิด] ก. บาน, แย้ม. (ป., ส.).
วิกัต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วิกฤต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วิกต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า.วิกัต ว. วิกฤต. (ป. วิกต).
วิกัติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–กัด] เป็นคำนาม หมายถึง ชนิด, อย่าง; การประดิษฐ์ทํา, การจัดทําให้เป็นต่าง ๆ กัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วิกติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.วิกัติ [–กัด] น. ชนิด, อย่าง; การประดิษฐ์ทํา, การจัดทําให้เป็นต่าง ๆ กัน. (ป. วิกติ).