เรือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ยานพาหนะที่ใช้สัญจรไปมาในนํ้า มักทําด้วยวิธีขุดไม้ทั้งต้นหรือนํากระดาน สังกะสี เหล็ก เป็นต้น มาประกอบกันเข้า; ตัวหมากรุกที่เดินตาตรงได้ตลอด; เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง เอาไม้ไผ่มาเหลาแบน ๆ ดัดให้หัวงอน ใช้พุ่งแข่งกัน; ยศทหารเรือหรือทหารอากาศชั้นสัญญาบัตรขั้นต้น ตํ่ากว่าชั้นนาวาหรือนาวาอากาศ เช่น เรือตรี เรืออากาศเอก.เรือ น. ยานพาหนะที่ใช้สัญจรไปมาในนํ้า มักทําด้วยวิธีขุดไม้ทั้งต้นหรือนํากระดาน สังกะสี เหล็ก เป็นต้น มาประกอบกันเข้า; ตัวหมากรุกที่เดินตาตรงได้ตลอด; เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง เอาไม้ไผ่มาเหลาแบน ๆ ดัดให้หัวงอน ใช้พุ่งแข่งกัน; ยศทหารเรือหรือทหารอากาศชั้นสัญญาบัตรขั้นต้น ตํ่ากว่าชั้นนาวาหรือนาวาอากาศ เช่น เรือตรี เรืออากาศเอก.
เรือกระแชง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือบรรทุกชนิดหนึ่ง เล็กกว่าเรือเอี้ยมจุ๊น ท้องเรือกลมป้อม ใช้กระแชงทำเป็นประทุน.เรือกระแชง น. เรือบรรทุกชนิดหนึ่ง เล็กกว่าเรือเอี้ยมจุ๊น ท้องเรือกลมป้อม ใช้กระแชงทำเป็นประทุน.
เรือกราบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น รูปร่างเพรียว หัวท้ายเรียวแหลมและเชิดขึ้นเล็กน้อย เสริมกราบที่แคมยาวตลอด ๒ ข้างลำเรือ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๓๐ คน แล่นเร็วกว่าเรือแซ เป็นเรือที่ใช้ในราชการมาแต่โบราณ ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคใช้เป็นเรือกลอง เรือแซง หรือเรือกันได้.เรือกราบ น. เรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น รูปร่างเพรียว หัวท้ายเรียวแหลมและเชิดขึ้นเล็กน้อย เสริมกราบที่แคมยาวตลอด ๒ ข้างลำเรือ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๓๐ คน แล่นเร็วกว่าเรือแซ เป็นเรือที่ใช้ในราชการมาแต่โบราณ ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคใช้เป็นเรือกลอง เรือแซง หรือเรือกันได้.
เรือกลไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง เรือโดยสารหรือบรรทุกสินค้าที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิง มีขนาดใหญ่กว่าเรือไฟ นิยมใช้แล่นในทะเลหรือมหาสมุทร.เรือกลไฟ น. เรือโดยสารหรือบรรทุกสินค้าที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิง มีขนาดใหญ่กว่าเรือไฟ นิยมใช้แล่นในทะเลหรือมหาสมุทร.
เรือกลอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ใช้ในราชการแต่โบราณบรรทุกนักดนตรีและเครื่องประโคมตีและเป่านำกระบวนเรือพระที่นั่ง วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๒๐ คน.เรือกลอง น. เรือที่ใช้ในราชการแต่โบราณบรรทุกนักดนตรีและเครื่องประโคมตีและเป่านำกระบวนเรือพระที่นั่ง วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๒๐ คน.
เรือกวาดทุ่นระเบิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่มีอุปกรณ์สำหรับทำลายล้างทุ่นระเบิด.เรือกวาดทุ่นระเบิด น. เรือรบที่มีอุปกรณ์สำหรับทำลายล้างทุ่นระเบิด.
เรือกอและ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เรือประมงตามชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ รูปร่างยาวเพรียว หัวและท้ายเรือแหลมสูง เขียนลวดลายสีสันต่าง ๆ ไว้อย่างสวยงาม.เรือกอและ น. เรือประมงตามชายฝั่งทะเลทางภาคใต้ รูปร่างยาวเพรียว หัวและท้ายเรือแหลมสูง เขียนลวดลายสีสันต่าง ๆ ไว้อย่างสวยงาม.
เรือกัญญา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดตั้งเก๋งประกอบหลังคาทรงกัญญา ใช้เป็นเรือประทับแรม หรือเรือพระประเทียบ.เรือกัญญา น. เรือหลวงที่จัดตั้งเก๋งประกอบหลังคาทรงกัญญา ใช้เป็นเรือประทับแรม หรือเรือพระประเทียบ.
เรือกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง และกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ.เรือกัน น. เรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง และกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ.
เรือกำปั่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือเดินทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง หัวเรือเรียวแหลม ท้ายเรือมนและราบในระดับเดียวกับหัวเรือ, ถ้ามีเสายาวยื่นออกไปสำหรับผูกสายใบ มีเสากระโดง ๓ เสา มีใบ เรียกว่า เรือกำปั่นใบ, ถ้าเสากระโดงตรงกลางไม่มีปล่องไฟโดยใช้เดินด้วยกำลังเครื่องจักรไอน้ำ เรียกว่า เรือกำปั่นไฟ.เรือกำปั่น น. เรือเดินทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง หัวเรือเรียวแหลม ท้ายเรือมนและราบในระดับเดียวกับหัวเรือ, ถ้ามีเสายาวยื่นออกไปสำหรับผูกสายใบ มีเสากระโดง ๓ เสา มีใบ เรียกว่า เรือกำปั่นใบ, ถ้าเสากระโดงตรงกลางไม่มีปล่องไฟโดยใช้เดินด้วยกำลังเครื่องจักรไอน้ำ เรียกว่า เรือกำปั่นไฟ.
เรือกุแหละ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง เสริมข้างกระดาน รูปร่างเพรียว หัวและท้ายเรือแหลมสูง มี ๒ แจว ใช้ตามชายฝั่งทะเลหรือแถบปากน้ำ สำหรับบรรทุกหอย ปู ปลา เป็นต้น.เรือกุแหละ น. เรือขุดชนิดหนึ่ง เสริมข้างกระดาน รูปร่างเพรียว หัวและท้ายเรือแหลมสูง มี ๒ แจว ใช้ตามชายฝั่งทะเลหรือแถบปากน้ำ สำหรับบรรทุกหอย ปู ปลา เป็นต้น.
เรือโกลน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นอ-หนู[–โกฺลน] เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ทำจากซุง เพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด.เรือโกลน [–โกฺลน] น. เรือที่ทำจากซุง เพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด.
เรือขนาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ผูกหรือตรึงติดเรียงคู่กันสําหรับข้ามฟาก; เรือที่จอดเทียบท่าสำหรับรับเสด็จขึ้นจากเรือพระที่นั่ง; เรือที่ใช้ในการทำสังฆกรรมในน่านน้ำซึ่งจอดขนานไปกับลำน้ำให้ห่างจากฝั่งกว่าชั่ววักน้ำสาด.เรือขนาน น. เรือที่ผูกหรือตรึงติดเรียงคู่กันสําหรับข้ามฟาก; เรือที่จอดเทียบท่าสำหรับรับเสด็จขึ้นจากเรือพระที่นั่ง; เรือที่ใช้ในการทำสังฆกรรมในน่านน้ำซึ่งจอดขนานไปกับลำน้ำให้ห่างจากฝั่งกว่าชั่ววักน้ำสาด.
เรือขาดหางเสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ขาดสติสัมปชัญญะ, ครอบครัวที่ขาดผู้ดูแลรับผิดชอบ, การงานที่ขาดหัวหน้า.เรือขาดหางเสือ (สำ) น. คนที่ขาดสติสัมปชัญญะ, ครอบครัวที่ขาดผู้ดูแลรับผิดชอบ, การงานที่ขาดหัวหน้า.
เรือขุด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือชนิดที่ทำด้วยไม้ซุงทั้งต้นหรือทั้งท่อน ขุดด้านบนให้เป็นรางแล้วเบิกปากออกให้กว้าง ถากหัวและท้ายเรือให้เรียวเชิดขึ้นตามส่วน เช่น เรือมาด เรือชะล่า เรือพายม้า.เรือขุด น. เรือชนิดที่ทำด้วยไม้ซุงทั้งต้นหรือทั้งท่อน ขุดด้านบนให้เป็นรางแล้วเบิกปากออกให้กว้าง ถากหัวและท้ายเรือให้เรียวเชิดขึ้นตามส่วน เช่น เรือมาด เรือชะล่า เรือพายม้า.
เรือเข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อขนาดเล็ก รูปร่างยาวเพรียว หัวท้ายแหลม แล่นเร็ว กินน้ำตื้น พายมีลักษณะพิเศษที่มีใบพาย ๒ ข้าง มีด้ามอยู่ตรงกลาง ใช้พายระยะใกล้ ๆ.เรือเข็ม น. เรือต่อขนาดเล็ก รูปร่างยาวเพรียว หัวท้ายแหลม แล่นเร็ว กินน้ำตื้น พายมีลักษณะพิเศษที่มีใบพาย ๒ ข้าง มีด้ามอยู่ตรงกลาง ใช้พายระยะใกล้ ๆ.
เรือโขมดยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรียว บนหัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยน้ำยาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินพยุหยาตราทางชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้.เรือโขมดยา น. เรือขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น ใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรียว บนหัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยน้ำยาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลำสำหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดำเนินพยุหยาตราทางชลมารคหรือเสด็จพระราชดำเนินลำลองในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้.
เรือคอร์เวต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่มีระวางขับน้ำประมาณ ๖๕๐–๑,๕๐๐ ตัน มีหน้าที่หลักเป็นเรือเร็วคุ้มกันและปราบเรือดำน้ำ.เรือคอร์เวต น. เรือรบที่มีระวางขับน้ำประมาณ ๖๕๐–๑,๕๐๐ ตัน มีหน้าที่หลักเป็นเรือเร็วคุ้มกันและปราบเรือดำน้ำ.
เรือคู่ชัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือรูปสัตว์คู่หนึ่งซึ่งทำหน้าที่ชักลากเรือพระที่นั่งเมื่อแล่นทวนน้ำ หรือเมื่อไม่ประสงค์ให้เรือพระที่นั่งไหวขณะที่ทรงบรรทม.เรือคู่ชัก น. เรือรูปสัตว์คู่หนึ่งซึ่งทำหน้าที่ชักลากเรือพระที่นั่งเมื่อแล่นทวนน้ำ หรือเมื่อไม่ประสงค์ให้เรือพระที่นั่งไหวขณะที่ทรงบรรทม.
เรือจ้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่แจวหรือพายรับจ้างข้ามฟาก ปรกติใช้เรือสำปั้น.เรือจ้าง น. เรือที่แจวหรือพายรับจ้างข้ามฟาก ปรกติใช้เรือสำปั้น.
เรือฉลอม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือกระแชง หัวท้ายงอนเรียว กลางป่อง ตัวเรือเป็นเหลี่ยม กระดานข้างเรือเป็นทับเกล็ด นิยมใช้ตามหัวเมืองชายทะเลแถบปากอ่าว สำหรับบรรทุกสินค้าหรือหาปลา สมัยโบราณเวลาเกิดศึกสงครามก็จะถูกเกณฑ์ไปใช้ในราชการทัพด้วย อาจติดใบหรือไม่ก็ได้.เรือฉลอม น. เรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือกระแชง หัวท้ายงอนเรียว กลางป่อง ตัวเรือเป็นเหลี่ยม กระดานข้างเรือเป็นทับเกล็ด นิยมใช้ตามหัวเมืองชายทะเลแถบปากอ่าว สำหรับบรรทุกสินค้าหรือหาปลา สมัยโบราณเวลาเกิดศึกสงครามก็จะถูกเกณฑ์ไปใช้ในราชการทัพด้วย อาจติดใบหรือไม่ก็ได้.
เรือชะล่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง ท้องแบน หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย หัวตัดท้ายตัด มีขนาดยาวมาก.เรือชะล่า น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ท้องแบน หัวเชิดขึ้นเล็กน้อย หัวตัดท้ายตัด มีขนาดยาวมาก.
เรือชา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและน้ำหอมเป็นต้น.เรือชา น. เรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและน้ำหอมเป็นต้น.
เรือแซ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น รูปร่างเช่นเดียวกับเรือกราบแต่เพรียวน้อยกว่า ใช้ในการลำเลียงพล ศัสตราวุธ ยุทโธปกรณ์ และเสบียงกรัง อาจใช้เป็นเรือทุ่นหรือทำหน้าที่อื่นได้.เรือแซ น. เรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้น รูปร่างเช่นเดียวกับเรือกราบแต่เพรียวน้อยกว่า ใช้ในการลำเลียงพล ศัสตราวุธ ยุทโธปกรณ์ และเสบียงกรัง อาจใช้เป็นเรือทุ่นหรือทำหน้าที่อื่นได้.
เรือแซง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างและปิดท้ายกระบวน.เรือแซง น. เรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างและปิดท้ายกระบวน.
เรือดั้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารคจัดเป็น ๒ สาย ขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือพระที่นั่งชัยและเรือพระที่นั่งทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้.เรือดั้ง น. เรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารคจัดเป็น ๒ สาย ขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือพระที่นั่งชัยและเรือพระที่นั่งทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้.
เรือดับเพลิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง.เรือดับเพลิง น. เรือที่ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง.
เรือดำน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้.เรือดำน้ำ น. เรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้.
เรือโดยสาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่บรรทุกคนโดยสารเกิน ๑๒ คน.เรือโดยสาร (กฎ) น. เรือที่บรรทุกคนโดยสารเกิน ๑๒ คน.
เรือตรวจการณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบขนาดเล็ก มีความเร็วปานกลาง มีหน้าที่ตรวจดูเหตุการณ์เพื่อรักษาฝั่ง มีอาวุธต่าง ๆ ตามภารกิจของเรือแต่ละลำ เช่น เรือตรวจการณ์ (ปืน) เรือตรวจการณ์ (ปราบเรือดำน้ำ) เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง เรือตรวจการณ์ลำน้ำ.เรือตรวจการณ์ น. เรือรบขนาดเล็ก มีความเร็วปานกลาง มีหน้าที่ตรวจดูเหตุการณ์เพื่อรักษาฝั่ง มีอาวุธต่าง ๆ ตามภารกิจของเรือแต่ละลำ เช่น เรือตรวจการณ์ (ปืน) เรือตรวจการณ์ (ปราบเรือดำน้ำ) เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง เรือตรวจการณ์ชายฝั่ง เรือตรวจการณ์ลำน้ำ.
เรือตอร์ปิโด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบขนาดเล็ก ความเร็วสูง มีอาวุธหลักคือ ตอร์ปิโด.เรือตอร์ปิโด น. เรือรบขนาดเล็ก ความเร็วสูง มีอาวุธหลักคือ ตอร์ปิโด.
เรือต่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรือชนิดที่ทำด้วยไม้กระดานโดยนำมาต่อขึ้นเป็นรูปเรืออาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึด ตัวเรือป่อง หัวและท้ายเรือเรียวเชิดขึ้นตามส่วน เช่น เรือสำปั้น เรือบด เรืออีแปะ.เรือต่อ น. เรือชนิดที่ทำด้วยไม้กระดานโดยนำมาต่อขึ้นเป็นรูปเรืออาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึด ตัวเรือป่อง หัวและท้ายเรือเรียวเชิดขึ้นตามส่วน เช่น เรือสำปั้น เรือบด เรืออีแปะ.
เรือต่อต้านทุ่นระเบิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่มีหน้าที่หลักในการกวาดและทำลายทุ่นระเบิด มีหลายขนาดตามภารกิจที่ต่างกัน เช่น เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำลึก เรือกวาดทุ่นระเบิดชายฝั่ง เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น และเรือล่าทำลายทุ่นระเบิด.เรือต่อต้านทุ่นระเบิด น. เรือรบที่มีหน้าที่หลักในการกวาดและทำลายทุ่นระเบิด มีหลายขนาดตามภารกิจที่ต่างกัน เช่น เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำลึก เรือกวาดทุ่นระเบิดชายฝั่ง เรือกวาดทุ่นระเบิดน้ำตื้น และเรือล่าทำลายทุ่นระเบิด.
เรือตังเก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สำหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสำหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สำหรับโรยอวนและด้านหัวเรือมีที่สำหรับกว้านอวน.เรือตังเก น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สำหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสำหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สำหรับโรยอวนและด้านหัวเรือมีที่สำหรับกว้านอวน.
เรือติดท้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง หัวแหลมท้ายตัด ติดตั้งเครื่องยนต์ที่ท้ายเรือ แล่นเร็วมาก, เรือบื๋อ ก็เรียก.เรือติดท้าย น. เรือต่อชนิดหนึ่ง หัวแหลมท้ายตัด ติดตั้งเครื่องยนต์ที่ท้ายเรือ แล่นเร็วมาก, เรือบื๋อ ก็เรียก.
เรือโถง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ปรกติมีประทุน แต่เปิดประทุนออก.เรือโถง น. เรือที่ปรกติมีประทุน แต่เปิดประทุนออก.
เรือเท้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือชนิดหนึ่งรูปร่างคล้ายเรือกำปั่น ตอนหัวหนาและงุ้มเป็นปากนก ท้ายเรือปาดลงเป็นรูปแตงโม มีเสาหัวและเสากลางสำหรับชักใบ กลางลำมีเก๋ง ท้ายเรือมีบาหลีรูปกลมและมีแคร่รอบบาหลีท้าย หัวเรือไม่เจาะรูสมอ; เรือต่อชนิดหนึ่งหัวท้ายทู่อย่างเรือที่ใช้หนุนเรือนแพ.เรือเท้ง น. เรือชนิดหนึ่งรูปร่างคล้ายเรือกำปั่น ตอนหัวหนาและงุ้มเป็นปากนก ท้ายเรือปาดลงเป็นรูปแตงโม มีเสาหัวและเสากลางสำหรับชักใบ กลางลำมีเก๋ง ท้ายเรือมีบาหลีรูปกลมและมีแคร่รอบบาหลีท้าย หัวเรือไม่เจาะรูสมอ; เรือต่อชนิดหนึ่งหัวท้ายทู่อย่างเรือที่ใช้หนุนเรือนแพ.
เรือธง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ผู้บัญชาการกองเรือ ซึ่งมียศตั้งแต่พลเรือตรีขึ้นไปใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน.เรือธง น. เรือที่ผู้บัญชาการกองเรือ ซึ่งมียศตั้งแต่พลเรือตรีขึ้นไปใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน.
เรือนำร่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือเล็กที่ใช้นำเรือกำปั่นหรือเรือใหญ่และกินน้ำลึก เช่นเรือสินค้าเข้าหรือออกจากท่าเรือในระยะซึ่งอาจมีอันตรายแก่การเดินเรือ.เรือนำร่อง น. เรือเล็กที่ใช้นำเรือกำปั่นหรือเรือใหญ่และกินน้ำลึก เช่นเรือสินค้าเข้าหรือออกจากท่าเรือในระยะซึ่งอาจมีอันตรายแก่การเดินเรือ.
เรือบด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่งรูปร่างเพรียว หัวท้ายเรียว มี ๓ ขนาด คือ เล็ก กลาง ใหญ่ ใช้ได้ทั้งพายและกรรเชียง.เรือบด น. เรือต่อชนิดหนึ่งรูปร่างเพรียว หัวท้ายเรียว มี ๓ ขนาด คือ เล็ก กลาง ใหญ่ ใช้ได้ทั้งพายและกรรเชียง.
เรือบรรทุกเครื่องบิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือสำหรับบรรทุกเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ในการโจมตีหรือปราบเรือดำน้ำเป็นต้น มีลานบินและทางสำหรับเครื่องบินขึ้นลงได้ด้วย.เรือบรรทุกเครื่องบิน น. เรือสำหรับบรรทุกเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ในการโจมตีหรือปราบเรือดำน้ำเป็นต้น มีลานบินและทางสำหรับเครื่องบินขึ้นลงได้ด้วย.
เรือบิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบิน.เรือบิน (ปาก) น. เครื่องบิน.
เรือบื๋อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรือติดท้าย.เรือบื๋อ (ปาก) น. เรือติดท้าย.
เรือโบต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เรือเล็กเป็นส่วนอุปกรณ์ของเรือเดินทะเลขนาดใหญ่.เรือโบต น. เรือเล็กเป็นส่วนอุปกรณ์ของเรือเดินทะเลขนาดใหญ่.
เรือใบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่งที่แล่นด้วยกำลังลมโดยมีเสากระโดงสำหรับขึงผ้าใบเพื่อรับลม ถ้าใช้เดินทะเลเพื่อรับส่งผู้โดยสารหรือบรรทุกสินค้าจะเป็นเรือขนาดใหญ่ ถ้าใช้เพื่อการกีฬาจะเป็นเรือขนาดเล็กซึ่งมีอยู่หลายประเภท เช่น ประเภทโอเค ประเภทซูเปอร์มด ประเภทเอนเตอร์ไพรซ์.เรือใบ น. เรือต่อชนิดหนึ่งที่แล่นด้วยกำลังลมโดยมีเสากระโดงสำหรับขึงผ้าใบเพื่อรับลม ถ้าใช้เดินทะเลเพื่อรับส่งผู้โดยสารหรือบรรทุกสินค้าจะเป็นเรือขนาดใหญ่ ถ้าใช้เพื่อการกีฬาจะเป็นเรือขนาดเล็กซึ่งมีอยู่หลายประเภท เช่น ประเภทโอเค ประเภทซูเปอร์มด ประเภทเอนเตอร์ไพรซ์.
เรือประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือชนิดที่ท้องเรือทำด้วยปีกไม้ซุง ขุดเป็นรางแล้วต่อข้างขึ้นเป็นตัวเรือโดยอาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึดแล้วเสริมกราบ ได้แก่ เรือยาว เรือเพรียว เรือแซ.เรือประกอบ น. เรือชนิดที่ท้องเรือทำด้วยปีกไม้ซุง ขุดเป็นรางแล้วต่อข้างขึ้นเป็นตัวเรือโดยอาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึดแล้วเสริมกราบ ได้แก่ เรือยาว เรือเพรียว เรือแซ.
เรือประจัญบาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบขนาดใหญ่ระวางขับน้ำประมาณ ๒๐,๐๐๐ ตันขึ้นไป มีเกราะป้องกันตนเอง มีอาวุธสมัยใหม่หลายประเภท รวมทั้งอาวุธนำวิถีพื้นสู่พื้น และพื้นสู่อากาศ มีหน้าที่หลักในการต่อตีเรือข้าศึก และระดมยิงฝั่งเพื่อสนับสนุนการรบสะเทินน้ำสะเทินบก.เรือประจัญบาน น. เรือรบขนาดใหญ่ระวางขับน้ำประมาณ ๒๐,๐๐๐ ตันขึ้นไป มีเกราะป้องกันตนเอง มีอาวุธสมัยใหม่หลายประเภท รวมทั้งอาวุธนำวิถีพื้นสู่พื้น และพื้นสู่อากาศ มีหน้าที่หลักในการต่อตีเรือข้าศึก และระดมยิงฝั่งเพื่อสนับสนุนการรบสะเทินน้ำสะเทินบก.
เรือประตู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดเข้าร่วมในกระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขาและป้องกันอันตรายกระบวนเรือพระที่นั่ง จัดอยู่ตามตำแหน่งเป็นชั้น ๆ ข้างหน้ากระบวนมีเรือประตูนอกหรือเรือประตูชั้นนอกอยู่ข้างหน้าเรือคู่ชักหมู่หนึ่ง กับอยู่ต่อเรือคู่ชักเข้ามาก่อนถึงเรือดั้งอีกแถวหนึ่งเรียกว่า เรือประตูใน และยังมีอยู่ทางตอนท้ายกระบวนอีก ๒ หมู่ หมู่ต้นอยู่ต่อท้ายเรือกันเรียกว่า เรือประตูใน กับหมู่ปลายอยู่ต่อท้ายหมู่เรือพระที่นั่งกรมพระราชวังบวรฯ และเรือที่นั่งเจ้านายเรียกว่า เรือประตูนอก.เรือประตู น. เรือหลวงที่จัดเข้าร่วมในกระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขาและป้องกันอันตรายกระบวนเรือพระที่นั่ง จัดอยู่ตามตำแหน่งเป็นชั้น ๆ ข้างหน้ากระบวนมีเรือประตูนอกหรือเรือประตูชั้นนอกอยู่ข้างหน้าเรือคู่ชักหมู่หนึ่ง กับอยู่ต่อเรือคู่ชักเข้ามาก่อนถึงเรือดั้งอีกแถวหนึ่งเรียกว่า เรือประตูใน และยังมีอยู่ทางตอนท้ายกระบวนอีก ๒ หมู่ หมู่ต้นอยู่ต่อท้ายเรือกันเรียกว่า เรือประตูใน กับหมู่ปลายอยู่ต่อท้ายหมู่เรือพระที่นั่งกรมพระราชวังบวรฯ และเรือที่นั่งเจ้านายเรียกว่า เรือประตูนอก.
เรือประมง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือกลไฟขนาดใหญ่ที่ใช้จับปลาในทะเลลึก มักมีเครื่องอุปกรณ์ที่ทันสมัยใช้จับปลา แช่ปลา และทำปลาด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อยู่ในทะเลได้หลาย ๆ สัปดาห์.เรือประมง น. เรือกลไฟขนาดใหญ่ที่ใช้จับปลาในทะเลลึก มักมีเครื่องอุปกรณ์ที่ทันสมัยใช้จับปลา แช่ปลา และทำปลาด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ อยู่ในทะเลได้หลาย ๆ สัปดาห์.
เรือป๊าบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบน ไม่เสริมกราบ หัวและท้ายเรือป้าน ลักษณะคล้ายเรืออีแปะสำหรับใช้สอยทั่วไปตามริมหนอง คลอง บึง.เรือป๊าบ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบน ไม่เสริมกราบ หัวและท้ายเรือป้าน ลักษณะคล้ายเรืออีแปะสำหรับใช้สอยทั่วไปตามริมหนอง คลอง บึง.
เรือเป็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อหรือเรือขุดต่อกระดานเสริมกราบชนิดหนึ่ง หัวท้ายแบน ๆ ก็มี หัวท้ายแหลมก็มี กลางป่อง ดูรูปร่างคล้ายเป็ด, เรืออีเป็ด ก็เรียก.เรือเป็ด น. เรือต่อหรือเรือขุดต่อกระดานเสริมกราบชนิดหนึ่ง หัวท้ายแบน ๆ ก็มี หัวท้ายแหลมก็มี กลางป่อง ดูรูปร่างคล้ายเป็ด, เรืออีเป็ด ก็เรียก.
เรือโป๊ะจ้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรือลำเลียงหรือบรรทุกของชนิดหนึ่ง เป็นเรือขนาดใหญ่ต่ออย่างแบบตะวันตก แต่มีเสาเพลาใบเป็นอย่างสำเภา, เรือโป๊ะ ก็เรียก.เรือโป๊ะจ้าย น. เรือลำเลียงหรือบรรทุกของชนิดหนึ่ง เป็นเรือขนาดใหญ่ต่ออย่างแบบตะวันตก แต่มีเสาเพลาใบเป็นอย่างสำเภา, เรือโป๊ะ ก็เรียก.
เรือผีหลอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือแจวชนิดหนึ่ง สำหรับจับสัตว์น้ำในลำคลองและลำน้ำในเวลากลางคืน กราบเรือทางขวาติดแผ่นกระดานทาสีขาวปล่อยริมข้างหนึ่งให้ลงน้ำ กราบซ้ายมีตาข่ายกันมิให้ปลาและกุ้งกระโดดข้าม ปลาตกใจจะกระโดดเข้ามาหาเรือเอง.เรือผีหลอก น. เรือแจวชนิดหนึ่ง สำหรับจับสัตว์น้ำในลำคลองและลำน้ำในเวลากลางคืน กราบเรือทางขวาติดแผ่นกระดานทาสีขาวปล่อยริมข้างหนึ่งให้ลงน้ำ กราบซ้ายมีตาข่ายกันมิให้ปลาและกุ้งกระโดดข้าม ปลาตกใจจะกระโดดเข้ามาหาเรือเอง.
เรือแฝด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือชะล่า ๒ ลำที่นำมาผูกติดกันแล้วใช้ไม้กระดานปูเพื่อบรรทุกรถยนต์ข้ามแม่น้ำ นิยมใช้ทางภาคอีสาน.เรือแฝด น. เรือชะล่า ๒ ลำที่นำมาผูกติดกันแล้วใช้ไม้กระดานปูเพื่อบรรทุกรถยนต์ข้ามแม่น้ำ นิยมใช้ทางภาคอีสาน.
เรือพระที่นั่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำหรับพระมหากษัตริย์เสด็จทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งจักรี เรือพระที่นั่งจันทร หรือเสด็จในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช.เรือพระที่นั่ง น. เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำหรับพระมหากษัตริย์เสด็จทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งจักรี เรือพระที่นั่งจันทร หรือเสด็จในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช.
เรือพระที่นั่งกราบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะเสด็จไปอย่างลำลอง เป็นเรือขุดเสริมกราบขนาดใหญ่ สะดวกแก่การประทับทรงสำราญพระอิริยาบถไปทางไกล ๆ เช่น เรือศรีเมือง เรือเฟื่องฟ้า เรือทิพากร.เรือพระที่นั่งกราบ น. เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะเสด็จไปอย่างลำลอง เป็นเรือขุดเสริมกราบขนาดใหญ่ สะดวกแก่การประทับทรงสำราญพระอิริยาบถไปทางไกล ๆ เช่น เรือศรีเมือง เรือเฟื่องฟ้า เรือทิพากร.
เรือพระที่นั่งกิ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงแบบโบราณสำหรับเป็นลำทรงของพระมหากษัตริย์ เสด็จในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งกิ่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งกิ่งศรีสมรรถไชย เรือพระที่นั่งกิ่งไกรสรมุข.เรือพระที่นั่งกิ่ง น. เรือหลวงแบบโบราณสำหรับเป็นลำทรงของพระมหากษัตริย์ เสด็จในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่น เรือพระที่นั่งกิ่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งกิ่งศรีสมรรถไชย เรือพระที่นั่งกิ่งไกรสรมุข.
เรือพระที่นั่งชัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรือพระที่นั่ง เช่น เรือสุพรรณหงส์ เรืออนันตนาคราช เรือเอนกชาติภุชงค์ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระชัยวัฒน์ประดิษฐานขึ้นเป็นประธานบนบุษบกกลางลำ เป็นเรือนำกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเสด็จไปในการพระราชสงคราม หรือการพระราชพิธีสำคัญ, เรียกย่อว่า เรือชัย.เรือพระที่นั่งชัย น. เรือพระที่นั่ง เช่น เรือสุพรรณหงส์ เรืออนันตนาคราช เรือเอนกชาติภุชงค์ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระชัยวัฒน์ประดิษฐานขึ้นเป็นประธานบนบุษบกกลางลำ เป็นเรือนำกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเสด็จไปในการพระราชสงคราม หรือการพระราชพิธีสำคัญ, เรียกย่อว่า เรือชัย.
เรือพระที่นั่งรอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำรองไปในกระบวนเสด็จทางชลมารค เช่น เรืออนงคนิกร เรืออัปสรสุรางค์.เรือพระที่นั่งรอง น. เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำรองไปในกระบวนเสด็จทางชลมารค เช่น เรืออนงคนิกร เรืออัปสรสุรางค์.
เรือพระที่นั่งศรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำรองไปในกระบวนเสด็จทางชลมารค ทอดบัลลังก์กัญญา ดาดหลังคาด้วยผ้าสักหลาดสอดสีอย่างพนักอินทรธนู ถ้าเป็นเรือพระที่นั่งเพิ่มผ้าเยียรบับลายทองกลางกรอบพนักอินทรธนู.เรือพระที่นั่งศรี น. เรือหลวงที่จัดเป็นพระราชพาหนะสำรองไปในกระบวนเสด็จทางชลมารค ทอดบัลลังก์กัญญา ดาดหลังคาด้วยผ้าสักหลาดสอดสีอย่างพนักอินทรธนู ถ้าเป็นเรือพระที่นั่งเพิ่มผ้าเยียรบับลายทองกลางกรอบพนักอินทรธนู.
เรือพระประทีป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ใช้ลอยในงานพระราชพิธีลอยพระประทีป ทำด้วยไม้ขุดจำลองจากเรือหลวงที่ใช้ในพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ปักเทียนรายตามหลังกระทงเรือ ถวายให้ทรงจุดและปล่อยลอยไปตามน้ำแทนกระทงหลวงซึ่งมีมาแต่เดิม.เรือพระประทีป น. เรือที่ใช้ลอยในงานพระราชพิธีลอยพระประทีป ทำด้วยไม้ขุดจำลองจากเรือหลวงที่ใช้ในพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ปักเทียนรายตามหลังกระทงเรือ ถวายให้ทรงจุดและปล่อยลอยไปตามน้ำแทนกระทงหลวงซึ่งมีมาแต่เดิม.
เรือพระประเทียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงจัดเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายในหรือพระราชทานเป็นยานพาหนะของสมเด็จพระสังฆราช.เรือพระประเทียบ น. เรือหลวงจัดเป็นที่ประทับของเจ้านายฝ่ายในหรือพระราชทานเป็นยานพาหนะของสมเด็จพระสังฆราช.
เรือพ่วง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่พ่วงไปกับเรือโยง, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกแม่ม่ายหรือพ่อม่ายที่มีลูกติดว่า แม่ม่ายเรือพ่วง พ่อม่ายเรือพ่วง.เรือพ่วง น. เรือที่พ่วงไปกับเรือโยง, (ปาก) เรียกแม่ม่ายหรือพ่อม่ายที่มีลูกติดว่า แม่ม่ายเรือพ่วง พ่อม่ายเรือพ่วง.
เรือพายม้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง หัวเรือและท้ายเรือเรียวงอนขึ้นพองาม มีไม้หูกระต่ายติดขวางอยู่ทั้งหัวและท้ายเรือ ตรงกลางลำป่องออก ใช้งานในแถบภาคกลาง.เรือพายม้า น. เรือขุดชนิดหนึ่ง หัวเรือและท้ายเรือเรียวงอนขึ้นพองาม มีไม้หูกระต่ายติดขวางอยู่ทั้งหัวและท้ายเรือ ตรงกลางลำป่องออก ใช้งานในแถบภาคกลาง.
เรือพิฆาต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวงสมัยโบราณ ทำหน้าที่ลาดตระเวนนำไปข้างหน้ากระบวนเรือเสด็จทางชลมารค และอยู่ท้ายกระบวนคอยถวายอารักขา กระบวนหนึ่งมีหลายลำ เช่น เรือมังกรจำแลง เรือมังกรแผลงฤทธิ์ เรือเหราล่องลอยสินธุ์.เรือพิฆาต ๑ น. เรือหลวงสมัยโบราณ ทำหน้าที่ลาดตระเวนนำไปข้างหน้ากระบวนเรือเสด็จทางชลมารค และอยู่ท้ายกระบวนคอยถวายอารักขา กระบวนหนึ่งมีหลายลำ เช่น เรือมังกรจำแลง เรือมังกรแผลงฤทธิ์ เรือเหราล่องลอยสินธุ์.
เรือพิฆาต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่มีความเร็วสูง ระวางขับน้ำประมาณ ๓,๘๐๐–๕,๕๐๐ ตัน มีหน้าที่หลักในการป้องกันภัยจากเรือดำน้ำและอากาศยาน และอาจทำหน้าที่อื่น ๆ เช่น เฝ้าตรวจการรุกล้ำทางผิวน้ำและอากาศ ตรวจการรุกล้ำของเรือดำน้ำ มีอาวุธสมัยใหม่ทั้งปืนใหญ่ อาวุธนำวิถี และอาวุธปราบเรือดำน้ำ.เรือพิฆาต ๒ น. เรือรบที่มีความเร็วสูง ระวางขับน้ำประมาณ ๓,๘๐๐–๕,๕๐๐ ตัน มีหน้าที่หลักในการป้องกันภัยจากเรือดำน้ำและอากาศยาน และอาจทำหน้าที่อื่น ๆ เช่น เฝ้าตรวจการรุกล้ำทางผิวน้ำและอากาศ ตรวจการรุกล้ำของเรือดำน้ำ มีอาวุธสมัยใหม่ทั้งปืนใหญ่ อาวุธนำวิถี และอาวุธปราบเรือดำน้ำ.
เรือเพรียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดรูปคล้ายเรือแข่ง แต่ขนาดเล็กกว่า หัวยาวพองาม ท้ายสั้น เป็นเรือที่ขุนนางหรือผู้มีฐานะการเงินดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน.เรือเพรียว น. เรือขุดรูปคล้ายเรือแข่ง แต่ขนาดเล็กกว่า หัวยาวพองาม ท้ายสั้น เป็นเรือที่ขุนนางหรือผู้มีฐานะการเงินดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน.
เรือฟริเกต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบที่มีความเร็วสูง มีระวางขับน้ำประมาณ ๑,๕๐๐–๓,๕๐๐ ตัน แบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามระบบอาวุธประจำเรือ อาทิ เรือฟริเกตต่อสู้อากาศยาน เรือฟริเกตควบคุมอากาศยาน เรือฟริเกตปราบเรือดำน้ำ และเรือฟริเกตอเนกประสงค์.เรือฟริเกต น. เรือรบที่มีความเร็วสูง มีระวางขับน้ำประมาณ ๑,๕๐๐–๓,๕๐๐ ตัน แบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามระบบอาวุธประจำเรือ อาทิ เรือฟริเกตต่อสู้อากาศยาน เรือฟริเกตควบคุมอากาศยาน เรือฟริเกตปราบเรือดำน้ำ และเรือฟริเกตอเนกประสงค์.
เรือไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรือโดยสารที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิง มีขนาดเล็กกว่าเรือกลไฟ นิยมใช้แล่นในแม่น้ำลำคลอง.เรือไฟ (โบ) น. เรือโดยสารที่ใช้ฟืนเป็นต้นเป็นเชื้อเพลิง มีขนาดเล็กกว่าเรือกลไฟ นิยมใช้แล่นในแม่น้ำลำคลอง.
เรือม่วง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดรูปคล้ายเรือมาด แต่ยาวกว่า รูปร่างเพรียว หัวงอน ท้ายสั้น เป็นเรือที่คหบดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน.เรือม่วง น. เรือขุดรูปคล้ายเรือมาด แต่ยาวกว่า รูปร่างเพรียว หัวงอน ท้ายสั้น เป็นเรือที่คหบดีนิยมใช้กันในสมัยก่อน.
เรือมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อเสริมกราบขนาดใหญ่มาก ส่วนใหญ่ใช้บรรทุกข้าวเปลือกและเกลือ.เรือมอ น. เรือต่อเสริมกราบขนาดใหญ่มาก ส่วนใหญ่ใช้บรรทุกข้าวเปลือกและเกลือ.
เรือมังกุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่มีกระดูกงูใหญ่ รูปร่างเหมือนเรือโขมดยา หัวเป็น ๓ เส้า.เรือมังกุ น. เรือที่มีกระดูกงูใหญ่ รูปร่างเหมือนเรือโขมดยา หัวเป็น ๓ เส้า.
เรือมาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง.เรือมาด น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๔ วา, ถ้าเพียงแต่ขุดไว้ แต่ยังไม่ได้เบิก เรียกว่า มาดเรือโกลน หรือ ลูกมาด, ถ้ามีประทุน เรียกว่า เรือมาดประทุน, ถ้ามีเก๋ง เรียกว่า เรือมาดเก๋ง.
เรือเมล์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรือรับส่งผู้โดยสารประจำทาง.เรือเมล์ (โบ) น. เรือรับส่งผู้โดยสารประจำทาง.
เรือแม่ปะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง คล้ายเรือชะล่า แต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่า ท้ายต่อไม้ยกงอนสูงขึ้นคล้ายหางแมงป่อง มักใช้ถ่อ, เรือหางแมงป่อง ก็เรียก.เรือแม่ปะ น. เรือขุดชนิดหนึ่ง คล้ายเรือชะล่า แต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่า ท้ายต่อไม้ยกงอนสูงขึ้นคล้ายหางแมงป่อง มักใช้ถ่อ, เรือหางแมงป่อง ก็เรียก.
เรือยกพลขึ้นบก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ใช้ในการลำเลียงขนส่งทหาร พัสดุ และอาวุธยุทโธปกรณ์ในการรบแบบสะเทินน้ำสะเทินบก มีหลายขนาด เช่น เรือคอมมานโด เรือยกพลจู่โจม.เรือยกพลขึ้นบก น. เรือที่ใช้ในการลำเลียงขนส่งทหาร พัสดุ และอาวุธยุทโธปกรณ์ในการรบแบบสะเทินน้ำสะเทินบก มีหลายขนาด เช่น เรือคอมมานโด เรือยกพลจู่โจม.
เรือยนต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์.เรือยนต์ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์.
เรือยาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่จัดให้อยู่เวรยาม เพื่อการเฝ้าตรวจ เช่น เรือยามเรดาร์ หรือเพื่อการใช้สอยทั่วไป เช่น เรือยามข้ามฟาก.เรือยาม น. เรือที่จัดให้อยู่เวรยาม เพื่อการเฝ้าตรวจ เช่น เรือยามเรดาร์ หรือเพื่อการใช้สอยทั่วไป เช่น เรือยามข้ามฟาก.
เรือยาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง ตามปรกติทำด้วยไม้ซุงตะเคียน ในสมัยโบราณใช้เป็นเรือรบ ปัจจุบันใช้เป็นเรือแข่ง บางลำยาวมากสามารถบรรจุฝีพาย ๕๕–๖๐ คนก็มี.เรือยาว น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ตามปรกติทำด้วยไม้ซุงตะเคียน ในสมัยโบราณใช้เป็นเรือรบ ปัจจุบันใช้เป็นเรือแข่ง บางลำยาวมากสามารถบรรจุฝีพาย ๕๕–๖๐ คนก็มี.
เรือโยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือสําหรับลากจูงเรืออื่น.เรือโยง น. เรือสําหรับลากจูงเรืออื่น.
เรือรบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ต่อหรือดัดแปลงขึ้นเพื่อใช้ในการรบ มีขีดความสามารถต่าง ๆ เช่น ต่อตีเรือข้าศึก คุ้มกันกระบวนเรือลำเลียง และระดมยิงฝั่ง เป็นต้น มีหลายประเภท เรียกชื่อตามลักษณะและหน้าที่ที่สำคัญ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือดำน้ำ เรือลาดตระเวน เรือวางทุ่นระเบิด.เรือรบ น. เรือที่ต่อหรือดัดแปลงขึ้นเพื่อใช้ในการรบ มีขีดความสามารถต่าง ๆ เช่น ต่อตีเรือข้าศึก คุ้มกันกระบวนเรือลำเลียง และระดมยิงฝั่ง เป็นต้น มีหลายประเภท เรียกชื่อตามลักษณะและหน้าที่ที่สำคัญ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือดำน้ำ เรือลาดตระเวน เรือวางทุ่นระเบิด.
เรือรูปสัตว์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เรือหลวง มีทั้งประเภทเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้นกับเรือเสริมกราบ มีลักษณะพิเศษตรงศีรษะเรือต่อไม้ขึ้นไปแล้วสลักเป็นรูปสัตว์หิมพานต์ หรือรูปอมนุษย์ต่าง ๆ เช่น ครุฑ อสุรปักษา พญานาค ตอนท้ายเรือต่อไม้ทำเป็นทวนเชิดงอนไปล่ปลิวไปทางด้านหลัง เช่น เรือเอกไชยเหินหาว เรือพาลีรั้งทวีป เรือครุฑเหินระเห็จ เรืออสุรปักษี, บางทีเรียกว่า เรือกระบวนปิดทอง.เรือรูปสัตว์ น. เรือหลวง มีทั้งประเภทเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้นกับเรือเสริมกราบ มีลักษณะพิเศษตรงศีรษะเรือต่อไม้ขึ้นไปแล้วสลักเป็นรูปสัตว์หิมพานต์ หรือรูปอมนุษย์ต่าง ๆ เช่น ครุฑ อสุรปักษา พญานาค ตอนท้ายเรือต่อไม้ทำเป็นทวนเชิดงอนไปล่ปลิวไปทางด้านหลัง เช่น เรือเอกไชยเหินหาว เรือพาลีรั้งทวีป เรือครุฑเหินระเห็จ เรืออสุรปักษี, บางทีเรียกว่า เรือกระบวนปิดทอง.
เรือเร็วโจมตี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบขนาดเล็กระวางขับน้ำประมาณ ๓๐๐–๖๐๐ ตัน มีความเร็วสูงตั้งแต่ ๒๕ นอตขึ้นไป มีอาวุธที่มีอำนาจในการทำลายสูงหลายประเภทขึ้นอยู่กับภารกิจของเรือนั้น ๆ เช่น ปืน อาวุธนำวิถีระยะปานกลางหรือระยะไกล.เรือเร็วโจมตี น. เรือรบขนาดเล็กระวางขับน้ำประมาณ ๓๐๐–๖๐๐ ตัน มีความเร็วสูงตั้งแต่ ๒๕ นอตขึ้นไป มีอาวุธที่มีอำนาจในการทำลายสูงหลายประเภทขึ้นอยู่กับภารกิจของเรือนั้น ๆ เช่น ปืน อาวุธนำวิถีระยะปานกลางหรือระยะไกล.
เรือล่มในหนอง ทองจะไปไหน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนในเครือญาติแต่งงานกัน ทําให้ทรัพย์มรดกไม่ตกไปอยู่กับผู้อื่น.เรือล่มในหนอง ทองจะไปไหน (สำ) น. คนในเครือญาติแต่งงานกัน ทําให้ทรัพย์มรดกไม่ตกไปอยู่กับผู้อื่น.
เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-จอ-จาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําตนเป็นคนดีมาตลอด แต่มาเสียคนเมื่อแก่. เป็นคำกริยา หมายถึง มีอุปสรรคเมื่อใกล้จะสําเร็จ.เรือล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ (สำ) น. คนที่ทําตนเป็นคนดีมาตลอด แต่มาเสียคนเมื่อแก่. ก. มีอุปสรรคเมื่อใกล้จะสําเร็จ.
เรือลากจูง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือกลไฟสำหรับโยงหรือลากเรือใหญ่เพื่อเข้าเทียบท่า.เรือลากจูง น. เรือกลไฟสำหรับโยงหรือลากเรือใหญ่เพื่อเข้าเทียบท่า.
เรือลาดตระเวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือรบขนาดใหญ่ ระวางขับน้ำประมาณ ๖,๐๐๐–๒๐,๐๐๐ ตัน มีความเร็วและมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานมากกว่าเรือประจัญบานมีหน้าที่ลาดตระเวน ตรวจการรุกล้ำทางฝั่งน้ำและทางอากาศยาน คุ้มกัน สนับสนุนกองเรือลำเลียงเป็นต้น.เรือลาดตระเวน น. เรือรบขนาดใหญ่ ระวางขับน้ำประมาณ ๖,๐๐๐–๒๐,๐๐๐ ตัน มีความเร็วและมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานมากกว่าเรือประจัญบานมีหน้าที่ลาดตระเวน ตรวจการรุกล้ำทางฝั่งน้ำและทางอากาศยาน คุ้มกัน สนับสนุนกองเรือลำเลียงเป็นต้น.
เรือโล้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้ายตัด มีแจวอยู่ท้ายเรือสำหรับยืนโล้ไป ใช้ตามชายฝั่งทะเล.เรือโล้ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้ายตัด มีแจวอยู่ท้ายเรือสำหรับยืนโล้ไป ใช้ตามชายฝั่งทะเล.
เรือส่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือบรรทุกสินค้านานาชนิดขึ้นล่องส่งสินค้าขายเรื่อยไปตามแม่น้ำลำคลอง.เรือส่ง น. เรือบรรทุกสินค้านานาชนิดขึ้นล่องส่งสินค้าขายเรื่อยไปตามแม่น้ำลำคลอง.
เรือสำปั้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทำด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย.เรือสำปั้น น. เรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทำด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย.
เรือสำปันนี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เรือชนิดหนึ่งรูปร่างอย่างเรือมาดแต่หัวแบนโตเรี่ยน้ำ.เรือสำปันนี น. เรือชนิดหนึ่งรูปร่างอย่างเรือมาดแต่หัวแบนโตเรี่ยน้ำ.
เรือสำเภา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีนใช้แล่นด้วยใบ.เรือสำเภา น. เรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีนใช้แล่นด้วยใบ.
เรือหมู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดเล็กลักษณะคล้ายเรือพายม้า แต่หัวจะเรียวเล็กกว่าเรือพายม้ามาก.เรือหมู น. เรือขุดชนิดเล็กลักษณะคล้ายเรือพายม้า แต่หัวจะเรียวเล็กกว่าเรือพายม้ามาก.
เรือหลวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือที่ขึ้นระวางเป็นของหลวง.เรือหลวง น. เรือที่ขึ้นระวางเป็นของหลวง.
เรือหางแมงป่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-งอ-งู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่งคล้ายเรือชะล่า แต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่า ท้ายต่อไม้ยกงอนสูงขึ้นคล้ายหางแมงป่อง มักใช้ถ่อ, เรือแม่ปะ ก็เรียก.เรือหางแมงป่อง น. เรือขุดชนิดหนึ่งคล้ายเรือชะล่า แต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่า ท้ายต่อไม้ยกงอนสูงขึ้นคล้ายหางแมงป่อง มักใช้ถ่อ, เรือแม่ปะ ก็เรียก.
เรือหางยาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เรือยนต์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเพรียวยาว ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ติดที่ท้ายเรือ มีท่อโลหะยาวคล้ายหางติดใบจักรใช้แทนหางเสือไปในตัวและยกขึ้นลง โยกไปทางซ้ายทางขวาเพื่อเปลี่ยนทิศทางได้.เรือหางยาว น. เรือยนต์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเพรียวยาว ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ติดที่ท้ายเรือ มีท่อโลหะยาวคล้ายหางติดใบจักรใช้แทนหางเสือไปในตัวและยกขึ้นลง โยกไปทางซ้ายทางขวาเพื่อเปลี่ยนทิศทางได้.
เรือแหวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก[–แหฺวด] เป็นคำนาม หมายถึง เรือแจวชนิดหนึ่ง มีเก๋งรูปยาว ๆ ท้ายโตและสูง.เรือแหวด [–แหฺวด] น. เรือแจวชนิดหนึ่ง มีเก๋งรูปยาว ๆ ท้ายโตและสูง.
เรือใหญ่คับคลอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เคยรุ่งเรืองหรือเป็นใหญ่เป็นโต เมื่อตกตํ่าลงก็วางตัวอย่างคนสามัญไม่ได้.เรือใหญ่คับคลอง (สำ) น. คนที่เคยรุ่งเรืองหรือเป็นใหญ่เป็นโต เมื่อตกตํ่าลงก็วางตัวอย่างคนสามัญไม่ได้.
เรืออีเป็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือเป็ด.เรืออีเป็ด น. เรือเป็ด.
เรืออีแปะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบนเสริมกราบ รูปคล้ายเรือสำปั้น แต่หัวเรือสั้นกว่า.เรืออีแปะ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบนเสริมกราบ รูปคล้ายเรือสำปั้น แต่หัวเรือสั้นกว่า.
เรืออีโปง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๑ วา ทำจากโคนต้นตาลผ่าซีก แล้วขุดเอาเนื้อข้างในออก และปิดท้ายด้วยไม้ ท้ายเรือเล็กกว่าหัวเรือ.เรืออีโปง น. เรือขุดชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๑ วา ทำจากโคนต้นตาลผ่าซีก แล้วขุดเอาเนื้อข้างในออก และปิดท้ายด้วยไม้ ท้ายเรือเล็กกว่าหัวเรือ.
เรือเอี้ยมจุ๊น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือขนาดใหญ่ต่อด้วยไม้ ท้องเรือเป็นสัน สำหรับขนถ่ายและบรรทุกสินค้า.เรือเอี้ยมจุ๊น น. เรือขนาดใหญ่ต่อด้วยไม้ ท้องเรือเป็นสัน สำหรับขนถ่ายและบรรทุกสินค้า.
เรือโอ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชำนาญจึงจะพายได้.เรือโอ่ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชำนาญจึงจะพายได้.
เรือไอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรือต่อชนิดหนึ่ง ขับเคลื่อนด้วยเครื่องจักรไอน้ำ สำหรับรับส่งผู้โดยสาร มีประทุนกันแดดกันฝน, เรือแท็กซี่ ก็เรียก.เรือไอ น. เรือต่อชนิดหนึ่ง ขับเคลื่อนด้วยเครื่องจักรไอน้ำ สำหรับรับส่งผู้โดยสาร มีประทุนกันแดดกันฝน, เรือแท็กซี่ ก็เรียก.
เรื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อน ๆ (มักใช้แก่สีแดงหรือสีเหลือง).เรื่อ ว. อ่อน ๆ (มักใช้แก่สีแดงหรือสีเหลือง).
เรื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดการฝึกฝนเสียนาน เช่น ไม่ได้พูดภาษาฝรั่งเศสมานานเลยเรื้อไป, ห่างไปนาน เช่น เรื้อเวที เรื้อสังเวียน. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกข้าวเปลือกที่ตกอยู่แล้วงอกขึ้นจนออกรวงอีกว่า ข้าวเรื้อ, บางทีก็เรียกว่า ข้าวเรื้อร้าง, ใช้เรียกพืชผลบางชนิดที่เกิดขึ้นในทํานองนี้ เช่น แตงโม ว่า แตงโมเรื้อ.เรื้อ ก. ขาดการฝึกฝนเสียนาน เช่น ไม่ได้พูดภาษาฝรั่งเศสมานานเลยเรื้อไป, ห่างไปนาน เช่น เรื้อเวที เรื้อสังเวียน. น. เรียกข้าวเปลือกที่ตกอยู่แล้วงอกขึ้นจนออกรวงอีกว่า ข้าวเรื้อ, บางทีก็เรียกว่า ข้าวเรื้อร้าง, ใช้เรียกพืชผลบางชนิดที่เกิดขึ้นในทํานองนี้ เช่น แตงโม ว่า แตงโมเรื้อ.
เรื้อรัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยืดเยื้อ, นานหาย, (ใช้แก่โรค) เช่น วัณโรคเรื้อรัง แผลเรื้อรัง.เรื้อรัง ว. ยืดเยื้อ, นานหาย, (ใช้แก่โรค) เช่น วัณโรคเรื้อรัง แผลเรื้อรัง.
เรือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไผ่หรือไม้รวกเป็นต้นที่ผ่าออกเป็นซีก ๆ แล้วถักด้วยหวายสําหรับปูพื้นหรือกั้นเป็นรั้วเป็นต้น, พื้นที่ลาดหรือปูด้วยไม้ถักด้วยหวาย, เรียกสะพานชั่วคราวที่ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกถักด้วยหวายหรือเชือกว่า สะพานเรือก.เรือก น. ไม้ไผ่หรือไม้รวกเป็นต้นที่ผ่าออกเป็นซีก ๆ แล้วถักด้วยหวายสําหรับปูพื้นหรือกั้นเป็นรั้วเป็นต้น, พื้นที่ลาดหรือปูด้วยไม้ถักด้วยหวาย, เรียกสะพานชั่วคราวที่ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกถักด้วยหวายหรือเชือกว่า สะพานเรือก.
เรือกสวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่สวน.เรือกสวน น. ที่สวน.
เรือง, เรือง ๆ เรือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เรือง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงน้อย ๆ อย่างแมงคาเรืองหรือหิ่งห้อย เช่น จุดเทียนมีแสงเรือง เห็นแสงไฟเรือง ๆ; แตกฉาน เช่น เรืองปัญญา; โด่งดัง เช่น เรืองเดช เรืองยศ เรืองนาม เรืองอำนาจ.เรือง, เรือง ๆ ว. มีแสงน้อย ๆ อย่างแมงคาเรืองหรือหิ่งห้อย เช่น จุดเทียนมีแสงเรือง เห็นแสงไฟเรือง ๆ; แตกฉาน เช่น เรืองปัญญา; โด่งดัง เช่น เรืองเดช เรืองยศ เรืองนาม เรืองอำนาจ.
เรืองนาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีชื่อเสียงโด่งดัง.เรืองนาม ว. มีชื่อเสียงโด่งดัง.
เรืองรอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกปลั่ง เช่น พระพุทธรูปมีแสงเรืองรอง.เรืองรอง ว. สุกปลั่ง เช่น พระพุทธรูปมีแสงเรืองรอง.
เรืองไร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงสุกสว่างเหมือนทอง, ไรเรือง ก็ว่า.เรืองไร ว. มีแสงสุกสว่างเหมือนทอง, ไรเรือง ก็ว่า.
เรืองแสง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงเรือง เช่น แผ่นป้ายสีเรืองแสง.เรืองแสง ว. มีแสงเรือง เช่น แผ่นป้ายสีเรืองแสง.
เรืองอำนาจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอํานาจรุ่งเรือง.เรืองอำนาจ ว. มีอํานาจรุ่งเรือง.
เรื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะหรือเนื้อหาของสิ่งซึ่งเนื่องกับข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เรื่องประวัติศาสตร์ เรื่องการเมือง เรื่องเศรษฐกิจ; เนื้อความ เช่น อ่านเอาเรื่อง, คดี, เหตุ, เช่น ไปก่อเรื่อง ไปมีเรื่อง.เรื่อง น. ภาวะหรือเนื้อหาของสิ่งซึ่งเนื่องกับข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เรื่องประวัติศาสตร์ เรื่องการเมือง เรื่องเศรษฐกิจ; เนื้อความ เช่น อ่านเอาเรื่อง, คดี, เหตุ, เช่น ไปก่อเรื่อง ไปมีเรื่อง.
เรื่องราว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่พูดหรือเล่าติดต่อกันไป.เรื่องราว น. เรื่องที่พูดหรือเล่าติดต่อกันไป.
เรื่องสั้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง บันเทิงคดีร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิดเป็นต้น เช่น เรื่องสร้อยคอที่หาย ของประเสริฐอักษร เรื่องจับตาย ของมนัส จรรยงค์ เรื่องมอม ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.เรื่องสั้น น. บันเทิงคดีร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิดเป็นต้น เช่น เรื่องสร้อยคอที่หาย ของประเสริฐอักษร เรื่องจับตาย ของมนัส จรรยงค์ เรื่องมอม ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.
เรื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรือง.เรื้อง (กลอน) ว. เรือง.
เรือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงในวงศ์ Cimicidae ลําตัวแบนราบรูปไข่ ไม่มีปีก ยาว ๔–๕ มิลลิเมตร กว้างประมาณ ๓ มิลลิเมตร สีนํ้าตาลแดง อาศัยอยู่ตามที่นอนหมอนมุ้ง ร่องกระดาน เตียงนอน และพื้นบ้าน ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ที่แพร่หลายมี ๒ ชนิด คือ ชนิด Cimex lectularius และ ชนิด C. hemipterus.เรือด น. ชื่อแมลงในวงศ์ Cimicidae ลําตัวแบนราบรูปไข่ ไม่มีปีก ยาว ๔–๕ มิลลิเมตร กว้างประมาณ ๓ มิลลิเมตร สีนํ้าตาลแดง อาศัยอยู่ตามที่นอนหมอนมุ้ง ร่องกระดาน เตียงนอน และพื้นบ้าน ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ที่แพร่หลายมี ๒ ชนิด คือ ชนิด Cimex lectularius และ ชนิด C. hemipterus.
เรือดไม้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงในอันดับ Psocoptera ขนาดเล็กมาก ตัวยาว ๑–๒ มิลลิเมตร ลําตัวอ่อนมาก มักมีสีขาว อาจพบได้ทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ปีกมี ๒ คู่ เป็นแผ่นบางและมักใส เวลาหุบปีก ปีกจะคลุมตัวคล้ายหลังคา อาศัยอยู่ตามกองกระดาษ หนังสือ เศษขยะเก่า ๆ ในบ้าน ที่เก็บของในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ตามเปลือกไม้หรือบริเวณตะไคร่นํ้านอกบ้าน ที่อยู่ตามหนังสือในบ้าน คือ ชนิด Psocatropos microps ในวงศ์ Psyllipsocidae, เลือดไม้ หรือ เหาไม้ ก็เรียก.เรือดไม้ น. ชื่อแมลงในอันดับ Psocoptera ขนาดเล็กมาก ตัวยาว ๑–๒ มิลลิเมตร ลําตัวอ่อนมาก มักมีสีขาว อาจพบได้ทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ปีกมี ๒ คู่ เป็นแผ่นบางและมักใส เวลาหุบปีก ปีกจะคลุมตัวคล้ายหลังคา อาศัยอยู่ตามกองกระดาษ หนังสือ เศษขยะเก่า ๆ ในบ้าน ที่เก็บของในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ตามเปลือกไม้หรือบริเวณตะไคร่นํ้านอกบ้าน ที่อยู่ตามหนังสือในบ้าน คือ ชนิด Psocatropos microps ในวงศ์ Psyllipsocidae, เลือดไม้ หรือ เหาไม้ ก็เรียก.
เรือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างที่ยกพื้นและกั้นฝา มีหลังคาคลุม สําหรับเป็นที่อยู่, ที่อยู่; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อาศเลษา มี ๕ ดวง ดาวนกอยู่ในปล่อง หรือ ดาวอสิเลสะ ก็เรียก; ทรวดทรง เช่น เรือนผม, ที่รับเพชรพลอย เช่น เรือนแหวน; จํานวน เช่น เงินเรือนหมื่น ราคาเรือนแสน; ลักษณนามใช้เรียกนาฬิกา เช่น นาฬิกาเรือนหนึ่ง นาฬิกา ๒ เรือน.เรือน น. สิ่งปลูกสร้างที่ยกพื้นและกั้นฝา มีหลังคาคลุม สําหรับเป็นที่อยู่, ที่อยู่; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อาศเลษา มี ๕ ดวง ดาวนกอยู่ในปล่อง หรือ ดาวอสิเลสะ ก็เรียก; ทรวดทรง เช่น เรือนผม, ที่รับเพชรพลอย เช่น เรือนแหวน; จํานวน เช่น เงินเรือนหมื่น ราคาเรือนแสน; ลักษณนามใช้เรียกนาฬิกา เช่น นาฬิกาเรือนหนึ่ง นาฬิกา ๒ เรือน.
เรือนแก้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําเป็นกรอบมีลวดลายล้อมพระพุทธรูป.เรือนแก้ว น. สิ่งที่ทําเป็นกรอบมีลวดลายล้อมพระพุทธรูป.
เรือนเครื่องผูก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น, คู่กับ เรือนเครื่องสับ.เรือนเครื่องผูก น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีผูกด้วยหวายเป็นต้น, คู่กับ เรือนเครื่องสับ.
เรือนเครื่องสับ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก.เรือนเครื่องสับ น. เรือนที่มีลักษณะคุมเข้าด้วยกันด้วยวิธีเข้าปากไม้, คู่กับ เรือนเครื่องผูก, เรือนฝากระดาน ก็เรียก.
เรือนจำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ขังนักโทษและผู้ต้องหา; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ที่ซึ่งใช้ควบคุมกักขังผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และหมายความรวมตลอดถึงที่อื่นใดซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้กําหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษาวางอาณาเขตไว้โดยชัดเจน.เรือนจำ น. ที่ขังนักโทษและผู้ต้องหา; (กฎ) ที่ซึ่งใช้ควบคุมกักขังผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และหมายความรวมตลอดถึงที่อื่นใดซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้กําหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษาวางอาณาเขตไว้โดยชัดเจน.
เรือนตะเกียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระโจมไฟ. ในวงเล็บ ดู กระโจมไฟ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ที่ กระโจม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า.เรือนตะเกียง น. กระโจมไฟ. (ดู กระโจมไฟ ที่ กระโจม).
เรือนธาตุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ครรภธาตุ หรือ ธาตุครรภ ก็ว่า.เรือนธาตุ น. ส่วนสําคัญของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ครรภธาตุ หรือ ธาตุครรภ ก็ว่า.
เรือนเบี้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกทาสที่เป็นลูกของทาสนํ้าเงินว่า ทาสเรือนเบี้ย.เรือนเบี้ย น. เรียกทาสที่เป็นลูกของทาสนํ้าเงินว่า ทาสเรือนเบี้ย.
เรือนฝากระดาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือนเครื่องสับ.เรือนฝากระดาน น. เรือนเครื่องสับ.
เรือนแฝด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรือนทรงไทยซึ่งปลูกให้ตัวเรือน ๒ หลังมีชายคาเชื่อมต่อกันทางด้านรี โดยมีขนาดกว้าง ยาว และสูงเท่ากัน และแต่ละหลังมีจั่วและพื้นสูงเสมอกัน.เรือนแฝด น. เรือนทรงไทยซึ่งปลูกให้ตัวเรือน ๒ หลังมีชายคาเชื่อมต่อกันทางด้านรี โดยมีขนาดกว้าง ยาว และสูงเท่ากัน และแต่ละหลังมีจั่วและพื้นสูงเสมอกัน.
เรือนแพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก.เรือนแพ น. เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก.
เรือนไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง กระจุกตะเกียงหรือโคม; ขนาดของไฟในตะเกียงหรือโคม; ครัวสำหรับหุงต้มอาหาร; โรงพิธีสำหรับบูชาไฟ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ประภาคาร.เรือนไฟ น. กระจุกตะเกียงหรือโคม; ขนาดของไฟในตะเกียงหรือโคม; ครัวสำหรับหุงต้มอาหาร; โรงพิธีสำหรับบูชาไฟ; (โบ) ประภาคาร.
เรือนยอด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง อาคารที่มีหลังคาเป็นเครื่องยอดแบบต่าง ๆ เช่น แบบมณฑป แบบยอดปรางค์ แบบยอดปราสาท แบบยอดมงกุฎ แบบยอดเจดีย์ (ใช้แก่อาคารที่ใช้ในกิจเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และศาสนา).เรือนยอด น. อาคารที่มีหลังคาเป็นเครื่องยอดแบบต่าง ๆ เช่น แบบมณฑป แบบยอดปรางค์ แบบยอดปราสาท แบบยอดมงกุฎ แบบยอดเจดีย์ (ใช้แก่อาคารที่ใช้ในกิจเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์และศาสนา).
เรือนหอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรือนซึ่งปลูกสำหรับให้คู่บ่าวสาวที่แต่งงานกันแล้วอยู่.เรือนหอ น. เรือนซึ่งปลูกสำหรับให้คู่บ่าวสาวที่แต่งงานกันแล้วอยู่.
เรื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง โรคผิวหนังซึ่งติดต่อได้ ทำให้ผิวหนังเป็นผื่น บางทีเรียกว่า ขี้เรื้อน มีหลายชนิด บางชนิดทำให้นิ้วมือนิ้วตีนกุด เรียกว่า เรื้อนกุฏฐัง ขี้เรื้อนกุฏฐัง หรือ ขี้ทูด, บางชนิดมีลักษณะเป็นผื่นคัน ทําให้ผิวหนังหนา หยาบ และอาจแตกมีนํ้าเหลืองไหลหรือตกสะเก็ดในระยะหลัง มักเป็นตามบริเวณข้อเท้า หัวเข่า หรือที่มือเอื้อมไปเกาถึง เรียกว่า เรื้อนกวาง หรือ ขี้เรื้อนกวาง, บางชนิดทําให้เป็นแผลมีสีขาว เรียกว่า เรื้อนนํ้าเต้า หรือ ขี้เรื้อนน้ำเต้า.เรื้อน น. โรคผิวหนังซึ่งติดต่อได้ ทำให้ผิวหนังเป็นผื่น บางทีเรียกว่า ขี้เรื้อน มีหลายชนิด บางชนิดทำให้นิ้วมือนิ้วตีนกุด เรียกว่า เรื้อนกุฏฐัง ขี้เรื้อนกุฏฐัง หรือ ขี้ทูด, บางชนิดมีลักษณะเป็นผื่นคัน ทําให้ผิวหนังหนา หยาบ และอาจแตกมีนํ้าเหลืองไหลหรือตกสะเก็ดในระยะหลัง มักเป็นตามบริเวณข้อเท้า หัวเข่า หรือที่มือเอื้อมไปเกาถึง เรียกว่า เรื้อนกวาง หรือ ขี้เรื้อนกวาง, บางชนิดทําให้เป็นแผลมีสีขาว เรียกว่า เรื้อนนํ้าเต้า หรือ ขี้เรื้อนน้ำเต้า.
เรื่อย, เรื่อย ๆ เรื่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เรื่อย ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะอาการอันต่อเนื่องกันไปไม่ขาดระยะ เช่น ทำงานเรื่อยไม่หยุดเลย เดินไปเรื่อย ๆ พูดไปเรื่อย ๆ; เฉื่อย, เฉื่อย ๆ, เช่น ลมพัดมาเรื่อย ๆ เขาเป็นคนเรื่อย ๆ.เรื่อย, เรื่อย ๆ ว. มีลักษณะอาการอันต่อเนื่องกันไปไม่ขาดระยะ เช่น ทำงานเรื่อยไม่หยุดเลย เดินไปเรื่อย ๆ พูดไปเรื่อย ๆ; เฉื่อย, เฉื่อย ๆ, เช่น ลมพัดมาเรื่อย ๆ เขาเป็นคนเรื่อย ๆ.
เรื่อยเจื้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดยืดยาว แต่มีสาระน้อย, เลื้อยเจื้อย ก็ว่า.เรื่อยเจื้อย ว. อาการที่พูดยืดยาว แต่มีสาระน้อย, เลื้อยเจื้อย ก็ว่า.
เรื่อยเฉื่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอื่อย ๆ, ตามสบาย, ไม่กระตือรือร้น, ไม่รีบร้อน, เช่น เขาเป็นคนเรื่อยเฉื่อย.เรื่อยเฉื่อย ว. เอื่อย ๆ, ตามสบาย, ไม่กระตือรือร้น, ไม่รีบร้อน, เช่น เขาเป็นคนเรื่อยเฉื่อย.
เรื่อยเปื่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรื่อย ๆ ไปโดยไม่มีจุดหมาย เช่น พูดเรื่อยเปื่อย เดินเรื่อยเปื่อย.เรื่อยเปื่อย ว. เรื่อย ๆ ไปโดยไม่มีจุดหมาย เช่น พูดเรื่อยเปื่อย เดินเรื่อยเปื่อย.
เรื้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ล่ามไว้ด้วยเส้นเชือกยาว.เรื้อย ก. ล่ามไว้ด้วยเส้นเชือกยาว.
แร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนหรือทําเป็นเส้นเป็นเหลี่ยม, ถ้าเขียนเส้นด้วยสี เรียกว่า แรสี, ถ้าแกะเส้นบนไม้หรือบนผิวโลหะ เรียกว่า แรเส้น.แร ๑ ก. เขียนหรือทําเป็นเส้นเป็นเหลี่ยม, ถ้าเขียนเส้นด้วยสี เรียกว่า แรสี, ถ้าแกะเส้นบนไม้หรือบนผิวโลหะ เรียกว่า แรเส้น.
แรเงา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนเส้นเพื่อให้เห็นเป็นเงา.แรเงา ก. เขียนเส้นเพื่อให้เห็นเป็นเงา.
แรเส้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แกะเส้นบนไม้หรือบนผิวโลหะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะว่า เส้นแร.แรเส้น ก. แกะเส้นบนไม้หรือบนผิวโลหะ. ว. เรียกเส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะว่า เส้นแร.
แร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทิ้งไว้นานโดยไม่ใส่ใจ เช่น กับข้าวทิ้งแรไว้บนโต๊ะไม่มีคนกิน ของวางแรไม่มีคนซื้อ, แลก็ว่า.แร ๒ ว. อาการที่ทิ้งไว้นานโดยไม่ใส่ใจ เช่น กับข้าวทิ้งแรไว้บนโต๊ะไม่มีคนกิน ของวางแรไม่มีคนซื้อ, แลก็ว่า.
แร่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัดและนำมาถลุงได้ เช่น แร่ดีบุกนำมาถลุงได้โลหะดีบุก แร่ทองคำนำมาถลุงได้โลหะทองคำ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อยไม่ว่าจะต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้หรือไม่ และหมายความรวมตลอดถึงถ่านหิน หินนํ้ามัน หินอ่อน โลหะและตะกรันที่ได้จากโลหกรรม นํ้าเกลือใต้ดิน หินซึ่งกฎกระทรวงกําหนดเป็นหินประดับหรือหินอุตสาหกรรม และดินหรือทรายซึ่งกฎกระทรวงกําหนดเป็นดินอุตสาหกรรมหรือทรายอุตสาหกรรม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงนํ้าเกลือสินเธาว์ ลูกรัง หิน ดิน หรือทราย.แร่ ๑ น. ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีสูตรเคมีและสมบัติอื่น ๆ ที่แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้ในวงจำกัดและนำมาถลุงได้ เช่น แร่ดีบุกนำมาถลุงได้โลหะดีบุก แร่ทองคำนำมาถลุงได้โลหะทองคำ; (กฎ) ทรัพยากรธรณีที่เป็นอนินทรียวัตถุ มีส่วนประกอบทางเคมีกับลักษณะทางฟิสิกส์แน่นอนหรือเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อยไม่ว่าจะต้องถลุงหรือหลอมก่อนใช้หรือไม่ และหมายความรวมตลอดถึงถ่านหิน หินนํ้ามัน หินอ่อน โลหะและตะกรันที่ได้จากโลหกรรม นํ้าเกลือใต้ดิน หินซึ่งกฎกระทรวงกําหนดเป็นหินประดับหรือหินอุตสาหกรรม และดินหรือทรายซึ่งกฎกระทรวงกําหนดเป็นดินอุตสาหกรรมหรือทรายอุตสาหกรรม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงนํ้าเกลือสินเธาว์ ลูกรัง หิน ดิน หรือทราย.
แร่ธาตุ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง แร่.แร่ธาตุ น. แร่.
แร่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง รี่เข้าใส่, กรากเข้าใส่, เช่น หมาแร่เข้าใส่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รี่เข้าใส่, อาการที่กรากเข้าใส่, เช่น วิ่งแร่มาแต่ไกล.แร่ ๒ ก. รี่เข้าใส่, กรากเข้าใส่, เช่น หมาแร่เข้าใส่. ว. อาการที่รี่เข้าใส่, อาการที่กรากเข้าใส่, เช่น วิ่งแร่มาแต่ไกล.
แรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ก่อนเพื่อน, ก่อนผู้อื่นหรือสิ่งอื่นทั้งหมด, เช่น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ มาถึงเป็นคนแรก ลูกคนแรก วันแรกของเดือน, เริ่ม เช่น แรกนา คือ เริ่มลงมือทำนา แรกรุ่น คือ เริ่มย่างเข้าสู่วัยรุ่น, หัวที เช่น แรกเกิด แรกพบ แรกเห็น, เดิมที เช่น แต่แรกเริ่ม, เพิ่งมีเป็นครั้งแรก เช่น มะม่วงแรกออกผล. เป็นคำนาม หมายถึง ต้น, เดิมที.แรก ว. ก่อนเพื่อน, ก่อนผู้อื่นหรือสิ่งอื่นทั้งหมด, เช่น ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ มาถึงเป็นคนแรก ลูกคนแรก วันแรกของเดือน, เริ่ม เช่น แรกนา คือ เริ่มลงมือทำนา แรกรุ่น คือ เริ่มย่างเข้าสู่วัยรุ่น, หัวที เช่น แรกเกิด แรกพบ แรกเห็น, เดิมที เช่น แต่แรกเริ่ม, เพิ่งมีเป็นครั้งแรก เช่น มะม่วงแรกออกผล. น. ต้น, เดิมที.
แรกนา, แรกนาขวัญ แรกนา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา แรกนาขวัญ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพิธีเริ่มไถนา, ถ้าทําเป็นทางราชการ เรียกว่า พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ, แต่โดยทั่วไปมักเรียกว่า พระราชพิธีแรกนา หรือ พระราชพิธีแรกนาขวัญ.แรกนา, แรกนาขวัญ น. ชื่อพิธีเริ่มไถนา, ถ้าทําเป็นทางราชการ เรียกว่า พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ, แต่โดยทั่วไปมักเรียกว่า พระราชพิธีแรกนา หรือ พระราชพิธีแรกนาขวัญ.
แร็กเกต เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับตีเทนนิส แบดมินตัน หรือ สควอช มีปลายข้างหนึ่งเป็นรูปวงรีหรือวงกลม ซึ่งขึงเอ็นหรือไนลอนเป็นตาข่าย มีด้าม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ racket เขียนว่า อา-เอ-ซี-เค-อี-ที.แร็กเกต น. ไม้สําหรับตีเทนนิส แบดมินตัน หรือ สควอช มีปลายข้างหนึ่งเป็นรูปวงรีหรือวงกลม ซึ่งขึงเอ็นหรือไนลอนเป็นตาข่าย มีด้าม. (อ. racket).
แรง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กําลัง เช่น แรงคน ไม่มีแรง มีแรงมาก ออกแรง, อํานาจ เช่น แรงเจ้าที่ แรงกรรม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉุน, จัด, กล้า, เช่น กลิ่นแรง; ใช้กําลังกระทําถึงขีด เช่น อย่าทำแรง ตีแรง ๆ, แข็ง, มีกําลัง; ศักดิ์สิทธิ์ เช่น ที่นี่เจ้าที่แรง; อัตราการทำงาน กำหนดเป็นกำลังคนต่อช่วงเวลาหนึ่ง เช่น งานนี้ต้องใช้ ๑๐ แรง. เป็นคำกริยา หมายถึง ออกแรง; หมกมุ่น เช่น แรงเสพ แรงเล่น.แรง ๑ น. กําลัง เช่น แรงคน ไม่มีแรง มีแรงมาก ออกแรง, อํานาจ เช่น แรงเจ้าที่ แรงกรรม. ว. ฉุน, จัด, กล้า, เช่น กลิ่นแรง; ใช้กําลังกระทําถึงขีด เช่น อย่าทำแรง ตีแรง ๆ, แข็ง, มีกําลัง; ศักดิ์สิทธิ์ เช่น ที่นี่เจ้าที่แรง; อัตราการทำงาน กำหนดเป็นกำลังคนต่อช่วงเวลาหนึ่ง เช่น งานนี้ต้องใช้ ๑๐ แรง. ก. ออกแรง; หมกมุ่น เช่น แรงเสพ แรงเล่น.
แรงงาน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทํางาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากําไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน; ความสามารถในการทํางานเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ, กิจการที่คนงานทําในการผลิตเศรษฐทรัพย์.แรงงาน น. คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทํางาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากําไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน; ความสามารถในการทํางานเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ, กิจการที่คนงานทําในการผลิตเศรษฐทรัพย์.
แรงงานและสวัสดิการสังคม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม.แรงงานและสวัสดิการสังคม น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม.
แรงงานสัมพันธ์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการว่าจ้างทํางาน นับตั้งแต่เงื่อนไขการจ้าง สภาพการทํางาน และผลประโยชน์จากการทํางานร่วมกันของทั้ง ๒ ฝ่าย รวมทั้งสาเหตุต่าง ๆ ที่มีผลต่อสัมพันธภาพระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ตลอดจนการร่วมเจรจาต่อรอง และการสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันเพื่อการอยู่ร่วมกันต่อไป.แรงงานสัมพันธ์ (กฎ) น. ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการว่าจ้างทํางาน นับตั้งแต่เงื่อนไขการจ้าง สภาพการทํางาน และผลประโยชน์จากการทํางานร่วมกันของทั้ง ๒ ฝ่าย รวมทั้งสาเหตุต่าง ๆ ที่มีผลต่อสัมพันธภาพระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ตลอดจนการร่วมเจรจาต่อรอง และการสร้างความเข้าใจอันดีต่อกันเพื่อการอยู่ร่วมกันต่อไป.
แรง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง อิทธิพลภายนอกใด ๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือพยายามทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะอยู่นิ่งหรือสถานะการเคลื่อนที่ของเทหวัตถุด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง.แรง ๒ (วิทยา) น. อิทธิพลภายนอกใด ๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือพยายามทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะอยู่นิ่งหรือสถานะการเคลื่อนที่ของเทหวัตถุด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง.
แรงดึงดูด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง แรงระหว่างเทหวัตถุ ๒ ชิ้นที่ดึงหรือพยายามดึงให้เทหวัตถุทั้ง ๒ เคลื่อนที่เข้าใกล้กัน ต้านหรือพยายามต้านการแยกเทหวัตถุทั้ง ๒ ออกจากกัน.แรงดึงดูด (ฟิสิกส์) น. แรงระหว่างเทหวัตถุ ๒ ชิ้นที่ดึงหรือพยายามดึงให้เทหวัตถุทั้ง ๒ เคลื่อนที่เข้าใกล้กัน ต้านหรือพยายามต้านการแยกเทหวัตถุทั้ง ๒ ออกจากกัน.
แรงเทียน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดความเข้มของความสว่างของแหล่งกําเนิดแสง, กําลังเทียน ก็ว่า.แรงเทียน น. หน่วยวัดความเข้มของความสว่างของแหล่งกําเนิดแสง, กําลังเทียน ก็ว่า.
แรงม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดกําลังหรืออัตราของการทํางาน โดยกําหนดว่า ๑ แรงม้า คือ อัตราของการทํางาน ได้ ๕๕๐ ฟุตปอนด์ต่อวินาที ๑ แรงม้า มีค่าเท่ากับ ๗๔๕.๗ วัตต์, กําลังม้า ก็เรียก.แรงม้า น. หน่วยวัดกําลังหรืออัตราของการทํางาน โดยกําหนดว่า ๑ แรงม้า คือ อัตราของการทํางาน ได้ ๕๕๐ ฟุตปอนด์ต่อวินาที ๑ แรงม้า มีค่าเท่ากับ ๗๔๕.๗ วัตต์, กําลังม้า ก็เรียก.
แรงสู่ศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง แรงที่กระทําต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศเข้าสู่จุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้น และมีขนาดเท่ากับแรงหนีศูนย์กลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centripetal เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-อา-ไอ-พี-อี-ที-เอ-แอล force เขียนว่า เอฟ-โอ-อา-ซี-อี .แรงสู่ศูนย์กลาง (ฟิสิกส์) น. แรงที่กระทําต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศเข้าสู่จุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้น และมีขนาดเท่ากับแรงหนีศูนย์กลาง. (อ. centripetal force).
แรงหนีศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง แรงที่กระทําต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศออกจากจุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้น และมีขนาดเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centrifugal เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-อา-ไอ-เอฟ-ยู-จี-เอ-แอล force เขียนว่า เอฟ-โอ-อา-ซี-อี .แรงหนีศูนย์กลาง (ฟิสิกส์) น. แรงที่กระทําต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศออกจากจุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้น และมีขนาดเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง. (อ. centrifugal force).
แรงเหวี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง แรงหนีศูนย์กลาง.แรงเหวี่ยง (ปาก) น. แรงหนีศูนย์กลาง.
แร่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องร่อนของละเอียด. เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ใช้แร่งร่อนของละเอียด เช่น แร่งแป้ง.แร่ง ๑ น. เครื่องร่อนของละเอียด. ก. กิริยาที่ใช้แร่งร่อนของละเอียด เช่น แร่งแป้ง.
แร่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่วางศพหามศพรูปอย่างแคร่.แร่ง ๒ น. ที่วางศพหามศพรูปอย่างแคร่.
แร้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ เป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจําพวกเหยี่ยวแร้ง ปีกกว้าง หางสั้น หัวเล็ก ลําคอไม่มีขน กินซากสัตว์ มีหลายชนิด เช่น แร้งดําหิมาลัย (Aegypius monachus) พญาแร้ง (Sarcogyps calvus) แร้งสีนํ้าตาล (Gypsindicus) แร้งเทาหลังขาว (G. bengalensis).แร้ง น. ชื่อนกในวงศ์ เป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจําพวกเหยี่ยวแร้ง ปีกกว้าง หางสั้น หัวเล็ก ลําคอไม่มีขน กินซากสัตว์ มีหลายชนิด เช่น แร้งดําหิมาลัย (Aegypius monachus) พญาแร้ง (Sarcogyps calvus) แร้งสีนํ้าตาล (Gypsindicus) แร้งเทาหลังขาว (G. bengalensis).
แร่งริ้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชิ้นฉีก, สิ่งที่ฉีกเป็นชิ้น ๆ.แร่งริ้ว น. ชิ้นฉีก, สิ่งที่ฉีกเป็นชิ้น ๆ.
แร่งไหม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไหมทอง.แร่งไหม น. ไหมทอง.
แรด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในวงศ์ Rhinocerotidae เป็นสัตว์กีบคี่ มี ๓ นิ้ว ขาสั้น ตาเล็ก หูตั้ง ประสาทรับฟังเสียงและดมกลิ่นดีมาก หนังหนา มีทั้งชนิดนอเดียวและ ๒ นอ กินพืช นอนปลัก ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ แรดนอเดียว ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า แรด (Rhinoceros sondaicus) และกระซู่ (Dicerorhinus sumatrensis) ซึ่งมี ๒ นอ.แรด ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ในวงศ์ Rhinocerotidae เป็นสัตว์กีบคี่ มี ๓ นิ้ว ขาสั้น ตาเล็ก หูตั้ง ประสาทรับฟังเสียงและดมกลิ่นดีมาก หนังหนา มีทั้งชนิดนอเดียวและ ๒ นอ กินพืช นอนปลัก ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ แรดนอเดียว ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า แรด (Rhinoceros sondaicus) และกระซู่ (Dicerorhinus sumatrensis) ซึ่งมี ๒ นอ.
แรด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Osphronemus goramy เป็นปลาขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Anabantidae ลักษณะทั่วไปคล้ายปลาสลิด ลําตัวหนา ปากเชิด ปลายครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้น มีลายแถบสีเข้มพาดขวางลําตัวเห็นได้ชัดโดยเฉพาะปลาขนาดเล็ก ปลาตัวผู้ขนาดใหญ่จะมีปุ่มที่สันหัวคล้ายนอ พื้นลําตัวและครีบสีนํ้าตาล ขนาดยาวได้ถึง ๖๐ เซนติเมตร.แรด ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Osphronemus goramy เป็นปลาขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Anabantidae ลักษณะทั่วไปคล้ายปลาสลิด ลําตัวหนา ปากเชิด ปลายครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้น มีลายแถบสีเข้มพาดขวางลําตัวเห็นได้ชัดโดยเฉพาะปลาขนาดเล็ก ปลาตัวผู้ขนาดใหญ่จะมีปุ่มที่สันหัวคล้ายนอ พื้นลําตัวและครีบสีนํ้าตาล ขนาดยาวได้ถึง ๖๐ เซนติเมตร.
แรด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดัดจริต.แรด ๓ (ปาก) ก. ดัดจริต.
แรดตัวผู้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพภัทรบท มี ๒ ดวง, ดาวโปฐบท ดาวหัวเนื้อทราย หรือ ดาวปุพพภัททะ ก็เรียก.แรดตัวผู้ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพภัทรบท มี ๒ ดวง, ดาวโปฐบท ดาวหัวเนื้อทราย หรือ ดาวปุพพภัททะ ก็เรียก.
แรดตัวเมีย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรภัทรบท มี ๒ ดวง, ดาวไม้เท้า ดาวอุตตรภัทรบท หรือ ดาวอุตตรภัททะ ก็เรียก.แรดตัวเมีย น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรภัทรบท มี ๒ ดวง, ดาวไม้เท้า ดาวอุตตรภัทรบท หรือ ดาวอุตตรภัททะ ก็เรียก.
แร้นแค้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฝืดเคือง, ขัดสน, ขาดแคลน, เช่น เขามีชีวิตอยู่อย่างแร้นแค้นขาดแคลนไปเสียทุกสิ่งทุกอย่าง.แร้นแค้น ว. ฝืดเคือง, ขัดสน, ขาดแคลน, เช่น เขามีชีวิตอยู่อย่างแร้นแค้นขาดแคลนไปเสียทุกสิ่งทุกอย่าง.
แรม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเดือนจันทรคติที่พระจันทร์เริ่มมืดจนถึงมืด คือ ตั้งแต่แรมค่ำหนึ่งไปถึงแรม ๑๔ ค่ำในเดือนขาด หรือถึงแรม ๑๕ ค่ำในเดือนเต็ม เรียกว่า ข้างแรม; ช่วงระยะเวลานานนับเดือนนับปี ในคำว่า แรมเดือน แรมปี. เป็นคำกริยา หมายถึง ค้างคืน เช่น พักแรม.แรม น. ส่วนของเดือนจันทรคติที่พระจันทร์เริ่มมืดจนถึงมืด คือ ตั้งแต่แรมค่ำหนึ่งไปถึงแรม ๑๔ ค่ำในเดือนขาด หรือถึงแรม ๑๕ ค่ำในเดือนเต็ม เรียกว่า ข้างแรม; ช่วงระยะเวลานานนับเดือนนับปี ในคำว่า แรมเดือน แรมปี. ก. ค้างคืน เช่น พักแรม.
แรมรอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หยุดพัก นอน.แรมรอน ก. หยุดพัก นอน.
แรมรา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เริดร้าง.แรมรา ก. เริดร้าง.
แรมโรย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ห่างโหย.แรมโรย ก. ห่างโหย.
แร้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับดักสัตว์ มี นก ไก่ เป็นต้น มีบ่วงติดอยู่กับปลายของไม้ที่เรียกว่า คันแร้ว ซึ่งเอาโคนปักไว้ที่ดินทำปลายให้โน้มลงมา มีไกที่เรียกว่า ปิ่น ขัดไว้ระหว่างหลักขัดแร้วกับคอน วางบ่วงดักไว้บนคอน เมื่อสัตว์มาจับคอนตรงที่วางบ่วงไว้ ไม้คอนจะเลื่อนลง ทำให้ปิ่นหลุด บ่วงก็จะรูดมัดขาไว้.แร้ว น. เครื่องสําหรับดักสัตว์ มี นก ไก่ เป็นต้น มีบ่วงติดอยู่กับปลายของไม้ที่เรียกว่า คันแร้ว ซึ่งเอาโคนปักไว้ที่ดินทำปลายให้โน้มลงมา มีไกที่เรียกว่า ปิ่น ขัดไว้ระหว่างหลักขัดแร้วกับคอน วางบ่วงดักไว้บนคอน เมื่อสัตว์มาจับคอนตรงที่วางบ่วงไว้ ไม้คอนจะเลื่อนลง ทำให้ปิ่นหลุด บ่วงก็จะรูดมัดขาไว้.
แระ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ถั่วแระ. ในวงเล็บ ดู ถั่วเหลือง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ที่ ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.แระ ๑ น. ถั่วแระ. (ดู ถั่วเหลือง ที่ ถั่ว ๑).
แระ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับรองรากตึกและเสาเรือน, ระแนะ ก็เรียก.แระ ๒ น. เครื่องสําหรับรองรากตึกและเสาเรือน, ระแนะ ก็เรียก.
โร่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เห็นชัด, ปรากฏชัด, เช่น วิ่งโร่ไปคนเดียว สว่างโร่ แดงโร่.โร่ ว. เห็นชัด, ปรากฏชัด, เช่น วิ่งโร่ไปคนเดียว สว่างโร่ แดงโร่.
โรค, โรค– โรค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย โรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย [โรก, โรคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่ร่างกายทํางานได้ไม่เป็นปรกติเนื่องจากเชื้อโรคเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรค, โรค– [โรก, โรคะ–] น. ภาวะที่ร่างกายทํางานได้ไม่เป็นปรกติเนื่องจากเชื้อโรคเป็นต้น. (ป., ส.).
โรคจิต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง โรคทางจิตใจที่มีความผิดปรกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ เช่น มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน, วิกลจริต ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ psychosis เขียนว่า พี-เอส-วาย-ซี-เอช-โอ-เอส-ไอ-เอส.โรคจิต น. โรคทางจิตใจที่มีความผิดปรกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ เช่น มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน, วิกลจริต ก็เรียก. (อ. psychosis).
โรคจิตเภท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทําให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ schizophrenia เขียนว่า เอส-ซี-เอช-ไอ-แซด-โอ-พี-เอช-อา-อี-เอ็น-ไอ-เอ.โรคจิตเภท น. กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทําให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. (อ. schizophrenia).
โรคนิทาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[โรคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คัมภีร์แพทย์โบราณว่าด้วยสมุฏฐานแห่งโรค.โรคนิทาน [โรคะ–] น. คัมภีร์แพทย์โบราณว่าด้วยสมุฏฐานแห่งโรค.
โรคประจำตัว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง โรคที่มีติดตัวอยู่เป็นประจํา รักษาไม่หายขาด.โรคประจำตัว น. โรคที่มีติดตัวอยู่เป็นประจํา รักษาไม่หายขาด.
โรคประสาท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง โรคทางจิตใจที่มีความกังวลเป็นอาการสําคัญ คนไข้อาจมีอาการแสดงออกเป็นความกังวล เช่น กลุ้มใจ หงุดหงิด หรืออาจแสดงออกเป็นอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เหงื่อออก เป็นลม กลัวที่สูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ neurosis เขียนว่า เอ็น-อี-ยู-อา-โอ-เอส-ไอ-เอส.โรคประสาท น. โรคทางจิตใจที่มีความกังวลเป็นอาการสําคัญ คนไข้อาจมีอาการแสดงออกเป็นความกังวล เช่น กลุ้มใจ หงุดหงิด หรืออาจแสดงออกเป็นอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เหงื่อออก เป็นลม กลัวที่สูง. (อ. neurosis).
โรคระบบประสาท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง โรคของสมองและไขสันหลัง มิได้เกี่ยวข้องกับจิตใจ เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบตันหรือแตก โรคเหล่านี้ก่อให้เกิดภาวะวิกลจริตได้ในบางครั้งบางคราว.โรคระบบประสาท น. โรคของสมองและไขสันหลัง มิได้เกี่ยวข้องกับจิตใจ เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบตันหรือแตก โรคเหล่านี้ก่อให้เกิดภาวะวิกลจริตได้ในบางครั้งบางคราว.
โรคศิลปะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ[โรกสินละปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การปฏิบัติเพื่อรักษาโรค.โรคศิลปะ [โรกสินละปะ] น. การปฏิบัติเพื่อรักษาโรค.
โรคสมอง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติใด ๆ แก่สมอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cerebropathy เขียนว่า ซี-อี-อา-อี-บี-อา-โอ-พี-เอ-ที-เอช-วาย.โรคสมอง น. โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติใด ๆ แก่สมอง. (อ. cerebropathy).
โรคา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โรค.โรคา (กลอน) น. โรค.
โรคาพยาธิ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[โรคาพะยาทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจ็บไข้.โรคาพยาธิ [โรคาพะยาทิ] น. ความเจ็บไข้.
โรคาพาธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง เป็นคำนาม หมายถึง ความเจ็บไข้.โรคาพาธ น. ความเจ็บไข้.
โรคา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อาดู โรค, โรค– โรค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย โรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย .โรคา ดู โรค, โรค–.
โรคาพยาธิ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิดู โรค, โรค– โรค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย โรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย .โรคาพยาธิ ดู โรค, โรค–.
โรคาพาธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทงดู โรค, โรค– โรค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย โรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย .โรคาพาธ ดู โรค, โรค–.
โรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างที่มีหลังคาคลุม ปรกติพื้นอยู่ติดกับดิน สําหรับเป็นที่อยู่อาศัย ประกอบการ หรือไว้สิ่งของเป็นต้น เช่น โรงลิเก โรงทอผ้า โรงเหล้า โรงรถ โรงพิมพ์, ลักษณนามว่า โรง เช่น ลิเกโรงหนึ่ง โรงทอผ้า ๒ โรง.โรง น. สิ่งปลูกสร้างที่มีหลังคาคลุม ปรกติพื้นอยู่ติดกับดิน สําหรับเป็นที่อยู่อาศัย ประกอบการ หรือไว้สิ่งของเป็นต้น เช่น โรงลิเก โรงทอผ้า โรงเหล้า โรงรถ โรงพิมพ์, ลักษณนามว่า โรง เช่น ลิเกโรงหนึ่ง โรงทอผ้า ๒ โรง.
โรงครัว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทำอาหารในงานใหญ่ ๆ เพื่อเลี้ยงคนจำนวนมาก.โรงครัว น. สถานที่ทำอาหารในงานใหญ่ ๆ เพื่อเลี้ยงคนจำนวนมาก.
โรงคัล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ที่เฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน, เรียกเต็มว่า พระโรงคัล.โรงคัล น. ที่เฝ้าพระเจ้าแผ่นดิน, เรียกเต็มว่า พระโรงคัล.
โรงงาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักร มีกําลังรวมตั้งแต่ ๕ แรงม้าหรือกําลังเทียบเท่าตั้งแต่ ๕ แรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามสําหรับทํา ผลิต ประกอบบรรจุ ซ่อม ซ่อมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง.โรงงาน (กฎ) น. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักร มีกําลังรวมตั้งแต่ ๕ แรงม้าหรือกําลังเทียบเท่าตั้งแต่ ๕ แรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตามสําหรับทํา ผลิต ประกอบบรรจุ ซ่อม ซ่อมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง.
โรงเจ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง โรงอาหารที่มีแต่อาหารเจ ตามปรกติสำหรับคนจีนที่ถือศีล กินอยู่โดยไม่เสียเงิน.โรงเจ น. โรงอาหารที่มีแต่อาหารเจ ตามปรกติสำหรับคนจีนที่ถือศีล กินอยู่โดยไม่เสียเงิน.
โรงเตี๊ยม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ที่พักคนเดินทาง, โรงแรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน เตี๊ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ว่า ที่พักคนเดินทาง .โรงเตี๊ยม น. ที่พักคนเดินทาง, โรงแรม. (จ. เตี๊ยม ว่า ที่พักคนเดินทาง).
โรงทาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่แจกจ่ายอาหารแก่คนทั่วไปเป็นการกุศล.โรงทาน น. สถานที่แจกจ่ายอาหารแก่คนทั่วไปเป็นการกุศล.
โรงทึม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง โรงสำหรับตั้งหรือเก็บศพ.โรงทึม น. โรงสำหรับตั้งหรือเก็บศพ.
โรงธาร, โรงธารคำนัล โรงธาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ โรงธารคำนัล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ท้องพระโรง, ห้องเป็นที่ออกขุนนางของพระเจ้าแผ่นดิน.โรงธาร, โรงธารคำนัล น. ท้องพระโรง, ห้องเป็นที่ออกขุนนางของพระเจ้าแผ่นดิน.
โรงนา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง โรงที่ชาวนาสร้างขึ้นเป็นที่อยู่อาศัย มักจะสร้างบนเนินดินที่สูงกว่าพื้นนากันน้ำท่วม ด้านหนึ่งมียกพื้นสำหรับนอน มีที่ทำครัว และมีที่ว่างสำหรับไว้วัวควายด้วย.โรงนา น. โรงที่ชาวนาสร้างขึ้นเป็นที่อยู่อาศัย มักจะสร้างบนเนินดินที่สูงกว่าพื้นนากันน้ำท่วม ด้านหนึ่งมียกพื้นสำหรับนอน มีที่ทำครัว และมีที่ว่างสำหรับไว้วัวควายด้วย.
โรงพยาบาล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ให้บริการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย คือทั้งตรวจ รักษา และป้องกันโรคให้แก่ประชาชน และมีเตียงสำหรับรับคนไข้เข้าพักรักษาตัวด้วย.โรงพยาบาล น. สถานที่ให้บริการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย คือทั้งตรวจ รักษา และป้องกันโรคให้แก่ประชาชน และมีเตียงสำหรับรับคนไข้เข้าพักรักษาตัวด้วย.
โรงพัก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง สถานีตำรวจ.โรงพัก (ปาก) น. สถานีตำรวจ.
โรงพิมพ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่พิมพ์หนังสือและสิ่งพิมพ์อื่น ๆ.โรงพิมพ์ น. สถานที่พิมพ์หนังสือและสิ่งพิมพ์อื่น ๆ.
โรงมหรสพ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่สำหรับเล่นมหรสพ เช่น งิ้ว ลิเก ละคร ภาพยนตร์ เพื่อเก็บเงินจากคนดู ไม่ว่าจะปลูกเป็นตึก เรือน โรง หรือกระโจมและที่ปลูกกำบังอย่างใด ๆ.โรงมหรสพ น. สถานที่สำหรับเล่นมหรสพ เช่น งิ้ว ลิเก ละคร ภาพยนตร์ เพื่อเก็บเงินจากคนดู ไม่ว่าจะปลูกเป็นตึก เรือน โรง หรือกระโจมและที่ปลูกกำบังอย่างใด ๆ.
โรงรับจำนำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่รับจำนำสิ่งของ, ถ้าเป็นของเทศบาลหรือกรุงเทพมหานคร เรียกว่า สถานธนานุบาล, ถ้าเป็นของกรมประชาสงเคราะห์ เรียกว่า สถานธนานุเคราะห์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สถานที่รับจํานําซึ่งประกอบการรับจํานําสิ่งของเป็นประกันหนี้เงินกู้เป็นปรกติธุระ แต่ละรายมีจํานวนเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และหมายความรวมตลอดถึงการรับหรือซื้อสิ่งของโดยจ่ายเงินให้สําหรับสิ่งของนั้นเป็นปรกติธุระ แต่ละรายมีจํานวนเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีข้อตกลงหรือเข้าใจกันโดยตรงหรือโดยปริยายว่าจะได้ไถ่คืนในภายหลังด้วย.โรงรับจำนำ น. สถานที่รับจำนำสิ่งของ, ถ้าเป็นของเทศบาลหรือกรุงเทพมหานคร เรียกว่า สถานธนานุบาล, ถ้าเป็นของกรมประชาสงเคราะห์ เรียกว่า สถานธนานุเคราะห์; (กฎ) สถานที่รับจํานําซึ่งประกอบการรับจํานําสิ่งของเป็นประกันหนี้เงินกู้เป็นปรกติธุระ แต่ละรายมีจํานวนเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และหมายความรวมตลอดถึงการรับหรือซื้อสิ่งของโดยจ่ายเงินให้สําหรับสิ่งของนั้นเป็นปรกติธุระ แต่ละรายมีจํานวนเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีข้อตกลงหรือเข้าใจกันโดยตรงหรือโดยปริยายว่าจะได้ไถ่คืนในภายหลังด้วย.
โรงเรียน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานศึกษา.โรงเรียน น. สถานศึกษา.
โรงเรียนกินนอน, โรงเรียนประจำ โรงเรียนกินนอน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู โรงเรียนประจำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง โรงเรียนที่นักเรียนต้องกินอยู่หลับนอนอยู่ที่โรงเรียนเป็นประจํา, เรียกนักเรียนเช่นนั้นว่า นักเรียนกินนอน หรือ นักเรียนประจํา.โรงเรียนกินนอน, โรงเรียนประจำ น. โรงเรียนที่นักเรียนต้องกินอยู่หลับนอนอยู่ที่โรงเรียนเป็นประจํา, เรียกนักเรียนเช่นนั้นว่า นักเรียนกินนอน หรือ นักเรียนประจํา.
โรงเรียนสาธิต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง โรงเรียนที่ขึ้นกับสถาบันผลิตครู ตั้งขึ้นเพื่อเป็นที่ฝึกสอนของนักศึกษาครู หรือเพื่อเป็นโรงเรียนตัวอย่างทางด้านการสอนหรือการบริหาร.โรงเรียนสาธิต น. โรงเรียนที่ขึ้นกับสถาบันผลิตครู ตั้งขึ้นเพื่อเป็นที่ฝึกสอนของนักศึกษาครู หรือเพื่อเป็นโรงเรียนตัวอย่างทางด้านการสอนหรือการบริหาร.
โรงเรือน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตึก บ้าน เรือน โรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่หรืออาจเข้าใช้สอยได้และหมายความรวมถึงแพด้วย.โรงเรือน (กฎ) น. ตึก บ้าน เรือน โรงหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่หรืออาจเข้าใช้สอยได้และหมายความรวมถึงแพด้วย.
โรงแรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ที่พักคนเดินทางซึ่งต้องเสียค่าพักแรมด้วย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจ้างสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่ประสงค์จะหาที่อยู่หรือที่พักชั่วคราว.โรงแรม น. ที่พักคนเดินทางซึ่งต้องเสียค่าพักแรมด้วย; (กฎ) สถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจ้างสําหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่ประสงค์จะหาที่อยู่หรือที่พักชั่วคราว.
โรงเลี้ยง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรงสำหรับเป็นที่กินอาหารของทหาร.โรงเลี้ยง น. โรงสำหรับเป็นที่กินอาหารของทหาร.
โรงเลื่อย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่เลื่อยซุงแปรรูปให้เป็นแผ่นกระดานเป็นต้น, ถ้าใช้เลื่อยด้วยเลื่อยจักรวงเดือน เรียกว่า โรงเลื่อยจักร หรือเรียกสั้น ๆ ว่า โรงเลื่อย.โรงเลื่อย น. สถานที่เลื่อยซุงแปรรูปให้เป็นแผ่นกระดานเป็นต้น, ถ้าใช้เลื่อยด้วยเลื่อยจักรวงเดือน เรียกว่า โรงเลื่อยจักร หรือเรียกสั้น ๆ ว่า โรงเลื่อย.
โรงสี, โรงสีข้าว โรงสี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี โรงสีข้าว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่สีข้าวเปลือกให้เป็นข้าวสารด้วยเครื่องจักร.โรงสี, โรงสีข้าว น. สถานที่สีข้าวเปลือกให้เป็นข้าวสารด้วยเครื่องจักร.
โรงแสง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรงสําหรับทําหรือเก็บอาวุธ.โรงแสง น. โรงสําหรับทําหรือเก็บอาวุธ.
โรงอาหาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง โรงสำหรับเป็นที่กินอาหารของนักเรียน นักศึกษาเป็นต้น.โรงอาหาร น. โรงสำหรับเป็นที่กินอาหารของนักเรียน นักศึกษาเป็นต้น.
โรจ, โรจน์ โรจ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-จอ-จาน โรจน์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุ่งเรือง, สว่าง, สุกใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรจ, โรจน์ ว. รุ่งเรือง, สว่าง, สุกใส. (ป., ส.).
โรเดียม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๔๕ สัญลักษณ์ Rh เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน หลอมละลายที่ ๑๙๖๖°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rhodium เขียนว่า อา-เอช-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม.โรเดียม น. ธาตุลําดับที่ ๔๕ สัญลักษณ์ Rh เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเงิน หลอมละลายที่ ๑๙๖๖°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. rhodium).
โรตี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแขกชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งสาลีนวดแล้วแผ่เป็นแผ่น ทอดในกระทะแบน ๆ กินเป็นอาหารคาวอย่างขนมปัง หรือกินเป็นอาหารหวานก็ได้โดยโรยน้ำตาลทราย นม เป็นต้น.โรตี น. ชื่ออาหารแขกชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งสาลีนวดแล้วแผ่เป็นแผ่น ทอดในกระทะแบน ๆ กินเป็นอาหารคาวอย่างขนมปัง หรือกินเป็นอาหารหวานก็ได้โดยโรยน้ำตาลทราย นม เป็นต้น.
โรตีสายไหม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ใช้โรตีห่อไส้ที่ทําด้วยนํ้าตาลซึ่งปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม.โรตีสายไหม น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ใช้โรตีห่อไส้ที่ทําด้วยนํ้าตาลซึ่งปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม.
โรท, โรทะ โรท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน โรทะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ [โรด, โรทะ] เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรท, โรทะ [โรด, โรทะ] ก. ร้องไห้. (ป., ส.).
โรทนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[โรทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การร้องไห้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรทนะ [โรทะนะ] น. การร้องไห้. (ป., ส.).
โรธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ทอ-ทง เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดขวาง, ห้าม, กัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี .โรธ ก. ขัดขวาง, ห้าม, กัน. (ส., ป.).
โรธร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ[–ทอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อนเพลีย, ไม่มีแรง.โรธร [–ทอน] ว. อ่อนเพลีย, ไม่มีแรง.
โรปนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[โรปะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การเพาะปลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โรปณ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-นอ-เนน.โรปนะ [โรปะนะ] น. การเพาะปลูก. (ป.; ส. โรปณ).
โรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โลมา, ขน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โรมนฺ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ.โรม ๑ น. โลมา, ขน. (ป.; ส. โรมนฺ).
โรมมัย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[โรมะไม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แล้วด้วยขน, ที่ทําด้วยขน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรมมัย [โรมะไม] ว. แล้วด้วยขน, ที่ทําด้วยขน. (ป., ส.).
โรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง รบ.โรม ๒ ก. รบ.
โรมรัน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รบพุ่งกัน.โรมรัน ก. รบพุ่งกัน.
โรมัญจะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขนลุก, ขนชัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โรมาฺจ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-จอ-จาน.โรมัญจะ ว. ขนลุก, ขนชัน. (ป.; ส. โรมาฺจ).
โรมัน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชนชาวยุโรปครั้งโบราณพวกหนึ่ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เนื่องด้วยชาตินั้น เช่น อักษรโรมัน เลขโรมัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Roman เขียนว่า อา-โอ-เอ็ม-เอ-เอ็น.โรมัน น. ชื่อชนชาวยุโรปครั้งโบราณพวกหนึ่ง. ว. เนื่องด้วยชาตินั้น เช่น อักษรโรมัน เลขโรมัน. (อ. Roman).
โรมันคาทอลิก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนิกายหนึ่งในคริสต์ศาสนา มีสันตะปาปาเป็นประมุข, นักบวชในนิกายนี้ เรียกว่า บาทหลวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Roman เขียนว่า อา-โอ-เอ็ม-เอ-เอ็น Catholic เขียนว่า ซี-เอ-ที-เอช-โอ-แอล-ไอ-ซี .โรมันคาทอลิก น. ชื่อนิกายหนึ่งในคริสต์ศาสนา มีสันตะปาปาเป็นประมุข, นักบวชในนิกายนี้ เรียกว่า บาทหลวง. (อ. Roman Catholic).
โรเมอร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ เรียกว่า องศาโรเมอร์ กําหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๘๐ องศา. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส Réaumur เขียนว่า อา-undefined-เอ-ยู-เอ็ม-ยู-อา.โรเมอร์ น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ เรียกว่า องศาโรเมอร์ กําหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๘๐ องศา. (ฝ. Réaumur).
โรย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ดอกไม้ค่อย ๆ เหี่ยวแห้งและเริ่มหลุดร่วงไป เช่น ดอกไม้โรย ดอกจำปาโรย, อาการที่กลีบหรือเกสรดอกไม้ค่อย ๆ หลุดร่วงไป เช่น กลีบกุหลาบโรย เกสรบัวโรย; อาการที่หน้าตาไม่สดชื่นเพราะอดนอนหรือเพิ่งหายไข้เป็นต้น เช่น หน้าตายังโรยอยู่ อดนอนตาโรย; หย่อนกำลัง, เพลีย, ในคำว่า อิดโรย; ค่อย ๆ ผ่อนลง เช่น โรยเชือก โรยอวน; ค่อย ๆ โปรยลงไป, โปรยลงไปทีละน้อย, เช่น เอาแป้งโรยตัว โรยอาหารให้ปลา โรยพริกไทย โรยผักชี.โรย ก. อาการที่ดอกไม้ค่อย ๆ เหี่ยวแห้งและเริ่มหลุดร่วงไป เช่น ดอกไม้โรย ดอกจำปาโรย, อาการที่กลีบหรือเกสรดอกไม้ค่อย ๆ หลุดร่วงไป เช่น กลีบกุหลาบโรย เกสรบัวโรย; อาการที่หน้าตาไม่สดชื่นเพราะอดนอนหรือเพิ่งหายไข้เป็นต้น เช่น หน้าตายังโรยอยู่ อดนอนตาโรย; หย่อนกำลัง, เพลีย, ในคำว่า อิดโรย; ค่อย ๆ ผ่อนลง เช่น โรยเชือก โรยอวน; ค่อย ๆ โปรยลงไป, โปรยลงไปทีละน้อย, เช่น เอาแป้งโรยตัว โรยอาหารให้ปลา โรยพริกไทย โรยผักชี.
โรยขนมจีน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-นอ-หนู-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง บีบแป้งขนมจีนที่อยู่ในห่อผ้าที่เย็บติดกับหน้าแว่น แล้วโรยให้เป็นเส้นลงในน้ำเดือด, บีบขนมจีน ก็ว่า.โรยขนมจีน ก. บีบแป้งขนมจีนที่อยู่ในห่อผ้าที่เย็บติดกับหน้าแว่น แล้วโรยให้เป็นเส้นลงในน้ำเดือด, บีบขนมจีน ก็ว่า.
โรยตัว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเชือกผูกรอบเอวแล้วเอาไปคล้องที่ต้นขาทั้ง ๒ ข้าง เอาปลายเชือกผูกที่หน้าท้อง แล้วค่อย ๆ หย่อนตัวลง เช่น โรยตัวลงจากเฮลิคอปเตอร์กลางอากาศ, เอาเชือกผูกรอบเอวแล้วค่อย ๆ หย่อนตัวลงมาจากที่สูง เช่น โรยตัวจากอาคารสูง ๆ.โรยตัว ก. เอาเชือกผูกรอบเอวแล้วเอาไปคล้องที่ต้นขาทั้ง ๒ ข้าง เอาปลายเชือกผูกที่หน้าท้อง แล้วค่อย ๆ หย่อนตัวลง เช่น โรยตัวลงจากเฮลิคอปเตอร์กลางอากาศ, เอาเชือกผูกรอบเอวแล้วค่อย ๆ หย่อนตัวลงมาจากที่สูง เช่น โรยตัวจากอาคารสูง ๆ.
โรยฝอยทอง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาไข่แดงซึ่งผสมไข่น้ำค้างเล็กน้อย ใส่กรวยแล้วปล่อยให้ไหลเป็นสายเล็ก ๆ วนไปวนมาในน้ำเชื่อมเดือด ๆ.โรยฝอยทอง ก. กิริยาที่เอาไข่แดงซึ่งผสมไข่น้ำค้างเล็กน้อย ใส่กรวยแล้วปล่อยให้ไหลเป็นสายเล็ก ๆ วนไปวนมาในน้ำเชื่อมเดือด ๆ.
โรยรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง น้อยไป, เสื่อมไป, เช่น ความรักโรยรา.โรยรา ก. น้อยไป, เสื่อมไป, เช่น ความรักโรยรา.
โรยหน้า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของโปรยลงไปบนอาหารเป็นต้นเพื่อให้น่ากินหรือชูรส เช่น โรยหน้าขนมด้วยมะพร้าว, โดยปริยายหมายความว่า แต่งแต่เพียงผิว ๆ.โรยหน้า ก. เอาของโปรยลงไปบนอาหารเป็นต้นเพื่อให้น่ากินหรือชูรส เช่น โรยหน้าขนมด้วยมะพร้าว, โดยปริยายหมายความว่า แต่งแต่เพียงผิว ๆ.
โรเร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร่วงโรย, ซบเซา, ไม่แข็งแรง, ไม่แน่นอน.โรเร ว. ร่วงโรย, ซบเซา, ไม่แข็งแรง, ไม่แน่นอน.
โรษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี เป็นคำกริยา หมายถึง เคือง, แค้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โรส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สอ-เสือ.โรษ ก. เคือง, แค้น. (ส.; ป. โรส).
โรษณะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[โรดสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเคือง, ความแค้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โรสน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-นอ-หนู.โรษณะ [โรดสะนะ] น. ความเคือง, ความแค้น. (ส.; ป. โรสน).
โรหิณี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๔ มี ๗ ดวง เห็นเป็นรูปจมูกม้าหรือไม้คํ้าเกวียน, ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู ก็เรียก; แม่โคแดง; ชื่อแม่นํ้าสายหนึ่งในอินเดีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรหิณี น. ดาวฤกษ์ที่ ๔ มี ๗ ดวง เห็นเป็นรูปจมูกม้าหรือไม้คํ้าเกวียน, ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู ก็เรียก; แม่โคแดง; ชื่อแม่นํ้าสายหนึ่งในอินเดีย. (ป., ส.).
โรหิต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง โลหิต, เลือด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โรหิต น. โลหิต, เลือด. ว. สีแดง. (ป., ส.).
ไร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์พวกแมงหลายชนิด ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุดหรือเล็กกว่า ลักษณะคล้ายพวกเห็บแต่ต่างกันที่ไม่มีหนามเล็ก ๆ คลุมรอบปาก และแผ่นแข็งของรูหายใจอยู่บริเวณด้านข้างของลําตัวไม่เลยขาคู่ที่ ๔ ชนิดดูดกินเลือดสัตว์ เช่น ไรไก่ (Dermanyssus spp.) ในวงศ์ Dermanyssidae ชนิดทําลายพืช เช่น ไรแดง (Tetranychus spp.) ในวงศ์ Tetranychidae.ไร ๑ น. ชื่อสัตว์พวกแมงหลายชนิด ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุดหรือเล็กกว่า ลักษณะคล้ายพวกเห็บแต่ต่างกันที่ไม่มีหนามเล็ก ๆ คลุมรอบปาก และแผ่นแข็งของรูหายใจอยู่บริเวณด้านข้างของลําตัวไม่เลยขาคู่ที่ ๔ ชนิดดูดกินเลือดสัตว์ เช่น ไรไก่ (Dermanyssus spp.) ในวงศ์ Dermanyssidae ชนิดทําลายพืช เช่น ไรแดง (Tetranychus spp.) ในวงศ์ Tetranychidae.
ไร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง รอยที่ถอนผมออกแล้ว เช่น ไรผม.ไร ๒ น. รอยที่ถอนผมออกแล้ว เช่น ไรผม.
ไร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทอง เช่น เรืองไร.ไร ๓ น. ทอง เช่น เรืองไร.
ไรเรือง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงสุกสว่างเหมือนทอง, เรืองไร ก็ว่า.ไรเรือง ว. มีแสงสุกสว่างเหมือนทอง, เรืองไร ก็ว่า.
ไร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เฉลี่ย, ใช้เข้าคู่กับคํา เรี่ย เป็น เรี่ยไร.ไร ๔ ก. เฉลี่ย, ใช้เข้าคู่กับคํา เรี่ย เป็น เรี่ยไร.
ไร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหน, ใด, อะไร.ไร ๕ ว. ไหน, ใด, อะไร.
ไร่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ที่ปลูกพืชและต้นไม้บนไหล่เขาหรือในที่ดอน, พื้นที่ราบที่ใช้ปลูกพืชอื่น ๆ นอกจากข้าว เช่น ไร่ฝ้าย ไร่องุ่น ไร่แตงโม; จํานวนเนื้อที่ ๔ งาน หรือ ๔๐๐ ตารางวา หรือ ๑,๖๐๐ ตารางเมตร.ไร่ น. ที่ปลูกพืชและต้นไม้บนไหล่เขาหรือในที่ดอน, พื้นที่ราบที่ใช้ปลูกพืชอื่น ๆ นอกจากข้าว เช่น ไร่ฝ้าย ไร่องุ่น ไร่แตงโม; จํานวนเนื้อที่ ๔ งาน หรือ ๔๐๐ ตารางวา หรือ ๑,๖๐๐ ตารางเมตร.
ไร้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขัดสน, ไม่มี, ปราศจาก, เช่น ไร้ทรัพย์ ไร้ความสามารถ.ไร้ ว. ขัดสน, ไม่มี, ปราศจาก, เช่น ไร้ทรัพย์ ไร้ความสามารถ.
ไร ๆ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่มองเห็นอยู่ไกลลิบ ๆ ไม่ชัด เช่น เห็นทิวไม้อยู่ไร ๆ; เริ่มนึกออกได้เล็กน้อย เช่น เรื่องที่มาปรึกษานึกเห็นทางออกได้ไร ๆ, รำไร ก็ว่า.ไร ๆ ว. อาการที่มองเห็นอยู่ไกลลิบ ๆ ไม่ชัด เช่น เห็นทิวไม้อยู่ไร ๆ; เริ่มนึกออกได้เล็กน้อย เช่น เรื่องที่มาปรึกษานึกเห็นทางออกได้ไร ๆ, รำไร ก็ว่า.
ไรฟัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แนวฟันตอนที่เหงือกหุ้ม.ไรฟัน น. แนวฟันตอนที่เหงือกหุ้ม.
ไรย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวไรย์. ในวงเล็บ ดู ข้าวไรย์ เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.ไรย์ น. ข้าวไรย์. (ดู ข้าวไรย์ ที่ ข้าว).
เขียนว่า รอ-รึ ความหมายที่ [รึ]เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต เมื่อไทยนํามาใช้ออกเสียงเป็น ริ รึ หรือ เรอ เช่น ฤทธิ์ ฤดู ฤกษ์.ฤ ๑ [รึ] เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต เมื่อไทยนํามาใช้ออกเสียงเป็น ริ รึ หรือ เรอ เช่น ฤทธิ์ ฤดู ฤกษ์.
เขียนว่า รอ-รึ ความหมายที่ [รึ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรือ, ไม่, เช่น จะมีฤ ว่า จะมีหรือ, ฤบังควร ว่า ไม่บังควร.ฤ ๒ [รึ] (กลอน) ว. หรือ, ไม่, เช่น จะมีฤ ว่า จะมีหรือ, ฤบังควร ว่า ไม่บังควร.
ฤกษ์ เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [เริก] เป็นคำนาม หมายถึง คราวหรือเวลาที่กําหนดหรือคาดว่าจะให้ผล เช่น ฤกษ์ดี ฤกษ์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางดี เช่นหาฤกษ์แต่งงาน หาฤกษ์ยกเสาเอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ฤกษ์ ๑ [เริก] น. คราวหรือเวลาที่กําหนดหรือคาดว่าจะให้ผล เช่น ฤกษ์ดี ฤกษ์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางดี เช่นหาฤกษ์แต่งงาน หาฤกษ์ยกเสาเอก. (ส.).
ฤกษ์บน เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ฤกษ์ที่ดาวนพเคราะห์เสวยประจําวัน มี ๒๗ ฤกษ์.ฤกษ์บน น. ฤกษ์ที่ดาวนพเคราะห์เสวยประจําวัน มี ๒๗ ฤกษ์.
ฤกษ์พานาที เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลาที่เป็นฤกษ์.ฤกษ์พานาที น. ระยะเวลาที่เป็นฤกษ์.
ฤกษ์ล่าง เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฤกษ์ที่ประกอบฤกษ์บน มี ๙ ฤกษ์.ฤกษ์ล่าง น. ฤกษ์ที่ประกอบฤกษ์บน มี ๙ ฤกษ์.
ฤกษ์ เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [เริก] เป็นคำนาม หมายถึง หมี; ดาวจระเข้, ดาวนพเคราะห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ฤกษ์ ๒ [เริก] น. หมี; ดาวจระเข้, ดาวนพเคราะห์. (ส.).
ฤกษ์ เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [เริก] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลมที่สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัวว่า ดาวฤกษ์.ฤกษ์ ๓ [เริก] น. เรียกดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลมที่สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัวว่า ดาวฤกษ์.
ฤกษณะ เขียนว่า รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[รึกสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การดู, การเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อีกฺษณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี อิกฺขณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-นอ-เนน.ฤกษณะ [รึกสะนะ] น. การดู, การเห็น. (ส. อีกฺษณ; ป. อิกฺขณ).
ฤคเวท เขียนว่า รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน[รึกคะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ที่ ๑ ของพระเวท ใช้ภาษาสันสกฤตรุ่นเก่าที่สุด ประพันธ์เป็นฉันท์ มีอายุประมาณ ๕๐๐ ถึง ๑,๐๐๐ ปีก่อนพุทธกาล, อิรุพเพท ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อิรุพฺเพท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน. ในวงเล็บ ดู เวท, เวท– ประกอบ เวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน เวท– ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .ฤคเวท [รึกคะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๑ ของพระเวท ใช้ภาษาสันสกฤตรุ่นเก่าที่สุด ประพันธ์เป็นฉันท์ มีอายุประมาณ ๕๐๐ ถึง ๑,๐๐๐ ปีก่อนพุทธกาล, อิรุพเพท ก็ว่า. (ส.; ป. อิรุพฺเพท). (ดู เวท, เวท– ประกอบ).
ฤชา เขียนว่า รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา[รึ–] เป็นคำนาม หมายถึง ค่าธรรมเนียม.ฤชา [รึ–] น. ค่าธรรมเนียม.
ฤชากร เขียนว่า รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[รึชากอน] เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ได้จากค่าธรรมเนียม.ฤชากร [รึชากอน] น. เงินที่ได้จากค่าธรรมเนียม.
ฤชุ เขียนว่า รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ[รึ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง, ซื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุชุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ.ฤชุ [รึ–] ว. ตรง, ซื่อ. (ส.; ป. อุชุ).
ฤณ เขียนว่า รอ-รึ-นอ-เนน[ริน] เป็นคำนาม หมายถึง หนี้, หนี้สิน; ภาระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อิณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ฤณ [ริน] น. หนี้, หนี้สิน; ภาระ. (ส.; ป. อิณ).
ฤดี เขียนว่า รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[รึ–] เป็นคำนาม หมายถึง รติ, ความยินดี, ใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รติ เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.ฤดี [รึ–] น. รติ, ความยินดี, ใจ. (ป., ส. รติ).
ฤดียา, ฤติยา ฤดียา เขียนว่า รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ฤติยา เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา [รึ–] เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียด, รังเกียจ, ดูถูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ฤดียา, ฤติยา [รึ–] ก. เกลียด, รังเกียจ, ดูถูก. (ส.).
ฤดู เขียนว่า รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู[รึ–] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของปีซึ่งแบ่งโดยถือเอาภูมิอากาศเป็นหลัก มักแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน หรือเป็น ๔ ช่วง คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ที่แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ฤดูแล้งกับฤดูฝน ก็มี, เวลาที่กําหนดสําหรับงานต่าง ๆ เช่น ฤดูเก็บเกี่ยว ฤดูทอดกฐิน ฤดูถือบวช, เวลาที่เหมาะ เช่น ฤดูสัตว์ผสมพันธุ์; คราว, สมัย, เช่น ฤดูนํ้าหลาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ฤตุ เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี อุตุ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ.ฤดู [รึ–] น. ส่วนของปีซึ่งแบ่งโดยถือเอาภูมิอากาศเป็นหลัก มักแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน หรือเป็น ๔ ช่วง คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ที่แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ฤดูแล้งกับฤดูฝน ก็มี, เวลาที่กําหนดสําหรับงานต่าง ๆ เช่น ฤดูเก็บเกี่ยว ฤดูทอดกฐิน ฤดูถือบวช, เวลาที่เหมาะ เช่น ฤดูสัตว์ผสมพันธุ์; คราว, สมัย, เช่น ฤดูนํ้าหลาก. (ส. ฤตุ; ป. อุตุ).
ฤดูกาล เขียนว่า รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เวลา, คราว, เช่น ฝนไม่ตกตามฤดูกาล.ฤดูกาล น. เวลา, คราว, เช่น ฝนไม่ตกตามฤดูกาล.
ฤต เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า[รึด] เป็นคำนาม หมายถึง กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ฤต [รึด] น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. (ส.).
ฤตุ เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ[รึ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดู.ฤตุ [รึ–] น. ฤดู.
ฤตุสนาน เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[รึตุสะหฺนาน] เป็นคำนาม หมายถึง การอาบนํ้าของหญิงอินเดียในวันที่ ๔ หลังจากมีระดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ฤตุสนาน [รึตุสะหฺนาน] น. การอาบนํ้าของหญิงอินเดียในวันที่ ๔ หลังจากมีระดู. (ส.).
ฤทธา เขียนว่า รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา[ริด–] เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจศักดิ์สิทธิ์ เช่น รุ่งเรืองฤทธาศักดาเดช. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อิทฺธา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา.ฤทธา [ริด–] น. อํานาจศักดิ์สิทธิ์ เช่น รุ่งเรืองฤทธาศักดาเดช. (อิเหนา). (ส.; ป. อิทฺธา).
ฤทธิ์ เขียนว่า รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[ริด] เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจศักดิ์สิทธิ์, แรงอํานาจ, เช่น เทวดามีฤทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อิทฺธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.ฤทธิ์ [ริด] น. อํานาจศักดิ์สิทธิ์, แรงอํานาจ, เช่น เทวดามีฤทธิ์. (ส.; ป. อิทฺธิ).
ฤทัย เขียนว่า รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[รึไท] เป็นคำนาม หมายถึง ใจ, ความรู้สึก. (กร่อนมาจาก หฤทัย). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤทย เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี หทย เขียนว่า หอ-หีบ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก.ฤทัย [รึไท] น. ใจ, ความรู้สึก. (กร่อนมาจาก หฤทัย). (ส. หฺฤทย; ป. หทย).
ฤษภ เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา[รึสบ] เป็นคำนาม หมายถึง วัวตัวผู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อุสภ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา.ฤษภ [รึสบ] น. วัวตัวผู้. (ส.; ป. อุสภ).
ฤษยา เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[ริดสะหฺยา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ริษยา.ฤษยา [ริดสะหฺยา] (โบ) น. ริษยา.
ฤษี เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี[รึ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฤๅษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบําเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ฤษี เขียนว่า รอ-รึ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี ว่า ผู้เห็น, ผู้แต่งพระเวท และมาจากภาษาบาลี อิสิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ.ฤษี [รึ–] น. ฤๅษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบําเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ. (ส. ฤษี ว่า ผู้เห็น, ผู้แต่งพระเวท; ป. อิสิ).
ฤๅ เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [รือ]เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นเสียงยาวของ ฤ เมื่อไทยนํามาใช้ออกเสียงเป็น รือ เช่น ฤๅษี.ฤๅ ๑ [รือ] เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นเสียงยาวของ ฤ เมื่อไทยนํามาใช้ออกเสียงเป็น รือ เช่น ฤๅษี.
ฤๅ เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [รือ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรือ, อะไร, ไม่ใช่; โดยมากใช้ในบทร้อยกรอง เช่น กวีฤๅแล้งแหล่งสยาม.ฤๅ ๒ [รือ] ว. หรือ, อะไร, ไม่ใช่; โดยมากใช้ในบทร้อยกรอง เช่น กวีฤๅแล้งแหล่งสยาม.
ฤๅเยา เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มิใช่เยา, มิใช่น้อย, ไม่เยา.ฤๅเยา ว. มิใช่เยา, มิใช่น้อย, ไม่เยา.
ฤๅชุ เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง, ซื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ฤชุ เขียนว่า รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ.ฤๅชุ ว. ตรง, ซื่อ. (ส. ฤชุ).
ฤๅชุตา เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความตรง, ความซื่อสัตย์.ฤๅชุตา น. ความตรง, ความซื่อสัตย์.
ฤๅดี เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ฤดี, ความยินดี, ใจ.ฤๅดี น. ฤดี, ความยินดี, ใจ.
ฤๅทัย เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ฤทัย, ใจ, ความรู้สึก.ฤๅทัย น. ฤทัย, ใจ, ความรู้สึก.
ฤๅษี เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ฤษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบําเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ.ฤๅษี น. ฤษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบําเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ.
ฤๅษีแปลงสาร เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับแห่งไทยโบราณกลับตัวอักษรข้างหลังมาไว้ข้างหน้า, โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนข้อความเดิมให้มีความหมายตรงกันข้าม.ฤๅษีแปลงสาร น. ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับแห่งไทยโบราณกลับตัวอักษรข้างหลังมาไว้ข้างหน้า, โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนข้อความเดิมให้มีความหมายตรงกันข้าม.
ฤๅษีเลี้ยงลิง เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เลี้ยงเด็กซุกซนหรือปกครองคนหมู่มากที่ไม่อยู่ในระเบียบวินัยย่อมเดือดร้อนรําคาญ.ฤๅษีเลี้ยงลิง (สำ) น. ผู้เลี้ยงเด็กซุกซนหรือปกครองคนหมู่มากที่ไม่อยู่ในระเบียบวินัยย่อมเดือดร้อนรําคาญ.
ฤๅษีผสม เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Plectranthus scutellarioides (L.) R. Br. ในวงศ์ Labiatae ใบมีสีต่าง ๆ ขอบใบจักเป็นรูปฟันปลา, ฤๅษีผสมแล้ว หรือ ฤๅษีผสมเสร็จ ก็เรียก.ฤๅษีผสม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Plectranthus scutellarioides (L.) R. Br. ในวงศ์ Labiatae ใบมีสีต่าง ๆ ขอบใบจักเป็นรูปฟันปลา, ฤๅษีผสมแล้ว หรือ ฤๅษีผสมเสร็จ ก็เรียก.
ฤๅสาย เขียนว่า รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกผู้เป็นใหญ่เช่นกษัตริย์.ฤๅสาย น. คําเรียกผู้เป็นใหญ่เช่นกษัตริย์.
เขียนว่า ลอ-ลิงพยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล. พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.
ลก เขียนว่า ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เรียกลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลก, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า อก.ลก ว. หก; (โบ) เรียกลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลก, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า อก.
ล่ก ๆ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำอย่างรีบร้อนหรืออย่างลวก ๆ เช่น ทำงานล่ก ๆ เพื่อให้ทันเวลา ทำงานล่ก ๆ เอาดีไม่ได้.ล่ก ๆ ว. อาการที่ทำอย่างรีบร้อนหรืออย่างลวก ๆ เช่น ทำงานล่ก ๆ เพื่อให้ทันเวลา ทำงานล่ก ๆ เอาดีไม่ได้.
ลการ เขียนว่า ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ละกาน] เป็นคำนาม หมายถึง ใบเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ลการ [ละกาน] น. ใบเรือ. (ป.).
ลกุจ เขียนว่า ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน[ละกุด] เป็นคำนาม หมายถึง มะหาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ลกุจ [ละกุด] น. มะหาด. (ส.).
ลคุฑ, ลคุฬ ลคุฑ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท ลคุฬ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา [ละคุด, ละคุน] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ตะบอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ลคุฑ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท และมาจากภาษาบาลี ลคุฬ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา.ลคุฑ, ลคุฬ [ละคุด, ละคุน] น. ไม้ตะบอง. (ส. ลคุฑ; ป. ลคุฬ).
ลฆุ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบา, เร็ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ลหุ เขียนว่า ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ.ลฆุ ว. เบา, เร็ว. (ส.; ป. ลหุ).
ลฆุจิต เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีใจเบา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ลฆุจิตฺต เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.ลฆุจิต ว. มีใจเบา. (ส. ลฆุจิตฺต).
ลฆุภาพ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความเบา, ความสะดวก, ความง่ายดาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ลฆุภาว เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.ลฆุภาพ น. ความเบา, ความสะดวก, ความง่ายดาย. (ส. ลฆุภาว).
ลฆุโภชน์ เขียนว่า ลอ-ลิง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องว่าง, อาหารว่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ลฆุโภชน์ น. เครื่องว่าง, อาหารว่าง. (ส.).
ลง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไปสู่เบื้องตํ่าหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น นํ้าลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ; เอาเครื่องมือจับสัตว์นํ้าวางขึง หรือปัก เพื่อจับสัตว์นํ้า เช่น ลงข่าย ลงลอบ ลงอวน ลงเบ็ด; จด เช่น ลงบัญชี; ทําพิธีจารึกมนตร์หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ลงเลขลงยันต์ ลงนะหน้าทอง ลงกระหม่อม; ยอม เช่น ผู้น้อยต้องลงผู้ใหญ่; ตีพิมพ์ออกเผยแพร่ เช่น เอาข่าวไปให้หนังสือพิมพ์ลง ลงแจ้งความ; ตกลงปลงใจแล้วก็ปักใจถือเอาเป็นแน่ เช่น ลงได้ทําเป็นไม่ทิ้ง ลงสู้แล้วไม่ถอย; ปลูก เช่น ลงมะพร้าว ลงลิ้นจี่; ลด เช่น ราคาทองลง ค่าเงินดอลลาร์ลง; ตก เช่น นํ้าค้างลง ฝนลง หมอกลง; เฆี่ยน เช่น ลงไม้ เอาหวายลงหลัง; ท้องเดิน เช่น ทั้งลงทั้งราก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ไปสู่เบื้องตํ่า เช่น ไหลลง เลื่อนลง ถอยลง; มากกว่าเดิม เช่น เลวลง ผอมลง ถูกลง สั้นลง.ลง ก. ไปสู่เบื้องตํ่าหรือไปสู่เบื้องที่ถือว่าตรงข้ามกับขึ้น เช่น นํ้าลง เครื่องบินลง, ไปสู่พื้นดินและพื้นอื่น ๆ เช่น ลงดิน ลงบันได ลงเรือ; เอาเครื่องมือจับสัตว์นํ้าวางขึง หรือปัก เพื่อจับสัตว์นํ้า เช่น ลงข่าย ลงลอบ ลงอวน ลงเบ็ด; จด เช่น ลงบัญชี; ทําพิธีจารึกมนตร์หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น ลงเลขลงยันต์ ลงนะหน้าทอง ลงกระหม่อม; ยอม เช่น ผู้น้อยต้องลงผู้ใหญ่; ตีพิมพ์ออกเผยแพร่ เช่น เอาข่าวไปให้หนังสือพิมพ์ลง ลงแจ้งความ; ตกลงปลงใจแล้วก็ปักใจถือเอาเป็นแน่ เช่น ลงได้ทําเป็นไม่ทิ้ง ลงสู้แล้วไม่ถอย; ปลูก เช่น ลงมะพร้าว ลงลิ้นจี่; ลด เช่น ราคาทองลง ค่าเงินดอลลาร์ลง; ตก เช่น นํ้าค้างลง ฝนลง หมอกลง; เฆี่ยน เช่น ลงไม้ เอาหวายลงหลัง; ท้องเดิน เช่น ทั้งลงทั้งราก. ว. อาการที่ไปสู่เบื้องตํ่า เช่น ไหลลง เลื่อนลง ถอยลง; มากกว่าเดิม เช่น เลวลง ผอมลง ถูกลง สั้นลง.
ลงกระหม่อม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ลงยันต์บนกระหม่อม แล้วเสกเป่าให้อยู่ยงคงกระพันเป็นต้น.ลงกระหม่อม ก. ลงยันต์บนกระหม่อม แล้วเสกเป่าให้อยู่ยงคงกระพันเป็นต้น.
ลงกลอน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่กลอน, เดิมหมายถึงใส่กลอนล่าง.ลงกลอน ก. ใส่กลอน, เดิมหมายถึงใส่กลอนล่าง.
ลงโกศ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง บรรจุศพลงในโกศ, เข้าโกศ ก็ว่า.ลงโกศ ก. บรรจุศพลงในโกศ, เข้าโกศ ก็ว่า.
ลงขัน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเงินใส่ลงในขันเป็นต้นเพื่อช่วยในงานต่าง ๆ เช่น งานตัดจุก, ช่วยกันออกเงินเพื่อการใดการหนึ่ง เช่น ลงขันซื้อตู้เย็นไว้ใช้เป็นส่วนกลาง ลงขันเพื่อรวมเงินเป็นค่าอาหารในเวลาเดินทาง.ลงขัน ก. เอาเงินใส่ลงในขันเป็นต้นเพื่อช่วยในงานต่าง ๆ เช่น งานตัดจุก, ช่วยกันออกเงินเพื่อการใดการหนึ่ง เช่น ลงขันซื้อตู้เย็นไว้ใช้เป็นส่วนกลาง ลงขันเพื่อรวมเงินเป็นค่าอาหารในเวลาเดินทาง.
ลงข่าว เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตีพิมพ์ข่าวออกเผยแพร่.ลงข่าว ก. ตีพิมพ์ข่าวออกเผยแพร่.
ลงเข็ม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ตอกเสาเข็มเพื่อฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, ตอกเข็ม ก็ว่า.ลงเข็ม ก. ตอกเสาเข็มเพื่อฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, ตอกเข็ม ก็ว่า.
ลงแขก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมแรงเพื่อนบ้านมาช่วยกันทำงานเช่นดำนา เกี่ยวข้าว ให้ลุล่วงเร็วขึ้นโดยไม่รับค่าจ้าง และผลัดเปลี่ยนช่วยกันไปตามความจำเป็นของแต่ละบ้าน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง รุมกันข่มขืนกระทําชําเราหญิง.ลงแขก ก. ร่วมแรงเพื่อนบ้านมาช่วยกันทำงานเช่นดำนา เกี่ยวข้าว ให้ลุล่วงเร็วขึ้นโดยไม่รับค่าจ้าง และผลัดเปลี่ยนช่วยกันไปตามความจำเป็นของแต่ละบ้าน; (ปาก) รุมกันข่มขืนกระทําชําเราหญิง.
ลงคราม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เอาผ้าขาวที่ซักแล้วชุบลงในน้ำผสมครามอ่อน ๆ ก่อนนำขึ้นตาก เพื่อให้ผ้าขาวนวลเมื่อแห้งแล้ว.ลงคราม ก. เอาผ้าขาวที่ซักแล้วชุบลงในน้ำผสมครามอ่อน ๆ ก่อนนำขึ้นตาก เพื่อให้ผ้าขาวนวลเมื่อแห้งแล้ว.
ลงความเห็น เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มีความเห็นร่วมกัน.ลงความเห็น ก. มีความเห็นร่วมกัน.
ลงคอ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทําสิ่งที่ขัดต่อคุณธรรมหรือศีลธรรมเป็นต้นโดยไม่ตะขิดตะขวง เช่น แม่หาเงินมาด้วยความยากลำบากลูกยังขโมยได้ลงคอ เด็กตัวเท่านี้แม่ยังตีได้ลงคอ.ลงคอ ว. อาการที่ทําสิ่งที่ขัดต่อคุณธรรมหรือศีลธรรมเป็นต้นโดยไม่ตะขิดตะขวง เช่น แม่หาเงินมาด้วยความยากลำบากลูกยังขโมยได้ลงคอ เด็กตัวเท่านี้แม่ยังตีได้ลงคอ.
ลงคะแนน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความเห็นโดยลงเป็นคะแนน.ลงคะแนน ก. แสดงความเห็นโดยลงเป็นคะแนน.
ลงเงิน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเงินมารวมกันเพื่อทํากิจการต่าง ๆ เช่น ลงเงินกันจัดรถไปทัศนาจร.ลงเงิน ก. เอาเงินมารวมกันเพื่อทํากิจการต่าง ๆ เช่น ลงเงินกันจัดรถไปทัศนาจร.
ลงจอบ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-จอ-จาน-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้จอบขุดดิน, ลงจอบลงเสียม ก็ว่า.ลงจอบ ก. ใช้จอบขุดดิน, ลงจอบลงเสียม ก็ว่า.
ลงชื่อ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, ลงนาม ก็ว่า.ลงชื่อ ก. เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, ลงนาม ก็ว่า.
ลงดาบ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ประหารชีวิตด้วยการใช้ดาบฟันคอให้ขาด เช่น เพชฌฆาตลงดาบนักโทษ.ลงดาบ ก. ประหารชีวิตด้วยการใช้ดาบฟันคอให้ขาด เช่น เพชฌฆาตลงดาบนักโทษ.
ลงแดง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ท้องเดินและถ่ายเป็นเลือดออกมามาก (มักใช้แก่คนอดฝิ่น).ลงแดง ก. ท้องเดินและถ่ายเป็นเลือดออกมามาก (มักใช้แก่คนอดฝิ่น).
ลงตัว เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีเศษ ในคำว่า หารลงตัว. เป็นคำกริยา หมายถึง พอดี เช่น เรื่องนี้ลงตัวแล้ว.ลงตัว ว. ไม่มีเศษ ในคำว่า หารลงตัว. ก. พอดี เช่น เรื่องนี้ลงตัวแล้ว.
ลงถม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ถอ-ถุง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมดำ หรือ ถมยา ก็เรียก.ลงถม ก. ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมดำ หรือ ถมยา ก็เรียก.
ลงถมยาสี เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีต่าง ๆ, เรียกสั้น ๆ ว่า ลงยา.ลงถมยาสี ก. ใช้น้ำยาเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีต่าง ๆ, เรียกสั้น ๆ ว่า ลงยา.
ลงทอง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ปิดทองตามลวดลาย เช่น ลวดลายแกะไม้ลงทอง.ลงทอง ก. ปิดทองตามลวดลาย เช่น ลวดลายแกะไม้ลงทอง.
ลงท้อง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ท้องเดิน.ลงท้อง ก. ท้องเดิน.
ลงทะเบียน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง จดเป็นหลักฐาน เช่น จดหมายลงทะเบียน, ลงชื่อรายงานตัวเป็นหลักฐาน เช่น ลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนา, ลงชื่อแสดงความจำนงเข้าเรียน เช่น ลงทะเบียนเรียนภาคที่ ๑.ลงทะเบียน ก. จดเป็นหลักฐาน เช่น จดหมายลงทะเบียน, ลงชื่อรายงานตัวเป็นหลักฐาน เช่น ลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนา, ลงชื่อแสดงความจำนงเข้าเรียน เช่น ลงทะเบียนเรียนภาคที่ ๑.
ลงทัณฑ์ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ลงโทษผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารหรือวินัยตำรวจ.ลงทัณฑ์ (กฎ) ก. ลงโทษผู้กระทำผิดต่อวินัยทหารหรือวินัยตำรวจ.
ลงท่า เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พระราชพิธีลงสรงในแม่น้ำของเจ้าฟ้า ทางราชการเรียกว่า พระราชพิธีสระสนาน; พิธีนําช้างลงสรงสนานที่ท่า.ลงท่า น. พระราชพิธีลงสรงในแม่น้ำของเจ้าฟ้า ทางราชการเรียกว่า พระราชพิธีสระสนาน; พิธีนําช้างลงสรงสนานที่ท่า.
ลงท้าย เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง จบ เช่น ลงท้ายจดหมายว่า ขอแสดงความนับถือ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ในที่สุด เช่น พูดว่าจะให้เงิน ลงท้ายก็เหลว คนเราลงท้ายก็ต้องตายกันทุกคน, เรียกข้อความที่ลงท้ายจดหมาย เช่น ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ว่า คำลงท้าย.ลงท้าย ก. จบ เช่น ลงท้ายจดหมายว่า ขอแสดงความนับถือ. ว. ในที่สุด เช่น พูดว่าจะให้เงิน ลงท้ายก็เหลว คนเราลงท้ายก็ต้องตายกันทุกคน, เรียกข้อความที่ลงท้ายจดหมาย เช่น ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ว่า คำลงท้าย.
ลงทุน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นำเงินหรือทรัพย์สินเป็นทุนเพื่อประกอบธุรกิจ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมทำสิ่งที่ยากและไม่น่าจะทำได้ เช่น เขาลงทุนโกนหัวแสดงละคร.ลงทุน ก. นำเงินหรือทรัพย์สินเป็นทุนเพื่อประกอบธุรกิจ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมทำสิ่งที่ยากและไม่น่าจะทำได้ เช่น เขาลงทุนโกนหัวแสดงละคร.
ลงโทษ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี เป็นคำกริยา หมายถึง ทําโทษเช่นเฆี่ยน จําขัง ปรับเอาเงิน เป็นต้น.ลงโทษ ก. ทําโทษเช่นเฆี่ยน จําขัง ปรับเอาเงิน เป็นต้น.
ลงนะหน้าทอง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลงอักขระ นะ เป็นอักษรขอมที่หน้าผากและปิดทอง แล้วเอานิ้วหัวแม่มือคลึงให้ทองหายไปในเนื้อ เพื่อให้เกิดเสน่ห์เมตตามหานิยม.ลงนะหน้าทอง ก. ลงอักขระ นะ เป็นอักษรขอมที่หน้าผากและปิดทอง แล้วเอานิ้วหัวแม่มือคลึงให้ทองหายไปในเนื้อ เพื่อให้เกิดเสน่ห์เมตตามหานิยม.
ลงนา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มทํานา, ยกออกจากบ้านไปอยู่นาเพื่อทํานา.ลงนา ก. เริ่มทํานา, ยกออกจากบ้านไปอยู่นาเพื่อทํานา.
ลงนาม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ลงชื่อ.ลงนาม ก. ลงชื่อ.
ลงเนื้อเห็นด้วย เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เห็นพ้องด้วย.ลงเนื้อเห็นด้วย ก. เห็นพ้องด้วย.
ลงโบสถ์ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ลงอุโบสถ; โดยปริยายหมายความว่า เข้ากันได้ (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น นาย ก กับ นาย ข ไม่ลงโบสถ์กัน.ลงโบสถ์ ก. ลงอุโบสถ; โดยปริยายหมายความว่า เข้ากันได้ (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น นาย ก กับ นาย ข ไม่ลงโบสถ์กัน.
ลงปฏัก, ลงประตัก ลงปฏัก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ลงประตัก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แทงด้วยประตัก (ใช้แก่วัวควาย), โดยปริยายหมายความว่า ทำโทษหรือดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นเพื่อให้หลาบจำ.ลงปฏัก, ลงประตัก ก. แทงด้วยประตัก (ใช้แก่วัวควาย), โดยปริยายหมายความว่า ทำโทษหรือดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นเพื่อให้หลาบจำ.
ลงแป้ง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาผ้าชุบลงในนํ้าผสมแป้งมันที่กวนสุกแล้ว เพื่อให้ผ้าแข็งอยู่ตัว.ลงแป้ง ก. เอาผ้าชุบลงในนํ้าผสมแป้งมันที่กวนสุกแล้ว เพื่อให้ผ้าแข็งอยู่ตัว.
ลงผี เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เชิญผีมาสิงอยู่ในคนแล้วถามเหตุร้ายดี, เข้าผี หรือ ทรงเจ้าเข้าผี ก็ว่า.ลงผี ก. เชิญผีมาสิงอยู่ในคนแล้วถามเหตุร้ายดี, เข้าผี หรือ ทรงเจ้าเข้าผี ก็ว่า.
ลงฝัก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคเกิดเพราะเส้นเลื่อนลงสู่ถุงอัณฑะทําให้ถุงอัณฑะโต เรียกว่า กระษัยลงฝัก.ลงฝัก น. โรคเกิดเพราะเส้นเลื่อนลงสู่ถุงอัณฑะทําให้ถุงอัณฑะโต เรียกว่า กระษัยลงฝัก.
ลงพระบังคน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ, ถ้าถ่ายปัสสาวะ เรียกว่า ลงพระบังคนเบา, ถ้าถ่ายอุจจาระ เรียกว่า ลงพระบังคนหนัก.ลงพระบังคน (ราชา) ก. ถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ, ถ้าถ่ายปัสสาวะ เรียกว่า ลงพระบังคนเบา, ถ้าถ่ายอุจจาระ เรียกว่า ลงพระบังคนหนัก.
ลงพื้น เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาวัตถุเช่นดินสอพองหรือรักสมุกทาลงบนพื้นเพื่อให้ผิวเรียบก่อนที่จะทาน้ำมัน ทาสี หรือ เขียนลวดลาย.ลงพื้น ก. เอาวัตถุเช่นดินสอพองหรือรักสมุกทาลงบนพื้นเพื่อให้ผิวเรียบก่อนที่จะทาน้ำมัน ทาสี หรือ เขียนลวดลาย.
ลงพุง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีพุงพลุ้ยหรือยื่นออกมา.ลงพุง ว. มีพุงพลุ้ยหรือยื่นออกมา.
ลงมติ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ลงความเห็นร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ง.ลงมติ ก. ลงความเห็นร่วมกันอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ลงมีด เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง จดมีด คือ เริ่มฟัน.ลงมีด ก. จดมีด คือ เริ่มฟัน.
ลงมีดลงไม้ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ตีรันฟันแทง.ลงมีดลงไม้ ก. ตีรันฟันแทง.
ลงมือ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มทํา, ตั้งต้นทํา, เช่น ลงมือกินได้, ทำ เช่น กับข้าววันนี้ฉันลงมือเอง งานนี้เธอลงมือเองเชียวหรือ.ลงมือ ก. เริ่มทํา, ตั้งต้นทํา, เช่น ลงมือกินได้, ทำ เช่น กับข้าววันนี้ฉันลงมือเอง งานนี้เธอลงมือเองเชียวหรือ.
ลงไม้ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง เฆี่ยนด้วยไม้; เอาไปใส่คาหรือใส่ขื่อไว้.ลงไม้ ก. เฆี่ยนด้วยไม้; เอาไปใส่คาหรือใส่ขื่อไว้.
ลงยา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้ว ใช้ความร้อนอบให้นํ้ายาติดและให้พื้นเป็นสีต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า ลงถมยาสี.ลงยา ก. ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้ว ใช้ความร้อนอบให้นํ้ายาติดและให้พื้นเป็นสีต่าง ๆ, เรียกเต็มว่า ลงถมยาสี.
ลงรอย, ลงรอยกัน ลงรอย เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ลงรอยกัน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เข้ากันได้.ลงรอย, ลงรอยกัน ก. เข้ากันได้.
ลงรัก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอารักทาลงบนผิวสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อทําให้ผิวเรียบ เกลี้ยง ดํา เป็นมัน.ลงรัก ก. เอารักทาลงบนผิวสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อทําให้ผิวเรียบ เกลี้ยง ดํา เป็นมัน.
ลงราก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ท้องเดินและอาเจียน; วางฐานรากอันเป็นโครงสร้างส่วนที่รองรับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตอนล่างสุดไม่ให้ทรุด เช่น ลงรากตึก ลงรากอาคาร; มีรากงอกลงไปยึดดิน เช่น ต้นไม้ลงราก.ลงราก ก. ท้องเดินและอาเจียน; วางฐานรากอันเป็นโครงสร้างส่วนที่รองรับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างตอนล่างสุดไม่ให้ทรุด เช่น ลงรากตึก ลงรากอาคาร; มีรากงอกลงไปยึดดิน เช่น ต้นไม้ลงราก.
ลงเรือลำเดียวกัน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำงานร่วมกัน, ร่วมรับผลการกระทำด้วยกัน.ลงเรือลำเดียวกัน (สำ) ก. ทำงานร่วมกัน, ร่วมรับผลการกระทำด้วยกัน.
ลงแรง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกแรงทํางาน.ลงแรง ก. ออกแรงทํางาน.
ลงโรง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มการแสดงมหรสพเช่นโขน ละคร ลิเก; เข้าสู่โรงพิธีซัดนํ้า.ลงโรง ก. เริ่มการแสดงมหรสพเช่นโขน ละคร ลิเก; เข้าสู่โรงพิธีซัดนํ้า.
ลงเลขลงยันต์ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-งอ-งู-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เขียน สักหรือแกะสลักตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระ หรือรูปภาพลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น พร้อมกับร่ายเวทมนตร์คาถากำกับ ถือว่าเป็นของขลัง.ลงเลขลงยันต์ ก. เขียน สักหรือแกะสลักตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระ หรือรูปภาพลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น พร้อมกับร่ายเวทมนตร์คาถากำกับ ถือว่าเป็นของขลัง.
ลงเวลา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง บันทึกเวลาที่มาทำงานและกลับบ้าน.ลงเวลา ก. บันทึกเวลาที่มาทำงานและกลับบ้าน.
ลงศอก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาศอกกระทุ้งลง เช่น นักมวยลงศอกคู่ต่อสู้; ใช้ศอกยันลงกับพื้นเพื่อพยุงตัวขณะหมอบ.ลงศอก ก. เอาศอกกระทุ้งลง เช่น นักมวยลงศอกคู่ต่อสู้; ใช้ศอกยันลงกับพื้นเพื่อพยุงตัวขณะหมอบ.
ลงส้น เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เดินกระแทกส้นเท้าแสดงความไม่พอใจเป็นต้น.ลงส้น ก. อาการที่เดินกระแทกส้นเท้าแสดงความไม่พอใจเป็นต้น.
ลงสนาม เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ลงแข่งขัน, ลงประลองความสามารถ, เช่น ฟุตบอลรอบนี้ไทยลงสนามกับเกาหลี ลงสนามบอกสักวา.ลงสนาม ก. ลงแข่งขัน, ลงประลองความสามารถ, เช่น ฟุตบอลรอบนี้ไทยลงสนามกับเกาหลี ลงสนามบอกสักวา.
ลงสมุก เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[ลงสะหฺมุก] เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ดินหรือถ่านใบตองแห้งเป็นต้นป่นเป็นผงผสมกับยางรักให้เหนียว ทาทับบนพื้นวัตถุเพื่อเตรียมผิวให้แน่นและเรียบ.ลงสมุก [ลงสะหฺมุก] ก. ใช้ดินหรือถ่านใบตองแห้งเป็นต้นป่นเป็นผงผสมกับยางรักให้เหนียว ทาทับบนพื้นวัตถุเพื่อเตรียมผิวให้แน่นและเรียบ.
ลงสิ่ว เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง แกะสลักไม้โดยใช้สิ่วกัดผิวไม้ออกให้เหลือส่วนที่ต้องการ.ลงสิ่ว ก. แกะสลักไม้โดยใช้สิ่วกัดผิวไม้ออกให้เหลือส่วนที่ต้องการ.
ลงสี เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ระบายสีเป็นรูปภาพ.ลงสี ก. ระบายสีเป็นรูปภาพ.
ลงเส้น เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนเส้นให้เห็นเป็นรูปภาพ.ลงเส้น ก. เขียนเส้นให้เห็นเป็นรูปภาพ.
ลงหญ้าช้าง เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง การลงโทษในสมัยก่อน คือ เอาตัวไปเป็นคนเลี้ยงช้าง.ลงหญ้าช้าง น. การลงโทษในสมัยก่อน คือ เอาตัวไปเป็นคนเลี้ยงช้าง.
ลงหลักปักฐาน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งที่อยู่ทำมาหากินเป็นหลักแหล่ง.ลงหลักปักฐาน (สำ) ก. ตั้งที่อยู่ทำมาหากินเป็นหลักแหล่ง.
ลงหัว เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง มีหัวงอกอยู่ใต้ดิน (ใช้แก่พืชบางชนิด) เช่น มันลงหัว เผือกลงหัว; โดยปริยายหมายความว่า ยอมอ่อนน้อม แต่มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ยอมลงหัวให้ใคร.ลงหัว ก. มีหัวงอกอยู่ใต้ดิน (ใช้แก่พืชบางชนิด) เช่น มันลงหัว เผือกลงหัว; โดยปริยายหมายความว่า ยอมอ่อนน้อม แต่มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ยอมลงหัวให้ใคร.
ลงหิน เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเครื่องใช้ประเภทหนึ่ง เช่น ขัน พาน ทัพพี ที่ทำด้วยทองแดงเจือดีบุก เนื้อเปราะ ว่า เครื่องลงหิน หรือ ทองลงหิน.ลงหิน ว. เรียกเครื่องใช้ประเภทหนึ่ง เช่น ขัน พาน ทัพพี ที่ทำด้วยทองแดงเจือดีบุก เนื้อเปราะ ว่า เครื่องลงหิน หรือ ทองลงหิน.
ลงอาญา, ลงอาชญา ลงอาญา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ลงอาชญา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ลงโทษหรือทําโทษด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน.ลงอาญา, ลงอาชญา ก. ลงโทษหรือทําโทษด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน.
ลงอุโบสถ เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าร่วมสังฆกรรมฟังพระปาติโมกข์ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า วันแรม ๑๔ หรือ แรม ๑๕ คํ่าของเดือน (ใช้แก่พระสงฆ์), ลงโบสถ์ ก็ว่า.ลงอุโบสถ ก. เข้าร่วมสังฆกรรมฟังพระปาติโมกข์ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า วันแรม ๑๔ หรือ แรม ๑๕ คํ่าของเดือน (ใช้แก่พระสงฆ์), ลงโบสถ์ ก็ว่า.
ลงเอย เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง จบ, เลิก, สิ้นสุด, ยุติ, เช่น เรื่องนี้ลงเอยเสียที.ลงเอย ก. จบ, เลิก, สิ้นสุด, ยุติ, เช่น เรื่องนี้ลงเอยเสียที.
ล่ง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โล่ง, ว่าง, เปล่า, ไม่มีเครื่องกําบัง.ล่ง (กลอน) ว. โล่ง, ว่าง, เปล่า, ไม่มีเครื่องกําบัง.
ลงกา เขียนว่า ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเมืองของทศกัณฐ์ในเรื่องรามเกียรติ์.ลงกา น. ชื่อเมืองของทศกัณฐ์ในเรื่องรามเกียรติ์.
ล้งเล้ง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อว่าหรือดุว่าด้วยเสียงเอ็ดอึง เช่น ฉันทำแก้วแตกเขามาล้งเล้งเอากับฉันใหญ่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ส่งเสียงเอ็ดอึงราวกับทะเลาะวิวาทกัน เช่น พูดกันล้งเล้ง.ล้งเล้ง (ปาก) ก. ต่อว่าหรือดุว่าด้วยเสียงเอ็ดอึง เช่น ฉันทำแก้วแตกเขามาล้งเล้งเอากับฉันใหญ่. ว. อาการที่ส่งเสียงเอ็ดอึงราวกับทะเลาะวิวาทกัน เช่น พูดกันล้งเล้ง.
ลด เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง น้อยลง ตํ่าลง หรือทําให้น้อยลงตํ่าลงกว่าที่มีอยู่เป็นอยู่แต่เดิม เช่น น้ำลด ลดโทษ ลดราคา ลดน้ำหนัก ไข้ลด ลดธงลงจากเสา, ผ่อนลง เช่น ลดฝีเท้า ลดฝีจักร ลดระดับ ลดเสียง, เอาออก เช่น ลดฝาเรือนออกด้านหนึ่งทำให้ห้องโล่งขึ้น, หย่อนตัวลงนั่งหรือนอน เช่น ลดตัวลงนั่ง.ลด ก. น้อยลง ตํ่าลง หรือทําให้น้อยลงตํ่าลงกว่าที่มีอยู่เป็นอยู่แต่เดิม เช่น น้ำลด ลดโทษ ลดราคา ลดน้ำหนัก ไข้ลด ลดธงลงจากเสา, ผ่อนลง เช่น ลดฝีเท้า ลดฝีจักร ลดระดับ ลดเสียง, เอาออก เช่น ลดฝาเรือนออกด้านหนึ่งทำให้ห้องโล่งขึ้น, หย่อนตัวลงนั่งหรือนอน เช่น ลดตัวลงนั่ง.
ลดเขื่อน เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ลงเขื่อน, ทําเขื่อน.ลดเขื่อน ก. ลงเขื่อน, ทําเขื่อน.
ลดชั้น เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าเรียนชั้นต่ำกว่าเดิม เช่น นักเรียนที่เข้าใหม่ชั้นประถมปีที่ ๓ ถูกลดชั้นไปอยู่ชั้นประถมปีที่ ๒.ลดชั้น ก. เข้าเรียนชั้นต่ำกว่าเดิม เช่น นักเรียนที่เข้าใหม่ชั้นประถมปีที่ ๓ ถูกลดชั้นไปอยู่ชั้นประถมปีที่ ๒.
ลดตัว เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่อมตัว, ไม่ถือตัว, เช่น ลูกจ้างนิยมนายจ้างที่ลดตัวมาเล่นหัวกับตน, ไม่ไว้ตัว เช่น เป็นผู้ใหญ่แล้วยังลดตัวไปทะเลาะกับเด็ก.ลดตัว ก. ถ่อมตัว, ไม่ถือตัว, เช่น ลูกจ้างนิยมนายจ้างที่ลดตัวมาเล่นหัวกับตน, ไม่ไว้ตัว เช่น เป็นผู้ใหญ่แล้วยังลดตัวไปทะเลาะกับเด็ก.
ลดเพดานบิน เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ลดระดับความสูงในการบิน.ลดเพดานบิน ก. ลดระดับความสูงในการบิน.
ลดราวาศอก เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอก เขาเป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง.ลดราวาศอก ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอก เขาเป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง.
ลดรูป เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดรูปสระบางรูปออกเมื่อมีตัวสะกด แต่คงออกเสียงสระอย่างเดิม เช่น ในคำว่า ลง มี ล สระ โ–ะ ง สะกด ลดรูปสระ โ–ะ เป็น ลง.ลดรูป ก. ตัดรูปสระบางรูปออกเมื่อมีตัวสะกด แต่คงออกเสียงสระอย่างเดิม เช่น ในคำว่า ลง มี ล สระ โ–ะ ง สะกด ลดรูปสระ โ–ะ เป็น ลง.
ลดละ เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมเว้นให้, ยอมหย่อนให้, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ตำรวจติดตามผู้ร้ายอย่างไม่ลดละ, ละลด ก็ว่า.ลดละ ก. ยอมเว้นให้, ยอมหย่อนให้, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ตำรวจติดตามผู้ร้ายอย่างไม่ลดละ, ละลด ก็ว่า.
ลดเลี้ยว เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อ้อมไปอ้อมมา, คดไปคดมา, เช่น ทางลดเลี้ยวไปตามไหล่เขา, อ้อมค้อม, ไม่ตรงไปตรงมา, เช่น พูดจาลดเลี้ยว, เลี้ยวลด ก็ว่า.ลดเลี้ยว ก. อ้อมไปอ้อมมา, คดไปคดมา, เช่น ทางลดเลี้ยวไปตามไหล่เขา, อ้อมค้อม, ไม่ตรงไปตรงมา, เช่น พูดจาลดเลี้ยว, เลี้ยวลด ก็ว่า.
ลดเลี้ยวเกี้ยวพา เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พูดจาหว่านล้อมเป็นเชิงเกี้ยว.ลดเลี้ยวเกี้ยวพา ก. พูดจาหว่านล้อมเป็นเชิงเกี้ยว.
ลดหย่อน เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่อนให้เบาลง เช่น ลดหย่อนภาษี ขอลดหย่อนดอกเบี้ยจากร้อยละ ๑๒ เป็นร้อยละ ๑๐, ทุเลา เช่น ลดหย่อนโทษ.ลดหย่อน ก. ผ่อนให้เบาลง เช่น ลดหย่อนภาษี ขอลดหย่อนดอกเบี้ยจากร้อยละ ๑๒ เป็นร้อยละ ๑๐, ทุเลา เช่น ลดหย่อนโทษ.
ลดหลั่น เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่ำลงไปเป็นชั้น ๆ เช่น นั่งลดหลั่นกันไปตามขั้นบันได, ตามลำดับชั้น เช่น พนักงานได้รับโบนัสมากน้อยลดหลั่นกันไป, ก่อนหลังกันเป็นลำดับ เช่น ข้าราชการเข้ารับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ลดหลั่นไปตามลำดับชั้น.ลดหลั่น ว. ต่ำลงไปเป็นชั้น ๆ เช่น นั่งลดหลั่นกันไปตามขั้นบันได, ตามลำดับชั้น เช่น พนักงานได้รับโบนัสมากน้อยลดหลั่นกันไป, ก่อนหลังกันเป็นลำดับ เช่น ข้าราชการเข้ารับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ลดหลั่นไปตามลำดับชั้น.
ลดา เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา[ละ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครือเถา, เครือวัลย์; สาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ลตา เขียนว่า ลอ-ลิง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.ลดา [ละ–] น. เครือเถา, เครือวัลย์; สาย. (ป., ส. ลตา).
ลดาวัลย์ เขียนว่า ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Porana volubilis Burm. ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ กลิ่นหอมเย็น.ลดาวัลย์ น. ชื่อไม้เถาชนิด Porana volubilis Burm. ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ กลิ่นหอมเย็น.
ลน เขียนว่า ลอ-ลิง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อังไฟเพื่อให้ร้อนแต่ผิว ๆ หรือให้อ่อนเป็นต้น เช่น เอาขี้ผึ้งลนไฟ เอาไม้ลนไฟให้อ่อน; วิ่ง, อยู่นิ่งไม่ได้, มักใช้ประกอบคําอื่นว่า ลนลาน ลุกลน ลุกลี้ลุกลน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รีบร้อนจนไม่เป็นระเบียบ, สับสน, เช่น ทำอะไรลนไปหมด พูดลนจนฟังไม่รู้เรื่อง.ลน ก. อังไฟเพื่อให้ร้อนแต่ผิว ๆ หรือให้อ่อนเป็นต้น เช่น เอาขี้ผึ้งลนไฟ เอาไม้ลนไฟให้อ่อน; วิ่ง, อยู่นิ่งไม่ได้, มักใช้ประกอบคําอื่นว่า ลนลาน ลุกลน ลุกลี้ลุกลน. ว. อาการที่รีบร้อนจนไม่เป็นระเบียบ, สับสน, เช่น ทำอะไรลนไปหมด พูดลนจนฟังไม่รู้เรื่อง.
ลนควัน เขียนว่า ลอ-ลิง-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้อ่อนหรือให้แห้งด้วยควันร้อน.ลนควัน ก. ทําให้อ่อนหรือให้แห้งด้วยควันร้อน.
ลนลาน เขียนว่า ลอ-ลิง-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กลัว ตกใจ หรือรีบร้อนเป็นต้นจนทำอะไรไม่ถูก เช่น ไฟไหม้ข้างบ้านเขาวิ่งหนีไฟลนลานเลยไม่ได้หยิบอะไรมา.ลนลาน ว. อาการที่กลัว ตกใจ หรือรีบร้อนเป็นต้นจนทำอะไรไม่ถูก เช่น ไฟไหม้ข้างบ้านเขาวิ่งหนีไฟลนลานเลยไม่ได้หยิบอะไรมา.
ล่น เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง วิ่ง, วิ่งเร็ว.ล่น ก. วิ่ง, วิ่งเร็ว.
ล้น เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง พ้นหรือเลยระดับที่เปี่ยมอยู่แล้วจนไหลออกมา เช่น น้ำล้นตุ่ม ข้าวสารล้นกระสอบ, เกินกำหนดจนคงอยู่ไม่ได้ เช่น คนมากจนล้นห้องประชุม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่ง เช่น งานล้น สวยล้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ค่อนข้างทะลึ่ง, เกินพอดี, เช่น เด็กคนนี้พูดจาล้น.ล้น ก. พ้นหรือเลยระดับที่เปี่ยมอยู่แล้วจนไหลออกมา เช่น น้ำล้นตุ่ม ข้าวสารล้นกระสอบ, เกินกำหนดจนคงอยู่ไม่ได้ เช่น คนมากจนล้นห้องประชุม. ว. ยิ่ง เช่น งานล้น สวยล้น; (ปาก) ค่อนข้างทะลึ่ง, เกินพอดี, เช่น เด็กคนนี้พูดจาล้น.
ล้นกระเพาะ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่กินมากจนแน่น เช่น กินจนล้นกระเพาะ.ล้นกระเพาะ ว. ลักษณะที่กินมากจนแน่น เช่น กินจนล้นกระเพาะ.
ล้นเกล้าล้นกระหม่อม เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินโดยความเคารพนับถือมาก เช่น ล้นเกล้าล้นกระหม่อมของปวงชนชาวไทย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้เป็นราชาศัพท์ หมายความว่า มากล้นพ้นประมาณ, ใช้เขียนย่อว่า ล้นเกล้าฯ ก็ได้ เช่น นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ หาที่สุดมิได้.ล้นเกล้าล้นกระหม่อม น. คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินโดยความเคารพนับถือมาก เช่น ล้นเกล้าล้นกระหม่อมของปวงชนชาวไทย. ว. ใช้เป็นราชาศัพท์ หมายความว่า มากล้นพ้นประมาณ, ใช้เขียนย่อว่า ล้นเกล้าฯ ก็ได้ เช่น นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ หาที่สุดมิได้.
ล้นตลาด เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากจนเกินความต้องการของตลาด เช่น สินค้าล้นตลาด.ล้นตลาด ว. มากจนเกินความต้องการของตลาด เช่น สินค้าล้นตลาด.
ล้นพ้น เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-พอ-พาน-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่งยวด, ไม่มีอะไรเปรียบ, เช่น ยากจนเป็นล้นพ้น พ่อแม่มีพระคุณเป็นล้นพ้น.ล้นพ้น ว. ยิ่งยวด, ไม่มีอะไรเปรียบ, เช่น ยากจนเป็นล้นพ้น พ่อแม่มีพระคุณเป็นล้นพ้น.
ล้นฟ้า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมายสุดคณานับ เช่น รวยล้นฟ้า.ล้นฟ้า ว. มากมายสุดคณานับ เช่น รวยล้นฟ้า.
ล้นมือ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากเกินกว่าจะทำไหว เช่น มีงานล้นมือ.ล้นมือ ว. มากเกินกว่าจะทำไหว เช่น มีงานล้นมือ.
ล้นหลาม เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมายเหลือประมาณ เช่น ประชาชนมาเฝ้ารับเสด็จอย่างล้นหลาม.ล้นหลาม ว. มากมายเหลือประมาณ เช่น ประชาชนมาเฝ้ารับเสด็จอย่างล้นหลาม.
ล้นเหลือ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมายเหลือเฟือ เช่น มีอาหารกินล้นเหลือ.ล้นเหลือ ว. มากมายเหลือเฟือ เช่น มีอาหารกินล้นเหลือ.
ลบ เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้หายไปด้วยอาการเช็ดหรือถู, ทำให้หายไป เช่น น้ำลบฝั่ง; หักออก, ชักออก, (ใช้แก่วิธีเลข). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เป็นไปในทางร้าย ทางไม่ดี หรือทางทําลาย เช่น มองในทางลบ. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเครื่องหมายดังนี้ - ว่า เครื่องหมายลบ.ลบ ก. ทำให้หายไปด้วยอาการเช็ดหรือถู, ทำให้หายไป เช่น น้ำลบฝั่ง; หักออก, ชักออก, (ใช้แก่วิธีเลข). ว. ที่เป็นไปในทางร้าย ทางไม่ดี หรือทางทําลาย เช่น มองในทางลบ. น. เรียกเครื่องหมายดังนี้ - ว่า เครื่องหมายลบ.
ลบรอย เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สบประมาท.ลบรอย ก. สบประมาท.
ลบล้าง เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หมดไปสิ้นไป เช่น ลบล้างความผิด, ทำให้เป็นโมฆะทางกฎหมาย เช่น ลบล้างหนี้สิน ลบล้างมลทิน.ลบล้าง ก. ทําให้หมดไปสิ้นไป เช่น ลบล้างความผิด, ทำให้เป็นโมฆะทางกฎหมาย เช่น ลบล้างหนี้สิน ลบล้างมลทิน.
ลบเลือน เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมจากสภาพเดิมจนเห็นหรือจําได้แต่ราง ๆ เช่น ตัวหนังสือลบเลือน ความจําลบเลือน.ลบเลือน ก. เสื่อมจากสภาพเดิมจนเห็นหรือจําได้แต่ราง ๆ เช่น ตัวหนังสือลบเลือน ความจําลบเลือน.
ลบโลก เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นใหญ่ปราบได้ตลอดโลก.ลบโลก ว. เป็นใหญ่ปราบได้ตลอดโลก.
ลบศักราช เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกใช้ศักราชเก่า ตั้งศักราชใหม่แทน.ลบศักราช ก. เลิกใช้ศักราชเก่า ตั้งศักราชใหม่แทน.
ลบหลู่ เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือต่อผู้มีอุปการคุณโดยถือว่าไม่สำคัญควรแก่การเคารพนับถือ เช่น ลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาที่ตนไม่ได้นับถือ ลบหลู่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ นาย ก ลบหลู่บิดานาย ข.ลบหลู่ ก. แสดงอาการเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือต่อผู้มีอุปการคุณโดยถือว่าไม่สำคัญควรแก่การเคารพนับถือ เช่น ลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาที่ตนไม่ได้นับถือ ลบหลู่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ นาย ก ลบหลู่บิดานาย ข.
ลบเหลี่ยม เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้เสียชั้นเชิง เสียเกียรติ หรือเสียความเชื่อถือ ต่อหน้าผู้อื่นหรือต่อหน้าชุมนุมชน.ลบเหลี่ยม ก. ทำให้เสียชั้นเชิง เสียเกียรติ หรือเสียความเชื่อถือ ต่อหน้าผู้อื่นหรือต่อหน้าชุมนุมชน.
ลบม เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า[ละบม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ระบม เช่น นางก็ถวายบังคม ลบมพิลาลศกําสรดไปมา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์.ลบม [ละบม] (แบบ) ก. ระบม เช่น นางก็ถวายบังคม ลบมพิลาลศกําสรดไปมา. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ลบอง เขียนว่า ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู[ละบอง] เป็นคำนาม หมายถึง แบบ, ฉบับ. เป็นคำกริยา หมายถึง แต่ง, ทํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ลฺบง เขียนว่า ลอ-ลิง-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ว่า ลอง .ลบอง [ละบอง] น. แบบ, ฉบับ. ก. แต่ง, ทํา. (ข. ลฺบง ว่า ลอง).
ลปก เขียนว่า ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-กอ-ไก่[ละปก] เป็นคำนาม หมายถึง คนพูดบ่นเพ้อต่าง ๆ; คนพูดด้วยความอยากได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ลปก [ละปก] น. คนพูดบ่นเพ้อต่าง ๆ; คนพูดด้วยความอยากได้. (ป.).
ลปนะ เขียนว่า ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[ละปะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, การบ่นพึมพํา; ปาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ลปนะ [ละปะนะ] น. การพูด, การบ่นพึมพํา; ปาก. (ป., ส.).
ลพ เขียนว่า ลอ-ลิง-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง การตัด, การเกี่ยว; ส่วนที่ตัดออก, ท่อน, ชิ้น; หยาดนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ลว เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน.ลพ น. การตัด, การเกี่ยว; ส่วนที่ตัดออก, ท่อน, ชิ้น; หยาดนํ้า. (ป., ส. ลว).
ลพุช, ลาพุช ลพุช เขียนว่า ลอ-ลิง-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ลาพุช เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง [ละพุด, ลาพุด] เป็นคำนาม หมายถึง มะหาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ลพุช, ลาพุช [ละพุด, ลาพุด] น. มะหาด. (ป.).
ลม เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ ของร่างกาย คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ถ้าลมในร่างกายแปรปรวนไม่ปรกติจะทําให้เกิดอาการต่าง ๆ ได้ เช่น เป็นลม; ลมหายใจ เช่น หมดลม สิ้นลม หมายความว่า ตาย; อากาศที่เคลื่อนที่; ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการหลายอย่าง เช่น วิงเวียน หน้ามืด คลื่นเหียน, ถ้าอาการรุนแรงอาจถึงแก่สิ้นสติหรือตายได้ เช่น เขาเป็นลมแน่นิ่งไป.ลม ๑ น. ธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ ของร่างกาย คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, ถ้าลมในร่างกายแปรปรวนไม่ปรกติจะทําให้เกิดอาการต่าง ๆ ได้ เช่น เป็นลม; ลมหายใจ เช่น หมดลม สิ้นลม หมายความว่า ตาย; อากาศที่เคลื่อนที่; ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีอาการหลายอย่าง เช่น วิงเวียน หน้ามืด คลื่นเหียน, ถ้าอาการรุนแรงอาจถึงแก่สิ้นสติหรือตายได้ เช่น เขาเป็นลมแน่นิ่งไป.
ลม ๆ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นแก่น, ไม่เป็นสาระ; อาการเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่ง ๆ บางทีก็ดี บางทีก็ร้าย.ลม ๆ ว. ไม่เป็นแก่น, ไม่เป็นสาระ; อาการเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่ง ๆ บางทีก็ดี บางทีก็ร้าย.
ลมกรด เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง กระแสลมแรงจัดในบรรยากาศชั้นบนในระดับสูงตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐–๑๕,๐๐๐ เมตร มีลักษณะเป็นลําคล้ายท่อรูปรีขนาดใหญ่, โดยปริยายหมายความว่า เร็วมาก เช่น นักวิ่งลมกรด.ลมกรด น. กระแสลมแรงจัดในบรรยากาศชั้นบนในระดับสูงตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐–๑๕,๐๐๐ เมตร มีลักษณะเป็นลําคล้ายท่อรูปรีขนาดใหญ่, โดยปริยายหมายความว่า เร็วมาก เช่น นักวิ่งลมกรด.
ลมกระโชก เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ลมแรงที่เกิดในทันทีทันใดชั่วขณะหนึ่ง, ลมที่พัดแรงเป็นพัก ๆ.ลมกระโชก น. ลมแรงที่เกิดในทันทีทันใดชั่วขณะหนึ่ง, ลมที่พัดแรงเป็นพัก ๆ.
ลมโกรก เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดอยู่เรื่อย ๆ.ลมโกรก น. ลมที่พัดอยู่เรื่อย ๆ.
ลมขึ้น เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมดันออกจากภายในร่างกาย ทําให้หาวเรอหรือให้เกิดอาการวิงเวียน หน้ามืด และอาเจียน ในกรณีหลังนี้บางทีก็เรียกว่า ลมขึ้นเบื้องสูง.ลมขึ้น ก. อาการที่ลมดันออกจากภายในร่างกาย ทําให้หาวเรอหรือให้เกิดอาการวิงเวียน หน้ามืด และอาเจียน ในกรณีหลังนี้บางทีก็เรียกว่า ลมขึ้นเบื้องสูง.
ลมค้า เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลมซึ่งพัดออกจากบริเวณความกดอากาศสูงกึ่งโซนร้อนไปยังบริเวณความกดอากาศตํ่าที่เส้นศูนย์สูตร ในซีกโลกเหนือจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้จะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trade เขียนว่า ที-อา-เอ-ดี-อี wind เขียนว่า ดับเบิลยู-ไอ-เอ็น-ดี .ลมค้า น. ลมซึ่งพัดออกจากบริเวณความกดอากาศสูงกึ่งโซนร้อนไปยังบริเวณความกดอากาศตํ่าที่เส้นศูนย์สูตร ในซีกโลกเหนือจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้จะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้. (อ. trade wind).
ลมงวง, ลมงวงช้าง ลมงวง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-งอ-งู-วอ-แหวน-งอ-งู ลมงวงช้าง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-งอ-งู-วอ-แหวน-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมชนิดหนึ่ง เมื่อเริ่มเกิดจะเห็นเป็นลํายื่นลงมาจากใต้ฐานเมฆ มีลักษณะคล้ายงวงช้าง ถ้ามีกําลังแรงมาก ลํานี้จะยาวลงมามาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tornado เขียนว่า ที-โอ-อา-เอ็น-เอ-ดี-โอ.ลมงวง, ลมงวงช้าง น. ลมชนิดหนึ่ง เมื่อเริ่มเกิดจะเห็นเป็นลํายื่นลงมาจากใต้ฐานเมฆ มีลักษณะคล้ายงวงช้าง ถ้ามีกําลังแรงมาก ลํานี้จะยาวลงมามาก. (อ. tornado).
ลมจับ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง มีอาการวิงเวียนหน้ามืดบางคราวถึงกับหมดสติ, เป็นลม หรือ เป็นลมเป็นแล้ง ก็ว่า.ลมจับ ก. มีอาการวิงเวียนหน้ามืดบางคราวถึงกับหมดสติ, เป็นลม หรือ เป็นลมเป็นแล้ง ก็ว่า.
ลมเฉื่อย เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดเรื่อย ๆ, ลมที่พัดช้า ๆ.ลมเฉื่อย น. ลมที่พัดเรื่อย ๆ, ลมที่พัดช้า ๆ.
ลมชวย เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดอ่อน ๆ, ลมที่พัดเรื่อย ๆ.ลมชวย น. ลมที่พัดอ่อน ๆ, ลมที่พัดเรื่อย ๆ.
ลมชาย เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลมโชย.ลมชาย น. ลมโชย.
ลมโชย เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดอ่อน ๆ, ลมชาย ก็ว่า.ลมโชย น. ลมที่พัดอ่อน ๆ, ลมชาย ก็ว่า.
ลมแดกขึ้น เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา.ลมแดกขึ้น ก. อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา.
ลมแดง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมพายุที่พัดแรงจัด ท้องฟ้ามีสีแดง.ลมแดง น. ลมพายุที่พัดแรงจัด ท้องฟ้ามีสีแดง.
ลมแดด เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เป็นลมเพราะโดนแดดจัด.ลมแดด ว. อาการที่เป็นลมเพราะโดนแดดจัด.
ลมตก เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง กระแสลมพัดอ่อน ๆ (มักพัดในเวลาเย็น) เช่น แดดร่มลมตก.ลมตก น. กระแสลมพัดอ่อน ๆ (มักพัดในเวลาเย็น) เช่น แดดร่มลมตก.
ลมตะกัง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ตามตำราแพทย์แผนโบราณว่าทำให้มีอาการปวดหัวเวลาเช้า ๆ ปวดกระบอกตา เมื่อเห็นแดดจะลืมตาไม่ขึ้น, ลมปะกัง ก็ว่า.ลมตะกัง น. ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ตามตำราแพทย์แผนโบราณว่าทำให้มีอาการปวดหัวเวลาเช้า ๆ ปวดกระบอกตา เมื่อเห็นแดดจะลืมตาไม่ขึ้น, ลมปะกัง ก็ว่า.
ลมตะเภา เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลมชนิดหนึ่งพัดมาจากทิศใต้ไปทางทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.ลมตะเภา น. ลมชนิดหนึ่งพัดมาจากทิศใต้ไปทางทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.
ลมตีขึ้น เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมในท้องตีขึ้นมา.ลมตีขึ้น ก. อาการที่ลมในท้องตีขึ้นมา.
ลมตึง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมกระโชกแรง.ลมตึง น. ลมกระโชกแรง.
ลมทวนลมค้า เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลมชั้นบนที่อยู่เหนือลมค้าในเขตร้อนและพัดสวนทางกับลมค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ anti เขียนว่า เอ-เอ็น-ที-ไอ trade เขียนว่า ที-อา-เอ-ดี-อี wind เขียนว่า ดับเบิลยู-ไอ-เอ็น-ดี .ลมทวนลมค้า น. ลมชั้นบนที่อยู่เหนือลมค้าในเขตร้อนและพัดสวนทางกับลมค้า. (อ. anti trade wind).
ลมทะเล เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดจากทะเลเข้าหาฝั่งในเวลากลางวัน เนื่องจากเวลากลางวันพื้นดินร้อนกว่าพื้นนํ้า ทําให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากทะเลซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงจึงเข้ามาแทนที่.ลมทะเล น. ลมที่พัดจากทะเลเข้าหาฝั่งในเวลากลางวัน เนื่องจากเวลากลางวันพื้นดินร้อนกว่าพื้นนํ้า ทําให้อากาศที่อยู่เหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากทะเลซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงจึงเข้ามาแทนที่.
ลมบก เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดออกจากฝั่งไปสู่ทะเลในเวลากลางคืน เนื่องจากอุณหภูมิของนํ้าทะเลอุ่นกว่าอุณหภูมิของพื้นดินที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือผิวนํ้าจะลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากพื้นดินจึงพัดเข้าไปแทนที่.ลมบก น. ลมที่พัดออกจากฝั่งไปสู่ทะเลในเวลากลางคืน เนื่องจากอุณหภูมิของนํ้าทะเลอุ่นกว่าอุณหภูมิของพื้นดินที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือผิวนํ้าจะลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากพื้นดินจึงพัดเข้าไปแทนที่.
ลมบน เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กระแสลมเบื้องบน เช่น ว่าวติดลมบน.ลมบน น. กระแสลมเบื้องบน เช่น ว่าวติดลมบน.
ลมบ้าหมู เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลมหมุนที่เกิดในบริเวณแคบ ๆ มีความรุนแรงไม่มากนัก มักหอบเอาของเป็นวงขึ้นไปในอากาศ.ลมบ้าหมู ๑ น. ลมหมุนที่เกิดในบริเวณแคบ ๆ มีความรุนแรงไม่มากนัก มักหอบเอาของเป็นวงขึ้นไปในอากาศ.
ลมบ้าหมู เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อาการหมดสติเป็นครั้งคราว และมักมีอาการชักเกร็ง นํ้าลายเป็นฟอง มือเท้ากํา เป็นผลเนื่องจากสมองทํางานผิดปรกติ.ลมบ้าหมู ๒ น. อาการหมดสติเป็นครั้งคราว และมักมีอาการชักเกร็ง นํ้าลายเป็นฟอง มือเท้ากํา เป็นผลเนื่องจากสมองทํางานผิดปรกติ.
ลมเบ่ง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่อยากเบ่งขณะที่มดลูกหดตัวและตำแหน่งของทารกอยู่ต่ำมากพร้อมที่จะคลอดออกมา.ลมเบ่ง ก. อาการที่อยากเบ่งขณะที่มดลูกหดตัวและตำแหน่งของทารกอยู่ต่ำมากพร้อมที่จะคลอดออกมา.
ลมปราณ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ลมหายใจ เช่น ทำงานเหน็ดเหนื่อยแทบจะสิ้นลมปราณ; วิธีกําหนดดูความคล่องของลมหายใจเข้าออกว่าฤกษ์ดีหรือฤกษ์ร้าย เรียกว่า จับลมปราณ.ลมปราณ น. ลมหายใจ เช่น ทำงานเหน็ดเหนื่อยแทบจะสิ้นลมปราณ; วิธีกําหนดดูความคล่องของลมหายใจเข้าออกว่าฤกษ์ดีหรือฤกษ์ร้าย เรียกว่า จับลมปราณ.
ลมปะกัง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมตะกัง.ลมปะกัง น. ลมตะกัง.
ลมปาก เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคำที่กล่าว เช่น อย่าสัญญาเพียงลมปาก, คำพูดที่จูงใจให้เห็นคล้อยตาม เช่น หลงลมปากจึงตามเขาไป.ลมปาก น. ถ้อยคำที่กล่าว เช่น อย่าสัญญาเพียงลมปาก, คำพูดที่จูงใจให้เห็นคล้อยตาม เช่น หลงลมปากจึงตามเขาไป.
ลมพัดชายเขา เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.ลมพัดชายเขา น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
ลมพัดหลวง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมตะโก้. ในวงเล็บ ดู ตะโก้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ ๒.ลมพัดหลวง น. ลมตะโก้. (ดู ตะโก้ ๒).
ลมพัทธยา เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝน.ลมพัทธยา น. ลมที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในต้นฤดูฝน.
ลมพายุ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง พายุ.ลมพายุ น. พายุ.
ลมพิษ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ผื่นคันเป็นพิษเห่อขึ้นตามผิวหนัง.ลมพิษ น. ผื่นคันเป็นพิษเห่อขึ้นตามผิวหนัง.
ลมเพลมพัด เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่เจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ มักเข้าใจกันว่าถูกกระทํา.ลมเพลมพัด น. อาการที่เจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ มักเข้าใจกันว่าถูกกระทํา.
ลมมรสุม เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง (ภูมิ) ลมที่เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดินกับพื้นน้ำ ในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่าอุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือพื้นน้ำจะลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากพื้นดินจึงพัดเข้าไปแทนที่ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป ส่วนในฤดูร้อนอุณหภูมิของพื้นดินร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร จึงทำให้เกิดลมพัดไปในทิศทางตรงกันข้าม, พายุใหญ่ที่มีลมแรงและมีฝนตกหนัก.ลมมรสุม น. (ภูมิ) ลมที่เกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของพื้นดินกับพื้นน้ำ ในฤดูหนาวอุณหภูมิของพื้นดินเย็นกว่าอุณหภูมิของน้ำในมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง อากาศเหนือพื้นน้ำจะลอยตัวสูงขึ้น อากาศจากพื้นดินจึงพัดเข้าไปแทนที่ทำให้เกิดเป็นลมพัดออกจากทวีป ส่วนในฤดูร้อนอุณหภูมิของพื้นดินร้อนกว่าน้ำในมหาสมุทร จึงทำให้เกิดลมพัดไปในทิศทางตรงกันข้าม, พายุใหญ่ที่มีลมแรงและมีฝนตกหนัก.
ลมไม่ดี เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ใจคอหงุดหงิดไม่เป็นปรกติ.ลมไม่ดี ก. ใจคอหงุดหงิดไม่เป็นปรกติ.
ลมร้อน เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่นำความร้อนมาด้วย.ลมร้อน น. ลมที่นำความร้อนมาด้วย.
ลมล่อง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดมาตามลํานํ้า.ลมล่อง น. ลมที่พัดมาตามลํานํ้า.
ลม ๆ แล้ง ๆ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลื่อนลอยเปล่า ๆ, ไม่มีผล, เช่น ฝันลม ๆ แล้ง ๆ ว่าจะถูกสลากกินแบ่ง.ลม ๆ แล้ง ๆ ว. เลื่อนลอยเปล่า ๆ, ไม่มีผล, เช่น ฝันลม ๆ แล้ง ๆ ว่าจะถูกสลากกินแบ่ง.
ลมว่าว เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ตอนต้นฤดูหนาว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภา ซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.ลมว่าว น. ลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ตอนต้นฤดูหนาว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภา ซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน.
ลมสลาตัน เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลมทะเลที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในปลายฤดูฝน.ลมสลาตัน น. ลมทะเลที่พัดจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือในปลายฤดูฝน.
ลมสว้าน เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–สะว่าน] เป็นคำกริยา หมายถึง ลมแดกขึ้นอันเป็นอาการของไข้หนักจวนจะสิ้นใจ.ลมสว้าน [–สะว่าน] ก. ลมแดกขึ้นอันเป็นอาการของไข้หนักจวนจะสิ้นใจ.
ลมเสีย เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ใจคอขุ่นมัวหรือรู้สึกโกรธ.ลมเสีย ก. ใจคอขุ่นมัวหรือรู้สึกโกรธ.
ลมใส่ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกว่าจะเป็นลมเนื่องจากตกใจหรือผิดหวังเป็นต้น เช่น เห็นผลสอบแล้วลมใส่.ลมใส่ (ปาก) ว. อาการที่รู้สึกว่าจะเป็นลมเนื่องจากตกใจหรือผิดหวังเป็นต้น เช่น เห็นผลสอบแล้วลมใส่.
ลมหนาว เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่นำความหนาวเย็นมาด้วย.ลมหนาว น. ลมที่นำความหนาวเย็นมาด้วย.
ลมหวน เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่พัดกลับไปกลับมาขณะฝนตก.ลมหวน น. ลมที่พัดกลับไปกลับมาขณะฝนตก.
ลมหอบ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ลมพายุที่พัดหอบเอาสิ่งต่าง ๆ ลอยไปได้ไกล ๆ.ลมหอบ น. ลมพายุที่พัดหอบเอาสิ่งต่าง ๆ ลอยไปได้ไกล ๆ.
ลมหายใจ เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่ปอดสูบเข้าออกทางจมูกหรือทางปาก.ลมหายใจ น. ลมที่ปอดสูบเข้าออกทางจมูกหรือทางปาก.
ลม เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปูชนิด Ocypode ceratophthalma ในวงศ์ Ocypodidae ก้านตายาว วิ่งเร็ว อยู่ตามหาดทรายชายทะเล.ลม ๒ น. ชื่อปูชนิด Ocypode ceratophthalma ในวงศ์ Ocypodidae ก้านตายาว วิ่งเร็ว อยู่ตามหาดทรายชายทะเล.
ลม เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเห็ดชนิด Lentinus polychrous Lév. ในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ผุ ดอกเห็ดรูปปากแตร ด้านบนมีเกล็ดสีนํ้าตาลอ่อน ด้านล่างมีครีบสีนํ้าตาลแดง เนื้อเหนียว กินได้.ลม ๓ น. ชื่อเห็ดชนิด Lentinus polychrous Lév. ในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ผุ ดอกเห็ดรูปปากแตร ด้านบนมีเกล็ดสีนํ้าตาลอ่อน ด้านล่างมีครีบสีนํ้าตาลแดง เนื้อเหนียว กินได้.
ล่ม เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ทรงตัวไม่อยู่ เอียงจนตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น เรือล่ม เกวียนล่ม, ทำให้ตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น ล่มเรือ; ได้รับความเสียหายมากเพราะน้ำท่วมหรือพายุพัดเป็นต้น เช่น นาล่ม สวนล่ม โป๊ะล่ม; ไม่สำเร็จ, ไม่รอดฝั่ง, เช่น โครงการล่ม.ล่ม ก. กิริยาที่ทรงตัวไม่อยู่ เอียงจนตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น เรือล่ม เกวียนล่ม, ทำให้ตะแคง คว่ำ หรือจม เช่น ล่มเรือ; ได้รับความเสียหายมากเพราะน้ำท่วมหรือพายุพัดเป็นต้น เช่น นาล่ม สวนล่ม โป๊ะล่ม; ไม่สำเร็จ, ไม่รอดฝั่ง, เช่น โครงการล่ม.
ล่มจม เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-จอ-จาน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นเนื้อประดาตัว เช่น ค้าขายขาดทุนจนล่มจม, ย่อยยับ, ฉิบหาย, เช่น บ้านเมืองล่มจม.ล่มจม ก. สิ้นเนื้อประดาตัว เช่น ค้าขายขาดทุนจนล่มจม, ย่อยยับ, ฉิบหาย, เช่น บ้านเมืองล่มจม.
ล่มฟ้า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอํานาจเหนือฟ้าเหนือเทวดา.ล่มฟ้า ว. มีอํานาจเหนือฟ้าเหนือเทวดา.
ล่มหัวจมท้าย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-จอ-จาน-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมโชคชะตาเดียวกัน เช่น สามีภรรยาต้องล่มหัวจมท้ายด้วยกัน.ล่มหัวจมท้าย ก. ร่วมโชคชะตาเดียวกัน เช่น สามีภรรยาต้องล่มหัวจมท้ายด้วยกัน.
ล่มสลาย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียสภาพเดิมแล้วสลายไป เช่น อาณาจักรโบราณล่มสลายไปหลายอาณาจักรแล้ว.ล่มสลาย ก. สูญเสียสภาพเดิมแล้วสลายไป เช่น อาณาจักรโบราณล่มสลายไปหลายอาณาจักรแล้ว.
ล้ม เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ต้นไม้ล้ม ล้มตัวลงนอน ตึกล้ม, ทำให้มีอาการเช่นนั้น เช่น ล้มจอมปลวก ถูกผลักล้มลง, ตั้งอยู่ไม่ได้ เช่น กิจการล้ม ธนาคารล้ม โรงเรียนล้ม; ฆ่า เช่น ล้มวัว ล้มควาย, ตาย เช่น ช้างล้ม, ตัดโค่น เช่น ล้มกอไผ่; สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต เช่น ล้มคดี ล้มมวย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่าข้าม; ที่สมยอมกันในทางไม่สุจริต เช่น มวยล้ม.ล้ม ก. กิริยาที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ต้นไม้ล้ม ล้มตัวลงนอน ตึกล้ม, ทำให้มีอาการเช่นนั้น เช่น ล้มจอมปลวก ถูกผลักล้มลง, ตั้งอยู่ไม่ได้ เช่น กิจการล้ม ธนาคารล้ม โรงเรียนล้ม; ฆ่า เช่น ล้มวัว ล้มควาย, ตาย เช่น ช้างล้ม, ตัดโค่น เช่น ล้มกอไผ่; สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต เช่น ล้มคดี ล้มมวย. ว. ที่ตั้งอยู่แล้วเอนลงหรือทอดลงถึงพื้นหรือทลายลง เช่น ไม้ล้มข้ามได้ คนล้มอย่าข้าม; ที่สมยอมกันในทางไม่สุจริต เช่น มวยล้ม.
ล้มกระดาน เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลคว่ำกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, คว่ำกระดาน ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานคุมเสียงสมาชิกไม่อยู่เลยล้มกระดานด้วยการเลิกประชุม.ล้มกระดาน ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุก จึงพาลคว่ำกระดานเลิกเล่นกันโดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, คว่ำกระดาน ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานคุมเสียงสมาชิกไม่อยู่เลยล้มกระดานด้วยการเลิกประชุม.
ล้มกลิ้งล้มหงาย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มแล้ว กลิ้งพลิกไปพลิกมา เช่น ตกกระไดล้มกลิ้งล้มหงายลงมา.ล้มกลิ้งล้มหงาย ก. ล้มแล้ว กลิ้งพลิกไปพลิกมา เช่น ตกกระไดล้มกลิ้งล้มหงายลงมา.
ล้มคว่ำ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มเอาหน้าลง.ล้มคว่ำ ก. ล้มเอาหน้าลง.
ล้มคว่ำคะมำหงาย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มกลิ้งหลายทอด เช่น ถูกม้าเตะล้มคว่ำคะมำหงาย.ล้มคว่ำคะมำหงาย ก. ล้มกลิ้งหลายทอด เช่น ถูกม้าเตะล้มคว่ำคะมำหงาย.
ล้มคะมำ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มหัวพุ่งไปเพราะสะดุด.ล้มคะมำ ก. ล้มหัวพุ่งไปเพราะสะดุด.
ล้มเค้า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นการพนันบางอย่างเช่นถั่วโป โดยวิธีแทงเท่าจำนวนเค้าที่เจ้ามือมีอยู่ที่หน้าตัก ถ้าแทงถูกเจ้ามือก็หมดเค้า เรียกว่า แทงล้มเค้า.ล้มเค้า ก. เล่นการพนันบางอย่างเช่นถั่วโป โดยวิธีแทงเท่าจำนวนเค้าที่เจ้ามือมีอยู่ที่หน้าตัก ถ้าแทงถูกเจ้ามือก็หมดเค้า เรียกว่า แทงล้มเค้า.
ล้มช้าง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่าช้าง; โค่นคนที่มีอำนาจมีอิทธิพลลงได้.ล้มช้าง ก. ฆ่าช้าง; โค่นคนที่มีอำนาจมีอิทธิพลลงได้.
ล้มตะเข็บ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บทับตะเข็บอีกครั้งหนึ่งหรือสอยให้ตะเข็บราบลง.ล้มตะเข็บ ก. เย็บทับตะเข็บอีกครั้งหนึ่งหรือสอยให้ตะเข็บราบลง.
ล้มตึง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มหงายหลังกระแทกพื้น.ล้มตึง ก. ล้มหงายหลังกระแทกพื้น.
ล้มโต๊ะ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง กินแล้วหาเรื่องไม่จ่ายทรัพย์.ล้มโต๊ะ ก. กินแล้วหาเรื่องไม่จ่ายทรัพย์.
ล้มทั้งยืน เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มขณะที่ยืนอยู่ เช่น ถูกเตะล้มทั้งยืน เป็นลมล้มทั้งยืน, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ้นเนื้อประดาตัวหรือผิดหวังอย่างรุนแรงโดยไม่เคยคาดคิด ทันทีทันใดโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน เช่น พอรู้ว่าลูกถูกรถทับตายเลยเสียใจแทบล้มทั้งยืน.ล้มทั้งยืน ก. ล้มขณะที่ยืนอยู่ เช่น ถูกเตะล้มทั้งยืน เป็นลมล้มทั้งยืน, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ้นเนื้อประดาตัวหรือผิดหวังอย่างรุนแรงโดยไม่เคยคาดคิด ทันทีทันใดโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน เช่น พอรู้ว่าลูกถูกรถทับตายเลยเสียใจแทบล้มทั้งยืน.
ล้มทับ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ฉวยโอกาสให้ผู้อื่นจ่ายค่าอาหารแทนตนหรือพวกของตน.ล้มทับ ก. ฉวยโอกาสให้ผู้อื่นจ่ายค่าอาหารแทนตนหรือพวกของตน.
ล้มฝา เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทำปลายฝาเรือนทรงไทยให้สอบขึ้น.ล้มฝา ก. ทำปลายฝาเรือนทรงไทยให้สอบขึ้น.
ล้มมวย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต.ล้มมวย (สำ) ก. สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต.
ล้มไม่ลง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ถูกฝ่ายตรงข้ามเตะซ้ายเตะขวาเลี้ยงไว้ไม่ให้ล้ม เช่น นายแดงถูกเตะล้มไม่ลง; หักล้างหรือโค่นผู้อื่นไม่สำเร็จ, โดยปริยายหมายความว่า พยายามรักษาสถานภาพไว้ไม่ให้ซวดเซ เช่น ธนาคารล้มไม่ลง เพราะถ้าล้มประชาชนจะเดือดร้อน.ล้มไม่ลง ก. อาการที่ถูกฝ่ายตรงข้ามเตะซ้ายเตะขวาเลี้ยงไว้ไม่ให้ล้ม เช่น นายแดงถูกเตะล้มไม่ลง; หักล้างหรือโค่นผู้อื่นไม่สำเร็จ, โดยปริยายหมายความว่า พยายามรักษาสถานภาพไว้ไม่ให้ซวดเซ เช่น ธนาคารล้มไม่ลง เพราะถ้าล้มประชาชนจะเดือดร้อน.
ล้มละลาย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นเนื้อประดาตัว, หมดทรัพย์สมบัติของตัว; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง มีหนี้สินล้นพ้นตัว และศาลได้มีคําพิพากษาให้ล้มละลาย.ล้มละลาย ก. สิ้นเนื้อประดาตัว, หมดทรัพย์สมบัติของตัว; (กฎ) มีหนี้สินล้นพ้นตัว และศาลได้มีคําพิพากษาให้ล้มละลาย.
ล้มลุก เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พืชที่มีอายุชั่วคราว เช่น พริก มะเขือ ถั่ว ข้าวโพด เรียกว่า พืชล้มลุก; เรียกตุ๊กตาชนิดหนึ่งเมื่อผลักล้มลงแล้วลุกขึ้นเองว่า ตุ๊กตาล้มลุก.ล้มลุก น. พืชที่มีอายุชั่วคราว เช่น พริก มะเขือ ถั่ว ข้าวโพด เรียกว่า พืชล้มลุก; เรียกตุ๊กตาชนิดหนึ่งเมื่อผลักล้มลงแล้วลุกขึ้นเองว่า ตุ๊กตาล้มลุก.
ล้มลุกคลุกคลาน เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หกล้มหกลุก เช่น ฝนตกหนักถนนเป็นโคลน เขาต้องวิ่งหนีฝนล้มลุกคลุกคลานไปตลอดทาง สะดุดตอไม้ล้มลุกคลุกคลาน, โดยปริยายหมายความว่า ซวดเซ, ไม่มั่นคง, ตั้งตัวไม่ติด, เช่น ชีวิตของเขาต้องล้มลุกคลุกคลานอยู่ตลอดเวลา เขาล้มลุกคลุกคลานมาหลายปีกว่าจะตั้งตัวได้.ล้มลุกคลุกคลาน ก. หกล้มหกลุก เช่น ฝนตกหนักถนนเป็นโคลน เขาต้องวิ่งหนีฝนล้มลุกคลุกคลานไปตลอดทาง สะดุดตอไม้ล้มลุกคลุกคลาน, โดยปริยายหมายความว่า ซวดเซ, ไม่มั่นคง, ตั้งตัวไม่ติด, เช่น ชีวิตของเขาต้องล้มลุกคลุกคลานอยู่ตลอดเวลา เขาล้มลุกคลุกคลานมาหลายปีกว่าจะตั้งตัวได้.
ล้มเลิก เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เลิก เช่น ล้มเลิกกิจการ, ยกเลิก เช่น ล้มเลิกสัญญา, เลิกดำเนินกิจการ, ไม่ทำต่อไป, เช่น ล้มเลิกโครงการ, เลิกล้ม ก็ว่า.ล้มเลิก ก. เลิก เช่น ล้มเลิกกิจการ, ยกเลิก เช่น ล้มเลิกสัญญา, เลิกดำเนินกิจการ, ไม่ทำต่อไป, เช่น ล้มเลิกโครงการ, เลิกล้ม ก็ว่า.
ล้มหมอนนอนเสื่อ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ป่วยจนต้องนอนรักษาตัว เช่น เขาล้มหมอนนอนเสื่อเสียหลายวัน.ล้มหมอนนอนเสื่อ ก. ป่วยจนต้องนอนรักษาตัว เช่น เขาล้มหมอนนอนเสื่อเสียหลายวัน.
ล้มหายตายจาก เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตายจากไปแล้ว, หายหน้าไปนานจนทำให้คิดว่าตายไปแล้ว.ล้มหายตายจาก ก. ตายจากไปแล้ว, หายหน้าไปนานจนทำให้คิดว่าตายไปแล้ว.
ลมแล้ง เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งูดู ราชพฤกษ์ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด.ลมแล้ง ดู ราชพฤกษ์.
ลมาด เขียนว่า ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[ละ–] เป็นคำนาม หมายถึง แมลงหวี่. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร มมาจ เขียนว่า มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน ว่า ตัวชีผ้าขาว .ลมาด [ละ–] น. แมลงหวี่. (ข. มมาจ ว่า ตัวชีผ้าขาว).
ลรรลุง เขียนว่า ลอ-ลิง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู[ลัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นทุกข์ถึง, เศร้าโศก, ครํ่าครวญ. ในวงเล็บ ดู ละลุง เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ลรรลุง [ลัน–] (กลอน) ว. เป็นทุกข์ถึง, เศร้าโศก, ครํ่าครวญ. (ดู ละลุง ๑).
ลลนา เขียนว่า ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[ละละ–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่น่าเอ็นดู, ผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ลลนา [ละละ–] น. หญิงที่น่าเอ็นดู, ผู้หญิง. (ป., ส.).
ลลาฏ เขียนว่า ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก[ละ–] เป็นคำนาม หมายถึง นลาฏ, หน้าผาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ลลาฏ [ละ–] น. นลาฏ, หน้าผาก. (ป., ส.).
ลลิต เขียนว่า ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[ละ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ารัก, น่าเอ็นดู, น่าชื่นชม, สวย, งาม, ละมุนละม่อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ลลิต [ละ–] ว. น่ารัก, น่าเอ็นดู, น่าชื่นชม, สวย, งาม, ละมุนละม่อม. (ส.).
ลวก เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ของเหลวหรือไอที่ร้อนจัดหรือไฟมากระทบ เช่น ไฟลวก น้ำร้อนลวก ถูกไอน้ำเดือดลวก, กิริยาที่ถูกน้ำร้อน ไอร้อน หรือไฟพลุ่งมากระทบผิวเช่น หม้อน้ำระเบิด น้ำร้อนพลุ่งมาลวกทำให้พองไปทั้งตัว ไฟพลุ่งมาลวกเนื้อลวกตัว, รดหรือแช่ด้วยน้ำร้อน เช่น เอาน้ำร้อนมาลวกผัก ลวกผ้าหรือลวกชาม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งที่รดหรือแช่ด้วยน้ำร้อน เช่น ไข่ลวก ผักลวก สะเดาลวก.ลวก ก. กิริยาที่ของเหลวหรือไอที่ร้อนจัดหรือไฟมากระทบ เช่น ไฟลวก น้ำร้อนลวก ถูกไอน้ำเดือดลวก, กิริยาที่ถูกน้ำร้อน ไอร้อน หรือไฟพลุ่งมากระทบผิวเช่น หม้อน้ำระเบิด น้ำร้อนพลุ่งมาลวกทำให้พองไปทั้งตัว ไฟพลุ่งมาลวกเนื้อลวกตัว, รดหรือแช่ด้วยน้ำร้อน เช่น เอาน้ำร้อนมาลวกผัก ลวกผ้าหรือลวกชาม. ว. เรียกสิ่งที่รดหรือแช่ด้วยน้ำร้อน เช่น ไข่ลวก ผักลวก สะเดาลวก.
ลวกปาก, ลวกปากลวกคอ ลวกปาก เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ลวกปากลวกคอ เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่กินของร้อนจัดทำให้รู้สึกว่าปากแทบพองชั่วระยะหนึ่ง.ลวกปาก, ลวกปากลวกคอ ก. อาการที่กินของร้อนจัดทำให้รู้สึกว่าปากแทบพองชั่วระยะหนึ่ง.
ลวก ๆ เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างหยาบ ๆ, มักง่าย, ยังไม่เรียบร้อย, เช่น ทำงานลวก ๆ พอให้เสร็จ ๆ ไป.ลวก ๆ ว. อย่างหยาบ ๆ, มักง่าย, ยังไม่เรียบร้อย, เช่น ทำงานลวก ๆ พอให้เสร็จ ๆ ไป.
ลวง เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หลงผิด เช่น ขุดหลุมพรางลวงข้าศึก.ลวง ๑ ก. ทําให้หลงผิด เช่น ขุดหลุมพรางลวงข้าศึก.
ลวงตา เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริง เช่น แสงแดดกล้าที่ปรากฏในระยะไกลลวงตาให้เห็นถนนลาดยางเป็นน้ำ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกภาพที่ทำให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริงว่า ภาพลวงตา.ลวงตา ก. ทําให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริง เช่น แสงแดดกล้าที่ปรากฏในระยะไกลลวงตาให้เห็นถนนลาดยางเป็นน้ำ. ว. เรียกภาพที่ทำให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริงว่า ภาพลวงตา.
ลวงโลก เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตลบตะแลงปลิ้นปล้อนในคำว่า คนลวงโลก.ลวงโลก ว. ตลบตะแลงปลิ้นปล้อนในคำว่า คนลวงโลก.
ลวง เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๘, เขียนเป็น รวง ก็มี.ลวง ๒ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๘, เขียนเป็น รวง ก็มี.
ล่วง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น เดินล่วงเข้าไปในเขตหวงห้าม เวลาล่วงไปหลายปี.ล่วง ก. ผ่านจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น เดินล่วงเข้าไปในเขตหวงห้าม เวลาล่วงไปหลายปี.
ล่วงเกิน เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการเกินสมควรต่อผู้อื่นโดยล่วงจารีตประเพณีหรือจรรยามารยาทด้วยการลวนลาม ดูหมิ่น สบประมาท เป็นต้น เช่น ไม่ควรล่วงเกินพ่อแม่ด้วยกิริยาวาจาที่ไม่สุภาพ.ล่วงเกิน ก. แสดงอาการเกินสมควรต่อผู้อื่นโดยล่วงจารีตประเพณีหรือจรรยามารยาทด้วยการลวนลาม ดูหมิ่น สบประมาท เป็นต้น เช่น ไม่ควรล่วงเกินพ่อแม่ด้วยกิริยาวาจาที่ไม่สุภาพ.
ล่วงขื่อ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ด้านสกัด.ล่วงขื่อ น. ด้านสกัด.
ล่วงคำ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง เกินคําสั่ง.ล่วงคำ ก. เกินคําสั่ง.
ล่วงประเวณี เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติผิดเมียของผู้อื่น.ล่วงประเวณี ก. ประพฤติผิดเมียของผู้อื่น.
ล่วงแป เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง ด้านยาว.ล่วงแป น. ด้านยาว.
ล่วงพ้น เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-โท-นอ-หนูก.ผ่านพ้น, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.ล่วงพ้น ก.ผ่านพ้น, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.
ล่วงรู้ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รู้เสียก่อน, รู้ทัน, เช่น ล่วงรู้ความลับของผู้อื่น.ล่วงรู้ ก. รู้เสียก่อน, รู้ทัน, เช่น ล่วงรู้ความลับของผู้อื่น.
ล่วงละเมิด เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ละเมิด.ล่วงละเมิด ก. ละเมิด.
ล่วงลับ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น เขาล่วงลับไปแล้ว.ล่วงลับ ก. ตาย เช่น เขาล่วงลับไปแล้ว.
ล่วงล้ำ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านพ้นเกินเข้าไป, โดยปริยายหมายความว่า บุกรุก, ละเมิด, เช่น ข้าศึกล่วงล้ำชายแดน, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.ล่วงล้ำ ก. ผ่านพ้นเกินเข้าไป, โดยปริยายหมายความว่า บุกรุก, ละเมิด, เช่น ข้าศึกล่วงล้ำชายแดน, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.
ล่วงเลย เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านพ้น เช่น เหตุการณ์ล่วงเลยไปแล้ว ไม่ควรปล่อยวันเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.ล่วงเลย ก. ผ่านพ้น เช่น เหตุการณ์ล่วงเลยไปแล้ว ไม่ควรปล่อยวันเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์, บางทีก็ใช้เพียง ล่วง คําเดียว.
ล่วงว่า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง บังอาจว่าเขา, กล่าวต่อไปอีกเฉพาะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง.ล่วงว่า ก. บังอาจว่าเขา, กล่าวต่อไปอีกเฉพาะสิ่งใดสิ่งหนึ่ง.
ล่วงเวลา เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกินเวลาหรือนอกเวลาที่มีกําหนดไว้ เช่น เงินค่าล่วงเวลา ทำงานล่วงเวลา.ล่วงเวลา ว. เกินเวลาหรือนอกเวลาที่มีกําหนดไว้ เช่น เงินค่าล่วงเวลา ทำงานล่วงเวลา.
ล่วงหน้า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ก่อนกําหนด เช่น ไปล่วงหน้า รับเงินล่วงหน้า.ล่วงหน้า ว. ก่อนกําหนด เช่น ไปล่วงหน้า รับเงินล่วงหน้า.
ล้วง เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือสอดเข้าไปในที่ซึ่งเป็นช่องเป็นรู เช่น เดินเอามือล้วงกระเป๋ากางเกง, โดยปริยายหมายความว่า หยั่งเอาความรู้ความคิดที่เขาปิดบังไว้ เช่น ล้วงความลับ ล้วงข้อสอบ.ล้วง ก. เอามือสอดเข้าไปในที่ซึ่งเป็นช่องเป็นรู เช่น เดินเอามือล้วงกระเป๋ากางเกง, โดยปริยายหมายความว่า หยั่งเอาความรู้ความคิดที่เขาปิดบังไว้ เช่น ล้วงความลับ ล้วงข้อสอบ.
ล้วงกระเป๋า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือสอดเข้าไปในกระเป๋า, ถ้ายืนเอามือล้วงกระเป๋าเวลาอยู่ต่อหน้าผู้หลักผู้ใหญ่ถือว่าเป็นการแสดงกิริยาที่ไม่สุภาพ; ลักทรัพย์ในกระเป๋าของผู้อื่น เช่น เขาถูกล้วงกระเป๋าระวังถูกล้วงกระเป๋า.ล้วงกระเป๋า ก. เอามือสอดเข้าไปในกระเป๋า, ถ้ายืนเอามือล้วงกระเป๋าเวลาอยู่ต่อหน้าผู้หลักผู้ใหญ่ถือว่าเป็นการแสดงกิริยาที่ไม่สุภาพ; ลักทรัพย์ในกระเป๋าของผู้อื่น เช่น เขาถูกล้วงกระเป๋าระวังถูกล้วงกระเป๋า.
ล้วงควัก เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง หยิบฉวยเอาสิ่งของเป็นต้นไปโดยพลการ เช่น มาล้วงควักข้าวสาร ถ่าน เกลือของเจ้าของบ้านไป.ล้วงควัก ก. หยิบฉวยเอาสิ่งของเป็นต้นไปโดยพลการ เช่น มาล้วงควักข้าวสาร ถ่าน เกลือของเจ้าของบ้านไป.
ล้วงคอ, ล้วงคองูเห่า ล้วงคอ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง ล้วงคองูเห่า เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง บังอาจลักขโมยหรือล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็นต้นจากผู้ที่น่าเกรงขาม.ล้วงคอ, ล้วงคองูเห่า (ปาก) ก. บังอาจลักขโมยหรือล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็นต้นจากผู้ที่น่าเกรงขาม.
ล้วงตับ, ล้วงไส้ ล้วงตับ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ล้วงไส้ เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง หลอกลวงให้ตายใจเพื่อล้วงเอาความลับเป็นต้น.ล้วงตับ, ล้วงไส้ ก. หลอกลวงให้ตายใจเพื่อล้วงเอาความลับเป็นต้น.
ลวงค์ เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[ละวง] เป็นคำนาม หมายถึง กานพลู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ลวงฺค เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.ลวงค์ [ละวง] น. กานพลู. (ป., ส. ลวงฺค).
ลวงเล้า เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ปีระกา อัฐศก.ลวงเล้า (ถิ่น–พายัพ) น. ปีระกา อัฐศก.
ลวณะ เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เกลือ, รสเค็ม, ความเค็ม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เค็ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ลวณะ น. เกลือ, รสเค็ม, ความเค็ม. ว. เค็ม. (ป., ส.).
ลวด เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําเป็นเส้นยาว ๆ เช่น ลวดหนัง คือ แผ่นหนังที่เอามาทําเป็นเส้นยาว ๆ, โลหะที่เอามารีดเป็นเส้นเช่นนั้นก็เรียกว่า ลวด เช่น ลวดสังกะสี ลวดทองแดง, โดยมากมักเรียกสั้น ๆ ว่า ลวด; เรียกสิ่งที่ทําด้วยลวดโลหะคล้ายสิ่งทอ ใช้กันยุงต่างมุ้ง ว่า มุ้งลวด; เรียกเครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด ว่า เสื่อลวด; ลายที่ลอกเป็นเส้นกลมยาวไปตามขอบตัวไม้ต่าง ๆ, เรียกสิ่งที่นูนขึ้นซึ่งมีลักษณะคล้ายลวด เช่น ลวดปากปลา. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลย.ลวด น. สิ่งที่ทําเป็นเส้นยาว ๆ เช่น ลวดหนัง คือ แผ่นหนังที่เอามาทําเป็นเส้นยาว ๆ, โลหะที่เอามารีดเป็นเส้นเช่นนั้นก็เรียกว่า ลวด เช่น ลวดสังกะสี ลวดทองแดง, โดยมากมักเรียกสั้น ๆ ว่า ลวด; เรียกสิ่งที่ทําด้วยลวดโลหะคล้ายสิ่งทอ ใช้กันยุงต่างมุ้ง ว่า มุ้งลวด; เรียกเครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด ว่า เสื่อลวด; ลายที่ลอกเป็นเส้นกลมยาวไปตามขอบตัวไม้ต่าง ๆ, เรียกสิ่งที่นูนขึ้นซึ่งมีลักษณะคล้ายลวด เช่น ลวดปากปลา. (โบ) ว. เลย.
ลวดบัว เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนประดับที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม ใช้ตกแต่งตรงส่วนขอบของพื้นผนังด้านล่างและด้านบน เพื่อประสานระหว่างพื้นที่ต่างระดับหรือพื้นที่ในแนวนอนกับแนวตั้ง เช่น เพดานกับผนัง พื้นกับผนัง ลักษณะเป็นแผ่นหรือแถบที่มีความกว้างตามความเหมาะสมของพื้นที่แต่ยาวทอดไปตามมุมหรือขอบ เช่น เชิงผนัง ขอบเพดาน อาจเป็นปูนที่ปั้นแต่งเป็นรูปแบบต่าง ๆ เป็นไม้แกะสลักไสเซาะเป็นลวดลาย หรือเป็นไม้แถบขนาดเล็กไม่มีลวดลายที่ช่างทั่วไปมักเรียกว่า ไม้มอบ, บัว ก็เรียก.ลวดบัว น. ส่วนประดับที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรม ใช้ตกแต่งตรงส่วนขอบของพื้นผนังด้านล่างและด้านบน เพื่อประสานระหว่างพื้นที่ต่างระดับหรือพื้นที่ในแนวนอนกับแนวตั้ง เช่น เพดานกับผนัง พื้นกับผนัง ลักษณะเป็นแผ่นหรือแถบที่มีความกว้างตามความเหมาะสมของพื้นที่แต่ยาวทอดไปตามมุมหรือขอบ เช่น เชิงผนัง ขอบเพดาน อาจเป็นปูนที่ปั้นแต่งเป็นรูปแบบต่าง ๆ เป็นไม้แกะสลักไสเซาะเป็นลวดลาย หรือเป็นไม้แถบขนาดเล็กไม่มีลวดลายที่ช่างทั่วไปมักเรียกว่า ไม้มอบ, บัว ก็เรียก.
ลวดลาย เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลายต่าง ๆ ที่เขียนหรือแกะสลัก, ฝีมือความสามารถที่แสดงให้ปรากฏ เช่น นักฟุตบอลมีลวดลายในการส่งลูก, โดยปริยายหมายความว่า มีลูกไม้หรือชั้นเชิงต่าง ๆ เช่น เขามีลวดลายในการพูดให้คนฮาได้ เขามีลวดลายในการเต้นรำ.ลวดลาย น. ลายต่าง ๆ ที่เขียนหรือแกะสลัก, ฝีมือความสามารถที่แสดงให้ปรากฏ เช่น นักฟุตบอลมีลวดลายในการส่งลูก, โดยปริยายหมายความว่า มีลูกไม้หรือชั้นเชิงต่าง ๆ เช่น เขามีลวดลายในการพูดให้คนฮาได้ เขามีลวดลายในการเต้นรำ.
ลวดสปริง เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[–สะปฺริง] เป็นคำนาม หมายถึง ลวดที่ทําเป็นขด ๆ สามารถยืดหยุ่นได้.ลวดสปริง [–สะปฺริง] น. ลวดที่ทําเป็นขด ๆ สามารถยืดหยุ่นได้.
ลวดหนัง เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หนังที่ทําเป็นเส้นยาว ๆ.ลวดหนัง น. หนังที่ทําเป็นเส้นยาว ๆ.
ลวดหนาม เขียนว่า ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลวดที่ขมวดเป็นปมเป็นระยะ ๆ แต่ละปมมีปลายแหลมคม ใช้ทํารั้วหรือเครื่องกีดขวางเป็นต้น.ลวดหนาม น. ลวดที่ขมวดเป็นปมเป็นระยะ ๆ แต่ละปมมีปลายแหลมคม ใช้ทํารั้วหรือเครื่องกีดขวางเป็นต้น.