ร่อนทอง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ร่อนทอง น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
รอบ เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง การบรรจบถึงกัน, การเวียนไปบรรจบถึงกัน; ช่วง เช่น ภาพยนตร์รอบเช้า รอบบ่าย, วาระ เช่น รอบสุดท้าย รอบชิงชนะเลิศ; ลักษณนามเรียกลักษณะที่มาบรรจบกันเป็นต้น เช่น รอบหนึ่ง ๒ รอบ. เป็นคำบุรพบท หมายถึง อาการที่เวียนมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์รอบบ้าน เดินรอบตลาด.รอบ น. การบรรจบถึงกัน, การเวียนไปบรรจบถึงกัน; ช่วง เช่น ภาพยนตร์รอบเช้า รอบบ่าย, วาระ เช่น รอบสุดท้าย รอบชิงชนะเลิศ; ลักษณนามเรียกลักษณะที่มาบรรจบกันเป็นต้น เช่น รอบหนึ่ง ๒ รอบ. บ. อาการที่เวียนมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์รอบบ้าน เดินรอบตลาด.
รอบคอบ เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่ว, ถ้วนถี่, เช่น พิจารณาอย่างรอบคอบ, ระวังเหตุการณ์ข้างหน้าข้างหลังเสมอ, ไม่เผอเรอ, เช่น ดูแลให้รอบคอบ.รอบคอบ ว. ทั่ว, ถ้วนถี่, เช่น พิจารณาอย่างรอบคอบ, ระวังเหตุการณ์ข้างหน้าข้างหลังเสมอ, ไม่เผอเรอ, เช่น ดูแลให้รอบคอบ.
รอบจัด เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก, เจนจัด (ใช้ในทางไม่ดี).รอบจัด (ปาก) ว. มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก, เจนจัด (ใช้ในทางไม่ดี).
รอบเดือน เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ระดู.รอบเดือน (ปาก) น. ระดู.
รอบตัว เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่ว ๆ ไป เช่น ความรู้รอบตัว.รอบตัว ว. ทั่ว ๆ ไป เช่น ความรู้รอบตัว.
รอบรู้ เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รู้หลายอย่าง, รู้กว้างขวาง, เช่น เขารอบรู้ในเรื่องกฎหมาย.รอบรู้ ก. รู้หลายอย่าง, รู้กว้างขวาง, เช่น เขารอบรู้ในเรื่องกฎหมาย.
รอม เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขารอม, ลอม ก็ว่า.รอม ๑ ว. อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขารอม, ลอม ก็ว่า.
รอม เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ รูปทรงกระบอก ก้นโปร่ง ใช้นึ่งเปลือกต้นข่อยก่อนนําไปทุบทํากระดาษ.รอม ๒ น. ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ รูปทรงกระบอก ก้นโปร่ง ใช้นึ่งเปลือกต้นข่อยก่อนนําไปทุบทํากระดาษ.
รอมชอม เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ปรองดองกัน, ประนีประนอมกัน, ตกลงกันด้วยการไกล่เกลี่ย, ลอมชอม หรือ ออมชอม ก็ว่า.รอมชอม ก. ปรองดองกัน, ประนีประนอมกัน, ตกลงกันด้วยการไกล่เกลี่ย, ลอมชอม หรือ ออมชอม ก็ว่า.
รอมร่อ เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง[รอมมะร่อ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ในระยะทางหรือเวลาอันใกล้จวนเจียน เช่น จะสำเร็จการศึกษาอยู่รอมร่อ จะถึงบ้านอยู่รอมร่อ, รํามะร่อ ก็ว่า.รอมร่อ [รอมมะร่อ] ว. ในระยะทางหรือเวลาอันใกล้จวนเจียน เช่น จะสำเร็จการศึกษาอยู่รอมร่อ จะถึงบ้านอยู่รอมร่อ, รํามะร่อ ก็ว่า.
รอย เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่เป็นเส้น เป็นริ้ว หรือลวดลายเป็นต้นที่ปรากฏอยู่บนพื้นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น รอยขีด รอยหน้าผากย่น รอยพระบาท รอยต่อ รอยประสาน; เค้า, เค้าเงื่อน, เช่น แกะรอย ตามรอย; โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รอยรัก, ทาง เช่น มารอยเดียวกัน; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นรอย เช่น พระบาท ๔ รอย มีรอยต่อ ๓ รอย. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เห็นจะ, ชะรอย.รอย น. ลักษณะที่เป็นเส้น เป็นริ้ว หรือลวดลายเป็นต้นที่ปรากฏอยู่บนพื้นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น รอยขีด รอยหน้าผากย่น รอยพระบาท รอยต่อ รอยประสาน; เค้า, เค้าเงื่อน, เช่น แกะรอย ตามรอย; โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รอยรัก, ทาง เช่น มารอยเดียวกัน; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นรอย เช่น พระบาท ๔ รอย มีรอยต่อ ๓ รอย. (กลอน) ว. เห็นจะ, ชะรอย.
รอยตรา เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง รอยประทับของดวงตรา.รอยตรา น. รอยประทับของดวงตรา.
รอยร้าว เขียนว่า รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เค้าหรือท่าทีแห่งการแตกแยก.รอยร้าว น. เค้าหรือท่าทีแห่งการแตกแยก.
ร่อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยหมดไป, กร่อนไป, เช่น คมมีดร่อย.ร่อย ก. ค่อยหมดไป, กร่อนไป, เช่น คมมีดร่อย.
ร่อยหรอ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยหมดไป, หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, เช่น เงินทองร่อยหรอ.ร่อยหรอ ก. ค่อยหมดไป, หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, เช่น เงินทองร่อยหรอ.
ร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จํานวนนับ ๑๐ สิบหนเป็นหนึ่งร้อย (๑๐๐).ร้อย ๑ ว. จํานวนนับ ๑๐ สิบหนเป็นหนึ่งร้อย (๑๐๐).
ร้อยชั่ง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเงิน ๘,๐๐๐ บาท ซึ่งถือว่าเป็นจํานวนมากในสมัยหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึงลูกสาวที่พ่อแม่สงวนอย่างมีค่าเท่ากับเงิน ๑๐๐ ชั่ง.ร้อยชั่ง น. จํานวนเงิน ๘,๐๐๐ บาท ซึ่งถือว่าเป็นจํานวนมากในสมัยหนึ่ง, โดยปริยายหมายถึงลูกสาวที่พ่อแม่สงวนอย่างมีค่าเท่ากับเงิน ๑๐๐ ชั่ง.
ร้อยทั้งร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดทั้งสิ้น, มีเท่าไรก็หมด.ร้อยทั้งร้อย (ปาก) ว. หมดทั้งสิ้น, มีเท่าไรก็หมด.
ร้อยแปด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จํานวนมากมายหลายอย่างต่างชนิด, ร้อยแปดพันเก้า ก็ว่า.ร้อยแปด (ปาก) ว. จํานวนมากมายหลายอย่างต่างชนิด, ร้อยแปดพันเก้า ก็ว่า.
ร้อยละ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ต่อร้อย, จำนวนส่วนในร้อยส่วน, เช่น ร้อยละ ๑๐ คือ ๑๐ ต่อ ๑๐๐ หรือ ๑๐ ส่วนใน ๑๐๐ ส่วน.ร้อยละ น. ต่อร้อย, จำนวนส่วนในร้อยส่วน, เช่น ร้อยละ ๑๐ คือ ๑๐ ต่อ ๑๐๐ หรือ ๑๐ ส่วนใน ๑๐๐ ส่วน.
ร้อยลิ้น, ร้อยลิ้นกะลาวน ร้อยลิ้น เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ร้อยลิ้นกะลาวน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดกลับกลอกตลบตะแลง.ร้อยลิ้น, ร้อยลิ้นกะลาวน ว. อาการที่พูดกลับกลอกตลบตะแลง.
ร้อยสีพันอย่าง, ร้อยสีร้อยอย่าง ร้อยสีพันอย่าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ร้อยสีร้อยอย่าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โยกโย้ไปต่าง ๆ นานา.ร้อยสีพันอย่าง, ร้อยสีร้อยอย่าง (ปาก) ว. โยกโย้ไปต่าง ๆ นานา.
ร้อยเอ็ด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้อยกับหนึ่ง (๑๐๑); เป็นจํานวนมากตั้งร้อย เช่น ร้อยเอ็ดพระนคร.ร้อยเอ็ด ว. ร้อยกับหนึ่ง (๑๐๑); เป็นจํานวนมากตั้งร้อย เช่น ร้อยเอ็ดพระนคร.
ร้อยเอ็ดเจ็ดพระนคร, ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ, ร้อยเอ็ดเจ็ดหัวเมือง ร้อยเอ็ดเจ็ดพระนคร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ร้อยเอ็ดเจ็ดหัวเมือง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วทุกแห่งหน.ร้อยเอ็ดเจ็ดพระนคร, ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ, ร้อยเอ็ดเจ็ดหัวเมือง (ปาก) ว. ทั่วทุกแห่งหน.
ร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สอด, สอดด้วยด้ายเป็นต้น, เช่น ร้อยดอกไม้ ร้อยพวงมาลัย ร้อยสตางค์แดง ร้อยเชือกผูกรองเท้า.ร้อย ๒ ก. สอด, สอดด้วยด้ายเป็นต้น, เช่น ร้อยดอกไม้ ร้อยพวงมาลัย ร้อยสตางค์แดง ร้อยเชือกผูกรองเท้า.
ร้อยกรอง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สอดผูกให้ติดต่อกัน, ร้อย ถัก และเย็บงานประเภทประณีตศิลป์เช่นดอกไม้ให้เป็นรูปต่าง ๆ, เช่น ร้อยกรองข่ายคลุมไตร ร้อยกรองสไบ; ตรวจชําระให้ถูกต้อง, สังคายนา, ในคําว่า ร้อยกรองพระธรรมวินัย; แต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ, เรียบเรียงถ้อยคําให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์. เป็นคำนาม หมายถึง คําประพันธ์, ถ้อยคําที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์.ร้อยกรอง ก. สอดผูกให้ติดต่อกัน, ร้อย ถัก และเย็บงานประเภทประณีตศิลป์เช่นดอกไม้ให้เป็นรูปต่าง ๆ, เช่น ร้อยกรองข่ายคลุมไตร ร้อยกรองสไบ; ตรวจชําระให้ถูกต้อง, สังคายนา, ในคําว่า ร้อยกรองพระธรรมวินัย; แต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ, เรียบเรียงถ้อยคําให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์. น. คําประพันธ์, ถ้อยคําที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์.
ร้อยแก้ว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย.ร้อยแก้ว น. ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย.
ร้อยหวาย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เอ็นเหนือส้นเท้า.ร้อยหวาย น. เอ็นเหนือส้นเท้า.
ร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ยศทหารบกหรือตํารวจชั้นสัญญาบัตรชั้นต้น ตํ่ากว่านายพันหรือนายพันตํารวจ เช่น นายร้อย ร้อยตรี ร้อยตํารวจโท.ร้อย ๓ น. ยศทหารบกหรือตํารวจชั้นสัญญาบัตรชั้นต้น ตํ่ากว่านายพันหรือนายพันตํารวจ เช่น นายร้อย ร้อยตรี ร้อยตํารวจโท.
ร้อยลิ้น เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน ร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑.ร้อยลิ้น ๑ ดูใน ร้อย ๑.
ร้อยลิ้น เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ร้อยลิ้น ๒ น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
ร้อยหวี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยชนิด Musa chiliocarpa Backer ในวงศ์ Musaceae ออกเครือเป็นหวีมาก ปลูกเป็นไม้ประดับ, กล้วยงวงช้าง ก็เรียก.ร้อยหวี น. ชื่อกล้วยชนิด Musa chiliocarpa Backer ในวงศ์ Musaceae ออกเครือเป็นหวีมาก ปลูกเป็นไม้ประดับ, กล้วยงวงช้าง ก็เรียก.
ร่อแร่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการหนักจวนตาย เช่น อยู่ในอาการร่อแร่.ร่อแร่ ว. อาการหนักจวนตาย เช่น อยู่ในอาการร่อแร่.
ระ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
ระฟ้า เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงมาก เช่น ตึกระฟ้า.ระฟ้า ว. สูงมาก เช่น ตึกระฟ้า.
ระสะเก็ด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการลงโทษเฆี่ยนหลังซํ้าแผลเก่าที่ตกสะเก็ดแล้วว่า เฆี่ยนระสะเก็ด, โดยปริยายหมายความว่า พูดตําหนิซํ้าแล้วซํ้าอีก.ระสะเก็ด ว. เรียกอาการลงโทษเฆี่ยนหลังซํ้าแผลเก่าที่ตกสะเก็ดแล้วว่า เฆี่ยนระสะเก็ด, โดยปริยายหมายความว่า พูดตําหนิซํ้าแล้วซํ้าอีก.
ระกะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง มากเกะกะ, ใช้เข้าคู่กับคํา ระเกะ เป็น ระเกะระกะ.ระกะ ก. มากเกะกะ, ใช้เข้าคู่กับคํา ระเกะ เป็น ระเกะระกะ.
ระกา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปีที่ ๑๐ ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย.ระกา น. ชื่อปีที่ ๑๐ ของรอบปีนักษัตร มีไก่เป็นเครื่องหมาย.
ระกำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Cathormion umbellatum (Vahl) Kosterm. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีขาว ฝักแบนบิดเป็นวง, ระกํานา หรือ ระกําป่า ก็เรียก. (๒) ชื่อปาล์มชนิด Salacca wallichiana C. Martius ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอ ก้านใบมีหนามแข็ง เนื้อฟ่าม ผลออกเป็นกระปุก กินได้.ระกำ ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Cathormion umbellatum (Vahl) Kosterm. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีขาว ฝักแบนบิดเป็นวง, ระกํานา หรือ ระกําป่า ก็เรียก. (๒) ชื่อปาล์มชนิด Salacca wallichiana C. Martius ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอ ก้านใบมีหนามแข็ง เนื้อฟ่าม ผลออกเป็นกระปุก กินได้.
ระกำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ความลําบาก, ความตรมใจ, ความทุกข์, เช่น ตกระกำลำบาก.ระกำ ๒ น. ความลําบาก, ความตรมใจ, ความทุกข์, เช่น ตกระกำลำบาก.
ระกำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ปักเป็นดอกควบด้วยไหม. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู .ระกำ ๓ ก. ปักเป็นดอกควบด้วยไหม. (ม.).
ระกำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนํ้ามันชนิดหนึ่ง ใช้ทานวดแก้เคล็ดบวม. ในวงเล็บ ดู นํ้ามันระกํา เขียนว่า นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา ที่ นํ้า เขียนว่า นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-ไม้-โท-สะ-หระ-อา.ระกำ ๔ น. ชื่อนํ้ามันชนิดหนึ่ง ใช้ทานวดแก้เคล็ดบวม. (ดู นํ้ามันระกํา ที่ นํ้า).
ระกำนา, ระกำป่า ระกำนา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ระกำป่า เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ดู ระกํา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ (๑).ระกำนา, ระกำป่า ดู ระกํา ๑ (๑).
ระเกะระกะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง มากเกะกะ.ระเกะระกะ ก. มากเกะกะ.
ระคน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปนหรือผสมให้เข้ากันคละกันเป็นกลุ่มเป็นพวกเป็นต้น เช่น โจทย์ระคน.ระคน ก. ปนหรือผสมให้เข้ากันคละกันเป็นกลุ่มเป็นพวกเป็นต้น เช่น โจทย์ระคน.
ระคาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ตะคาง ก็ว่า.ระคาง ๑ น. เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ตะคาง ก็ว่า.
ระคาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง หมาง, หมองใจ, เคืองใจ.ระคาง ๒ ก. หมาง, หมองใจ, เคืองใจ.
ระคาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ละอองที่ทําให้คายคัน. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้คายคันเหมือนถูกละออง เช่น ระคายตัว, กระทบกระเทือนกายใจให้เกิดรําคาญไม่สุขใจ เช่น ระคายหู, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ใช้เป็น กระคาย ก็มี.ระคาย น. ละอองที่ทําให้คายคัน. ก. ทําให้คายคันเหมือนถูกละออง เช่น ระคายตัว, กระทบกระเทือนกายใจให้เกิดรําคาญไม่สุขใจ เช่น ระคายหู, (กลอน) ใช้เป็น กระคาย ก็มี.
ระเค็ดระคาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เค้าเงื่อนที่ทราบมานิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยันให้แน่นอนไม่ได้, ระแคะระคาย ก็ว่า.ระเค็ดระคาย น. เค้าเงื่อนที่ทราบมานิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยันให้แน่นอนไม่ได้, ระแคะระคาย ก็ว่า.
ระแคะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เล่ห์, เงื่อนความ.ระแคะ น. เล่ห์, เงื่อนความ.
ระแคะระคาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เค้าเงื่อนที่ทราบมานิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยันให้แน่นอนไม่ได้, ระเค็ดระคาย ก็ว่า.ระแคะระคาย น. เค้าเงื่อนที่ทราบมานิด ๆ หน่อย ๆ แต่ยังยืนยันให้แน่นอนไม่ได้, ระเค็ดระคาย ก็ว่า.
ระฆัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ระ-คัง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้ตีให้เกิดเสียงเป็นอาณัติสัญญาณ หล่อด้วยทองเหลืองเป็นต้น รูปคล้ายลูกฟักตัด มีหูติดอยู่ตอนบน.ระฆัง น. เครื่องใช้ตีให้เกิดเสียงเป็นอาณัติสัญญาณ หล่อด้วยทองเหลืองเป็นต้น รูปคล้ายลูกฟักตัด มีหูติดอยู่ตอนบน.
ระงม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องแสดงความเศร้าโศกเสียใจของคนเป็นจํานวนมาก เช่น ร้องระงม; อบอ้าว, อบด้วยความร้อนหรือควัน, ในคําว่า ร้อนระงม.ระงม ว. เสียงร้องแสดงความเศร้าโศกเสียใจของคนเป็นจํานวนมาก เช่น ร้องระงม; อบอ้าว, อบด้วยความร้อนหรือควัน, ในคําว่า ร้อนระงม.
ระงมไพร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง อยู่ตามป่าใหญ่. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ระงมไพร น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง อยู่ตามป่าใหญ่. (พจน. ๒๔๙๓).
ระงับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยับยั้งไว้, ทําให้สงบ, เช่น ระงับคดี ระงับเรื่องราว.ระงับ ๑ ก. ยับยั้งไว้, ทําให้สงบ, เช่น ระงับคดี ระงับเรื่องราว.
ระงับ ๒, ระงับพิษ ระงับ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ระงับพิษ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Breynia glauca Craib ในวงศ์ Euphorbiaceae คล้ายต้นก้างปลา ใช้ทํายาได้.ระงับ ๒, ระงับพิษ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Breynia glauca Craib ในวงศ์ Euphorbiaceae คล้ายต้นก้างปลา ใช้ทํายาได้.
ระงี่ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัง, ระงม, เซ็งแซ่.ระงี่ (โบ) ว. ดัง, ระงม, เซ็งแซ่.
ระแง้ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าวว่า ระแง้หมาก ระแง้ข้าว, ตะแง้ ก็ว่า.ระแง้ น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าวว่า ระแง้หมาก ระแง้ข้าว, ตะแง้ ก็ว่า.
ระโงกหิน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-งอ-งู-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเห็ดชนิด Amanita verna (Bull. ex Fr.) Vitt. ในวงศ์ Amanitaceae ลักษณะคล้ายเห็ดฟางแต่ดอกสีขาว ก้านมีวงแหวน โคนก้านโป่งเป็นกระเปาะ กินตาย.ระโงกหิน (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่อเห็ดชนิด Amanita verna (Bull. ex Fr.) Vitt. ในวงศ์ Amanitaceae ลักษณะคล้ายเห็ดฟางแต่ดอกสีขาว ก้านมีวงแหวน โคนก้านโป่งเป็นกระเปาะ กินตาย.
ระชวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ชวย, พัดอ่อน ๆ, พัดเรื่อย ๆ, (ใช้แก่ลม).ระชวย ก. ชวย, พัดอ่อน ๆ, พัดเรื่อย ๆ, (ใช้แก่ลม).
ระดม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพร้อม ๆ กัน เช่น ระดมยิง; รวบรวม, รวมเข้าด้วยกัน, เช่น ระดมทุน ระดมคนช่วยกันทำงาน.ระดม ก. ทำพร้อม ๆ กัน เช่น ระดมยิง; รวบรวม, รวมเข้าด้วยกัน, เช่น ระดมทุน ระดมคนช่วยกันทำงาน.
ระดมพล เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง เกณฑ์ทหารเข้าประจำกองทัพอย่างรีบด่วน.ระดมพล ก. เกณฑ์ทหารเข้าประจำกองทัพอย่างรีบด่วน.
ระดะ, ระดา ระดะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ ระดา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกล่น.ระดะ, ระดา ว. เกลื่อนกล่น.
ระดับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของพื้นผิวตามแนวนอนระหว่างจุด ๒ จุดที่มีความสูงเสมอกัน โดยปรกติใช้ระดับนํ้าทะเลเป็นมาตรฐานในการวัด, เรียกเครื่องวัดความเสมอของพื้นผิวว่า เครื่องวัดระดับ. เป็นคำกริยา หมายถึง ปูลาด, แต่งตั้ง.ระดับ น. ลักษณะของพื้นผิวตามแนวนอนระหว่างจุด ๒ จุดที่มีความสูงเสมอกัน โดยปรกติใช้ระดับนํ้าทะเลเป็นมาตรฐานในการวัด, เรียกเครื่องวัดความเสมอของพื้นผิวว่า เครื่องวัดระดับ. ก. ปูลาด, แต่งตั้ง.
ระดับทะเล เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ความสูงของพื้นนํ้าทะเลในขณะใดขณะหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sea เขียนว่า เอส-อี-เอ level เขียนว่า แอล-อี-วี-อี-แอล .ระดับทะเล น. ความสูงของพื้นนํ้าทะเลในขณะใดขณะหนึ่ง. (อ. sea level).
ระดับทะเลปานกลาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำทะเล ซึ่งคํานวณจากผลการตรวจระดับนํ้าทะเลขึ้นลงในที่ใดที่หนึ่งที่ได้บันทึกติดต่อกันไว้เป็นระยะเวลานาน, ใช้ย่อว่า ร.ท.ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ mean เขียนว่า เอ็ม-อี-เอ-เอ็น sea เขียนว่า เอส-อี-เอ level เขียนว่า แอล-อี-วี-อี-แอล .ระดับทะเลปานกลาง น. ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำทะเล ซึ่งคํานวณจากผลการตรวจระดับนํ้าทะเลขึ้นลงในที่ใดที่หนึ่งที่ได้บันทึกติดต่อกันไว้เป็นระยะเวลานาน, ใช้ย่อว่า ร.ท.ก. (อ. mean sea level).
ระด่าว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นสั่นรัวไปทั้งตัว, เร่าร้อน.ระด่าว ว. อาการที่ดิ้นสั่นรัวไปทั้งตัว, เร่าร้อน.
ระดู เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เลือดประจําเดือนที่ถูกขับถ่ายจากมดลูกออกมาทางช่องคลอด.ระดู น. เลือดประจําเดือนที่ถูกขับถ่ายจากมดลูกออกมาทางช่องคลอด.
ระดูขาว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ถูกขับถ่ายออกมาทางช่องคลอด ลักษณะข้นหรือค่อนข้างข้น สีขาวหรือสีเหลืองปนเขียว มีกลิ่นเหม็น เกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ติดเชื้อไวรัส ติดเชื้อพยาธิชนิด Trichomonas vaginalis เนื้องอก, ตกขาว หรือมุตกิด ก็เรียก.ระดูขาว น. สิ่งที่ถูกขับถ่ายออกมาทางช่องคลอด ลักษณะข้นหรือค่อนข้างข้น สีขาวหรือสีเหลืองปนเขียว มีกลิ่นเหม็น เกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ติดเชื้อไวรัส ติดเชื้อพยาธิชนิด Trichomonas vaginalis เนื้องอก, ตกขาว หรือมุตกิด ก็เรียก.
ระดูทับไข้ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง การมีระดูออกมาระหว่างเป็นไข้.ระดูทับไข้ น. การมีระดูออกมาระหว่างเป็นไข้.
ระเด่น เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง โอรสหรือธิดาของกษัตริย์เมืองใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ระเด่น น. โอรสหรือธิดาของกษัตริย์เมืองใหญ่. (ช.).
ระเดียง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสายสําหรับตากผ้าสบงจีวรเป็นต้นของพระภิกษุสามเณรว่า สายระเดียง.ระเดียง น. เรียกสายสําหรับตากผ้าสบงจีวรเป็นต้นของพระภิกษุสามเณรว่า สายระเดียง.
ระแด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง คนชาติข่าพวกหนึ่ง ในตระกูลชวามลายู อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่นํ้าโขง.ระแด น. คนชาติข่าพวกหนึ่ง ในตระกูลชวามลายู อยู่ทางฝั่งซ้ายแม่นํ้าโขง.
ระตู เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าเมืองน้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ระตู น. เจ้าเมืองน้อย. (ช.).
ระทก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนาวใจ.ระทก ว. หนาวใจ.
ระทด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สลดใจ, มีจิตใจหวั่นไหวเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น ระทดท้อ ระทดใจ.ระทด ก. สลดใจ, มีจิตใจหวั่นไหวเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น ระทดท้อ ระทดใจ.
ระทดระทวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อนอกอ่อนใจ เช่น เขาเสียการพนันจนหมดตัว เดินระทดระทวยออกมา.ระทดระทวย ว. อ่อนอกอ่อนใจ เช่น เขาเสียการพนันจนหมดตัว เดินระทดระทวยออกมา.
ระทม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เจ็บชํ้าระกําใจ.ระทม ก. เจ็บชํ้าระกําใจ.
ระทวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อนช้อย, อ่อนใจ.ระทวย ๑ ว. อ่อนช้อย, อ่อนใจ.
ระทวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ระทด, มักใช้เข้าคู่กับคํา ระทด เป็น ระทดระทวย.ระทวย ๒ ก. ระทด, มักใช้เข้าคู่กับคํา ระทด เป็น ระทดระทวย.
ระทอด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ้ง, ทอด.ระทอด ก. ทิ้ง, ทอด.
ระทา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิด เช่น พลุ ตะไล จรวด ใช้จุดในงานพระราชพิธี. ในวงเล็บ รูปภาพ ระทา.ระทา น. หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิด เช่น พลุ ตะไล จรวด ใช้จุดในงานพระราชพิธี. (รูปภาพ ระทา).
ระทึก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ใจเต้นตึก ๆ.ระทึก ก. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ.
ระทึง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงหึ่ง ๆ อย่างเสียงผึ้ง.ระทึง ว. เสียงหึ่ง ๆ อย่างเสียงผึ้ง.
ระแทะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ยานชนิดลากขนาดเล็ก มี ๒ ล้อ ใช้วัวเทียม ตัวเรือนราบไม่ยกสูงอย่างเรือนเกวียน มีทั้งชนิดโถงและประกอบหลังคา, กระแทะ หรือ รันแทะ ก็ว่า.ระแทะ น. ยานชนิดลากขนาดเล็ก มี ๒ ล้อ ใช้วัวเทียม ตัวเรือนราบไม่ยกสูงอย่างเรือนเกวียน มีทั้งชนิดโถงและประกอบหลังคา, กระแทะ หรือ รันแทะ ก็ว่า.
ระนัม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ป่ารกฉําแฉะ, ระนาม ก็ว่า.ระนัม น. ป่ารกฉําแฉะ, ระนาม ก็ว่า.
ระนาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปี่พาทย์ชนิดตี ประกอบด้วยลูกระนาดทำด้วยไม้ร้อยเชือกหัวท้ายเข้าเป็นผืนใช้แขวนบนรางระนาด หรือทำด้วยเหล็กหรือทองเหลืองใช้วางเรียงบนรางระนาดมีไม้ประกับหัวท้าย ลูกระนาดเรียงขนาดสั้นยาวให้ลดหลั่นกันตามลำดับเสียง มีตั้งแต่ ๑๗–๒๑ ลูก มีไม้ตีคู่หนึ่ง เรียกว่า ไม้ตีระนาด, ลักษณนามว่า ราง.ระนาด ๑ น. เครื่องปี่พาทย์ชนิดตี ประกอบด้วยลูกระนาดทำด้วยไม้ร้อยเชือกหัวท้ายเข้าเป็นผืนใช้แขวนบนรางระนาด หรือทำด้วยเหล็กหรือทองเหลืองใช้วางเรียงบนรางระนาดมีไม้ประกับหัวท้าย ลูกระนาดเรียงขนาดสั้นยาวให้ลดหลั่นกันตามลำดับเสียง มีตั้งแต่ ๑๗–๒๑ ลูก มีไม้ตีคู่หนึ่ง เรียกว่า ไม้ตีระนาด, ลักษณนามว่า ราง.
ระนาดแก้ว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ระนาดที่ลูกทําด้วยแก้ววางเรียงบนรางระนาดซึ่งมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนานกับพื้น มีไม้ประกับหัวท้าย มีทั้งระนาดแก้วทุ้มและระนาดแก้วเอก ระนาดแก้วทุ้มไม้ตีใช้ไม้นวม ระนาดแก้วเอกใช้ไม้ตีที่มีลูกทำด้วยหนัง.ระนาดแก้ว น. ระนาดที่ลูกทําด้วยแก้ววางเรียงบนรางระนาดซึ่งมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนานกับพื้น มีไม้ประกับหัวท้าย มีทั้งระนาดแก้วทุ้มและระนาดแก้วเอก ระนาดแก้วทุ้มไม้ตีใช้ไม้นวม ระนาดแก้วเอกใช้ไม้ตีที่มีลูกทำด้วยหนัง.
ระนาดทุ้ม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ระนาดที่มีเสียงต่ำกว่าและมีเสียงนุ่มนวลกว่าระนาดเอก ลูกระนาดเช่นเดียวกับระนาดเอก แต่ใหญ่และยาวกว่า มี ๑๗ ลูก ปากรางระนาดเว้าโค้งขึ้นคล้ายปากเปลญวน ด้านล่างตัดตรงขนานกับพื้น มีเท้าเล็ก ๆ ตรงมุม ๔ เท้า ไม้ตีใช้แต่ไม้นวมอย่างเดียว.ระนาดทุ้ม น. ระนาดที่มีเสียงต่ำกว่าและมีเสียงนุ่มนวลกว่าระนาดเอก ลูกระนาดเช่นเดียวกับระนาดเอก แต่ใหญ่และยาวกว่า มี ๑๗ ลูก ปากรางระนาดเว้าโค้งขึ้นคล้ายปากเปลญวน ด้านล่างตัดตรงขนานกับพื้น มีเท้าเล็ก ๆ ตรงมุม ๔ เท้า ไม้ตีใช้แต่ไม้นวมอย่างเดียว.
ระนาดเอก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ระนาดที่มีเสียงแกร่งกว่าระนาดทุ้ม ลูกระนาดโดยมากทำด้วยไม้ไผ่บง ไม้ชิงชัน หรือไม้มะหาด ฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง โดยปรกติมี ๒๑ ลูก รางระนาดมีรูปทรงคล้ายเปลญวน หัวตัดท้ายตัด มีเท้ารูปสี่เหลี่ยมคล้ายเชิงขันรับอยู่ใต้รางสำหรับตั้ง ไม้ตีมี ๒ อย่าง คือ ไม้แข็งใช้เมื่อต้องการเสียงแกร่งกร้าว และไม้นวมเมื่อต้องการเสียงเบาและนุ่มนวล.ระนาดเอก น. ระนาดที่มีเสียงแกร่งกว่าระนาดทุ้ม ลูกระนาดโดยมากทำด้วยไม้ไผ่บง ไม้ชิงชัน หรือไม้มะหาด ฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง โดยปรกติมี ๒๑ ลูก รางระนาดมีรูปทรงคล้ายเปลญวน หัวตัดท้ายตัด มีเท้ารูปสี่เหลี่ยมคล้ายเชิงขันรับอยู่ใต้รางสำหรับตั้ง ไม้ตีมี ๒ อย่าง คือ ไม้แข็งใช้เมื่อต้องการเสียงแกร่งกร้าว และไม้นวมเมื่อต้องการเสียงเบาและนุ่มนวล.
ระนาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไผ่ที่ถักอย่างเรือกสําหรับรองท้องเรือ.ระนาด ๒ น. ไม้ไผ่ที่ถักอย่างเรือกสําหรับรองท้องเรือ.
ระนาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ล้มทับกัน, อาการที่เรียงกันเป็นแถว, มักใช้เข้าคู่กับคำระเน และ ระเนน เป็น ระเนระนาด และ ระเนนระนาด.ระนาด ๓ ว. อาการที่ล้มทับกัน, อาการที่เรียงกันเป็นแถว, มักใช้เข้าคู่กับคำระเน และ ระเนน เป็น ระเนระนาด และ ระเนนระนาด.
ระนาบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ราบ; ที่แบนเรียบ (ใช้แก่ผิว). เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่ที่แบนเรียบ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง เซตของบรรดาจุดที่เรียงต่อเนื่องกันเป็นพื้นราบสมํ่าเสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ plane เขียนว่า พี-แอล-เอ-เอ็น-อี.ระนาบ (กลอน) ว. ราบ; ที่แบนเรียบ (ใช้แก่ผิว). น. พื้นที่ที่แบนเรียบ; (คณิต) เซตของบรรดาจุดที่เรียงต่อเนื่องกันเป็นพื้นราบสมํ่าเสมอ. (อ. plane).
ระนาบเอียง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีพื้นแบนเรียบเอียงทํามุมแหลมกับพื้นระดับ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องกลอย่างง่ายสําหรับเลื่อนเทหวัตถุหนักไปสู่ระดับที่ต้องการโดยที่สามารถพักเทหวัตถุนั้นได้เป็นระยะ ๆ.ระนาบเอียง น. สิ่งที่มีพื้นแบนเรียบเอียงทํามุมแหลมกับพื้นระดับ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องกลอย่างง่ายสําหรับเลื่อนเทหวัตถุหนักไปสู่ระดับที่ต้องการโดยที่สามารถพักเทหวัตถุนั้นได้เป็นระยะ ๆ.
ระนาม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ป่ารกฉําแฉะ เรียกว่า ป่าระนาม, ระนัม ก็ว่า.ระนาม น. ป่ารกฉําแฉะ เรียกว่า ป่าระนาม, ระนัม ก็ว่า.
ระนาว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย (ใช้แก่สิ่งที่อยู่ในลักษณะที่ห้อยแขวนเป็นสาย เป็นแถว เป็นแนว เป็นต้น) เช่น แขวนธงเป็นระนาว สอบตกเป็นระนาว.ระนาว ว. มากมาย (ใช้แก่สิ่งที่อยู่ในลักษณะที่ห้อยแขวนเป็นสาย เป็นแถว เป็นแนว เป็นต้น) เช่น แขวนธงเป็นระนาว สอบตกเป็นระนาว.
ระเนน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ล้มทับกัน, อาการที่เอนราบทับกัน.ระเนน ว. อาการที่ล้มทับกัน, อาการที่เอนราบทับกัน.
ระเนนระนาด, ระเนระนาด ระเนนระนาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ระเนระนาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกลาด (ใช้แก่สิ่งที่อยู่ในลักษณะที่ล้มทับกันอยู่เรี่ยรายมากมาย).ระเนนระนาด, ระเนระนาด ว. เกลื่อนกลาด (ใช้แก่สิ่งที่อยู่ในลักษณะที่ล้มทับกันอยู่เรี่ยรายมากมาย).
ระเนียด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง รั้วที่ปักเสารายตลอดไป, เสาค่าย.ระเนียด น. รั้วที่ปักเสารายตลอดไป, เสาค่าย.
ระแนง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สี่เหลี่ยมขนาดยาว หน้า ๑" x ๑" ใช้ตีทับบนกลอนหรือจันทันสําหรับมุงกระเบื้อง หรือตีทับคร่าวเพื่อทํารั้ว หรือทําแผงพรางแดดสําหรับเรือนกล้วยไม้. เป็นคำกริยา หมายถึง เรียง; ร่อน เช่น เอาแป้งมาระแนงให้เป็นผง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แรง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู ว่า ร่อน .ระแนง น. ไม้สี่เหลี่ยมขนาดยาว หน้า ๑" x ๑" ใช้ตีทับบนกลอนหรือจันทันสําหรับมุงกระเบื้อง หรือตีทับคร่าวเพื่อทํารั้ว หรือทําแผงพรางแดดสําหรับเรือนกล้วยไม้. ก. เรียง; ร่อน เช่น เอาแป้งมาระแนงให้เป็นผง. (ขุนช้างขุนแผน). (ข. แรง ว่า ร่อน).
ระแนะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับรองรากตึกและเสาเรือน, แระ ก็เรียก; ท้องเรือ.ระแนะ น. เครื่องสําหรับรองรากตึกและเสาเรือน, แระ ก็เรียก; ท้องเรือ.
ระบบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกันตามหลักแห่งความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกัน ด้วยระเบียบของธรรมชาติหรือหลักเหตุผลทางวิชาการ เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ.ระบบ น. กลุ่มของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกันตามหลักแห่งความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกัน ด้วยระเบียบของธรรมชาติหรือหลักเหตุผลทางวิชาการ เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ.
ระบบสุริยะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของแรงดึงดูด รวมทั้งดาวเคราะห์ใหญ่น้อยและบริวารของดาวเคราะห์ ดาวเหล่านี้หมุนอยู่รอบ ๆ ดวงอาทิตย์ และมีวงโคจรอยู่ในแนวระนาบใกล้เคียงกัน.ระบบสุริยะ น. ระบบที่ประกอบด้วยดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของแรงดึงดูด รวมทั้งดาวเคราะห์ใหญ่น้อยและบริวารของดาวเคราะห์ ดาวเหล่านี้หมุนอยู่รอบ ๆ ดวงอาทิตย์ และมีวงโคจรอยู่ในแนวระนาบใกล้เคียงกัน.
ระบม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง อาการเจ็บร้าวที่เกิดจากความเมื่อยขัดหรือบอบชํ้าเป็นต้น เช่น ฝีระบมจนเป็นไข้ ถูกตีระบมไปทั้งตัว, ชอกช้ำ เช่น อกระบม ระบมใจ.ระบม ก. อาการเจ็บร้าวที่เกิดจากความเมื่อยขัดหรือบอบชํ้าเป็นต้น เช่น ฝีระบมจนเป็นไข้ ถูกตีระบมไปทั้งตัว, ชอกช้ำ เช่น อกระบม ระบมใจ.
ระบมบาตร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง รมบาตรให้ดําเป็นมันเพื่อกันสนิมด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ เช่น เอากํามะถันและนํ้ามันทาบาตรแล้วรมไฟให้ร้อน.ระบมบาตร ก. รมบาตรให้ดําเป็นมันเพื่อกันสนิมด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ เช่น เอากํามะถันและนํ้ามันทาบาตรแล้วรมไฟให้ร้อน.
ระบอบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แบบอย่าง, ธรรมเนียม, เช่น ทำถูกระบอบ; ระเบียบการปกครอง เช่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์.ระบอบ น. แบบอย่าง, ธรรมเนียม, เช่น ทำถูกระบอบ; ระเบียบการปกครอง เช่น การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์.
ระบัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ลัด, ผลิ, แตกใบอ่อน, เช่น ไม้ระบัดใบ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพิ่งลัด, เพิ่งผลิ, อ่อน, เช่น หญ้าระบัด.ระบัด ก. ลัด, ผลิ, แตกใบอ่อน, เช่น ไม้ระบัดใบ. ว. เพิ่งลัด, เพิ่งผลิ, อ่อน, เช่น หญ้าระบัด.
ระบับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แบบ, ฉบับ.ระบับ น. แบบ, ฉบับ.
ระบาญ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง รบ, สู้รบ.ระบาญ ก. รบ, สู้รบ.
ระบาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพร่ไปอย่างรวดเร็ว, แพร่ไปอย่างกว้างขวาง, แพร่ไปทั่ว, เช่น ข่าวลือระบาด, ลักษณะของโรคติดต่อที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวางเป็นคราว ๆ ไป, เรียกโรคที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า โรคระบาด เช่น อหิวาตกโรคเป็นโรคระบาดชนิดหนึ่ง.ระบาด ว. แพร่ไปอย่างรวดเร็ว, แพร่ไปอย่างกว้างขวาง, แพร่ไปทั่ว, เช่น ข่าวลือระบาด, ลักษณะของโรคติดต่อที่แพร่ไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวางเป็นคราว ๆ ไป, เรียกโรคที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า โรคระบาด เช่น อหิวาตกโรคเป็นโรคระบาดชนิดหนึ่ง.
ระบานี, ระบานี้ ระบานี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ระบานี้ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นัก, ทีเดียว, เช่นนี้, ดังนี้.ระบานี, ระบานี้ ว. นัก, ทีเดียว, เช่นนี้, ดังนี้.
ระบาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่ห้อยจากขอบ.ระบาย ๑ น. ผ้าที่ห้อยจากขอบ.
ระบาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่อนออกไป เช่น ระบายสินค้า ระบายนํ้า ระบายความทุกข์, ถ่ายออก เช่น ระบายท้อง ระบายอากาศ.ระบาย ๒ ก. ผ่อนออกไป เช่น ระบายสินค้า ระบายนํ้า ระบายความทุกข์, ถ่ายออก เช่น ระบายท้อง ระบายอากาศ.
ระบายสี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ลงสี, แต้มสี, ป้ายสี, เช่น ระบายสีภาพทิวทัศน์ด้วยสีน้ำ; เสริมแต่งเกินความจริง เช่น เขาระบายสีข่าวเสียจนเชื่อไม่ลง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เสริมแต่งเกินความจริง เช่น ข่าวระบายสี.ระบายสี ก. ลงสี, แต้มสี, ป้ายสี, เช่น ระบายสีภาพทิวทัศน์ด้วยสีน้ำ; เสริมแต่งเกินความจริง เช่น เขาระบายสีข่าวเสียจนเชื่อไม่ลง. ว. ที่เสริมแต่งเกินความจริง เช่น ข่าวระบายสี.
ระบำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงที่ใช้ท่าฟ้อนรำ ไม่เป็นเรื่องราว มุ่งความสวยงามหรือความบันเทิง จะแสดงคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำกอย ระบำฉุยฉาย. เป็นคำกริยา หมายถึง ฟ้อนรำที่แสดงไม่เป็นเรื่องราว มุ่งความสวยงามหรือความบันเทิง จะแสดงคนเดียวหรือหลายคนก็ได้.ระบำ น. การแสดงที่ใช้ท่าฟ้อนรำ ไม่เป็นเรื่องราว มุ่งความสวยงามหรือความบันเทิง จะแสดงคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ เช่น ระบำนพรัตน์ ระบำกอย ระบำฉุยฉาย. ก. ฟ้อนรำที่แสดงไม่เป็นเรื่องราว มุ่งความสวยงามหรือความบันเทิง จะแสดงคนเดียวหรือหลายคนก็ได้.
ระบำปลายเท้า เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การเต้นรำแบบหนึ่งของชาวตะวันตก แสดงเป็นเรื่องราวหรือแสดงเดี่ยวก็ได้, บัลเลต์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ballet เขียนว่า บี-เอ-แอล-แอล-อี-ที.ระบำปลายเท้า น. การเต้นรำแบบหนึ่งของชาวตะวันตก แสดงเป็นเรื่องราวหรือแสดงเดี่ยวก็ได้, บัลเลต์ ก็ว่า. (อ. ballet).
ระบิ, ระบิล ระบิ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ ระบิล เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เรื่อง, ความ, ฉบับ, อย่าง.ระบิ, ระบิล น. เรื่อง, ความ, ฉบับ, อย่าง.
ระบิลเมือง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายและประเพณีของบ้านเมือง.ระบิลเมือง น. กฎหมายและประเพณีของบ้านเมือง.
ระบือ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล่าลือ เช่น ข่าวระบือ, เลื่องลือ, แพร่หลายรู้กันทั่ว, เช่น ชื่อเสียงระบือไปไกล.ระบือ ว. เล่าลือ เช่น ข่าวระบือ, เลื่องลือ, แพร่หลายรู้กันทั่ว, เช่น ชื่อเสียงระบือไปไกล.
ระบุ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง เจาะจง เช่น ระบุชื่อผู้รับ ระบุตัวบุคคล, บ่งชื่อ, ออกชื่อเฉพาะ, เช่น ระบุชื่อพยาน; มีออกมามาก ๆ พร้อม ๆ กัน เช่น ทุเรียนระบุ เห็ดระบุ ส่าไข้ระบุ.ระบุ ก. เจาะจง เช่น ระบุชื่อผู้รับ ระบุตัวบุคคล, บ่งชื่อ, ออกชื่อเฉพาะ, เช่น ระบุชื่อพยาน; มีออกมามาก ๆ พร้อม ๆ กัน เช่น ทุเรียนระบุ เห็ดระบุ ส่าไข้ระบุ.
ระเบง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตี เช่น ระเบงฆ้องกลอง.ระเบง ก. ตี เช่น ระเบงฆ้องกลอง.
ระเบ็ง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การมหรสพชนิดหนึ่งของหลวง ที่แสดงในงานพระราชพิธีสมโภช เช่น พระราชพิธีโสกันต์.ระเบ็ง ๑ น. การมหรสพชนิดหนึ่งของหลวง ที่แสดงในงานพระราชพิธีสมโภช เช่น พระราชพิธีโสกันต์.
ระเบ็ง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัง, ดังอื้ออึงแซ่ไปหมด, มักใช้เข้าคู่กับคํา เซ็งแซ่ เป็น ระเบ็งเซ็งแซ่, ละเบ็ง ก็ว่า.ระเบ็ง ๒ ว. ดัง, ดังอื้ออึงแซ่ไปหมด, มักใช้เข้าคู่กับคํา เซ็งแซ่ เป็น ระเบ็งเซ็งแซ่, ละเบ็ง ก็ว่า.
ระเบิด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ปะทุแตกออกไป เช่น คลังกระสุนระเบิด, ทําให้ปะทุแตกออกไป เช่น ระเบิดหิน. เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิด เช่น ทิ้งระเบิด.ระเบิด ก. ปะทุแตกออกไป เช่น คลังกระสุนระเบิด, ทําให้ปะทุแตกออกไป เช่น ระเบิดหิน. น. ลูกระเบิด เช่น ทิ้งระเบิด.
ระเบิดขวด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดที่บรรจุสารเคมีบางอย่างในขวดแก้วหนา เมื่อถูกกระทบกระแทกอย่างแรงจะระเบิด.ระเบิดขวด น. ลูกระเบิดที่บรรจุสารเคมีบางอย่างในขวดแก้วหนา เมื่อถูกกระทบกระแทกอย่างแรงจะระเบิด.
ระเบิดทำลาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดซึ่งบรรจุดินระเบิดอย่างแรง มักมีขนาดใหญ่ มีอํานาจทําลายสูง.ระเบิดทำลาย น. ลูกระเบิดซึ่งบรรจุดินระเบิดอย่างแรง มักมีขนาดใหญ่ มีอํานาจทําลายสูง.
ระเบิดน้ำตา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดซึ่งบรรจุสารเคมีที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองแก่เยื่อตา ทําให้นํ้าตาไหล ลืมตาไม่ขึ้นอยู่ชั่วขณะ.ระเบิดน้ำตา น. ลูกระเบิดซึ่งบรรจุสารเคมีที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองแก่เยื่อตา ทําให้นํ้าตาไหล ลืมตาไม่ขึ้นอยู่ชั่วขณะ.
ระเบิดปรมาณู เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดที่ให้อํานาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทําให้นิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียมหรือธาตุพลูโทเนียมแตกสลาย ระเบิดชนิดนี้มีอํานาจทําลายมากยิ่งกว่าระเบิดธรรมดาที่ใช้ดินระเบิด.ระเบิดปรมาณู น. ลูกระเบิดที่ให้อํานาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทําให้นิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียมหรือธาตุพลูโทเนียมแตกสลาย ระเบิดชนิดนี้มีอํานาจทําลายมากยิ่งกว่าระเบิดธรรมดาที่ใช้ดินระเบิด.
ระเบิดเพลิง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดซึ่งบรรจุสารเคมีที่ติดไฟทันทีเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว.ระเบิดเพลิง น. ลูกระเบิดซึ่งบรรจุสารเคมีที่ติดไฟทันทีเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว.
ระเบิดมือ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดขนาดเล็กที่บรรจุดินระเบิดอย่างแรง ใช้ขว้างให้เกิดการระเบิด.ระเบิดมือ น. ลูกระเบิดขนาดเล็กที่บรรจุดินระเบิดอย่างแรง ใช้ขว้างให้เกิดการระเบิด.
ระเบิดเวลา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดที่มีอุปกรณ์ตั้งกําหนดเวลาให้ระเบิด.ระเบิดเวลา น. ลูกระเบิดที่มีอุปกรณ์ตั้งกําหนดเวลาให้ระเบิด.
ระเบิดไอพิษ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดที่บรรจุสารพิษซึ่งเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว จะกลายเป็นไอหรือควันที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายและอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้.ระเบิดไอพิษ น. ลูกระเบิดที่บรรจุสารพิษซึ่งเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว จะกลายเป็นไอหรือควันที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายและอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้.
ระเบิดไฮโดรเจน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลูกระเบิดที่ให้อํานาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทําให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอํานาจทําลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ H—bomb เขียนว่า เอช-??151??-บี-โอ-เอ็ม-บี.ระเบิดไฮโดรเจน น. ลูกระเบิดที่ให้อํานาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทําให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอํานาจทําลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. (อ. H—bomb).
ระเบียง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พื้นเรือนที่ต่อออกไปทางด้านข้าง มีหลังคาคลุม; โรงแถวที่ล้อมรอบอุโบสถหรือวิหาร, ถ้าเป็นอารามหลวง เรียกว่า พระระเบียง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียง, เคียง, ราย.ระเบียง น. พื้นเรือนที่ต่อออกไปทางด้านข้าง มีหลังคาคลุม; โรงแถวที่ล้อมรอบอุโบสถหรือวิหาร, ถ้าเป็นอารามหลวง เรียกว่า พระระเบียง. ว. เรียง, เคียง, ราย.
ระเบียน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทะเบียน, แบบ, เช่น ระเบียนประจำตัวนักเรียน.ระเบียน น. ทะเบียน, แบบ, เช่น ระเบียนประจำตัวนักเรียน.
ระเบียบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดําเนินการ เช่น ระเบียบวินัย ระเบียบข้อบังคับ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถูกลําดับ, ถูกที่เป็นแถวเป็นแนว, มีลักษณะเรียบร้อย, เช่น เขาทำงานอย่างมีระเบียบ.ระเบียบ น. แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดําเนินการ เช่น ระเบียบวินัย ระเบียบข้อบังคับ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ. ว. ถูกลําดับ, ถูกที่เป็นแถวเป็นแนว, มีลักษณะเรียบร้อย, เช่น เขาทำงานอย่างมีระเบียบ.
ระเบียบการ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ข้อกําหนดหรือข้อบังคับที่บัญญัติขึ้นเป็นแนวปฏิบัติ เช่น ระเบียบการของโรงเรียน.ระเบียบการ น. ข้อกําหนดหรือข้อบังคับที่บัญญัติขึ้นเป็นแนวปฏิบัติ เช่น ระเบียบการของโรงเรียน.
ระเบียบจัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ้าระเบียบ, ที่ถือระเบียบอย่างเคร่งครัด.ระเบียบจัด ว. เจ้าระเบียบ, ที่ถือระเบียบอย่างเคร่งครัด.
ระเบียบวาระ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับรายการที่กําหนดไว้ในการประชุมแต่ละครั้ง.ระเบียบวาระ น. ลําดับรายการที่กําหนดไว้ในการประชุมแต่ละครั้ง.
ระแบบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แบบ.ระแบบ (กลอน) น. แบบ.
ระใบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ระบาย เช่นพระกลดใหญ่มีระใบถึงสามชั้น. ในวงเล็บ มาจาก ปกีรณำพจนาดถ์ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โรงพิมพ์หลวง ในพระบรมมหาราชวัง จ.ศ. ๑๒๔๑.ระใบ (โบ) น. ระบาย เช่นพระกลดใหญ่มีระใบถึงสามชั้น. (ปกีรณําพจนาดถ์).
ระมัดระวัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแลให้ปลอดภัย, ดูแลอย่างรอบคอบไม่ให้พลั้งพลาด, เช่น ระมัดระวังให้ดีเวลาข้ามถนน ระมัดระวังเรื่องสายไฟฟ้ารั่วให้มาก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประหยัด, ไม่สุรุ่ยสุร่าย, เช่น ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง.ระมัดระวัง ก. ดูแลให้ปลอดภัย, ดูแลอย่างรอบคอบไม่ให้พลั้งพลาด, เช่น ระมัดระวังให้ดีเวลาข้ามถนน ระมัดระวังเรื่องสายไฟฟ้ารั่วให้มาก. ว. ประหยัด, ไม่สุรุ่ยสุร่าย, เช่น ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง.
ระมา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เหลือบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ระมา น. เหลือบ. (ช.).
ระมาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แรด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร รมาส เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.ระมาด น. แรด. (ข. รมาส).
ระเมียร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ดู, น่าดู. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร รมึล เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-ลอ-ลิง ว่า ดู .ระเมียร ก. ดู, น่าดู. (ข. รมึล ว่า ดู).
ระย่อ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ขยาด, ครั่นคร้าม, ไม่กล้าสู้, ไม่มีกำลังใจจะสู้.ระย่อ ก. ขยาด, ครั่นคร้าม, ไม่กล้าสู้, ไม่มีกำลังใจจะสู้.
ระย่อม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz ในวงศ์ Apocynaceae ทุกส่วนมียางขาว ดอกเล็กสีชมพู ออกเป็นช่อตามยอด รากใช้ทํายาได้, กระย่อม ก็เรียก.ระย่อม น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz ในวงศ์ Apocynaceae ทุกส่วนมียางขาว ดอกเล็กสีชมพู ออกเป็นช่อตามยอด รากใช้ทํายาได้, กระย่อม ก็เรียก.
ระยะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ช่วง, ตอน, เช่น ระยะเวลา ระยะทาง ระยะนี้ฝนตกชุก.ระยะ น. ช่วง, ตอน, เช่น ระยะเวลา ระยะทาง ระยะนี้ฝนตกชุก.
ระยะ ๆ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นช่วง ๆ, เป็นตอน ๆ, เช่น เดินทางหยุดพักเป็นระยะ ๆ ปักเสาโทรเลขเป็นระยะ ๆ.ระยะ ๆ ว. เป็นช่วง ๆ, เป็นตอน ๆ, เช่น เดินทางหยุดพักเป็นระยะ ๆ ปักเสาโทรเลขเป็นระยะ ๆ.
ระยัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ยัง, อยู่; ยั้ง.ระยัง (กลอน) ก. ยัง, อยู่; ยั้ง.
ระยั้ง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง หยุด, ยั้ง.ระยั้ง (กลอน) ก. หยุด, ยั้ง.
ระยัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ยัด.ระยัด (กลอน) ก. ยัด.
ระยับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พราวแพรว, วับวาบ, (ใช้แก่แสงหรือรัศมี) เช่น ผ้ามันระยับ, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ระยิบ เป็น ระยิบระยับ เช่น ดาวส่องแสงระยิบระยับ.ระยับ ว. พราวแพรว, วับวาบ, (ใช้แก่แสงหรือรัศมี) เช่น ผ้ามันระยับ, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ระยิบ เป็น ระยิบระยับ เช่น ดาวส่องแสงระยิบระยับ.
ระย้า เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องห้อยย้อยเป็นพวงเป็นพู่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ห้อยย้อยลงมา เช่น ตุ้มหูระย้า โคมระย้า.ระย้า น. เครื่องห้อยย้อยเป็นพวงเป็นพู่. ว. ที่ห้อยย้อยลงมา เช่น ตุ้มหูระย้า โคมระย้า.
ระยาน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ยาน, หย่อนลง, ห้อยลง.ระยาน ก. ยาน, หย่อนลง, ห้อยลง.
ระยาบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสงวาบ ๆ, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ระยับ เป็น ระยาบระยับ.ระยาบ ว. แสงวาบ ๆ, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ระยับ เป็น ระยาบระยับ.
ระยำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วช้า, ตํ่าช้า, เลวทราม, อัปมงคล, เช่น คนระยำ เรื่องระยำ ทำระยำ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ หมายถึง ยับเยิน, แหลก, เช่น ดังดวงแก้วตกต้องแผ่นผา ร้าวระยำช้ำจิตเจ็บอุรา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ระยำ ว. ชั่วช้า, ตํ่าช้า, เลวทราม, อัปมงคล, เช่น คนระยำ เรื่องระยำ ทำระยำ; (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ยับเยิน, แหลก, เช่น ดังดวงแก้วตกต้องแผ่นผา ร้าวระยำช้ำจิตเจ็บอุรา. (อิเหนา).
ระยำตำบอน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลวทราม, ชั่วช้า, เหลวไหล.ระยำตำบอน (ปาก) ว. เลวทราม, ชั่วช้า, เหลวไหล.
ระยำยับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แหลกยับเยิน, แตกย่อยยับ.ระยำยับ ว. แหลกยับเยิน, แตกย่อยยับ.
ระยิบระยับ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิบ ๆ ยับ ๆ เช่น แสงดาวระยิบระยับ.ระยิบระยับ ว. ยิบ ๆ ยับ ๆ เช่น แสงดาวระยิบระยับ.
ระโยง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายโยงเสากระโดงเรือ.ระโยง น. สายโยงเสากระโดงเรือ.
ระโยงระยาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สายที่โยงหรือผูกไว้ระเกะระกะ เช่น สายไฟระโยงระยางเต็มไปหมดน่ากลัวอันตราย.ระโยงระยาง น. สายที่โยงหรือผูกไว้ระเกะระกะ เช่น สายไฟระโยงระยางเต็มไปหมดน่ากลัวอันตราย.
ระรวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวย ๆ, แผ่ว ๆ, เบา ๆ, เช่น หายใจระรวย ลมพัดมาระรวย; ส่งกลิ่นหอมน้อย ๆ เช่น หอมระรวย.ระรวย ว. รวย ๆ, แผ่ว ๆ, เบา ๆ, เช่น หายใจระรวย ลมพัดมาระรวย; ส่งกลิ่นหอมน้อย ๆ เช่น หอมระรวย.
ระรอง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใส, งาม.ระรอง (กลอน) ว. สุกใส, งาม.
ระร่อน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ร่อน, ร่อนไปมา.ระร่อน (กลอน) ก. ร่อน, ร่อนไปมา.
ระรัว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รัว ๆ, สั่นถี่ ๆ, สั่นสะท้าน, เช่น กลัวจนตัวสั่นระรัว เสียงสั่นระรัว.ระรัว ว. รัว ๆ, สั่นถี่ ๆ, สั่นสะท้าน, เช่น กลัวจนตัวสั่นระรัว เสียงสั่นระรัว.
ระราน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติเป็นพาลเกเร ทำให้เดือดร้อน เช่น เขาเที่ยวระรานชาวบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคำ เกะกะ เป็น เกะกะระราน.ระราน ก. ประพฤติเป็นพาลเกเร ทำให้เดือดร้อน เช่น เขาเที่ยวระรานชาวบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคำ เกะกะ เป็น เกะกะระราน.
ระร่าย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เดินได้จังหวะ.ระร่าย ก. เดินได้จังหวะ.
ระราว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ราว.ระราว น. ราว.
ระริก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไหวถี่ ๆ, สั่นเร็ว ๆ, เช่น ใจสั่นระริก ตัวสั่นระริก; อาการที่หัวเราะกระซิกกระซี้ เช่น หัวเราะระริก.ระริก ก. ไหวถี่ ๆ, สั่นเร็ว ๆ, เช่น ใจสั่นระริก ตัวสั่นระริก; อาการที่หัวเราะกระซิกกระซี้ เช่น หัวเราะระริก.
ระรี่ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หัวเราะร่วน.ระรี่ ว. หัวเราะร่วน.
ระรึง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกแน่น.ระรึง ก. ผูกแน่น.
ระรื่น, ระรื้น ระรื่น เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู ระรื้น เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชื่นบาน, เบิกบานใจ, เช่น ยิ้มระรื่น, เอิบอาบใจ, ซาบซ่านใจ, เช่น หอมระรื่น.ระรื่น, ระรื้น ว. ชื่นบาน, เบิกบานใจ, เช่น ยิ้มระรื่น, เอิบอาบใจ, ซาบซ่านใจ, เช่น หอมระรื่น.
ระเร, ระเร่ ระเร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ ระเร่ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวเตร่ไปในที่ต่าง ๆ โดยไม่กําหนด, ไถล.ระเร, ระเร่ ก. เที่ยวเตร่ไปในที่ต่าง ๆ โดยไม่กําหนด, ไถล.
ระเร้ง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เร่งรัด, รีบเร็ว.ระเร้ง ก. เร่งรัด, รีบเร็ว.
ระเร็ว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ว่องไว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เร็ว ๆ.ระเร็ว ก. ว่องไว. ว. เร็ว ๆ.
ระเริง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ร่าเริงบันเทิงใจ, สนุกสนานเบิกบานเต็มที่, เช่น แมวไม่อยู่หนูระเริง อย่าระเริงจนเกินไป.ระเริง ก. ร่าเริงบันเทิงใจ, สนุกสนานเบิกบานเต็มที่, เช่น แมวไม่อยู่หนูระเริง อย่าระเริงจนเกินไป.
ระเรียง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เรียง.ระเรียง (กลอน) ก. เรียง.
ระเรียม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เรียม.ระเรียม (กลอน) น. เรียม.
ระเรื่อย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรื่อย ๆ, เฉื่อย, เสมอ, ไม่ขาด, ไม่หยุด,ไม่พัก.ระเรื่อย ว. เรื่อย ๆ, เฉื่อย, เสมอ, ไม่ขาด, ไม่หยุด,ไม่พัก.
ระแร่ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แร่เข้าไป, วิ่งเข้าไป.ระแร่ ว. แร่เข้าไป, วิ่งเข้าไป.
ระแรง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แรง.ระแรง ว. แรง.
ระลง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ครั่นคร้าม, กลัว.ระลง (กลอน) ก. ครั่นคร้าม, กลัว.
ระลวง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ระลุง, ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง.ระลวง ก. ระลุง, ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง.
ระลอก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นขนาดเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร รลก เขียนว่า รอ-เรือ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่.ระลอก ๑ น. คลื่นขนาดเล็ก. (ข. รลก).
ระลอก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง พองเป็นหัวเล็ก ๆ คล้ายฝี.ระลอก ๒ น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง พองเป็นหัวเล็ก ๆ คล้ายฝี.
ระลอง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอ็นดู. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔.ระลอง ก. เอ็นดู. (อนันตวิภาค).
ระลัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ลัด.ระลัด ก. ลัด.
ระลัดได เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ลัดนิ้วมือ.ระลัดได ก. ลัดนิ้วมือ.
ระลึก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง คิดถึงหรือนึกถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีตได้ เช่น ระลึกถึงความหลัง, รำลึก ก็ว่า.ระลึก ก. คิดถึงหรือนึกถึงเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีตได้ เช่น ระลึกถึงความหลัง, รำลึก ก็ว่า.
ระลึกชาติ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ระลึกถึงความเป็นไปในชาติก่อน.ระลึกชาติ ก. ระลึกถึงความเป็นไปในชาติก่อน.
ระลุก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คับ.ระลุก ว. คับ.
ระลุง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง, ระลวง ก็ใช้.ระลุง ก. ใจห่วงถึง, เป็นทุกข์ถึง, ระลวง ก็ใช้.
ระเลิง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง โค่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร รํเลิง เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.ระเลิง ก. โค่น. (ข. รํเลิง).
ระเลียด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทีละน้อย ๆ.ระเลียด ว. ทีละน้อย ๆ.
ระวัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คอยดู เช่น ระวังเด็กให้ดี; เอาใจใส่โดยไม่ประมาท, กันไว้ไม่ให้เกิดภัยอันตรายหรือความเสื่อมเสียเป็นต้น, เช่น ระวังตัวให้ดี ระวังโจรผู้ร้าย ระวังถูกล้วงกระเป๋า เวลาข้ามถนนให้ระวังรถ.ระวัง ก. คอยดู เช่น ระวังเด็กให้ดี; เอาใจใส่โดยไม่ประมาท, กันไว้ไม่ให้เกิดภัยอันตรายหรือความเสื่อมเสียเป็นต้น, เช่น ระวังตัวให้ดี ระวังโจรผู้ร้าย ระวังถูกล้วงกระเป๋า เวลาข้ามถนนให้ระวังรถ.
ระวังไพร, ระวังวัน ระวังไพร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ ระวังวัน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Timaliidae ตัวสีนํ้าตาล ปากแหลมโค้ง คอ อก และท้องสีขาว หางยาว มักหากินเป็นฝูงและส่งเสียงตลอดเวลา กินแมลงตามพื้นดินและพุ่มไม้ มีหลายชนิด เช่น ระวังไพรปากเหลือง (Pomatorhinus schisticeps) ระวังไพรปากยาว (P. hypoleucos), ตระเวนไพร หรือ ตระเวนวัน ก็เรียก.ระวังไพร, ระวังวัน น. ชื่อนกในวงศ์ Timaliidae ตัวสีนํ้าตาล ปากแหลมโค้ง คอ อก และท้องสีขาว หางยาว มักหากินเป็นฝูงและส่งเสียงตลอดเวลา กินแมลงตามพื้นดินและพุ่มไม้ มีหลายชนิด เช่น ระวังไพรปากเหลือง (Pomatorhinus schisticeps) ระวังไพรปากยาว (P. hypoleucos), ตระเวนไพร หรือ ตระเวนวัน ก็เรียก.
ระวาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทำเนียบ เช่น ม้าขึ้นระวาง เรือขึ้นระวาง; ที่ว่างสำหรับบรรทุกของในเรือเป็นต้น เช่น เสียค่าระวาง.ระวาง น. ทำเนียบ เช่น ม้าขึ้นระวาง เรือขึ้นระวาง; ที่ว่างสำหรับบรรทุกของในเรือเป็นต้น เช่น เสียค่าระวาง.
ระวาดระไว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระวีกระวาด, คล่องแคล่ว, รีบเร่ง.ระวาดระไว ว. กระวีกระวาด, คล่องแคล่ว, รีบเร่ง.
ระวาม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วู่วาม.ระวาม ว. วู่วาม.
ระวาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๓.ระวาย น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๓.
ระวิง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับเอาเข็ดด้ายหรือไหมสวม เพื่อกระจายเส้นด้ายออกจากกัน เมื่อเวลาสาวเส้นด้ายจะได้ออกเป็นเส้น ๆ ไม่ขาด ไม่ยุ่ง. ในวงเล็บ รูปภาพ ระวิง.ระวิง ๑ น. เครื่องสําหรับเอาเข็ดด้ายหรือไหมสวม เพื่อกระจายเส้นด้ายออกจากกัน เมื่อเวลาสาวเส้นด้ายจะได้ออกเป็นเส้น ๆ ไม่ขาด ไม่ยุ่ง. (รูปภาพ ระวิง).
ระวิง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องคล้องโคนหางช้าง ทำด้วยโลหะรูปโค้ง ปลายทั้ง ๒ ข้างงอเป็นขอและติดห่วงไว้สำหรับคล้องกระวินต่อกับปลายสายสำอาง.ระวิง ๒ น. เครื่องคล้องโคนหางช้าง ทำด้วยโลหะรูปโค้ง ปลายทั้ง ๒ ข้างงอเป็นขอและติดห่วงไว้สำหรับคล้องกระวินต่อกับปลายสายสำอาง.
ระแวง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แคลงใจ, ชักจะสงสัย.ระแวง ก. แคลงใจ, ชักจะสงสัย.
ระแวดระวัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คอยดูแลให้รอบคอบ.ระแวดระวัง ก. คอยดูแลให้รอบคอบ.
ระไว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง คอยระวัง เช่น อยู่ระไวต่างองค์ ดํารงรั้งรักษา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, มักใช้เข้าคู่กับคํา ระวัง เป็น ระวังระไว.ระไว ก. คอยระวัง เช่น อยู่ระไวต่างองค์ ดํารงรั้งรักษา. (ลอ), มักใช้เข้าคู่กับคํา ระวัง เป็น ระวังระไว.
ระสาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นสาย, เป็นเส้น.ระสาย ว. เป็นสาย, เป็นเส้น.
ระส่ำระสาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง กระจัดพลัดพราย, เสียกระบวน, เช่น กองทัพแตกระส่ำระสาย; วุ่นวาย, เกิดความไม่สงบ, เช่น บ้านเมืองระส่ำระสาย.ระส่ำระสาย ก. กระจัดพลัดพราย, เสียกระบวน, เช่น กองทัพแตกระส่ำระสาย; วุ่นวาย, เกิดความไม่สงบ, เช่น บ้านเมืองระส่ำระสาย.
ระสี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไผ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ระสี น. ไม้ไผ่. (ข.).
ระเสิดระสัง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซัดเซไป, โซเซไป, หนีซุกซ่อนไป.ระเสิดระสัง ว. ซัดเซไป, โซเซไป, หนีซุกซ่อนไป.
ระหกระเหิน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ด้นดั้นไปด้วยความลําบาก, เร่ร่อนไปด้วยความลําบากยากเย็น, เช่น ชีวิตของเขาต้องระหกระเหินอยู่ตลอดเวลา, ระเหินระหก ก็ใช้.ระหกระเหิน ก. ด้นดั้นไปด้วยความลําบาก, เร่ร่อนไปด้วยความลําบากยากเย็น, เช่น ชีวิตของเขาต้องระหกระเหินอยู่ตลอดเวลา, ระเหินระหก ก็ใช้.
ระหง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงโปร่ง เช่น ป่าระหง, สูงสะโอดสะอง เช่น รูปร่างระหง คอระหง.ระหง ว. สูงโปร่ง เช่น ป่าระหง, สูงสะโอดสะอง เช่น รูปร่างระหง คอระหง.
ระหวย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ระโหย.ระหวย ก. ระโหย.
ระหว่าง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ช่องว่างจากที่หนึ่งถึงอีกที่หนึ่ง เช่น ในระหว่างภูเขา ๒ ลูก, ระยะเวลาจากระยะหนึ่งถึงอีกระยะหนึ่ง เช่น ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก, เวลาช่วงใดช่วงหนึ่ง เช่น ระหว่างสงครามเขายังเรียนหนังสืออยู่, เวลาที่กําลังเป็นไปอยู่ เช่น ระหว่างประชุมฝนตกหนัก ระหว่างนี้เขาไม่ว่าง. เป็นคำบุรพบท หมายถึง คําที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของบุคคลหรือสถาบันเป็นต้นตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป เช่น งานมงคลสมรสระหว่างนาย ก กับนางสาว ข แบ่งมรดกในระหว่างลูก ๆ การแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาวิทยาลัย การประชุมระหว่างชาติ.ระหว่าง น. ช่องว่างจากที่หนึ่งถึงอีกที่หนึ่ง เช่น ในระหว่างภูเขา ๒ ลูก, ระยะเวลาจากระยะหนึ่งถึงอีกระยะหนึ่ง เช่น ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก, เวลาช่วงใดช่วงหนึ่ง เช่น ระหว่างสงครามเขายังเรียนหนังสืออยู่, เวลาที่กําลังเป็นไปอยู่ เช่น ระหว่างประชุมฝนตกหนัก ระหว่างนี้เขาไม่ว่าง. บ. คําที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของบุคคลหรือสถาบันเป็นต้นตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป เช่น งานมงคลสมรสระหว่างนาย ก กับนางสาว ข แบ่งมรดกในระหว่างลูก ๆ การแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาวิทยาลัย การประชุมระหว่างชาติ.
ระหองระแหง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง บาดหมางกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ปรองดองกัน, เช่น ผัวเมียระหองระแหงกันอยู่เสมอ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผิดใจกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ใคร่ถูกกัน, เช่น เขามีเรื่องระหองระแหงกันอยู่เรื่อย.ระหองระแหง ก. บาดหมางกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ปรองดองกัน, เช่น ผัวเมียระหองระแหงกันอยู่เสมอ. ว. ผิดใจกันเพราะเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ, ไม่ใคร่ถูกกัน, เช่น เขามีเรื่องระหองระแหงกันอยู่เรื่อย.
ระหอบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ห้อม, ล้อม.ระหอบ ก. ห้อม, ล้อม.
ระหัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องวิดนํ้าอย่างหนึ่งเป็นราง ใช้ถีบด้วยเท้าหรือฉุดด้วยเครื่องจักรเป็นต้น.ระหัด น. เครื่องวิดนํ้าอย่างหนึ่งเป็นราง ใช้ถีบด้วยเท้าหรือฉุดด้วยเครื่องจักรเป็นต้น.
ระหาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อยากนํ้า, หิวนํ้า.ระหาย ก. อยากนํ้า, หิวนํ้า.
ระหุย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วงพังเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยเป็นจํานวนมาก.ระหุย ก. ร่วงพังเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยเป็นจํานวนมาก.
ระเห็จ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ไปอยู่ในที่ที่ไม่สมควร เช่น ระเห็จขึ้นไปอยู่บนยอดไม้.ระเห็จ ก. ไปอยู่ในที่ที่ไม่สมควร เช่น ระเห็จขึ้นไปอยู่บนยอดไม้.
ระเหย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ของเหลวกลายเป็นไอ.ระเหย ก. อาการที่ของเหลวกลายเป็นไอ.
ระเหระหน, ระเหหน ระเหระหน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู ระเหหน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-หอ-หีบ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซัดเซไปตามบุญตามกรรม, ไม่เป็นที่เป็นทาง, เร่ร่อนไป, อยู่ไม่เป็นที่, เช่น ผู้ลี้ภัยสงครามต้องระเหระหนไปเรื่อย ๆ.ระเหระหน, ระเหหน ว. ซัดเซไปตามบุญตามกรรม, ไม่เป็นที่เป็นทาง, เร่ร่อนไป, อยู่ไม่เป็นที่, เช่น ผู้ลี้ภัยสงครามต้องระเหระหนไปเรื่อย ๆ.
ระเหหัน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซวดเซเหหันไปมา, วนเวียนไปมา.ระเหหัน ว. ซวดเซเหหันไปมา, วนเวียนไปมา.
ระเหิด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง พ้น เช่น ระเหิดจากบาป; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง อาการที่ของแข็งกลายเป็นไอ เช่น การบูรระเหิด ลูกเหม็นระเหิด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงตระหง่าน, ระเหิดระหง ก็ว่า.ระเหิด ก. พ้น เช่น ระเหิดจากบาป; (วิทยา) อาการที่ของแข็งกลายเป็นไอ เช่น การบูรระเหิด ลูกเหม็นระเหิด. ว. สูงตระหง่าน, ระเหิดระหง ก็ว่า.
ระเหินระหก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ด้นดั้นไปด้วยความลำบาก, เร่ร่อนไปด้วยความลำบากยากเย็น, ระหกระเหิน ก็ใช้.ระเหินระหก ก. ด้นดั้นไปด้วยความลำบาก, เร่ร่อนไปด้วยความลำบากยากเย็น, ระหกระเหิน ก็ใช้.
ระแหก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง แตก, แยก.ระแหก (กลอน) ก. แตก, แยก.
ระแหง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รอยแยกขนาดแคบ ๆ ของแผ่นดินเป็นต้นที่แยกออกจากกัน เช่น ดินเป็นระแหง แตกระแหง.ระแหง น. รอยแยกขนาดแคบ ๆ ของแผ่นดินเป็นต้นที่แยกออกจากกัน เช่น ดินเป็นระแหง แตกระแหง.
ระโหย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อิดโรยเพราะหิวหรืออดนอนเป็นต้น.ระโหย ก. อิดโรยเพราะหิวหรืออดนอนเป็นต้น.
ระอมระอา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เบื่อหน่ายเต็มที.ระอมระอา (กลอน) ก. เบื่อหน่ายเต็มที.
ระอา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เบื่อหน่ายหรือหมดกําลังใจเพราะถูกรบกวน, ทําให้เกิดรําคาญหรือมีเหตุติดขัดบ่อย ๆ, ระอิดระอา ก็ว่า.ระอา ก. เบื่อหน่ายหรือหมดกําลังใจเพราะถูกรบกวน, ทําให้เกิดรําคาญหรือมีเหตุติดขัดบ่อย ๆ, ระอิดระอา ก็ว่า.
ระอิดระอา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ระอา.ระอิดระอา ก. ระอา.
ระอุ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้อนมาก ในความว่า อากาศร้อนระอุ แผ่นดินร้อนระอุ; สุกทั่ว เช่น ข้าวระอุ.ระอุ ว. ร้อนมาก ในความว่า อากาศร้อนระอุ แผ่นดินร้อนระอุ; สุกทั่ว เช่น ข้าวระอุ.
รัก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Calotropis gigantea (L.) Aiton f. ในวงศ์ Asclepiadaceae ดอกใช้ร้อยกรอง มี ๒ พันธุ์ คือ พันธุ์ดอกลา และ พันธุ์ดอกซ้อน ยางเป็นพิษ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต อรฺก เขียนว่า ออ-อ่าง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี อกฺก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Gluta usitata (Wallich) Ding Hou ในวงศ์ Anacardiaceae ยางเป็นพิษ ใช้ลงพื้นหรือทาสิ่งต่าง ๆ เรียกว่า นํ้ารัก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต ลากฺษ เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.รัก ๑ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Calotropis gigantea (L.) Aiton f. ในวงศ์ Asclepiadaceae ดอกใช้ร้อยกรอง มี ๒ พันธุ์ คือ พันธุ์ดอกลา และ พันธุ์ดอกซ้อน ยางเป็นพิษ. (เทียบ ส. อรฺก; ป. อกฺก). (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Gluta usitata (Wallich) Ding Hou ในวงศ์ Anacardiaceae ยางเป็นพิษ ใช้ลงพื้นหรือทาสิ่งต่าง ๆ เรียกว่า นํ้ารัก. (เทียบ ส. ลากฺษ).
รักแก้ว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง น้ำรักผสมสมุกและขี้ผึ้ง เคี่ยวให้งวดจนจับเป็นก้อนเพื่อนำไปปั้นหรือกดลงในแม่พิมพ์ทำเป็นลวดลายต่าง ๆ.รักแก้ว น. น้ำรักผสมสมุกและขี้ผึ้ง เคี่ยวให้งวดจนจับเป็นก้อนเพื่อนำไปปั้นหรือกดลงในแม่พิมพ์ทำเป็นลวดลายต่าง ๆ.
รักเช็ด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง น้ำรักที่เคี่ยวให้งวดและเหนียว ใช้ทาสำหรับปิดทองคำเปลว.รักเช็ด น. น้ำรักที่เคี่ยวให้งวดและเหนียว ใช้ทาสำหรับปิดทองคำเปลว.
รักตีลาย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง น้ำรักผสมสมุก เคี่ยวให้งวดจนจับเป็นก้อน เพื่อนำไปกดลงในแม่พิมพ์ทำเป็นลวดลายต่าง ๆ.รักตีลาย น. น้ำรักผสมสมุก เคี่ยวให้งวดจนจับเป็นก้อน เพื่อนำไปกดลงในแม่พิมพ์ทำเป็นลวดลายต่าง ๆ.
รักยม เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ของขลังอย่างหนึ่ง เป็นรูปตุ๊กตาเด็กเล็ก ๒ ตัว ทําด้วยไม้รักดอกและไม้มะยม เชื่อว่าทําให้เกิดเมตตามหานิยม.รักยม น. ของขลังอย่างหนึ่ง เป็นรูปตุ๊กตาเด็กเล็ก ๒ ตัว ทําด้วยไม้รักดอกและไม้มะยม เชื่อว่าทําให้เกิดเมตตามหานิยม.
รักร้อย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายอย่างหนึ่ง ผูกเป็นลายกระจังตาอ้อยเรียงซ้อนเนื่องกันไปเป็นแถวยาว, เรียกสร้อยอ่อนประดับข้อมือ ทําด้วยทองลงยา มักผูกเป็นลายกระจังตาอ้อย บางทีก็ประดับพลอยด้วย ว่า สร้อยรักร้อย.รักร้อย น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง ผูกเป็นลายกระจังตาอ้อยเรียงซ้อนเนื่องกันไปเป็นแถวยาว, เรียกสร้อยอ่อนประดับข้อมือ ทําด้วยทองลงยา มักผูกเป็นลายกระจังตาอ้อย บางทีก็ประดับพลอยด้วย ว่า สร้อยรักร้อย.
รักสมุก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง น้ำรักผสมเถ้าถ่านของใบตองแห้งหรือหญ้าคา บดแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน ใช้ทารองพื้น.รักสมุก น. น้ำรักผสมเถ้าถ่านของใบตองแห้งหรือหญ้าคา บดแล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน ใช้ทารองพื้น.
รักหมู เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Holigarna kurzii King ในวงศ์ Anacardiaceae ขึ้นตามริมนํ้าในป่าเบญจพรรณและป่าดิบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบด้านล่างขาว, กุกขี้หมู ก็เรียก.รักหมู น. ชื่อไม้ต้นชนิด Holigarna kurzii King ในวงศ์ Anacardiaceae ขึ้นตามริมนํ้าในป่าเบญจพรรณและป่าดิบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบด้านล่างขาว, กุกขี้หมู ก็เรียก.
รัก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง มีใจผูกพันด้วยความห่วงใย เช่น พ่อแม่รักลูก รักชาติ รักชื่อเสียง, มีใจผูกพันด้วยความเสน่หา, มีใจผูกพันฉันชู้สาว, เช่น ชายรักหญิง, ชอบ เช่น รักสนุก รักสงบ.รัก ๒ ก. มีใจผูกพันด้วยความห่วงใย เช่น พ่อแม่รักลูก รักชาติ รักชื่อเสียง, มีใจผูกพันด้วยความเสน่หา, มีใจผูกพันฉันชู้สาว, เช่น ชายรักหญิง, ชอบ เช่น รักสนุก รักสงบ.
รักใคร่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง รัก เช่น พี่น้องคู่นี้รักใคร่กันดี.รักใคร่ ก. รัก เช่น พี่น้องคู่นี้รักใคร่กันดี.
รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ใฝ่ดีจะมีความสุขความเจริญ ใฝ่ชั่วจะได้รับความลําบาก.รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา (สำ) ก. ใฝ่ดีจะมีความสุขความเจริญ ใฝ่ชั่วจะได้รับความลําบาก.
รักพี่เสียดายน้อง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี.รักพี่เสียดายน้อง (สำ) ก. ลังเลใจ, ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะเลือกอย่างไหนดี.
รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่กันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้, ยาวบั่น สั้นต่อ ก็ว่า.รักยาวให้บั่น รักสั้นให้ต่อ (สำ) ก. รักจะอยู่ด้วยกันนาน ๆ ให้ตัดความคิดอาฆาตพยาบาทออกไป รักจะอยู่กันสั้น ๆ ให้คิดอาฆาตพยาบาทเข้าไว้, ยาวบั่น สั้นต่อ ก็ว่า.
รักสามเส้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความรักที่ชาย ๒ คนรักหญิงคนเดียวกัน หรือหญิง ๒ คนรักชายคนเดียวกัน.รักสามเส้า น. ความรักที่ชาย ๒ คนรักหญิงคนเดียวกัน หรือหญิง ๒ คนรักชายคนเดียวกัน.
รักข์, รักขา รักข์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด รักขา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง รักษ์, รักษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รกฺษ เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.รักข์, รักขา ก. รักษ์, รักษา. (ป.; ส. รกฺษ).
รักขสะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ[–ขะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รากษส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รากฺษส เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สอ-เสือ.รักขสะ [–ขะ–] น. รากษส. (ป.; ส. รากฺษส).
รักขิต เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ระวัง, ดูแล, รักษา, (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส) เช่น พุทธรักขิต ญาณรักขิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .รักขิต ก. ระวัง, ดูแล, รักษา, (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส) เช่น พุทธรักขิต ญาณรักขิต. (ป.).
รักดป เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา[–ดบ] เป็นคำนาม หมายถึง ปลิง (สัตว์). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต รกฺตป เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา และมาจากภาษาบาลี รตฺตป เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา.รักดป [–ดบ] น. ปลิง (สัตว์). (ส. รกฺตป; ป. รตฺตป).
รักดะ, รักตะ รักดะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ รักตะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แดง; มีความกําหนัด, มีความรักใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต รกฺต เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี รตฺต เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.รักดะ, รักตะ ว. แดง; มีความกําหนัด, มีความรักใคร่. (ส. รกฺต; ป. รตฺต).
รักบี้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง เล่นครั้งแรกที่โรงเรียนรักบี้ ประเทศอังกฤษ แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย โดยปรกติเล่นฝ่ายละ ๑๕ คน แต่ที่เล่นฝ่ายละ ๗ คนก็มี ผู้เล่นแต่ละฝ่ายพยายามแย่งลูกรักบี้ไปวางพ้นแนวประตูฝ่ายตรงข้าม แล้วนำมาเตะ ณ แนวจุดเตะเพื่อให้เข้าประตูฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้คะแนนมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกเต็มว่า รักบี้ฟุตบอล, เรียกลูกหนังที่มีลักษณะกลมรีใช้ในการเล่นรักบี้ว่า ลูกรักบี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rugby เขียนว่า อา-ยู-จี-บี-วาย football เขียนว่า เอฟ-โอ-โอ-ที-บี-เอ-แอล-แอล .รักบี้ น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง เล่นครั้งแรกที่โรงเรียนรักบี้ ประเทศอังกฤษ แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย โดยปรกติเล่นฝ่ายละ ๑๕ คน แต่ที่เล่นฝ่ายละ ๗ คนก็มี ผู้เล่นแต่ละฝ่ายพยายามแย่งลูกรักบี้ไปวางพ้นแนวประตูฝ่ายตรงข้าม แล้วนำมาเตะ ณ แนวจุดเตะเพื่อให้เข้าประตูฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้คะแนนมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกเต็มว่า รักบี้ฟุตบอล, เรียกลูกหนังที่มีลักษณะกลมรีใช้ในการเล่นรักบี้ว่า ลูกรักบี้. (อ. rugby football).
รักเร่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Dahlia indica Cad. ในวงศ์ Compositae ดอกใหญ่ มีสีต่าง ๆ.รักเร่ น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Dahlia indica Cad. ในวงศ์ Compositae ดอกใหญ่ มีสีต่าง ๆ.
รักแร้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนร่างกายที่อยู่ใต้โคนแขนเหนือสีข้างขึ้นไป; เรียกส่วนของสิ่งก่อสร้างตอนที่ผนังกับผนังจดกันเป็นมุมฉากทั้งด้านในและด้านนอก เช่น รักแร้ปราสาท รักแร้กําแพงแก้ว รักแร้โบสถ์.รักแร้ น. ส่วนร่างกายที่อยู่ใต้โคนแขนเหนือสีข้างขึ้นไป; เรียกส่วนของสิ่งก่อสร้างตอนที่ผนังกับผนังจดกันเป็นมุมฉากทั้งด้านในและด้านนอก เช่น รักแร้ปราสาท รักแร้กําแพงแก้ว รักแร้โบสถ์.
รักษ์, รักษา รักษ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด รักษา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ระวัง เช่น รักษาสุขภาพ, ดูแล เช่น รักษาทรัพย์สมบัติ, ป้องกัน เช่น รักษาบ้านเมือง, สงวนไว้ เช่น รักษาความสะอาด รักษาไมตรี; เยียวยา เช่น รักษาคนไข้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รกฺข เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่.รักษ์, รักษา ก. ระวัง เช่น รักษาสุขภาพ, ดูแล เช่น รักษาทรัพย์สมบัติ, ป้องกัน เช่น รักษาบ้านเมือง, สงวนไว้ เช่น รักษาความสะอาด รักษาไมตรี; เยียวยา เช่น รักษาคนไข้. (ส.; ป. รกฺข).
รักษาการ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราว เช่น รองอธิบดีรักษาการแทนอธิบดี.รักษาการ ก. ปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราว เช่น รองอธิบดีรักษาการแทนอธิบดี.
รักษาการณ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น มีทหารรักษาการณ์อยู่ตลอดเวลา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น ทหารรักษาการณ์ ยามรักษาการณ์.รักษาการณ์ ก. เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น มีทหารรักษาการณ์อยู่ตลอดเวลา. ว. ที่เฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น ทหารรักษาการณ์ ยามรักษาการณ์.
รักษาคำพูด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทำตามถ้อยคำที่พูดให้สัญญาไว้.รักษาคำพูด ก. ทำตามถ้อยคำที่พูดให้สัญญาไว้.
รักษาตัว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังตัวไม่ให้เป็นอันตราย, รักษาเนื้อรักษาตัว ก็ว่า.รักษาตัว ก. ระวังตัวไม่ให้เป็นอันตราย, รักษาเนื้อรักษาตัว ก็ว่า.
รักษาประตู เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง คุมอยู่หน้าประตูในการเล่นฟุตบอลคอยป้องกันไม่ให้ลูกฟุตบอลเข้าไป.รักษาประตู ก. คุมอยู่หน้าประตูในการเล่นฟุตบอลคอยป้องกันไม่ให้ลูกฟุตบอลเข้าไป.
รักษายี่ห้อ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังไม่ให้เสียชื่อเสียง.รักษายี่ห้อ (ปาก) ก. ระวังไม่ให้เสียชื่อเสียง.
รักษาศีล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังรักษาตนไม่ให้ประพฤติผิดศีล.รักษาศีล ก. ระวังรักษาตนไม่ให้ประพฤติผิดศีล.
รักษาสถานการณ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ควบคุมและดูแลให้อยู่ในภาวะปรกติ.รักษาสถานการณ์ ก. ควบคุมและดูแลให้อยู่ในภาวะปรกติ.
รักษาหน้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังไม่ยอมให้ต้องอับอายขายหน้า.รักษาหน้า ก. ระวังไม่ยอมให้ต้องอับอายขายหน้า.
รักษาเหลี่ยม เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังไม่ให้เสียชั้นเชิง, ระวังไม่ให้ถูกลบเหลี่ยม.รักษาเหลี่ยม ก. ระวังไม่ให้เสียชั้นเชิง, ระวังไม่ให้ถูกลบเหลี่ยม.
รัง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Shorea siamensis Miq. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้แข็ง ใช้ในการก่อสร้าง.รัง ๑ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Shorea siamensis Miq. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้แข็ง ใช้ในการก่อสร้าง.
รัง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งซึ่งสัตว์พวกนก หนู และแมลงเป็นต้นทําขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยกําบังและฟักไข่เลี้ยงลูก, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รังโจร รังรัก.รัง ๒ น. สิ่งซึ่งสัตว์พวกนก หนู และแมลงเป็นต้นทําขึ้นเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยกําบังและฟักไข่เลี้ยงลูก, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รังโจร รังรัก.
รังกล้วยไม้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ที่เพาะเลี้ยงกล้วยไม้จำนวนมาก.รังกล้วยไม้ น. ที่เพาะเลี้ยงกล้วยไม้จำนวนมาก.
รังกา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์บนยอดเสากระโดงเรือ มักทําเป็นแป้นกลมมีรั้วล้อมรอบ.รังกา น. ที่สําหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์บนยอดเสากระโดงเรือ มักทําเป็นแป้นกลมมีรั้วล้อมรอบ.
รังไข่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะภายในร่างกายของผู้หญิงและสัตว์ตัวเมีย เป็นที่เกิดไข่.รังไข่ น. อวัยวะภายในร่างกายของผู้หญิงและสัตว์ตัวเมีย เป็นที่เกิดไข่.
รังงอบ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของงอบตรงที่สวมหัว สานเป็นตาโปร่ง ๆ ด้วยไม้ไผ่ที่ซอยเป็นเส้นกลมเล็ก ๆ.รังงอบ น. ส่วนของงอบตรงที่สวมหัว สานเป็นตาโปร่ง ๆ ด้วยไม้ไผ่ที่ซอยเป็นเส้นกลมเล็ก ๆ.
รังดุม เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ช่องที่เจาะสําหรับขัดลูกดุม.รังดุม น. ช่องที่เจาะสําหรับขัดลูกดุม.
รังแตน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลายที่มีรูปลักษณะคล้ายดาวจงกลหรือดอกบัวแย้ม เรียกว่า ลายดาวรังแตน ใช้ประดับเพดานหรือประตู; เรียกแหวนที่หัวมีทรงคล้ายรูปดอกบัวแย้มว่า แหวนรังแตน.รังแตน ๑ น. ลายที่มีรูปลักษณะคล้ายดาวจงกลหรือดอกบัวแย้ม เรียกว่า ลายดาวรังแตน ใช้ประดับเพดานหรือประตู; เรียกแหวนที่หัวมีทรงคล้ายรูปดอกบัวแย้มว่า แหวนรังแตน.
รังแตน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง คล้ายนางเล็ดแต่ไม่โรยนํ้าตาลเคี่ยว ทําด้วยข้าวเหนียวนึ่งแผ่เป็นแผ่นกลม ตากแห้ง ทอดนํ้ามันให้พอง มีรสเค็ม ๆ หวาน ๆ, ข้าวแตน ก็เรียก.รังแตน ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง คล้ายนางเล็ดแต่ไม่โรยนํ้าตาลเคี่ยว ทําด้วยข้าวเหนียวนึ่งแผ่เป็นแผ่นกลม ตากแห้ง ทอดนํ้ามันให้พอง มีรสเค็ม ๆ หวาน ๆ, ข้าวแตน ก็เรียก.
รังนก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-นอ-หนู-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง รังของนกอีแอ่นชนิดหนึ่ง เมื่อแช่นํ้ามีลักษณะคล้ายวุ้น กินได้.รังนก ๑ น. รังของนกอีแอ่นชนิดหนึ่ง เมื่อแช่นํ้ามีลักษณะคล้ายวุ้น กินได้.
รังนก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-นอ-หนู-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ใช้มันเทศหรือเผือกหั่นเป็นเส้นฝอย ๆ ทอดสุกแล้วคลุกนํ้าตาลเคี่ยว จัดเป็นกอง ๆ ให้คล้ายรังนก.รังนก ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ใช้มันเทศหรือเผือกหั่นเป็นเส้นฝอย ๆ ทอดสุกแล้วคลุกนํ้าตาลเคี่ยว จัดเป็นกอง ๆ ให้คล้ายรังนก.
รังบวบ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนในของบวบที่แก่จนแห้ง.รังบวบ น. ส่วนในของบวบที่แก่จนแห้ง.
รังปืนกล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซุ่มกำบังดักยิงข้าศึกทำเป็นมูนดินหรือทำด้วยกระสอบทรายเป็นต้น มีช่องสำหรับสอดปืนกลออกไป.รังปืนกล น. ที่ซุ่มกำบังดักยิงข้าศึกทำเป็นมูนดินหรือทำด้วยกระสอบทรายเป็นต้น มีช่องสำหรับสอดปืนกลออกไป.
รังผึ้ง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รังที่ผึ้งทําสําหรับอยู่อาศัยและทํานํ้าผึ้ง, รังที่คนทําให้ผึ้งอาศัยทํารวงข้างใน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น; เครื่องสําหรับระบายความร้อนของหม้อนํ้ารถยนต์ มีลักษณะคล้ายรวงผึ้ง; ดินเผาหรือเหล็กเป็นแผ่นเจาะเป็นรู ๆ สําหรับรองถ่านเพื่อให้ลมเดินผ่านได้และขี้เถ้าตกลงข้างล่าง โดยมากใช้กับเตาอั้งโล่หรือเตาหม้อนํ้าเรือกลไฟเป็นต้น, ตะกรับ ก็ว่า.รังผึ้ง น. รังที่ผึ้งทําสําหรับอยู่อาศัยและทํานํ้าผึ้ง, รังที่คนทําให้ผึ้งอาศัยทํารวงข้างใน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น; เครื่องสําหรับระบายความร้อนของหม้อนํ้ารถยนต์ มีลักษณะคล้ายรวงผึ้ง; ดินเผาหรือเหล็กเป็นแผ่นเจาะเป็นรู ๆ สําหรับรองถ่านเพื่อให้ลมเดินผ่านได้และขี้เถ้าตกลงข้างล่าง โดยมากใช้กับเตาอั้งโล่หรือเตาหม้อนํ้าเรือกลไฟเป็นต้น, ตะกรับ ก็ว่า.
รังเพลิง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนท้ายของลํากล้องปืนเป็นที่บรรจุลูกปืนในตําแหน่งพร้อมที่จะจุดชนวน.รังเพลิง น. ส่วนท้ายของลํากล้องปืนเป็นที่บรรจุลูกปืนในตําแหน่งพร้อมที่จะจุดชนวน.
รังมด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าขาวที่หุ้มซี่คํ้าฉัตรโดยรอบ รูปทรงกรวย (ใช้เฉพาะนพปฎลเศวตฉัตร).รังมด น. เรียกผ้าขาวที่หุ้มซี่คํ้าฉัตรโดยรอบ รูปทรงกรวย (ใช้เฉพาะนพปฎลเศวตฉัตร).
รัง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แต่ง, สร้าง, ตั้ง.รัง ๓ ก. แต่ง, สร้าง, ตั้ง.
รังรักษ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สร้าง; คุ้มครอง.รังรักษ์ ก. สร้าง; คุ้มครอง.
รังเรข เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ขอ-ไข่[–เรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลวดลาย, งดงาม.รังเรข [–เรก] ว. มีลวดลาย, งดงาม.
รังแรก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แรกตั้ง, ก่อน, แรกเริ่ม, เป็นเอก.รังแรก ว. แรกตั้ง, ก่อน, แรกเริ่ม, เป็นเอก.
รังสรรค์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง สร้าง, แต่งตั้ง.รังสรรค์ ก. สร้าง, แต่งตั้ง.
รังสรัง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[–สัง] เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งหน้าวิ่ง, ออกวิ่ง.รังสรัง [–สัง] ก. ตั้งหน้าวิ่ง, ออกวิ่ง.
รังสฤษฏ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด[–สะหฺริด] เป็นคำกริยา หมายถึง สร้าง, แต่งตั้ง.รังสฤษฏ์ [–สะหฺริด] ก. สร้าง, แต่งตั้ง.
รั้ง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง หน่วงเหนี่ยวไว้ เช่น รั้งตัวไว้ก่อน, เหนี่ยว เช่น แขนเสื้อรั้ง, ชักมา, ใช้กําลังเต็มที่เพื่อให้สิ่งที่มีแรงต้านทานเคลื่อนเข้ามาหรือหยุดอยู่ เช่น รั้งวัวรั้งควาย; ระวัง, เฝ้า, รักษา, ครอง เช่น รั้งเมือง.รั้ง ก. หน่วงเหนี่ยวไว้ เช่น รั้งตัวไว้ก่อน, เหนี่ยว เช่น แขนเสื้อรั้ง, ชักมา, ใช้กําลังเต็มที่เพื่อให้สิ่งที่มีแรงต้านทานเคลื่อนเข้ามาหรือหยุดอยู่ เช่น รั้งวัวรั้งควาย; ระวัง, เฝ้า, รักษา, ครอง เช่น รั้งเมือง.
รั้งรอ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง รอคอย, หยุดคอย, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น โดยไม่รั้งรอ.รั้งรอ ก. รอคอย, หยุดคอย, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น โดยไม่รั้งรอ.
รังกับ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ดู ฉก เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.รังกับ ดู ฉก ๒.
รังเกียจ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียดเพราะรู้สึกขยะแขยงหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.รังเกียจ ก. เกลียดเพราะรู้สึกขยะแขยงหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.
รังเกียจเดียดฉันท์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ลำเอียงด้วยความรังเกียจ.รังเกียจเดียดฉันท์ ก. ลำเอียงด้วยความรังเกียจ.
รังเกียจรังงอน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งแง่ตั้งงอนทำเป็นรังเกียจเพราะไม่ชอบใจ.รังเกียจรังงอน ก. ตั้งแง่ตั้งงอนทำเป็นรังเกียจเพราะไม่ชอบใจ.
รังแก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แกล้งทําความเดือดร้อนให้ผู้อื่น (มักใช้แก่ผู้มีอำนาจมากกว่า) เช่น ผู้ใหญ่รังแกเด็ก.รังแก ก. แกล้งทําความเดือดร้อนให้ผู้อื่น (มักใช้แก่ผู้มีอำนาจมากกว่า) เช่น ผู้ใหญ่รังแกเด็ก.
รังไก่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอกดู ฉก เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.รังไก่ ดู ฉก ๒.
รังค์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รงค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .รังค์ น. รงค์. (ป., ส.).
รังควาน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รบกวนทําให้รําคาญหรือเดือดร้อน เช่น คนพาลชอบรังควานคนอื่น. เป็นคำนาม หมายถึง ผีที่ประจําช้างป่า, ผีตายร้ายที่สิงอยู่ในกายคนได้.รังควาน ก. รบกวนทําให้รําคาญหรือเดือดร้อน เช่น คนพาลชอบรังควานคนอื่น. น. ผีที่ประจําช้างป่า, ผีตายร้ายที่สิงอยู่ในกายคนได้.
รังคัดรังแค, รังแครังคัด รังคัดรังแค เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย รังแครังคัด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งข้อรังเกียจ เช่น ต่างฝ่ายต่างก็คอยแต่จะรังคัดรังแคกัน ลูกคนละแม่มักจะรังแครังคัดกัน.รังคัดรังแค, รังแครังคัด ก. ตั้งข้อรังเกียจ เช่น ต่างฝ่ายต่างก็คอยแต่จะรังคัดรังแคกัน ลูกคนละแม่มักจะรังแครังคัดกัน.
รังแค เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ขุยหนังหัว มีลักษณะเป็นผง ๆ สีขาว, ขี้รังแค หรือ ขี้ลม ก็ว่า.รังแค น. ขุยหนังหัว มีลักษณะเป็นผง ๆ สีขาว, ขี้รังแค หรือ ขี้ลม ก็ว่า.
รังแต่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เป็นคำสันธาน หมายถึง มีแต่, ล้วนแต่, เป็นที่, (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น รังแต่คนจะนินทา รังแต่เขาจะหัวเราะเยาะ.รังแต่ สัน. มีแต่, ล้วนแต่, เป็นที่, (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น รังแต่คนจะนินทา รังแต่เขาจะหัวเราะเยาะ.
รังนาน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง, รางนาน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.รังนาน น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง, รางนาน ก็เรียก. (พจน. ๒๔๙๓).
รังรอง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใส, งดงาม, รุ่งเรือง, รงรอง ก็ว่า.รังรอง ว. สุกใส, งดงาม, รุ่งเรือง, รงรอง ก็ว่า.
รังวัด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สํารวจพื้นที่กว้างยาว, วัดที่ดิน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง วัดปักเขตและทําเขต จดหรือคํานวณเนื้อที่ เพื่อให้ทราบที่ตั้งแนวเขตที่ดิน หรือทราบที่ตั้งและเนื้อที่ของที่ดิน.รังวัด ก. สํารวจพื้นที่กว้างยาว, วัดที่ดิน; (กฎ) วัดปักเขตและทําเขต จดหรือคํานวณเนื้อที่ เพื่อให้ทราบที่ตั้งแนวเขตที่ดิน หรือทราบที่ตั้งและเนื้อที่ของที่ดิน.
รังสิ, รังสี รังสิ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ รังสี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แสง, แสงสว่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รํสิ เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต รศฺมี เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี.รังสิ, รังสี น. แสง, แสงสว่าง. (ป. รํสิ; ส. รศฺมี).
รังสีแกมมา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อาดู แกมมา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา.รังสีแกมมา ดู แกมมา.
รังสีความร้อน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสีอินฟราเรด ก็เรียก.รังสีความร้อน น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, รังสีอินฟราเรด ก็เรียก.
รังสีคอสมิก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกําเนิดแน่นอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cosmic เขียนว่า ซี-โอ-เอส-เอ็ม-ไอ-ซี rays เขียนว่า อา-เอ-วาย-เอส .รังสีคอสมิก น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกําเนิดแน่นอน. (อ. cosmic rays).
รังสีบีตา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อาดู บีตา เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.รังสีบีตา ดู บีตา.
รังสีแพทย์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา.รังสีแพทย์ น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา.
รังสีเรินต์เกน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-หนูดู รังสีเอกซ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด.รังสีเรินต์เกน ดู รังสีเอกซ์.
รังสีวิทยา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ radiology เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-โอ-แอล-โอ-จี-วาย.รังสีวิทยา น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. (อ. radiology).
รังสีเหนือม่วง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลตซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydro–choles–terol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีอัลตราไวโอเลต ก็เรียก.รังสีเหนือม่วง น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลตซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydro–choles–terol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีอัลตราไวโอเลต ก็เรียก.
รังสีเอกซ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก; เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้รังสีเอกซ์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้รังสีเอกซ์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง.รังสีเอกซ์ น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก; เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้รังสีเอกซ์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้รังสีเอกซ์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง.
รังสีแอลฟา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อาดู แอลฟา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา.รังสีแอลฟา ดู แอลฟา.
รังสิมันตุ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้มีแสงสว่าง” คือพระอาทิตย์, ใช้ รังสิมา ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รํสิมนฺตุ เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาสันสกฤต รศฺมิมตฺ เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ.รังสิมันตุ์ (แบบ) น. “ผู้มีแสงสว่าง” คือพระอาทิตย์, ใช้ รังสิมา ก็ได้. (ป. รํสิมนฺตุ; ส. รศฺมิมตฺ).
รังสิมา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง รังสิมันตุ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รํสิมา เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต รศฺมิมตฺ เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ.รังสิมา (แบบ) น. รังสิมันตุ์. (ป. รํสิมา; ส. รศฺมิมตฺ).
รังหยาว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง รบกวนให้โกรธ เช่น ลางคนจับตะขาบมาเด็ดเขี้ยว เที่ยวทิ้งโรงหนังทํารังหยาว. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ หมายถึง โมโห, โกรธ.รังหยาว ก. รบกวนให้โกรธ เช่น ลางคนจับตะขาบมาเด็ดเขี้ยว เที่ยวทิ้งโรงหนังทํารังหยาว. (อิเหนา), (ถิ่น–ปักษ์ใต้) โมโห, โกรธ.
รัจฉา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รถฺยา เขียนว่า รอ-เรือ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.รัจฉา น. ทางเดิน. (ป.; ส. รถฺยา).
รัช เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รช เขียนว่า รอ-เรือ-ชอ-ช้าง.รัช ๑ น. ธุลี, ฝุ่น, ผง, ละออง. (ป. รช).
รัช ๒, รัช– รัช ความหมายที่ ๒ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง รัช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง [รัดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รชฺช เขียนว่า รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง.รัช ๒, รัช– [รัดชะ–] น. ความเป็นพระราชา, ราชสมบัติ. (ป. รชฺช).
รัชกาล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์องค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงองค์พระมหากษัตริย์ในรัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น.รัชกาล น. เวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์องค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงองค์พระมหากษัตริย์ในรัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น.
รัชชูปการ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เงินช่วยราชการตามที่กําหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล.รัชชูปการ น. เงินช่วยราชการตามที่กําหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล.
รัชทายาท เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้จะสืบราชสมบัติ.รัชทายาท น. ผู้จะสืบราชสมบัติ.
รัชมังคลาภิเษก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ.รัชมังคลาภิเษก น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้นานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ๆ.
รัชกะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง รชกะ, คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .รัชกะ น. รชกะ, คนย้อมผ้า, คนซักผ้า. (ป., ส.).
รัชชุ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ[รัด–] เป็นคำนาม หมายถึง สาย, เชือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .รัชชุ [รัด–] น. สาย, เชือก. (ป., ส.).
รัชชูปการ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–ปะ–]ดู รัช ๒, รัช– รัช ความหมายที่ ๒ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง รัช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง .รัชชูปการ [–ปะ–] ดู รัช ๒, รัช–.
รัชฎาภิเษก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่[รัดชะ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง รัชดาภิเษก.รัชฎาภิเษก [รัดชะ–] (โบ) น. รัชดาภิเษก.
รัชด–, รัชต– รัชด– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก รัชต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ตอ-เต่า [รัดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รชตะ, เงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รชต เขียนว่า รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-ตอ-เต่า.รัชด–, รัชต– [รัดชะ–] น. รชตะ, เงิน. (ส., ป. รชต).
รัชดาภิเษก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้ ๒๕ พรรษา.รัชดาภิเษก น. พระราชพิธีสมโภชเมื่อพระมหากษัตริย์ทรงครองราชสมบัติได้ ๒๕ พรรษา.
รัชดาภิเษก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ดู รัชด–, รัชต– รัชด– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก รัชต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ตอ-เต่า .รัชดาภิเษก ดู รัชด–, รัชต–.
รัชนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[รัดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การย้อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รชน เขียนว่า รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.รัชนะ [รัดชะ–] น. การย้อม. (ป., ส. รชน).
รัชนี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี[รัดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กลางคืน, เวลามืด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รชนี เขียนว่า รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.รัชนี [รัดชะ–] น. กลางคืน, เวลามืด. (ป., ส. รชนี).
รัชนีกร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .รัชนีกร น. พระจันทร์. (ป., ส.).
รัญจวน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปั่นป่วนใจ เช่น กลิ่นหอมรัญจวนใจ, สะเทือนใจด้วยความกระสันถึง. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร รํชวล เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-ลอ-ลิง.รัญจวน ก. ปั่นป่วนใจ เช่น กลิ่นหอมรัญจวนใจ, สะเทือนใจด้วยความกระสันถึง. (เทียบ ข. รํชวล).
รัฏฐาภิปาลโนบาย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการปกครองบ้านเมือง.รัฏฐาภิปาลโนบาย น. วิธีการปกครองบ้านเมือง.
รัฐ, รัฐ– รัฐ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน รัฐ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน [รัด, รัดถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แคว้น เช่น รัฐปาหัง, บ้านเมือง เช่น กฎหมายสูงสุดของรัฐ, ประเทศ เช่น รัฐวาติกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รฏฺ เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาสันสกฤต ราษฺฏฺร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-รอ-เรือ.รัฐ, รัฐ– [รัด, รัดถะ–] น. แคว้น เช่น รัฐปาหัง, บ้านเมือง เช่น กฎหมายสูงสุดของรัฐ, ประเทศ เช่น รัฐวาติกัน. (ป. รฏฺ; ส. ราษฺฏฺร).
รัฐทูต เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า[รัดถะทูด] เป็นคำนาม หมายถึง ทูตที่ประมุขของรัฐหนึ่งแต่งตั้งไปประจําสํานักประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อไปปฏิบัติภารกิจทางการทูต มีฐานะตํ่ากว่าเอกอัครราชทูตแต่สูงกว่าอุปทูต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ envoy เขียนว่า อี-เอ็น-วี-โอ-วาย.รัฐทูต [รัดถะทูด] น. ทูตที่ประมุขของรัฐหนึ่งแต่งตั้งไปประจําสํานักประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อไปปฏิบัติภารกิจทางการทูต มีฐานะตํ่ากว่าเอกอัครราชทูตแต่สูงกว่าอุปทูต. (อ. envoy).
รัฐธรรมนูญ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง[รัดถะทํามะนูน, รัดทํามะนูน] เป็นคำนาม หมายถึง บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ โดยกำหนดรูปแบบของรัฐว่าเป็นรัฐเดียวหรือรัฐรวม ระบอบการปกครองของรัฐ รวมทั้งสถาบันและองค์กร การใช้อำนาจอธิปไตยในการปกครองรัฐ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ constitution เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-เอส-ที-ไอ-ที-ยู-ที-ไอ-โอ-เอ็น.รัฐธรรมนูญ [รัดถะทํามะนูน, รัดทํามะนูน] น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ โดยกำหนดรูปแบบของรัฐว่าเป็นรัฐเดียวหรือรัฐรวม ระบอบการปกครองของรัฐ รวมทั้งสถาบันและองค์กร การใช้อำนาจอธิปไตยในการปกครองรัฐ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๔๐). (อ. constitution).
รัฐบาล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[รัดถะบาน] เป็นคำนาม หมายถึง องค์กรปกครองประเทศ, คณะบุคคลที่ใช้อํานาจบริหารในการปกครองประเทศ.รัฐบาล [รัดถะบาน] น. องค์กรปกครองประเทศ, คณะบุคคลที่ใช้อํานาจบริหารในการปกครองประเทศ.
รัฐบุรุษ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี[รัดถะบุหฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ได้รับยกย่องอย่างสูงว่ามีความรู้ความสามารถในการบริหารบ้านเมือง.รัฐบุรุษ [รัดถะบุหฺรุด] น. ผู้ที่ได้รับยกย่องอย่างสูงว่ามีความรู้ความสามารถในการบริหารบ้านเมือง.
รัฐประศาสน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[รัดถะปฺระสาด] เป็นคำนาม หมายถึง การปกครองบ้านเมือง.รัฐประศาสน์ [รัดถะปฺระสาด] น. การปกครองบ้านเมือง.
รัฐประศาสนนัย, รัฐประศาสโนบาย รัฐประศาสนนัย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก รัฐประศาสโนบาย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก [รัดถะปฺระสาสะนะไน, รัดถะปฺระสาสะโนบาย] เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการปกครองบ้านเมือง.รัฐประศาสนนัย, รัฐประศาสโนบาย [รัดถะปฺระสาสะนะไน, รัดถะปฺระสาสะโนบาย] น. วิธีการปกครองบ้านเมือง.
รัฐประศาสนศาสตร์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[รัดถะปฺระสาสะนะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด.รัฐประศาสนศาสตร์ [รัดถะปฺระสาสะนะสาด] น. วิชาว่าด้วยการบริหารและการปกครองประเทศเพื่อให้สัมฤทธิผลตามนโยบายของรัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด.
รัฐประหาร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[รัดถะปฺระหาน, รัดปฺระหาน] เป็นคำนาม หมายถึง การใช้กําลังเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลโดยฉับพลัน, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง การใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาล.รัฐประหาร [รัดถะปฺระหาน, รัดปฺระหาน] น. การใช้กําลังเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลโดยฉับพลัน, (กฎ) การใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาล.
รัฐพิธี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง งานที่จัดขึ้นโดยรัฐเป็นธรรมเนียม เช่น รัฐพิธีพืชมงคล.รัฐพิธี น. งานที่จัดขึ้นโดยรัฐเป็นธรรมเนียม เช่น รัฐพิธีพืชมงคล.
รัฐมนตรี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[รัดถะมนตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีหรือคณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์.รัฐมนตรี [รัดถะมนตฺรี] น. ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีหรือคณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง; (โบ) ที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์.
รัฐวิสาหกิจ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน[รัดถะวิสาหะกิด, รัดวิสาหะกิด] เป็นคำนาม หมายถึง กิจการที่รัฐเป็นผู้ลงทุนหรือถือหุ้นข้างมาก, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจซึ่งรัฐเป็นเจ้าของ หรือกิจการของรัฐ หรือบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการ องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ ๕๐.รัฐวิสาหกิจ [รัดถะวิสาหะกิด, รัดวิสาหะกิด] น. กิจการที่รัฐเป็นผู้ลงทุนหรือถือหุ้นข้างมาก, (กฎ) องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจซึ่งรัฐเป็นเจ้าของ หรือกิจการของรัฐ หรือบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการ องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ ๕๐.
รัฐศาสตร์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[รัดถะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการเมืองและการปกครองประเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ.รัฐศาสตร์ [รัดถะสาด] น. วิชาว่าด้วยการเมืองและการปกครองประเทศ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ.
รัฐสภา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา[รัดถะสะพา] เป็นคำนาม หมายถึง องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร.รัฐสภา [รัดถะสะพา] น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร.
รัด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง โอบรอบหรือพันให้กระชับ เช่น กอดรัด งูเหลือมรัด เอายางรัด, คับ, ตึง, เช่น แขนเสื้อรัด กระโปรงรัดสะโพก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เอาเม็ดต้อยติ่งพอกทําให้ฝีรัด.รัด ก. โอบรอบหรือพันให้กระชับ เช่น กอดรัด งูเหลือมรัด เอายางรัด, คับ, ตึง, เช่น แขนเสื้อรัด กระโปรงรัดสะโพก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เอาเม็ดต้อยติ่งพอกทําให้ฝีรัด.
รัดกุม เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่รุ่มร่าม, กระชับ, ไม่ยาวเยิ่นเย้อ, เช่น แต่งตัวรัดกุม สํานวนรัดกุม.รัดกุม ว. ไม่รุ่มร่าม, กระชับ, ไม่ยาวเยิ่นเย้อ, เช่น แต่งตัวรัดกุม สํานวนรัดกุม.
รัดเกล้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับศีรษะสตรีสูงศักดิ์ในราชสํานักแต่โบราณ และประดับศีรษะนางละครแต่งยืนเครื่องซึ่งเลียนแบบสตรีสูงศักดิ์ มี ๒ แบบ คือ รัดเกล้ายอด มีปลายยอดทรงกรวยแหลม สําหรับกษัตรี และรัดเกล้าเปลว มียอดปักช่อกระหนกเปลว สําหรับพระสนม.รัดเกล้า น. เครื่องประดับศีรษะสตรีสูงศักดิ์ในราชสํานักแต่โบราณ และประดับศีรษะนางละครแต่งยืนเครื่องซึ่งเลียนแบบสตรีสูงศักดิ์ มี ๒ แบบ คือ รัดเกล้ายอด มีปลายยอดทรงกรวยแหลม สําหรับกษัตรี และรัดเกล้าเปลว มียอดปักช่อกระหนกเปลว สําหรับพระสนม.
รัดเข็มขัด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ประหยัด เช่น ในภาวะที่เศรษฐกิจไม่ดี ประชาชนต้องรัดเข็มขัด.รัดเข็มขัด (ปาก) ก. ประหยัด เช่น ในภาวะที่เศรษฐกิจไม่ดี ประชาชนต้องรัดเข็มขัด.
รัดเครื่อง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งเครื่องละครรำตัวพระ นาง ยักษ์ และลิง โดยเย็บผ้าให้กระชับเข้ากับตัวผู้แสดง.รัดเครื่อง ก. แต่งเครื่องละครรำตัวพระ นาง ยักษ์ และลิง โดยเย็บผ้าให้กระชับเข้ากับตัวผู้แสดง.
รัดช้อง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับสําหรับรัดชายผมที่ปล่อยยาวลงทางท้ายทอย ใช้ประกอบกับรัดเกล้า.รัดช้อง น. เครื่องประดับสําหรับรัดชายผมที่ปล่อยยาวลงทางท้ายทอย ใช้ประกอบกับรัดเกล้า.
รัดตัว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ไม่คล่องตัว, ทําให้กระดิกกระเดี้ยไปไหนแทบไม่ได้, เช่น การเงินรัดตัว งานรัดตัว.รัดตัว ก. ทําให้ไม่คล่องตัว, ทําให้กระดิกกระเดี้ยไปไหนแทบไม่ได้, เช่น การเงินรัดตัว งานรัดตัว.
รัดทึบ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง สายผูกอานล่ามรอบอกม้า มักทําด้วยผ้า.รัดทึบ น. สายผูกอานล่ามรอบอกม้า มักทําด้วยผ้า.
รัดประคด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่ใช้รัดอกหรือสายที่ถักด้วยด้ายเป็นต้นสําหรับรัดเอวของภิกษุสามเณร, เรียกสั้น ๆ ว่า ประคด, ถ้าใช้รัดอก เรียกว่า ประคดอก, ถ้าใช้รัดเอว เรียกว่า ประคดเอว.รัดประคด น. ผ้าที่ใช้รัดอกหรือสายที่ถักด้วยด้ายเป็นต้นสําหรับรัดเอวของภิกษุสามเณร, เรียกสั้น ๆ ว่า ประคด, ถ้าใช้รัดอก เรียกว่า ประคดอก, ถ้าใช้รัดเอว เรียกว่า ประคดเอว.
รัดประคน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ใช้พันอ้อมลำตัวถัดต้นขาหน้าของช้าง มี ๒ เส้นคู่กัน สำหรับผูกรั้งสัปคับ แหย่ง หรือ กูบมิให้โยกเลื่อน.รัดประคน น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ใช้พันอ้อมลำตัวถัดต้นขาหน้าของช้าง มี ๒ เส้นคู่กัน สำหรับผูกรั้งสัปคับ แหย่ง หรือ กูบมิให้โยกเลื่อน.
รัดพัสตร์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าคาด, เข็มขัด.รัดพัสตร์ น. ผ้าคาด, เข็มขัด.
รัดรึง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กอดแน่น, ผูกแน่น, เช่น ความรักรัดรึงใจ.รัดรึง ก. กอดแน่น, ผูกแน่น, เช่น ความรักรัดรึงใจ.
รัดรูป เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คับมากจนเห็นรูปทรงเด่นชัด เช่น เสื้อรัดรูป กางเกงรัดรูป; เรียกขวดที่ใส่ปลากัดเป็นต้นทําให้เห็นเล็กกว่าปรกติว่า ขวดรัดรูป, คู่กับ ขวดส่งรูป ซึ่งทําให้เห็นใหญ่กว่าปรกติ.รัดรูป ว. คับมากจนเห็นรูปทรงเด่นชัด เช่น เสื้อรัดรูป กางเกงรัดรูป; เรียกขวดที่ใส่ปลากัดเป็นต้นทําให้เห็นเล็กกว่าปรกติว่า ขวดรัดรูป, คู่กับ ขวดส่งรูป ซึ่งทําให้เห็นใหญ่กว่าปรกติ.
รัต เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดี, ชอบใจ, มักใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น วันรัต = ผู้ยินดีในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รต เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า.รัต ๑ ก. ยินดี, ชอบใจ, มักใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น วันรัต = ผู้ยินดีในป่า. (ป., ส. รต).
รัต ๒, รัต– รัต ความหมายที่ ๒ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า รัต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ราตรี, กลางคืน, มักใช้ประกอบท้ายคํา เช่น ทีฆรัต ว่า ราตรียาว คือ เวลานาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ย้อมสี, มีสีแดง; กําหนัด, รักใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รตฺต เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต รกฺต เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.รัต ๒, รัต– น. ราตรี, กลางคืน, มักใช้ประกอบท้ายคํา เช่น ทีฆรัต ว่า ราตรียาว คือ เวลานาน. ว. ย้อมสี, มีสีแดง; กําหนัด, รักใคร่. (ป. รตฺต; ส. รกฺต).
รัตกัมพล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าส่านแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รตฺตกมฺพล เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต รกฺตกมฺพล เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-ลอ-ลิง.รัตกัมพล น. ผ้าส่านแดง. (ป. รตฺตกมฺพล; ส. รกฺตกมฺพล).
รัตมณี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ทับทิม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รตฺตมณิ เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ.รัตมณี น. ทับทิม. (ป. รตฺตมณิ).
รัตคน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-คอ-ควาย-นอ-หนู[รัดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รัดประคน.รัตคน [รัดตะ–] น. รัดประคน.
รัตจันทน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[รัดตะจัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Pterocarpus santalinus L.f. ในวงศ์ Leguminosae แก่นสีแดงเข้ม ใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รตฺตจนฺทน เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-จอ-จาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู.รัตจันทน์ [รัดตะจัน] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Pterocarpus santalinus L.f. ในวงศ์ Leguminosae แก่นสีแดงเข้ม ใช้ทํายา. (ป. รตฺตจนฺทน).
รัตตัญญู เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู[รัดตันยู] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้กาลนาน, ผู้มีอายุมาก จํากิจการต่าง ๆ ได้มาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .รัตตัญญู [รัดตันยู] น. ผู้รู้กาลนาน, ผู้มีอายุมาก จํากิจการต่าง ๆ ได้มาก. (ป.).
รัตติ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง กลางคืน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ราตฺริ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.รัตติ น. กลางคืน. (ป.; ส. ราตฺริ).
รัตติกาล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เวลากลางคืน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .รัตติกาล น. เวลากลางคืน. (ป.).
รัตน–, รัตน์, รัตนะ รัตน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู รัตน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด รัตนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [รัดตะนะ–, รัด, รัดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แก้วที่ถือว่ามีค่ายิ่ง เช่น อิตถีรัตนะ คือ นางแก้ว หัตถิรัตนะ คือ ช้างแก้ว; คน สัตว์ หรือสิ่งของที่ถือว่าวิเศษและมีค่ามาก เช่น รัตนะ ๗ ของพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ ๑. จักรรัตนะ–จักรแก้ว ๒. หัตถิรัตนะ–ช้างแก้ว ๓. อัสสรัตนะ–ม้าแก้ว ๔. มณิรัตนะ–มณีแก้ว ๕. อิตถีรัตนะ–นางแก้ว ๖. คหปติรัตนะ–ขุนคลังแก้ว ๗. ปริณายกรัตนะ–ขุนพลแก้ว; ของประเสริฐสุด, ของยอดเยี่ยม, เช่น รัตนะ ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นแก้วอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน; ใช้ประกอบคําอื่นหมายถึงยอดเยี่ยมในพวกนั้น ๆ เช่น บุรุษรัตน์ นารีรัตน์ รัตนกวี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รตน เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต รตฺน เขียนว่า รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-นอ-หนู.รัตน–, รัตน์, รัตนะ [รัดตะนะ–, รัด, รัดตะ–] น. แก้วที่ถือว่ามีค่ายิ่ง เช่น อิตถีรัตนะ คือ นางแก้ว หัตถิรัตนะ คือ ช้างแก้ว; คน สัตว์ หรือสิ่งของที่ถือว่าวิเศษและมีค่ามาก เช่น รัตนะ ๗ ของพระเจ้าจักรพรรดิ ได้แก่ ๑. จักรรัตนะ–จักรแก้ว ๒. หัตถิรัตนะ–ช้างแก้ว ๓. อัสสรัตนะ–ม้าแก้ว ๔. มณิรัตนะ–มณีแก้ว ๕. อิตถีรัตนะ–นางแก้ว ๖. คหปติรัตนะ–ขุนคลังแก้ว ๗. ปริณายกรัตนะ–ขุนพลแก้ว; ของประเสริฐสุด, ของยอดเยี่ยม, เช่น รัตนะ ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นแก้วอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน; ใช้ประกอบคําอื่นหมายถึงยอดเยี่ยมในพวกนั้น ๆ เช่น บุรุษรัตน์ นารีรัตน์ รัตนกวี. (ป. รตน; ส. รตฺน).
รัตนโกสินทร์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง นามส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครฯ ที่มีชื่อเต็มว่า กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์, อีกนัยหนึ่งหมายความถึงกรุงเทพฯ มักอ้างในประวัติศาสตร์ เช่น สมัยรัตนโกสินทร์.รัตนโกสินทร์ น. นามส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครฯ ที่มีชื่อเต็มว่า กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์, อีกนัยหนึ่งหมายความถึงกรุงเทพฯ มักอ้างในประวัติศาสตร์ เช่น สมัยรัตนโกสินทร์.
รัตนโกสินทรศก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่[รัดตะนะโกสินสก] เป็นคำนาม หมายถึง ปีนับตั้งแต่วันตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๒๓๒๔ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๒๓๒๔ เท่ากับรัตนโกสินทรศก).รัตนโกสินทรศก [รัดตะนะโกสินสก] น. ปีนับตั้งแต่วันตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๒๓๒๔ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๒๓๒๔ เท่ากับรัตนโกสินทรศก).
รัตนชาติ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง รัตนะ, พวกรัตนะ คือ แก้วที่มีค่า เช่น เพชร ทับทิม มรกต, หินหรือแร่ที่มีค่า เมื่อเจียระไนแล้วจะต้องมีลักษณะสวยงาม คงทน หายาก ราคาแพง และนำมาใช้เป็นเครื่องประดับได้.รัตนชาติ น. รัตนะ, พวกรัตนะ คือ แก้วที่มีค่า เช่น เพชร ทับทิม มรกต, หินหรือแร่ที่มีค่า เมื่อเจียระไนแล้วจะต้องมีลักษณะสวยงาม คงทน หายาก ราคาแพง และนำมาใช้เป็นเครื่องประดับได้.
รัตนตรัย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง แก้วอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .รัตนตรัย น. แก้วอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์. (ส.).
รัตนบัลลังก์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้, โพธิบัลลังก์ หรือ วัชรอาสน์ ก็ว่า.รัตนบัลลังก์ น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้, โพธิบัลลังก์ หรือ วัชรอาสน์ ก็ว่า.
รัตนวราภรณ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่จะพระราชทานได้ทั่วไปทุกชั้นบุคคลตามพระราชประสงค์ ไม่เกี่ยวด้วยยศหรือบรรดาศักดิ์.รัตนวราภรณ์ น. ชื่อตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่จะพระราชทานได้ทั่วไปทุกชั้นบุคคลตามพระราชประสงค์ ไม่เกี่ยวด้วยยศหรือบรรดาศักดิ์.
รัตนสิงหาสน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตรงพระบัญชรหรือมุขเด็จซึ่งเสด็จออก.รัตนสิงหาสน์ น. ที่ตรงพระบัญชรหรือมุขเด็จซึ่งเสด็จออก.
รัตนา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[รัดตะนา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แก้ว.รัตนา [รัดตะนา] (กลอน) น. แก้ว.
รัตนากร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คลังเงินทอง; ทะเล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .รัตนากร น. คลังเงินทอง; ทะเล. (ส.).
รัตนาภรณ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เหรียญบำเหน็จส่วนพระองค์ที่สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ผู้จงรักภักดีและทรงคุ้นเคยรู้จัก เพื่อเป็นเครื่องหมายในพระมหากรุณาธิคุณ มี ๕ ชั้น, เดิมเรียกว่า รจนาภรณ์.รัตนาภรณ์ น. เหรียญบำเหน็จส่วนพระองค์ที่สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ผู้จงรักภักดีและทรงคุ้นเคยรู้จัก เพื่อเป็นเครื่องหมายในพระมหากรุณาธิคุณ มี ๕ ชั้น, เดิมเรียกว่า รจนาภรณ์.
รัตนาวลี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง สร้อยคอที่ทําด้วยเพชรพลอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .รัตนาวลี น. สร้อยคอที่ทําด้วยเพชรพลอย. (ส.).
รัตนา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อาดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ รัตน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู รัตน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด รัตนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .รัตนา ดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ.
รัตนากร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ รัตน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู รัตน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด รัตนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .รัตนากร ดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ.
รัตนาภรณ์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาดดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ รัตน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู รัตน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด รัตนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .รัตนาภรณ์ ดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ.
รัตนาวลี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อีดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ รัตน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู รัตน์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด รัตนะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .รัตนาวลี ดู รัตน–, รัตน์, รัตนะ.
รัตมา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา[รัดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Parkinsonia aculeata L. ในวงศ์ Leguminosae กิ่งห้อยย้อยมีหนามแหลม ใบเล็กมาก ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อ.รัตมา [รัดตะ–] น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Parkinsonia aculeata L. ในวงศ์ Leguminosae กิ่งห้อยย้อยมีหนามแหลม ใบเล็กมาก ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อ.
รัถ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง รถ.รัถ น. รถ.
รัถยา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[รัดถะยา] เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต รถฺยา เขียนว่า รอ-เรือ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี รจฺฉา เขียนว่า รอ-เรือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา.รัถยา [รัดถะยา] น. ทางเดิน. (ส. รถฺยา; ป. รจฺฉา).
รัทเทอร์ฟอร์เดียม เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหภาพโซเวียตเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rutherfordium เขียนว่า อา-ยู-ที-เอช-อี-อา-เอฟ-โอ-อา-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม.รัทเทอร์ฟอร์เดียม น. ธาตุลําดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหภาพโซเวียตเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku. (อ. rutherfordium).
รัน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตี เช่น อย่าเอาไม้สั้นไปรันขี้, มักใช้ว่า ตีรันฟันแทง.รัน ก. ตี เช่น อย่าเอาไม้สั้นไปรันขี้, มักใช้ว่า ตีรันฟันแทง.
รั้น เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ร่นเข้าไป, ท้นเข้าไป, เช่น จมูกรั้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดันทุรัง เช่น เด็กคนนี้รั้นจริง.รั้น ก. ร่นเข้าไป, ท้นเข้าไป, เช่น จมูกรั้น. ว. ดื้อดันทุรัง เช่น เด็กคนนี้รั้นจริง.
รันชนรันแชง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบกระทั่งเกิดปั่นป่วนอย่างคลื่นซัดหรือลมพัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร รฺชํรฺแชง เขียนว่า รอ-เรือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-งอ-งู.รันชนรันแชง (กลอน) ก. กระทบกระทั่งเกิดปั่นป่วนอย่างคลื่นซัดหรือลมพัด. (ข. รฺชํรฺแชง).
รันทด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สลดใจมาก มีจิตใจหวั่นไหวมากเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น รันทดสลดใจ รันทดท้อเสียใจไห้สะอื้น.รันทด ก. สลดใจมาก มีจิตใจหวั่นไหวมากเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น รันทดสลดใจ รันทดท้อเสียใจไห้สะอื้น.
รันทวย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ระทวย.รันทวย ก. ระทวย.
รันทำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ยํ่ายี, เบียดเบียน.รันทำ ก. ยํ่ายี, เบียดเบียน.
รันแทะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ระแทะ, กระแทะ ก็เรียก.รันแทะ น. ระแทะ, กระแทะ ก็เรียก.
รันธะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่อง, ปล่อง; ความผิด, ความบกพร่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รนฺธฺร เขียนว่า รอ-เรือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-พิน-ทุ-รอ-เรือ.รันธะ (แบบ) น. ช่อง, ปล่อง; ความผิด, ความบกพร่อง. (ป.; ส. รนฺธฺร).
รับ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้ เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉันไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่างประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร; ให้คําตอบที่ไม่ปฏิเสธ เช่น ตอบรับ รับเชิญ, ยอมสารภาพ เช่น รับผิด; ตกลงตาม เช่น รับทํา; คล้องจอง เช่น กลอนรับสัมผัสกัน; เหมาะเจาะ, เหมาะสม, เช่น หมวกรับกับหน้า; ขานตอบ เช่น กู่เรียกแล้วไม่มีคนรับ โทรศัพท์ไม่มีผู้รับ; ต้าน เช่น รับทัพ รับศึก; ต่อเสียง เช่น ลูกคู่ร้องรับต้นบท.รับ ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้ เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉันไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่างประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร; ให้คําตอบที่ไม่ปฏิเสธ เช่น ตอบรับ รับเชิญ, ยอมสารภาพ เช่น รับผิด; ตกลงตาม เช่น รับทํา; คล้องจอง เช่น กลอนรับสัมผัสกัน; เหมาะเจาะ, เหมาะสม, เช่น หมวกรับกับหน้า; ขานตอบ เช่น กู่เรียกแล้วไม่มีคนรับ โทรศัพท์ไม่มีผู้รับ; ต้าน เช่น รับทัพ รับศึก; ต่อเสียง เช่น ลูกคู่ร้องรับต้นบท.
รับกินรับใช้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ทำหน้าที่รับว่าจะจ่ายเงินและกินเงินของผู้เล่นการพนันแทนเจ้ามือ.รับกินรับใช้ ก. ทำหน้าที่รับว่าจะจ่ายเงินและกินเงินของผู้เล่นการพนันแทนเจ้ามือ.
รับขวัญ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง รับให้ขวัญกลับมาสู่ตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ทำพิธีบายศรี ผูกข้อมือ ให้เงินทอง, ปลอบ.รับขวัญ ก. รับให้ขวัญกลับมาสู่ตัวด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ทำพิธีบายศรี ผูกข้อมือ ให้เงินทอง, ปลอบ.
รับแขก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ต้อนรับผู้มาหา, โดยปริยายเรียกบุคคลที่มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ ว่า หน้าตารับแขก.รับแขก ก. ต้อนรับผู้มาหา, โดยปริยายเรียกบุคคลที่มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใสอยู่เสมอ ว่า หน้าตารับแขก.
รับคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ให้สัญญา, ไม่ปฏิเสธ, ตอบตกลง, เช่น ลูกจ้างรับคำนายจ้าง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับปาก เป็น รับปากรับคำ.รับคำ ก. ให้สัญญา, ไม่ปฏิเสธ, ตอบตกลง, เช่น ลูกจ้างรับคำนายจ้าง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับปาก เป็น รับปากรับคำ.
รับคืน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รับเอาสิ่งของที่ซื้อไปคืน โดยคืนเงินให้หรือแลกเปลี่ยนกับของอื่นในราคาตามแต่จะตกลงกัน.รับคืน ก. รับเอาสิ่งของที่ซื้อไปคืน โดยคืนเงินให้หรือแลกเปลี่ยนกับของอื่นในราคาตามแต่จะตกลงกัน.
รับเคราะห์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง รับเอาเคราะห์ร้ายของผู้อื่นมาเป็นของตนจะโดยเต็มใจหรือไม่ก็ตาม เช่น ลูกน้องรับเคราะห์แทนเจ้านาย.รับเคราะห์ ก. รับเอาเคราะห์ร้ายของผู้อื่นมาเป็นของตนจะโดยเต็มใจหรือไม่ก็ตาม เช่น ลูกน้องรับเคราะห์แทนเจ้านาย.
รับงาน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รับจ้างทำงานต่าง ๆ เช่น รับงานก่อสร้าง, รับจ้างแสดงการละเล่น เช่น รับงานแสดงดนตรี.รับงาน ก. รับจ้างทำงานต่าง ๆ เช่น รับงานก่อสร้าง, รับจ้างแสดงการละเล่น เช่น รับงานแสดงดนตรี.
รับจ้าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับทำงานเพื่อค่าจ้าง เช่น รับจ้างทำงานบ้าน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่รับทำงานเพื่อค่าจ้าง เช่น ทหารรับจ้าง มือปืนรับจ้าง.รับจ้าง ก. รับทำงานเพื่อค่าจ้าง เช่น รับจ้างทำงานบ้าน. ว. ที่รับทำงานเพื่อค่าจ้าง เช่น ทหารรับจ้าง มือปืนรับจ้าง.
รับช่วง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับทอดต่อเนื่องกันไป เช่น รับช่วงงานที่คนเก่าทำค้างไว้ น้องรับช่วงหนังสือเรียนจากพี่.รับช่วง ก. รับทอดต่อเนื่องกันไป เช่น รับช่วงงานที่คนเก่าทำค้างไว้ น้องรับช่วงหนังสือเรียนจากพี่.
รับใช้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่าจะใช้เงินให้; คอยปรนนิบัติพ่อแม่ครูอาจารย์เป็นต้นด้วยความเต็มใจ เช่น ลูกรับใช้พ่อแม่ ศิษย์รับใช้ครู, ปฏิบัติหน้าที่ตามที่นายหรือผู้มีอำนาจเหนือสั่งหรือใช้ เช่น พลทหารอยู่รับใช้ผู้บังคับบัญชา.รับใช้ ก. รับว่าจะใช้เงินให้; คอยปรนนิบัติพ่อแม่ครูอาจารย์เป็นต้นด้วยความเต็มใจ เช่น ลูกรับใช้พ่อแม่ ศิษย์รับใช้ครู, ปฏิบัติหน้าที่ตามที่นายหรือผู้มีอำนาจเหนือสั่งหรือใช้ เช่น พลทหารอยู่รับใช้ผู้บังคับบัญชา.
รับใช้ชาติ, รับใช้ประเทศชาติ รับใช้ชาติ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ รับใช้ประเทศชาติ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำหน้าที่สนองคุณบ้านเมืองในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศ.รับใช้ชาติ, รับใช้ประเทศชาติ ก. ทำหน้าที่สนองคุณบ้านเมืองในฐานะเป็นพลเมืองของประเทศ.
รับซื้อ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลงซื้อ เช่น รัฐบาลรับซื้อข้าวจากชาวนา.รับซื้อ ก. ตกลงซื้อ เช่น รัฐบาลรับซื้อข้าวจากชาวนา.
รับซื้อของโจร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ซื้อสิ่งของที่ถูกโจรกรรมมา.รับซื้อของโจร ก. ซื้อสิ่งของที่ถูกโจรกรรมมา.
รับเซ้ง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง รับโอนสิทธิหรือกิจการจากอีกคนหนึ่งโดยต้องเสียค่าตอบแทน.รับเซ้ง (ปาก) ก. รับโอนสิทธิหรือกิจการจากอีกคนหนึ่งโดยต้องเสียค่าตอบแทน.
รับทราบ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่ารู้แล้ว.รับทราบ ก. รับว่ารู้แล้ว.
รับทุน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รับเงินอุดหนุน เช่น รับทุนการศึกษา.รับทุน ก. รับเงินอุดหนุน เช่น รับทุนการศึกษา.
รับโทรศัพท์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง รับการติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์.รับโทรศัพท์ ก. รับการติดต่อสื่อสารทางโทรศัพท์.
รับบาป เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง รับเคราะห์กรรมแทนผู้อื่นที่ทำกรรมนั้น, รับความผิดหรือโทษทัณฑ์แทนผู้ที่ทำความผิด.รับบาป ก. รับเคราะห์กรรมแทนผู้อื่นที่ทำกรรมนั้น, รับความผิดหรือโทษทัณฑ์แทนผู้ที่ทำความผิด.
รับประกัน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ยืนยัน เช่น รับประกันว่าเขาเป็นคนซื่อ, รับรอง, รับใช้ค่าเสียหาย, เช่น รับประกันคุณภาพ รับประกันซ่อมฟรี; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง รับรองว่าจะรับผิดแทนลูกหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามสัญญา.รับประกัน ก. ยืนยัน เช่น รับประกันว่าเขาเป็นคนซื่อ, รับรอง, รับใช้ค่าเสียหาย, เช่น รับประกันคุณภาพ รับประกันซ่อมฟรี; (กฎ) รับรองว่าจะรับผิดแทนลูกหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามสัญญา.
รับประทาน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กิน เช่น รับประทานอาหาร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง รับของจากเจ้านาย เช่น รับประทานสิ่งของจากสมเด็จพระสังฆราช รับประทานประกาศนียบัตรจากพระองค์เจ้า.รับประทาน ก. กิน เช่น รับประทานอาหาร; (ราชา) รับของจากเจ้านาย เช่น รับประทานสิ่งของจากสมเด็จพระสังฆราช รับประทานประกาศนียบัตรจากพระองค์เจ้า.
รับปาก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง รับคำ เช่น เขารับปากว่าจะมารับ แต่ก็ไม่มา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับคำ เป็น รับปากรับคำ.รับปาก ก. รับคำ เช่น เขารับปากว่าจะมารับ แต่ก็ไม่มา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับคำ เป็น รับปากรับคำ.
รับผิด เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมรับว่าทำผิด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง มีหน้าที่ผูกพันตามกฎหมายที่จะต้องชําระหนี้หรือกระทําการหรืองดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง.รับผิด ก. ยอมรับว่าทำผิด; (กฎ) มีหน้าที่ผูกพันตามกฎหมายที่จะต้องชําระหนี้หรือกระทําการหรืองดเว้นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
รับผิดชอบ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมรับผลทั้งที่ดีและไม่ดีในกิจการที่ตนได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของตน เช่น สมุห์บัญชีรับผิดชอบเรื่องเกี่ยวกับการเงิน, รับเป็นภารธุระ เช่น งานนี้เขารับผิดชอบเรื่องอาหาร เธอจะไปไหนก็ไปเถอะ ฉันรับผิดชอบทุกอย่างในบ้านเอง.รับผิดชอบ ก. ยอมรับผลทั้งที่ดีและไม่ดีในกิจการที่ตนได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของตน เช่น สมุห์บัญชีรับผิดชอบเรื่องเกี่ยวกับการเงิน, รับเป็นภารธุระ เช่น งานนี้เขารับผิดชอบเรื่องอาหาร เธอจะไปไหนก็ไปเถอะ ฉันรับผิดชอบทุกอย่างในบ้านเอง.
รับพระเคราะห์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพิธีรับเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่จะมาเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์.รับพระเคราะห์ (โหร) ก. ทำพิธีรับเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่จะมาเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์.
รับฟ้อง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่ามีหลักฐานฟ้องได้ (ใช้แก่ศาล) เช่น ศาลประทับรับฟ้อง.รับฟ้อง ก. รับว่ามีหลักฐานฟ้องได้ (ใช้แก่ศาล) เช่น ศาลประทับรับฟ้อง.
รับฟัง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับไว้พิจารณา เช่น ผู้บังคับบัญชารับฟังความเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา.รับฟัง ก. รับไว้พิจารณา เช่น ผู้บังคับบัญชารับฟังความเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา.
รับฟังได้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่ามีเหตุผลน่าเชื่อถือ, รับว่ามีเหตุผลพอที่จะเชื่อถือได้, เช่น เหตุผลที่อ้างมานั้นรับฟังได้.รับฟังได้ ก. รับว่ามีเหตุผลน่าเชื่อถือ, รับว่ามีเหตุผลพอที่จะเชื่อถือได้, เช่น เหตุผลที่อ้างมานั้นรับฟังได้.
รับมือ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อต้าน, กําราบ, เช่น ส่งกองทหารไปรับมือข้าศึกที่ชายแดน.รับมือ ก. ต่อต้าน, กําราบ, เช่น ส่งกองทหารไปรับมือข้าศึกที่ชายแดน.
รับรอง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับประกัน เช่น รับรองว่าเป็นของแท้; ต้อนรับ เช่น รับรองแขกเมือง.รับรอง ก. รับประกัน เช่น รับรองว่าเป็นของแท้; ต้อนรับ เช่น รับรองแขกเมือง.
รับรัก เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตอบรับความรัก, ไม่ปฏิเสธความรัก.รับรัก ก. ตอบรับความรัก, ไม่ปฏิเสธความรัก.
รับราชการ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าทำงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน.รับราชการ ก. เข้าทำงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน.
รับรู้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ยืนยันว่ารู้, รับว่ารู้; รับผิดชอบ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ลูกไปทำผิด พ่อแม่จะไม่รับรู้ได้อย่างไร.รับรู้ ก. ยืนยันว่ารู้, รับว่ารู้; รับผิดชอบ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ลูกไปทำผิด พ่อแม่จะไม่รับรู้ได้อย่างไร.
รับเวร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เข้ารอบผลัดกันรับหน้าที่ตามเวลาที่กะกันไว้.รับเวร ก. เข้ารอบผลัดกันรับหน้าที่ตามเวลาที่กะกันไว้.
รับศีล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ถือศีล, สมาทานศีล.รับศีล ก. ถือศีล, สมาทานศีล.
รับสนองพระบรมราชโองการ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ลงนามที่จะปฏิบัติตามพระบรมราชโองการเพื่อให้เป็นพระบรมราชโองการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ.รับสนองพระบรมราชโองการ ก. ลงนามที่จะปฏิบัติตามพระบรมราชโองการเพื่อให้เป็นพระบรมราชโองการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ.
รับสมอ้าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง รับแทนผู้อื่น เช่น เขารับสมอ้างว่าเป็นเจ้าของบ่อน.รับสมอ้าง ก. รับแทนผู้อื่น เช่น เขารับสมอ้างว่าเป็นเจ้าของบ่อน.
รับสมัคร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง รับผู้ที่มาสมัครเข้าเรียน เข้าสอบ หรือเข้าทำงาน เป็นต้น.รับสมัคร ก. รับผู้ที่มาสมัครเข้าเรียน เข้าสอบ หรือเข้าทำงาน เป็นต้น.
รับสั่ง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่ง (ใช้แก่เจ้านาย) เช่น มีรับสั่งให้เข้าเฝ้า. เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, บอก, (ใช้แก่เจ้านาย) เช่น ท่านรับสั่งให้หา.รับสั่ง (ราชา) น. คําสั่ง (ใช้แก่เจ้านาย) เช่น มีรับสั่งให้เข้าเฝ้า. ก. พูด, บอก, (ใช้แก่เจ้านาย) เช่น ท่านรับสั่งให้หา.
รับสัมผัส เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง เรียกคำใดคำหนึ่งของวรรคหลังแห่งคำประพันธ์ที่คล้องจองกับคำส่งสัมผัสในวรรคหน้าว่า คำรับสัมผัส.รับสัมผัส ก. เรียกคำใดคำหนึ่งของวรรคหลังแห่งคำประพันธ์ที่คล้องจองกับคำส่งสัมผัสในวรรคหน้าว่า คำรับสัมผัส.
รับเสด็จพระราชดำเนิน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง รับการเสด็จพระราชดำเนิน, ในการเขียนใช้ รับเสด็จพระราชดำเนิน หรือ รับเสด็จฯ ก็ได้.รับเสด็จพระราชดำเนิน (ราชา) ก. รับการเสด็จพระราชดำเนิน, ในการเขียนใช้ รับเสด็จพระราชดำเนิน หรือ รับเสด็จฯ ก็ได้.
รับหน้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เผชิญหน้า, รอหน้า, เช่น ส่งเด็กไปรับหน้าเจ้าหนี้ไว้ก่อน.รับหน้า ก. เผชิญหน้า, รอหน้า, เช่น ส่งเด็กไปรับหน้าเจ้าหนี้ไว้ก่อน.
รับหน้าเสื่อ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำหน้าที่เป็นหัวเบี้ย เช่นในการเล่นถั่วโปซึ่งสมัยก่อนมักปูเสื่อลำแพนเล่นกัน.รับหน้าเสื่อ ก. ทำหน้าที่เป็นหัวเบี้ย เช่นในการเล่นถั่วโปซึ่งสมัยก่อนมักปูเสื่อลำแพนเล่นกัน.
รับหมั้น เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รับสิ่งของที่ฝ่ายชายนำมามอบให้ฝ่ายหญิงเพื่อแสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย.รับหมั้น ก. รับสิ่งของที่ฝ่ายชายนำมามอบให้ฝ่ายหญิงเพื่อแสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย.
รับเหมา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง รับจ้างทำกิจการทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนสำเร็จตามข้อตกลง เช่น รับเหมาก่อสร้าง รับเหมาทาสี, โดยปริยายหมายความว่า รับทำงานหลายรายการหรือรายการเดียวแต่มีจำนวนมากเพียงผู้เดียว เช่น เขารับเหมางานพิสูจน์อักษรทั้งหมด.รับเหมา ก. รับจ้างทำกิจการทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนสำเร็จตามข้อตกลง เช่น รับเหมาก่อสร้าง รับเหมาทาสี, โดยปริยายหมายความว่า รับทำงานหลายรายการหรือรายการเดียวแต่มีจำนวนมากเพียงผู้เดียว เช่น เขารับเหมางานพิสูจน์อักษรทั้งหมด.
รับไหว้ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้ตอบ, รับความเคารพคู่บ่าวสาวด้วยการให้ของตอบแทนหรือให้ศีลให้พร.รับไหว้ ก. ไหว้ตอบ, รับความเคารพคู่บ่าวสาวด้วยการให้ของตอบแทนหรือให้ศีลให้พร.
รัมก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-กอ-ไก่[รํามะกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เดือน ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รมฺมก เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต รมฺยก เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่.รัมก– [รํามะกะ–] น. เดือน ๕. (ป. รมฺมก; ส. รมฺยก).
รัมณีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก[รํามะนียะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รมณีย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี รมณีย เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.รัมณีย– [รํามะนียะ–] ว. รมณีย์. (ป. รมณีย).
รัมภา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง นางฟ้า; กล้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .รัมภา น. นางฟ้า; กล้วย. (ป., ส.).
รัมมี่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นไพ่อย่างหนึ่ง ใช้ไพ่ป๊อก ผู้เล่นต้องพยายามผสมไพ่ในมือเป็นชุด ๆ ชุดละ ๓ ใบขึ้นไป แต่ละชุดจะจัดเรียงแบบตองหรือตามหมายเลขก็ได้ ผู้จัดชุดได้หมดทั้งมือก่อนเป็นผู้ชนะในรอบนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rummy เขียนว่า อา-ยู-เอ็ม-เอ็ม-วาย.รัมมี่ น. การเล่นไพ่อย่างหนึ่ง ใช้ไพ่ป๊อก ผู้เล่นต้องพยายามผสมไพ่ในมือเป็นชุด ๆ ชุดละ ๓ ใบขึ้นไป แต่ละชุดจะจัดเรียงแบบตองหรือตามหมายเลขก็ได้ ผู้จัดชุดได้หมดทั้งมือก่อนเป็นผู้ชนะในรอบนั้น. (อ. rummy).
รัมย์ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รมย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รมฺม เขียนว่า รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า.รัมย์ ว. รมย์. (ส.; ป. รมฺม).
รัย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รยะ, เร็ว, ไว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต รย เขียนว่า รอ-เรือ-ยอ-ยัก.รัย ว. รยะ, เร็ว, ไว. (ป., ส. รย).
รัว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงหน้าพาทย์เพลงหนึ่ง ใช้ในโอกาสเช่นร่ายเวทมนตร์คาถา แปลงกาย หรือเนรมิตตัว.รัว ๑ น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์เพลงหนึ่ง ใช้ในโอกาสเช่นร่ายเวทมนตร์คาถา แปลงกาย หรือเนรมิตตัว.
รัว ๒, รัว ๆ รัว ความหมายที่ ๒ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน รัว ๆ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก เป็นคำกริยา หมายถึง ตีหรือยิงเป็นต้นเร็ว ๆ ทําให้เกิดเสียงดังถี่ ๆ เช่น รัวระฆัง รัวกลอง รัวปืนกล; อาการที่พูดเร็วจนลิ้นพันกัน ฟังไม่ได้ชัด เรียกว่า พูดลิ้นรัว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหวถี่ ๆ เช่น ตัวสั่นรัว ๆ; ไม่ชัด, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ข้อความรัว ภาพรัว ๆ เห็นรัว ๆ.รัว ๒, รัว ๆ ก. ตีหรือยิงเป็นต้นเร็ว ๆ ทําให้เกิดเสียงดังถี่ ๆ เช่น รัวระฆัง รัวกลอง รัวปืนกล; อาการที่พูดเร็วจนลิ้นพันกัน ฟังไม่ได้ชัด เรียกว่า พูดลิ้นรัว. ว. ไหวถี่ ๆ เช่น ตัวสั่นรัว ๆ; ไม่ชัด, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ข้อความรัว ภาพรัว ๆ เห็นรัว ๆ.
รั่ว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่อากาศหรือของเหลวเป็นต้นไหลเข้าหรือออกทางรอยแตกหรือรูที่เกิดจากความชํารุด เช่น นํ้ารั่ว ฝนรั่ว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรอยแตกหรือมีรูซึ่งเกิดจากความชํารุดที่อากาศหรือของเหลวเป็นต้นเข้าออกได้ เช่น เรือรั่ว ท่อประปารั่ว หลังคารั่ว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ข่าวรั่ว ข้อสอบรั่ว.รั่ว ๑ ก. อาการที่อากาศหรือของเหลวเป็นต้นไหลเข้าหรือออกทางรอยแตกหรือรูที่เกิดจากความชํารุด เช่น นํ้ารั่ว ฝนรั่ว. ว. มีรอยแตกหรือมีรูซึ่งเกิดจากความชํารุดที่อากาศหรือของเหลวเป็นต้นเข้าออกได้ เช่น เรือรั่ว ท่อประปารั่ว หลังคารั่ว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ข่าวรั่ว ข้อสอบรั่ว.
รั่วไหล เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง แพร่งพรายออกไป เช่น ความลับรั่วไหล; ถูกเบียดบังเอาไป เช่น การเงินของบริษัทรั่วไหล.รั่วไหล ก. แพร่งพรายออกไป เช่น ความลับรั่วไหล; ถูกเบียดบังเอาไป เช่น การเงินของบริษัทรั่วไหล.
รั่ว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ไล่ไม้ตีระไปบนลูกระนาดโดยไม่ลงคู่ ทำให้เสียงเพี้ยนหรือไม่ชัดเจน เช่น เขาตีระนาดรั่ว ฟังไม่เป็นเพลง.รั่ว ๒ ว. อาการที่ไล่ไม้ตีระไปบนลูกระนาดโดยไม่ลงคู่ ทำให้เสียงเพี้ยนหรือไม่ชัดเจน เช่น เขาตีระนาดรั่ว ฟังไม่เป็นเพลง.
รั้ว เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องล้อมกันเป็นเขตของบ้านเป็นต้น มักทำด้วยเรียวไผ่ ต้นไม้ขนาดเล็ก หรือสังกะสี เช่น รั้วมะขามเทศ รั้วสังกะสี, โดยปริยายเรียกทหารซึ่งทำหน้าที่เป็นกำลังป้องกันชาติว่า รั้วของชาติ.รั้ว น. เครื่องล้อมกันเป็นเขตของบ้านเป็นต้น มักทำด้วยเรียวไผ่ ต้นไม้ขนาดเล็ก หรือสังกะสี เช่น รั้วมะขามเทศ รั้วสังกะสี, โดยปริยายเรียกทหารซึ่งทำหน้าที่เป็นกำลังป้องกันชาติว่า รั้วของชาติ.
รั้วไก่ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง แผงราชวัติที่เป็นตาสี่เหลี่ยมสําหรับกันโรงพิธี, รั้วก่าย ก็ว่า.รั้วไก่ น. แผงราชวัติที่เป็นตาสี่เหลี่ยมสําหรับกันโรงพิธี, รั้วก่าย ก็ว่า.
รัศมิมัต เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรัศมี, ใช้ รัศมิมาน ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รํสิมนฺตุ เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ รํสิมา เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา .รัศมิมัต ว. มีรัศมี, ใช้ รัศมิมาน ก็ได้. (ส.; ป. รํสิมนฺตุ, รํสิมา).
รัศมิมาน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรัศมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .รัศมิมาน ว. มีรัศมี. (ส.).
รัศมี เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่างที่พวยพุ่งออกจากจุดกลาง, แสงสว่าง; เส้นที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมไปถึงเส้นรอบวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รํสิ เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ.รัศมี น. แสงสว่างที่พวยพุ่งออกจากจุดกลาง, แสงสว่าง; เส้นที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมไปถึงเส้นรอบวง. (ส.; ป. รํสิ).
รัษฎากร เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[รัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง รายได้ของแผ่นดิน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร. (เพี้ยนมาจาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ราษฺฏฺร + อากร หมายความว่า อากรของประเทศ).รัษฎากร [รัดสะ–] น. รายได้ของแผ่นดิน; (กฎ) ภาษีอากรประเภทต่าง ๆ ที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากร. (เพี้ยนมาจาก ส. ราษฺฏฺร + อากร หมายความว่า อากรของประเทศ).
รัส–, รัสสะ รัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ รัสสะ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ [รัดสะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .รัส–, รัสสะ [รัดสะ–] ว. สั้น. (ป.).
รัสสระ เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[รัดสะสะหฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อํา ใอ ไอ เอา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .รัสสระ [รัดสะสะหฺระ] น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อํา ใอ ไอ เอา. (ป.).
รัสเซีย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศที่ส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันออกและอีกส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปเอเชียภาคเหนือและภาคกลาง, เรียกเต็มว่า สหพันธรัฐรัสเซีย.รัสเซีย น. ชื่อประเทศที่ส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันออกและอีกส่วนหนึ่งอยู่ในทวีปเอเชียภาคเหนือและภาคกลาง, เรียกเต็มว่า สหพันธรัฐรัสเซีย.
รา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน เรียกว่า ราคอเสา.รา ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน เรียกว่า ราคอเสา.
รา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ และลําต้น ใบ ราก ที่แท้จริง ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ สืบพันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี.รา ๒ น. ชื่อเรียกพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ และลําต้น ใบ ราก ที่แท้จริง ส่วนมากเจริญเป็นเส้นใย แบ่งเป็น ๒ พวก คือ ราเมือก และ ราแท้ สืบพันธุ์โดยสปอร์ อาศัยอยู่บนซากของพืชหรือสัตว์ ขึ้นเบียนหรืออยู่ร่วมกับพืชอื่นก็มี.
รา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ เลิกไป เช่น รากันไป; น้อยลง, อ่อนลง, เช่น ไฟราดับไปเอง. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําชวนอีกฝ่ายหนึ่งให้กระทําตาม เช่น ไปเถิดรา.รา ๓ ก. ค่อย ๆ เลิกไป เช่น รากันไป; น้อยลง, อ่อนลง, เช่น ไฟราดับไปเอง. (กลอน) ว. คําชวนอีกฝ่ายหนึ่งให้กระทําตาม เช่น ไปเถิดรา.
ราข้อ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกกันไปเอง เช่น ชกกันเหนื่อยก็ราข้อไปเอง.ราข้อ ก. เลิกกันไปเอง เช่น ชกกันเหนื่อยก็ราข้อไปเอง.
ราแจว, ราพาย ราแจว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-วอ-แหวน ราพาย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาแจวหรือพายแตะน้ำเรียด ๆ เพื่อชะลอเรือไว้.ราแจว, ราพาย ก. เอาแจวหรือพายแตะน้ำเรียด ๆ เพื่อชะลอเรือไว้.
ราน้ำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ต้านน้ำ เช่น เอาเท้าราน้ำ เอาไม้ราน้ำ.ราน้ำ ก. ต้านน้ำ เช่น เอาเท้าราน้ำ เอาไม้ราน้ำ.
ราปีก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง หยุดขยับปีกร่อนไป (ใช้แก่นก).ราปีก ก. หยุดขยับปีกร่อนไป (ใช้แก่นก).
ราไฟ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ไฟอ่อนลงโดยคีบถ่านหรือชักฟืนออกเสียบ้าง, ราฟืนราไฟ ก็ว่า.ราไฟ ก. ทำให้ไฟอ่อนลงโดยคีบถ่านหรือชักฟืนออกเสียบ้าง, ราฟืนราไฟ ก็ว่า.
รามือ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำงานน้อยลง.รามือ ก. ทำงานน้อยลง.
ราเริด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกร้างไป.ราเริด ก. เลิกร้างไป.
ราแรม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แรมร้างไป.ราแรม ก. แรมร้างไป.
รา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำสรรพนาม หมายถึง เราทั้งคู่, เขาทั้งคู่, ในคําว่า สองรา, ต่อมาใช้หมายถึงเกิน ๒ ก็ได้ เช่น เร่งหาประกันมาทันใด ผู้คุมเหวยรับไว้ทั้งสามรา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.รา ๔ (กลอน) ส. เราทั้งคู่, เขาทั้งคู่, ในคําว่า สองรา, ต่อมาใช้หมายถึงเกิน ๒ ก็ได้ เช่น เร่งหาประกันมาทันใด ผู้คุมเหวยรับไว้ทั้งสามรา. (ขุนช้างขุนแผน).
ร่า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แสดงให้เห็นว่าเบิกบานเต็มที่ เช่น หัวเราะร่า ยิ้มร่า; เปิดเต็มที่ (ใช้แก่อาการที่เห็นจะแจ้งหรือเปิดเผยเต็มที่) เช่น ประตูเปิดร่า หน้าต่างเปิดร่า.ร่า ว. อาการที่แสดงให้เห็นว่าเบิกบานเต็มที่ เช่น หัวเราะร่า ยิ้มร่า; เปิดเต็มที่ (ใช้แก่อาการที่เห็นจะแจ้งหรือเปิดเผยเต็มที่) เช่น ประตูเปิดร่า หน้าต่างเปิดร่า.
ร่าเริง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนุกสนาน, เบิกบานใจ, ยิ้มแย้มแจ่มใส.ร่าเริง ว. สนุกสนาน, เบิกบานใจ, ยิ้มแย้มแจ่มใส.
ร้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง รูปคล้ายนกยาง, มักเรียกกันว่า อีร้า. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ร้า ๑ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง รูปคล้ายนกยาง, มักเรียกกันว่า อีร้า. (พจน. ๒๔๙๓).
ร้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทําด้วยปลาหมักเกลือ เรียกว่า ปลาร้า; เรียกหญิงที่จัดจ้านว่า แม่ร้า.ร้า ๒ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทําด้วยปลาหมักเกลือ เรียกว่า ปลาร้า; เรียกหญิงที่จัดจ้านว่า แม่ร้า.
ร้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง รา, วางมือ, เช่น ใช่จักร้าโดยง่าย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.ร้า ๓ (กลอน) ก. รา, วางมือ, เช่น ใช่จักร้าโดยง่าย. (นิทราชาคริต).
ร้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ร่า, ร่าเริง, เช่น ชาวที่ร้าเปิดทวาร. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.ร้า ๔ (กลอน) ก. ร่า, ร่าเริง, เช่น ชาวที่ร้าเปิดทวาร. (นิทราชาคริต).
ร้า เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ดึง, ทึ้ง, เช่น เขาก็ร้าตัวเข้ากรง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวงเล็บ ****(นิทราชาคริต); รบ.ร้า ๕ (กลอน) ก. ดึง, ทึ้ง, เช่น เขาก็ร้าตัวเข้ากรง. (นิทราชาคริต); รบ.
ราก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของต้นไม้ ตามปรกติอยู่ในดิน มีหน้าที่ดูดอาหารเลี้ยงลำต้น, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากผม รากฟัน; เรียกฐานที่อยู่ใต้ดินทำหน้าที่รองรับอาคารว่า รากตึก หรือ ฐานราก; ต้นเดิม, เค้าเดิม, เช่น รากศัพท์.ราก ๑ น. ส่วนของต้นไม้ ตามปรกติอยู่ในดิน มีหน้าที่ดูดอาหารเลี้ยงลำต้น, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากผม รากฟัน; เรียกฐานที่อยู่ใต้ดินทำหน้าที่รองรับอาคารว่า รากตึก หรือ ฐานราก; ต้นเดิม, เค้าเดิม, เช่น รากศัพท์.
รากแก้ว เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง รากเดิม, รากที่เป็นหลักหยั่งลึกลงไปในดินของต้นไม้บางชนิด.รากแก้ว น. รากเดิม, รากที่เป็นหลักหยั่งลึกลงไปในดินของต้นไม้บางชนิด.
รากขวัญ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ไหปลาร้า เรียกว่า พระรากขวัญ.รากขวัญ (ราชา) น. ไหปลาร้า เรียกว่า พระรากขวัญ.
รากแขวน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รากที่แตกออกจากโคนต้นมะพร้าวหรือตาลเป็นต้น เฉพาะรากที่ปลายยังไม่ถึงดิน.รากแขวน น. รากที่แตกออกจากโคนต้นมะพร้าวหรือตาลเป็นต้น เฉพาะรากที่ปลายยังไม่ถึงดิน.
รากค้ำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง รากของพืชบางชนิด เช่น โกงกาง ข้าวโพด เตย ที่งอกออกมาเพื่อค้ำพยุงลำต้น.รากค้ำ น. รากของพืชบางชนิด เช่น โกงกาง ข้าวโพด เตย ที่งอกออกมาเพื่อค้ำพยุงลำต้น.
รากฐาน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์; พื้นเพ เช่น มีรากฐานมาจากไหน.รากฐาน น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์; พื้นเพ เช่น มีรากฐานมาจากไหน.
รากดิน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไส้เดือน.รากดิน น. ไส้เดือน.
รากฝอย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง รากที่เป็นเส้นเล็ก ๆ แตกออกจากรากแก้ว.รากฝอย น. รากที่เป็นเส้นเล็ก ๆ แตกออกจากรากแก้ว.
รากฟัน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของฟันที่ฝังอยู่ในกระดูกที่เป็นเบ้าของฟัน.รากฟัน น. ส่วนของฟันที่ฝังอยู่ในกระดูกที่เป็นเบ้าของฟัน.
รากศัพท์ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รากเดิมของคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เรียกว่า ธาตุ เช่น กรรมการ มีรากศัพท์มาจาก กรฺ ธาตุ.รากศัพท์ น. รากเดิมของคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เรียกว่า ธาตุ เช่น กรรมการ มีรากศัพท์มาจาก กรฺ ธาตุ.
รากเหง้า เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเหตุ เช่น โลภ โกรธ หลง เป็นรากเหง้าของความชั่วทั้งปวง; เหง้า, ลำต้นที่อยู่ในดินของพืชบางชนิด เช่น กล้วย บอน ขิง ข่า.รากเหง้า น. ต้นเหตุ เช่น โลภ โกรธ หลง เป็นรากเหง้าของความชั่วทั้งปวง; เหง้า, ลำต้นที่อยู่ในดินของพืชบางชนิด เช่น กล้วย บอน ขิง ข่า.
รากอากาศ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง รากที่แตกออกจากต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด เช่น กล้วยไม้ ไทร.รากอากาศ น. รากที่แตกออกจากต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด เช่น กล้วยไม้ ไทร.
ราก เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาเจียน, อ้วก, สํารอกออกทางปาก. เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่สํารอกออกมาทางปาก.ราก ๒ ก. อาเจียน, อ้วก, สํารอกออกทางปาก. น. อาการที่สํารอกออกมาทางปาก.
รากเลือด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาเจียนเป็นเลือด.รากเลือด ก. อาเจียนเป็นเลือด.
รากกล้วย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Gyrinocheilus aymoneri และชนิด G. pennocki ในวงศ์ Gyrinocheilidae มีหัวยาว ลำตัวยาวเพรียว ที่สำคัญคือมีปากซึ่งใช้ดูดเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำได้ดี ไม่มีหนวด พื้นลำตัวสีน้ำตาลคล้ำ ข้างตัวมีจุดดำเรียงสลับกันตามยาวอยู่ ๒ แถว พบทั่วไปตามลำธาร บนภูเขา และที่ลุ่ม กินสาหร่ายและพืชน้ำอื่น ๆ ขนาดยาวได้ถึง ๒๘ เซนติเมตร, ผึ้ง น้ำผึ้ง ลูกผึ้ง หรือ สร้อยน้ำผึ้ง ก็เรียก.รากกล้วย น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Gyrinocheilus aymoneri และชนิด G. pennocki ในวงศ์ Gyrinocheilidae มีหัวยาว ลำตัวยาวเพรียว ที่สำคัญคือมีปากซึ่งใช้ดูดเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำได้ดี ไม่มีหนวด พื้นลำตัวสีน้ำตาลคล้ำ ข้างตัวมีจุดดำเรียงสลับกันตามยาวอยู่ ๒ แถว พบทั่วไปตามลำธาร บนภูเขา และที่ลุ่ม กินสาหร่ายและพืชน้ำอื่น ๆ ขนาดยาวได้ถึง ๒๘ เซนติเมตร, ผึ้ง น้ำผึ้ง ลูกผึ้ง หรือ สร้อยน้ำผึ้ง ก็เรียก.
รากษส เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สอ-เสือ[รากสด] เป็นคำนาม หมายถึง ยักษ์ร้าย, ผีเสื้อนํ้า, ชื่อพวกอสูรชั้นต่ำ มีนิสัยดุร้าย ในคัมภีร์โลกทีปกสารว่า เป็นบริวารของพญายม, ในคัมภีร์โลกบัญญัติว่า เป็นบริวารของพระวรุณ, ใช้ รากโษส ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รกฺขส เขียนว่า รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สอ-เสือ.รากษส [รากสด] น. ยักษ์ร้าย, ผีเสื้อนํ้า, ชื่อพวกอสูรชั้นต่ำ มีนิสัยดุร้าย ในคัมภีร์โลกทีปกสารว่า เป็นบริวารของพญายม, ในคัมภีร์โลกบัญญัติว่า เป็นบริวารของพระวรุณ, ใช้ รากโษส ก็มี. (ส.; ป. รกฺขส).
รากโษส เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-สอ-รือ-สี-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง รากษส.รากโษส น. รากษส.
รากสาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มโรคที่มีอาการไข้สูงนานเป็นสัปดาห์ มีผื่นขึ้น แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดใหญ่.รากสาด น. กลุ่มโรคที่มีอาการไข้สูงนานเป็นสัปดาห์ มีผื่นขึ้น แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ไข้รากสาดน้อย และไข้รากสาดใหญ่.
รากสาดน้อย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดเชื้อแบคทีเรีย Salmonella typhi มีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ ซึม และทําให้ลําไส้อักเสบและเป็นแผล ถ้าร้ายแรง ลําไส้จะทะลุและมีเลือดออกมากับอุจจาระ, เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อดังกล่าวนี้ว่า ไข้รากสาดน้อย, เรียกโรคที่คล้ายกัน แต่อาการรุนแรงน้อยกว่า เกิดจากเชื้อ Salmonella paratyphi ว่า ไข้รากสาดเทียม.รากสาดน้อย น. โรคติดเชื้อแบคทีเรีย Salmonella typhi มีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ ซึม และทําให้ลําไส้อักเสบและเป็นแผล ถ้าร้ายแรง ลําไส้จะทะลุและมีเลือดออกมากับอุจจาระ, เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อดังกล่าวนี้ว่า ไข้รากสาดน้อย, เรียกโรคที่คล้ายกัน แต่อาการรุนแรงน้อยกว่า เกิดจากเชื้อ Salmonella paratyphi ว่า ไข้รากสาดเทียม.
รากสาดใหญ่ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดเชื้อ Rickettsia มีอาการคล้ายไข้รากสาดน้อย แต่มักจะรุนแรงกว่า มีหลายชนิด ชนิดที่เป็นโรคระบาดเกิดจากเชื้อ Rickettsia prowaseki, เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อดังกล่าวนี้ว่า ไข้รากสาดใหญ่.รากสาดใหญ่ น. โรคติดเชื้อ Rickettsia มีอาการคล้ายไข้รากสาดน้อย แต่มักจะรุนแรงกว่า มีหลายชนิด ชนิดที่เป็นโรคระบาดเกิดจากเชื้อ Rickettsia prowaseki, เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อดังกล่าวนี้ว่า ไข้รากสาดใหญ่.
รากสามสิบ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Asparagus racemosus Willd. ในวงศ์ Asparagaceae เถามีหนาม ใบลดรูปเป็นเกล็ด กิ่งเรียวรูปเข็ม รากอวบใช้ทํายาและแช่อิ่มได้, พายัพเรียก จ๋วงเครือ หรือ จั่นดิน.รากสามสิบ น. ชื่อไม้เถาชนิด Asparagus racemosus Willd. ในวงศ์ Asparagaceae เถามีหนาม ใบลดรูปเป็นเกล็ด กิ่งเรียวรูปเข็ม รากอวบใช้ทํายาและแช่อิ่มได้, พายัพเรียก จ๋วงเครือ หรือ จั่นดิน.
ราค–, ราคะ ราค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย ราคะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความกําหนัดยินดีในกามารมณ์, ความใคร่ในกามคุณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ราค–, ราคะ น. ความกําหนัดยินดีในกามารมณ์, ความใคร่ในกามคุณ. (ป., ส.).
ราคจริต เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง แนวโน้มไปในทางกำหนัดยินดีในกามารมณ์, ความใคร่ในกามคุณ, ความมีใจเอนเอียงไปในทางรักสวยรักงาม.ราคจริต น. แนวโน้มไปในทางกำหนัดยินดีในกามารมณ์, ความใคร่ในกามคุณ, ความมีใจเอนเอียงไปในทางรักสวยรักงาม.
ราคา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง มูลค่าของสิ่งของที่คิดเป็นเงินตรา; จํานวนเงินซึ่งได้มีการชําระหรือตกลงจะชําระในการซื้อขายทรัพย์สิน, โดยปริยายหมายความว่า ค่า, คุณค่า, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เขาทำตัวเป็นคนไม่มีราคา.ราคา น. มูลค่าของสิ่งของที่คิดเป็นเงินตรา; จํานวนเงินซึ่งได้มีการชําระหรือตกลงจะชําระในการซื้อขายทรัพย์สิน, โดยปริยายหมายความว่า ค่า, คุณค่า, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เขาทำตัวเป็นคนไม่มีราคา.
ราคาตลาด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ราคาที่ซื้อขายกันทั่วไปในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งและในขณะใดขณะหนึ่ง, ราคาท้องตลาด ก็เรียก.ราคาตลาด (กฎ) น. ราคาที่ซื้อขายกันทั่วไปในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งและในขณะใดขณะหนึ่ง, ราคาท้องตลาด ก็เรียก.
ราคิน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ราคี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ราคิน น. ราคี. (ส.).
ราคี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความกําหนัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ราคี ๑ น. ผู้มีความกําหนัด. (ป., ส.).
ราคี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ความมัวหมอง, มลทิน, เช่น หญิงคนนี้มีราคี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ราคินฺ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.ราคี ๒ น. ความมัวหมอง, มลทิน, เช่น หญิงคนนี้มีราคี. (ส. ราคินฺ).
ราง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล; สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา; ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ หรือปล้องไม้ไผ่ผ่าซีก มีด้านสกัดหัวท้าย สำหรับใส่อาหารหมูหรือย้อมผ้าเป็นต้น; โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รางระนาด; เหล็กที่ใช้เป็นทางเดินของล้อเลื่อน เช่น รางรถไฟ; ไม้เจาะเป็นร่องยาวสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันได้ ๘๐ เหรียญ หรือ ๑ ชั่ง, ปัจจุบันเป็นแผ่นไม้เจาะเป็นร่องสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันเป็นแถว ๆ แผ่นหนึ่งมี ๑๐ แถว แถวหนึ่งใส่เหรียญบาทได้ ๑๐ เหรียญ รวมเป็น ๑๐๐ บาท; ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นราง เช่น ลูกคิดรางหนึ่ง ระนาด ๒ ราง รางรถไฟ ๓ ราง.ราง ๑ น. ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล; สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา; ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ หรือปล้องไม้ไผ่ผ่าซีก มีด้านสกัดหัวท้าย สำหรับใส่อาหารหมูหรือย้อมผ้าเป็นต้น; โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รางระนาด; เหล็กที่ใช้เป็นทางเดินของล้อเลื่อน เช่น รางรถไฟ; ไม้เจาะเป็นร่องยาวสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันได้ ๘๐ เหรียญ หรือ ๑ ชั่ง, ปัจจุบันเป็นแผ่นไม้เจาะเป็นร่องสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันเป็นแถว ๆ แผ่นหนึ่งมี ๑๐ แถว แถวหนึ่งใส่เหรียญบาทได้ ๑๐ เหรียญ รวมเป็น ๑๐๐ บาท; ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นราง เช่น ลูกคิดรางหนึ่ง ระนาด ๒ ราง รางรถไฟ ๓ ราง.
รางบดยา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบดยาไทยและยาจีนให้เป็นผง ทำด้วยโลหะรูปร่างคล้ายรางระนาด แต่ก้นสอบ มีลูกบด.รางบดยา น. เครื่องบดยาไทยและยาจีนให้เป็นผง ทำด้วยโลหะรูปร่างคล้ายรางระนาด แต่ก้นสอบ มีลูกบด.
รางบรรทัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตีเส้นบรรทัดบนใบลาน.รางบรรทัด น. เครื่องตีเส้นบรรทัดบนใบลาน.
รางปืน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เนื้อแข็งที่ทำเป็นร่องสำหรับรองรับลำกล้องปืนประเภทประทับบ่า เช่น ปืนนกสับ ปืนคาบศิลา หรือตัวปืนใหญ่ในสมัยโบราณเป็นต้น.รางปืน น. ไม้เนื้อแข็งที่ทำเป็นร่องสำหรับรองรับลำกล้องปืนประเภทประทับบ่า เช่น ปืนนกสับ ปืนคาบศิลา หรือตัวปืนใหญ่ในสมัยโบราณเป็นต้น.
ราง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง คั่วข้าวเม่าให้กรอบ, เรียกข้าวเม่าที่เอามาคั่วให้กรอบว่า ข้าวเม่าราง.ราง ๒ ก. คั่วข้าวเม่าให้กรอบ, เรียกข้าวเม่าที่เอามาคั่วให้กรอบว่า ข้าวเม่าราง.
ราง ๓, ราง ๆ ราง ความหมายที่ ๓ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ราง ๆ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่กระจ่าง, ไม่ชัดเจน, เช่น เห็นราง ๆ ภาพราง ๆ.ราง ๓, ราง ๆ ว. ไม่กระจ่าง, ไม่ชัดเจน, เช่น เห็นราง ๆ ภาพราง ๆ.
ร่าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รูปทรง, โครง, ตัว, เช่น เอวบางร่างน้อย ร่างเล็ก ร่างล่ำสัน. เป็นคำกริยา หมายถึง ทํารูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ร่างพระราชบัญญัติ ร่างภาพ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ฉบับร่าง ต้นร่าง ภาพร่าง โครงร่าง.ร่าง น. รูปทรง, โครง, ตัว, เช่น เอวบางร่างน้อย ร่างเล็ก ร่างล่ำสัน. ก. ทํารูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ร่างพระราชบัญญัติ ร่างภาพ. ว. ที่ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ฉบับร่าง ต้นร่าง ภาพร่าง โครงร่าง.
ร่างกาย เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ตัวตน.ร่างกาย น. ตัวตน.
ร่างร้าน เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง โครงร่างที่ทําด้วยไม้หรือโลหะ สําหรับนั่งหรือปีนป่ายในการก่อสร้างสิ่งสูง ๆ เช่นพระเจดีย์หรือตึก, นั่งร้าน ก็ว่า.ร่างร้าน น. โครงร่างที่ทําด้วยไม้หรือโลหะ สําหรับนั่งหรือปีนป่ายในการก่อสร้างสิ่งสูง ๆ เช่นพระเจดีย์หรือตึก, นั่งร้าน ก็ว่า.
ร่างแห เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ถักด้วยด้ายเป็นต้น เป็นตาข่ายสําหรับจับปลา, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ร่างแหคลุมผม กระเป๋าร่างแห.ร่างแห น. สิ่งที่ถักด้วยด้ายเป็นต้น เป็นตาข่ายสําหรับจับปลา, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ร่างแหคลุมผม กระเป๋าร่างแห.
ร้าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง จากไปชั่วคราว เช่น นิราศร้างห่างเหเสน่หา, แยกกันอยู่แต่ยังไม่หย่าขาดจากกัน เช่น ผัวเมียร้างกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ถูกทอดทิ้ง เช่น พ่อร้าง แม่ร้าง, ว่างเปล่า, ปราศจากผู้คน, เช่น บ้านร้าง เมืองร้าง.ร้าง ก. จากไปชั่วคราว เช่น นิราศร้างห่างเหเสน่หา, แยกกันอยู่แต่ยังไม่หย่าขาดจากกัน เช่น ผัวเมียร้างกัน. ว. ที่ถูกทอดทิ้ง เช่น พ่อร้าง แม่ร้าง, ว่างเปล่า, ปราศจากผู้คน, เช่น บ้านร้าง เมืองร้าง.
ร้างรา เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ เลิกร้างกันไปเอง เช่น ผัวเมียร้างรากัน.ร้างรา ก. ค่อย ๆ เลิกร้างกันไปเอง เช่น ผัวเมียร้างรากัน.
รางจืด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Thunbergia laurifolia Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีม่วงอ่อน ออกเป็นช่อห้อย ใช้ทํายาได้, ยาเขียว ก็เรียก. (๒) ชื่อพรรณไม้ ๓ ชนิดในวงศ์ Leguminosae คือ ไม้พุ่มชนิด Crotalaria bracteata Roxb., ไม้ล้มลุกชนิด C. shanica Lace และไม้เถาชนิด Millettia kityana Craib.รางจืด น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Thunbergia laurifolia Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีม่วงอ่อน ออกเป็นช่อห้อย ใช้ทํายาได้, ยาเขียว ก็เรียก. (๒) ชื่อพรรณไม้ ๓ ชนิดในวงศ์ Leguminosae คือ ไม้พุ่มชนิด Crotalaria bracteata Roxb., ไม้ล้มลุกชนิด C. shanica Lace และไม้เถาชนิด Millettia kityana Craib.
รางชาง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, สวย, เด่น.รางชาง ว. งาม, สวย, เด่น.
รางดำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.รางดำ น. ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
รางแดง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ventilago denticulata Willd. ในวงศ์ Rhamnaceae ใช้ทํายาได้, เถาวัลย์เหล็ก ก็เรียก.รางแดง น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ventilago denticulata Willd. ในวงศ์ Rhamnaceae ใช้ทํายาได้, เถาวัลย์เหล็ก ก็เรียก.
รางนาน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง นกรังนาน.รางนาน น. นกรังนาน.
รางวัล เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของหรือเงินที่ได้มาเพราะความดีความชอบหรือความสามารถ เช่น รางวัลผู้มีมารยาทงาม รางวัลสังข์เงิน รางวัลตุ๊กตาทอง หรือเพราะชนะในการแข่งขัน เช่น รางวัลชนะเลิศในการแต่งหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก รางวัลชนะเลิศฟุตบอล หรือเพราะโชค เช่น ถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เงินตราที่จ่ายให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งจับกุมผู้กระทําความผิด; ค่าตอบแทนที่ให้แก่ผู้ซึ่งกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งสําเร็จตามที่บ่งไว้. เป็นคำกริยา หมายถึง ให้สิ่งของโดยความชอบหรือเพื่อเป็นสินนํ้าใจเป็นต้น.รางวัล น. สิ่งของหรือเงินที่ได้มาเพราะความดีความชอบหรือความสามารถ เช่น รางวัลผู้มีมารยาทงาม รางวัลสังข์เงิน รางวัลตุ๊กตาทอง หรือเพราะชนะในการแข่งขัน เช่น รางวัลชนะเลิศในการแต่งหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก รางวัลชนะเลิศฟุตบอล หรือเพราะโชค เช่น ถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑; (กฎ) เงินตราที่จ่ายให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งจับกุมผู้กระทําความผิด; ค่าตอบแทนที่ให้แก่ผู้ซึ่งกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งสําเร็จตามที่บ่งไว้. ก. ให้สิ่งของโดยความชอบหรือเพื่อเป็นสินนํ้าใจเป็นต้น.
ร่างแห เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ ความหมายที่ ดูใน ร่าง เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.ร่างแห ๑ ดูใน ร่าง.
ร่างแห เขียนว่า รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเห็ดหลายชนิดในสกุล Dictyophora วงศ์ Phallaceae ชอบขึ้นบนพื้นดินเป็นดอกเดี่ยว ลําต้นเป็นรูพรุนคล้ายฟองนํ้าและมีร่างแหคลุมก้านดอก โคนมีกระเปาะหุ้ม เช่น เห็ดร่างแหยาวสีขาว [D. indusiata (Pers.) Fisch.] มีกลิ่นเหม็น.ร่างแห ๒ น. ชื่อเห็ดหลายชนิดในสกุล Dictyophora วงศ์ Phallaceae ชอบขึ้นบนพื้นดินเป็นดอกเดี่ยว ลําต้นเป็นรูพรุนคล้ายฟองนํ้าและมีร่างแหคลุมก้านดอก โคนมีกระเปาะหุ้ม เช่น เห็ดร่างแหยาวสีขาว [D. indusiata (Pers.) Fisch.] มีกลิ่นเหม็น.
ราช ๑, ราช– ราช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง ราช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง [ราด, ราดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คํานี้มักใช้ประกอบกับคําอื่น, ถ้าคําเดียวมักใช้ว่า ราชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ราช ๑, ราช– [ราด, ราดชะ–] น. พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คํานี้มักใช้ประกอบกับคําอื่น, ถ้าคําเดียวมักใช้ว่า ราชา. (ป., ส.).
ราชกรณียกิจ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง หน้าที่ที่พระราชาพึงกระทำ ใช้ว่า พระราชกรณียกิจ.ราชกรณียกิจ น. หน้าที่ที่พระราชาพึงกระทำ ใช้ว่า พระราชกรณียกิจ.
ราชการ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง การงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน.ราชการ น. การงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน.
ราชกิจ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ธุระของพระราชา ใช้ว่า พระราชกิจ.ราชกิจ น. ธุระของพระราชา ใช้ว่า พระราชกิจ.
ราชกิจจานุเบกษา เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือของทางราชการที่ออกเป็นรายสัปดาห์โดยสํานักงานราชกิจจานุเบกษา สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สําหรับลงประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวมทั้งประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน บริษัท.ราชกิจจานุเบกษา น. หนังสือของทางราชการที่ออกเป็นรายสัปดาห์โดยสํานักงานราชกิจจานุเบกษา สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สําหรับลงประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนประกาศของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ รวมทั้งประกาศเกี่ยวกับการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน บริษัท.
ราชครู เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์ผู้รับราชการเป็นหัวหน้าพิธีฝ่ายพราหมณ์ เรียกว่า พระราชครู เช่น พระราชครูวามเทพมุนี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ราชคุรุ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ.ราชครู น. พราหมณ์ผู้รับราชการเป็นหัวหน้าพิธีฝ่ายพราหมณ์ เรียกว่า พระราชครู เช่น พระราชครูวามเทพมุนี. (ส. ราชคุรุ).
ราชฐาน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ประจำของพระเจ้าแผ่นดิน ใช้ว่า พระราชฐาน เช่น เขตพระราชฐาน แปรพระราชฐาน.ราชฐาน น. ที่อยู่ประจำของพระเจ้าแผ่นดิน ใช้ว่า พระราชฐาน เช่น เขตพระราชฐาน แปรพระราชฐาน.
ราชทัณฑ์ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อาญาพระเจ้าแผ่นดิน, โทษหลวง, เช่น ต้องราชทัณฑ์, เรียกกรมที่มีหน้าที่ลงโทษจำคุกผู้กระทำผิดตามตัวบทกฎหมายควบคุมอบรมฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้กระทำผิด พักการลงโทษและคุมประพฤติ และขอพระราชทานอภัยโทษ ปลดปล่อยและสงเคราะห์ผู้พ้นโทษ เป็นต้น ว่า กรมราชทัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ราชทัณฑ์ น. อาญาพระเจ้าแผ่นดิน, โทษหลวง, เช่น ต้องราชทัณฑ์, เรียกกรมที่มีหน้าที่ลงโทษจำคุกผู้กระทำผิดตามตัวบทกฎหมายควบคุมอบรมฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้กระทำผิด พักการลงโทษและคุมประพฤติ และขอพระราชทานอภัยโทษ ปลดปล่อยและสงเคราะห์ผู้พ้นโทษ เป็นต้น ว่า กรมราชทัณฑ์. (ป., ส.).
ราชทินนาม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[ราดชะทินนะนาม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อบรรดาศักดิ์หรือสมณศักดิ์ชั้นสัญญาบัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทาน.ราชทินนาม [ราดชะทินนะนาม] น. ชื่อบรรดาศักดิ์หรือสมณศักดิ์ชั้นสัญญาบัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทาน.
ราชทูต เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นําพระราชสาส์นไปประเทศอื่น, ผู้แทนชาติในประเทศอื่น, ตําแหน่งผู้แทนรัฐถัดจากอัครราชทูต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ราชทูต น. ผู้นําพระราชสาส์นไปประเทศอื่น, ผู้แทนชาติในประเทศอื่น, ตําแหน่งผู้แทนรัฐถัดจากอัครราชทูต. (ป.).
ราชโทรหะ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ[–โทฺร–] เป็นคำนาม หมายถึง การทรยศต่อแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ราชโทรหะ [–โทฺร–] น. การทรยศต่อแผ่นดิน. (ส.).
ราชธรรม เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง จริยวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพึงประพฤติ, คุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง, มี ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–ความประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ–การบริจาค, ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตปะ–ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลสตัณหา ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ราชธรรม น. จริยวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินพึงประพฤติ, คุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง, มี ๑๐ ประการ เรียกว่า ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–ความประพฤติดีงาม ๓. ปริจจาคะ–การบริจาค, ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตปะ–ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลสตัณหา ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดธรรม. (ส.).
ราชธานี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เมืองหลวง.ราชธานี น. เมืองหลวง.
ราชนาวี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี[ราดชะนาวี] เป็นคำนาม หมายถึง กองทัพเรือของประเทศที่มีพระราชาหรือพระราชินีเป็นประมุข เช่น ราชนาวีไทย ราชนาวีอังกฤษ.ราชนาวี [ราดชะนาวี] น. กองทัพเรือของประเทศที่มีพระราชาหรือพระราชินีเป็นประมุข เช่น ราชนาวีไทย ราชนาวีอังกฤษ.
ราชนิกุล เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ตระกูลฝ่ายพระมหากษัตริย์.ราชนิกุล น. ตระกูลฝ่ายพระมหากษัตริย์.
ราชนีติ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง หลักการปกครองของพระราชา, หลักการปกครองบ้านเมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ราชนีติ น. หลักการปกครองของพระราชา, หลักการปกครองบ้านเมือง. (ป.; ส.).
ราชบัณฑิต เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[–บันดิด] เป็นคำนาม หมายถึง นักปราชญ์หลวงมีความรู้ทางภาษาบาลี; สมาชิกองค์การวิทยาการของรัฐที่เรียกว่า ราชบัณฑิตยสถาน.ราชบัณฑิต [–บันดิด] น. นักปราชญ์หลวงมีความรู้ทางภาษาบาลี; สมาชิกองค์การวิทยาการของรัฐที่เรียกว่า ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัลลังก์ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง บัลลังก์ของพระมหากษัตริย์; ความเป็นพระมหากษัตริย์ เช่น สละราชบัลลังก์.ราชบัลลังก์ น. บัลลังก์ของพระมหากษัตริย์; ความเป็นพระมหากษัตริย์ เช่น สละราชบัลลังก์.
ราชบาตร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งหลวง.ราชบาตร น. คําสั่งหลวง.
ราชบุตร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งเจ้านายฝ่ายเหนือ เรียกว่า เจ้าราชบุตร.ราชบุตร น. ตําแหน่งเจ้านายฝ่ายเหนือ เรียกว่า เจ้าราชบุตร.
ราชบุรุษ เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง คนของพระราชา; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ตําแหน่งราชการชั้นต้นตํ่ากว่าชั้นสัญญาบัตร.ราชบุรุษ น. คนของพระราชา; (โบ) ตําแหน่งราชการชั้นต้นตํ่ากว่าชั้นสัญญาบัตร.