เขียนว่า ฝอ-ฝาพยัญชนะตัวที่ ๒๙ นับเป็นพวกอักษรสูง. พยัญชนะตัวที่ ๒๙ นับเป็นพวกอักษรสูง.
ฝน เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่ตกลงมาจากเมฆเป็นเม็ด ๆ; ลักษณนามใช้นับอายุ หมายความว่า รอบปี, ขวบปี, เช่น ควาย ๓ ฝน คือ ควายที่มีอายุ ๓ ปี เขาผ่านร้อนผ่านหนาวมา ๑๘ ฝน.ฝน ๑ น. นํ้าที่ตกลงมาจากเมฆเป็นเม็ด ๆ; ลักษณนามใช้นับอายุ หมายความว่า รอบปี, ขวบปี, เช่น ควาย ๓ ฝน คือ ควายที่มีอายุ ๓ ปี เขาผ่านร้อนผ่านหนาวมา ๑๘ ฝน.
ฝนชะช่อมะม่วง เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฝนที่ตกเล็กน้อยประปรายในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ซึ่งเป็นระยะที่มะม่วงออกช่อพอดี, ฝนชะลาน ก็เรียก.ฝนชะช่อมะม่วง น. ฝนที่ตกเล็กน้อยประปรายในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ซึ่งเป็นระยะที่มะม่วงออกช่อพอดี, ฝนชะลาน ก็เรียก.
ฝนชะลาน เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ฝนชะช่อมะม่วง ชาวนาเรียกว่า ฝนชะลาน เพราะมักตกในระยะเวลาที่ยังนวดข้าวไม่เสร็จ.ฝนชะลาน น. ฝนชะช่อมะม่วง ชาวนาเรียกว่า ฝนชะลาน เพราะมักตกในระยะเวลาที่ยังนวดข้าวไม่เสร็จ.
ฝนซู่ เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ฝนเม็ดใหญ่ที่ตกลงมาซู่ใหญ่เพียงครู่เดียวแล้วหยุด, ฝนไล่ช้าง ก็เรียก.ฝนซู่ น. ฝนเม็ดใหญ่ที่ตกลงมาซู่ใหญ่เพียงครู่เดียวแล้วหยุด, ฝนไล่ช้าง ก็เรียก.
ฝนตกก็แช่ง ฝนแล้งก็ด่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-งอ-งู ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง การทําอะไร ๆ จะให้ถูกใจคนทั้งหมดนั้นเป็นไปไม่ได้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําอย่างไร ๆ ก็ไม่ถูกใจสักอย่าง.ฝนตกก็แช่ง ฝนแล้งก็ด่า (สำ) การทําอะไร ๆ จะให้ถูกใจคนทั้งหมดนั้นเป็นไปไม่ได้. ว. ทําอย่างไร ๆ ก็ไม่ถูกใจสักอย่าง.
ฝนตกขี้หมูไหล เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง พลอยเหลวไหลไปด้วยกัน, มักใช้เข้าคู่กับ คนจัญไรมาพบกัน ว่า ฝนตกขี้หมูไหล คนจัญไรมาพบกัน.ฝนตกขี้หมูไหล (สำ) ก. พลอยเหลวไหลไปด้วยกัน, มักใช้เข้าคู่กับ คนจัญไรมาพบกัน ว่า ฝนตกขี้หมูไหล คนจัญไรมาพบกัน.
ฝนตกไม่ทั่วฟ้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ให้หรือแจกจ่ายอะไรไม่ทั่วถึงกัน.ฝนตกไม่ทั่วฟ้า (สำ) ก. ให้หรือแจกจ่ายอะไรไม่ทั่วถึงกัน.
ฝนตกไม่มีเค้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่เกิดขึ้นโดยไม่มีวี่แววหรือไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน.ฝนตกไม่มีเค้า (สำ) น. เรื่องที่เกิดขึ้นโดยไม่มีวี่แววหรือไม่ได้คาดคิดไว้ก่อน.
ฝนตกอย่าเชื่อดาว เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อย่าไว้วางใจใครหรืออะไรจนเกินไป, มักใช้เข้าคู่กับ มีเมียสาวอย่าเชื่อแม่ยาย ว่า ฝนตกอย่าเชื่อดาว มีเมียสาวอย่าเชื่อแม่ยาย.ฝนตกอย่าเชื่อดาว (สำ) ก. อย่าไว้วางใจใครหรืออะไรจนเกินไป, มักใช้เข้าคู่กับ มีเมียสาวอย่าเชื่อแม่ยาย ว่า ฝนตกอย่าเชื่อดาว มีเมียสาวอย่าเชื่อแม่ยาย.
ฝนทอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายรูปสระ เป็นรูปรอยขีดเดียวดังนี้ ' สําหรับเขียนบนพินทุ อิ เป็นสระ อี; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง.ฝนทอง น. เครื่องหมายรูปสระ เป็นรูปรอยขีดเดียวดังนี้ ' สําหรับเขียนบนพินทุ อิ เป็นสระ อี; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง.
ฝนเทียม เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ฝนที่เกิดจากกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์ เช่นโดยการโปรยนํ้าแข็งแห้งในอากาศ.ฝนเทียม น. ฝนที่เกิดจากกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์ เช่นโดยการโปรยนํ้าแข็งแห้งในอากาศ.
ฝนไล่ช้าง เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฝนเม็ดใหญ่ที่ตกลงมาซู่ใหญ่เพียงครู่เดียวแล้วหยุด, ฝนซู่ ก็เรียก.ฝนไล่ช้าง น. ฝนเม็ดใหญ่ที่ตกลงมาซู่ใหญ่เพียงครู่เดียวแล้วหยุด, ฝนซู่ ก็เรียก.
ฝนสั่งฟ้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ฝนที่ตกหนักตอนปลายฤดูฝน.ฝนสั่งฟ้า (ปาก) น. ฝนที่ตกหนักตอนปลายฤดูฝน.
ฝนสั่งฟ้า ปลาสั่งหนอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง สั่งเสียเป็นครั้งสุดท้าย, ทําการอันใดที่เป็นสิ่งสําคัญเพื่อไว้อาลัยก่อนจากไป, นํ้าสั่งฟ้า ปลาสั่งฝน ก็ว่า.ฝนสั่งฟ้า ปลาสั่งหนอง (สำ) สั่งเสียเป็นครั้งสุดท้าย, ทําการอันใดที่เป็นสิ่งสําคัญเพื่อไว้อาลัยก่อนจากไป, นํ้าสั่งฟ้า ปลาสั่งฝน ก็ว่า.
ฝนหลวง เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฝนเทียมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำขึ้นเพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง.ฝนหลวง น. ฝนเทียมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทำขึ้นเพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง.
ฝนห่าแก้ว เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ฝนลูกเห็บขนาดเล็ก เช่น ฝนห่าแก้วตกแล้วพ้นไป ฝนห่าใหญ่เทลงเทลง.ฝนห่าแก้ว (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ฝนลูกเห็บขนาดเล็ก เช่น ฝนห่าแก้วตกแล้วพ้นไป ฝนห่าใหญ่เทลงเทลง.
ฝน เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ถู เช่น ฝนยา; ลับ เช่น ฝนมีด.ฝน ๒ ก. ถู เช่น ฝนยา; ลับ เช่น ฝนมีด.
ฝนทั่งให้เป็นเข็ม เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เพียรพยายามสุดความสามารถจนกว่าจะสําเร็จผล.ฝนทั่งให้เป็นเข็ม (สำ) ก. เพียรพยายามสุดความสามารถจนกว่าจะสําเร็จผล.
ฝนแสนห่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่งมีประกายไฟพุ่งออกมาคล้ายไฟพะเนียง แต่หมุนรอบตัว. ในวงเล็บ รูปภาพ ฝนแสนห่า.ฝนแสนห่า ๑ น. วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่งมีประกายไฟพุ่งออกมาคล้ายไฟพะเนียง แต่หมุนรอบตัว. (รูปภาพ ฝนแสนห่า).
ฝนแสนห่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Argyreia capitiformis (Poir.) Ooststr. ในวงศ์ Convolvulaceae เถามียางขาว ใบออกสลับกัน โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกใหญ่ สีม่วงแดงหรือสีชมพูลักษณะคล้ายดอกผักบุ้ง. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Myxopyrum smilacifolium Blume ในวงศ์ Oleaceae เถาไม่มียาง ใบออกตรงข้ามกัน ดอกเล็กมาก สีเหลืองอ่อน เนื้อไม้ใช้ทํายาได้. (๓) ดู อบเชย เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก.ฝนแสนห่า ๒ น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Argyreia capitiformis (Poir.) Ooststr. ในวงศ์ Convolvulaceae เถามียางขาว ใบออกสลับกัน โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ดอกใหญ่ สีม่วงแดงหรือสีชมพูลักษณะคล้ายดอกผักบุ้ง. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Myxopyrum smilacifolium Blume ในวงศ์ Oleaceae เถาไม่มียาง ใบออกตรงข้ามกัน ดอกเล็กมาก สีเหลืองอ่อน เนื้อไม้ใช้ทํายาได้. (๓) ดู อบเชย.
ฝรั่ง เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [ฝะหฺรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติผิวขาว; คําประกอบชื่อสิ่งของบางอย่างที่มาจากต่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะคล้ายของไทย เช่น ขนมฝรั่ง ละมุดฝรั่ง มันฝรั่ง ตะขบฝรั่ง ผักบุ้งฝรั่ง แตรฝรั่ง.ฝรั่ง ๑ [ฝะหฺรั่ง] น. ชนชาติผิวขาว; คําประกอบชื่อสิ่งของบางอย่างที่มาจากต่างประเทศ ซึ่งมีลักษณะคล้ายของไทย เช่น ขนมฝรั่ง ละมุดฝรั่ง มันฝรั่ง ตะขบฝรั่ง ผักบุ้งฝรั่ง แตรฝรั่ง.
ฝรั่งกังไส เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องลายครามซึ่งมีลายที่ฝรั่งทําเอาแบบอย่างจีน, โดยปริยายหมายถึงคนที่วางท่าเป็นฝรั่ง.ฝรั่งกังไส น. เครื่องลายครามซึ่งมีลายที่ฝรั่งทําเอาแบบอย่างจีน, โดยปริยายหมายถึงคนที่วางท่าเป็นฝรั่ง.
ฝรั่งมังค่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติผิวขาว.ฝรั่งมังค่า (ปาก) น. ชนชาติผิวขาว.
ฝรั่ง เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [ฝะหฺรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ฝรั่ง เช่น ฝรั่งควง ฝรั่งกลาย ฝรั่งจรกา.ฝรั่ง ๒ [ฝะหฺรั่ง] น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ฝรั่ง เช่น ฝรั่งควง ฝรั่งกลาย ฝรั่งจรกา.
ฝรั่ง เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [ฝะหรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Psidium guajava L. ในวงศ์ Myrtaceae ผลกินได้ มีหลายพันธุ์ เช่น ฝรั่งขี้นก.ฝรั่ง ๓ [ฝะหรั่ง] น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Psidium guajava L. ในวงศ์ Myrtaceae ผลกินได้ มีหลายพันธุ์ เช่น ฝรั่งขี้นก.
ฝรั่งขี้นก เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝรั่งพันธุ์หนึ่ง ผลเล็ก ไส้แดง, โดยปริยายหมายถึงคนที่วางท่าเป็นฝรั่ง.ฝรั่งขี้นก น. ชื่อฝรั่งพันธุ์หนึ่ง ผลเล็ก ไส้แดง, โดยปริยายหมายถึงคนที่วางท่าเป็นฝรั่ง.
ฝรั่งเศส เขียนว่า ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ชาวยุโรป มีประเทศตั้งอยู่ทิศตะวันตกภาคพื้นยุโรป, ชื่อภาษาของชนชาตินั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส Française เขียนว่า เอฟ-อา-เอ-เอ็น-undefined-เอ-ไอ-เอส-อี.ฝรั่งเศส น. ชาวยุโรป มีประเทศตั้งอยู่ทิศตะวันตกภาคพื้นยุโรป, ชื่อภาษาของชนชาตินั้น. (ฝ. Française).
ฝ่อ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เหี่ยวยุบ, เหี่ยวแฟบ, เช่น หัวหอมฝ่อ หัวกระเทียมฝ่อ ไข่เหาฝ่อ, โดยปริยายหมายความว่า ตกใจ, ใจหาย, เสียขวัญ, เช่น ใจฝ่อ ดีฝ่อ.ฝ่อ ๑ ก. เหี่ยวยุบ, เหี่ยวแฟบ, เช่น หัวหอมฝ่อ หัวกระเทียมฝ่อ ไข่เหาฝ่อ, โดยปริยายหมายความว่า ตกใจ, ใจหาย, เสียขวัญ, เช่น ใจฝ่อ ดีฝ่อ.
ฝ่อ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มะฝ่อ.ฝ่อ ๒ น. มะฝ่อ.
ฝอย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เป็นเส้นเล็ก ๆ ละเอียด เช่น ฝอยขัดหม้อ, หรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ยาฝอย ฉีดนํ้าเป็นฝอย; คําอธิบายวิธีใช้ยาหรือเวทมนตร์ต่าง ๆ; โดยปริยายหมายความว่าข้อความที่ไม่ใช่เนื้อหา. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดมากและเกินความจริง.ฝอย น. สิ่งที่เป็นเส้นเล็ก ๆ ละเอียด เช่น ฝอยขัดหม้อ, หรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ยาฝอย ฉีดนํ้าเป็นฝอย; คําอธิบายวิธีใช้ยาหรือเวทมนตร์ต่าง ๆ; โดยปริยายหมายความว่าข้อความที่ไม่ใช่เนื้อหา. (ปาก) ก. พูดมากและเกินความจริง.
ฝอยทอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงผสมไข่นํ้าค้างเล็กน้อย ใส่กรวยโรยเป็นเส้นเล็ก ๆ ในนํ้าเชื่อมเดือด ๆ แล้วจับเป็นแพ, ลักษณนามว่า แพ; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่งคล้ายไฟพะเนียง.ฝอยทอง ๑ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงผสมไข่นํ้าค้างเล็กน้อย ใส่กรวยโรยเป็นเส้นเล็ก ๆ ในนํ้าเชื่อมเดือด ๆ แล้วจับเป็นแพ, ลักษณนามว่า แพ; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่งคล้ายไฟพะเนียง.
ฝอยทอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน ฝอย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.ฝอยทอง ๑ ดูใน ฝอย.
ฝอยทอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชเบียนล้มลุกชนิด Cuscuta chinensis Lam. ในวงศ์ Convolvulaceae ไม่มีใบ ต้นเป็นเส้นเล็ก ๆ สีเหลือง เมล็ดใช้ทํายาได้.ฝอยทอง ๒ น. ชื่อพืชเบียนล้มลุกชนิด Cuscuta chinensis Lam. ในวงศ์ Convolvulaceae ไม่มีใบ ต้นเป็นเส้นเล็ก ๆ สีเหลือง เมล็ดใช้ทํายาได้.
ฝัก เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ซอง, สิ่งหุ้มเมล็ดของพืชบางอย่างเช่นถั่ว โดยมากรูปยาว ๆ กลมบ้าง แบนบ้าง, สิ่งที่ใช้สวมหอกดาบเป็นต้น มีรูปคล้ายตัวหอกดาบที่อยู่ข้างใน มักทําด้วยหนัง ไม้ ทองเหลือง; ลูกอัณฑะ.ฝัก น. ซอง, สิ่งหุ้มเมล็ดของพืชบางอย่างเช่นถั่ว โดยมากรูปยาว ๆ กลมบ้าง แบนบ้าง, สิ่งที่ใช้สวมหอกดาบเป็นต้น มีรูปคล้ายตัวหอกดาบที่อยู่ข้างใน มักทําด้วยหนัง ไม้ ทองเหลือง; ลูกอัณฑะ.
ฝักแค เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษห่อดินปืน ทําเป็นสายยาวแบน ๆ คล้ายฝักของต้นแค ใช้เป็นชนวน; ชื่อตะเข็บผ้าชนิดหนึ่งรูปเหมือนฝักของต้นแค.ฝักแค น. กระดาษห่อดินปืน ทําเป็นสายยาวแบน ๆ คล้ายฝักของต้นแค ใช้เป็นชนวน; ชื่อตะเข็บผ้าชนิดหนึ่งรูปเหมือนฝักของต้นแค.
ฝักถั่ว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตําหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง.ฝักถั่ว (ปาก) น. การแสดงความอ่อนน้อม อ้อนวอน หรือขอร้องโดยวิธียกมือไหว้ เช่น มืออ่อนเป็นฝักถั่ว, การพลอยยกมือแสดงความเห็นชอบตามเขาไป มักใช้พูดตําหนินักการเมืองในเวลาลงคะแนนเสียง.
ฝักบัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหลังและต้นคอ มีลักษณะเหมือนฝักบัว มีหัวหลายหัว; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งผสมเชื้อ มีลักษณะเหมือนฝักบัว; ที่สําหรับโปรยนํ้าให้เป็นฝอย มีลักษณะเหมือนฝักบัว ติดอยู่ที่ท่อประปาสำหรับอาบน้ำหรือติดที่กระป๋องรดน้ำต้นไม้.ฝักบัว ๑ น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหลังและต้นคอ มีลักษณะเหมือนฝักบัว มีหัวหลายหัว; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งผสมเชื้อ มีลักษณะเหมือนฝักบัว; ที่สําหรับโปรยนํ้าให้เป็นฝอย มีลักษณะเหมือนฝักบัว ติดอยู่ที่ท่อประปาสำหรับอาบน้ำหรือติดที่กระป๋องรดน้ำต้นไม้.
ฝักเพกา เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับยอดปรางค์ ทําเป็นรูปหอก มีกิ่งเป็นรูปดาบแตกสาขาออกไป ๔ ทิศ, แง่งขิง ลําภุขัน สลัดได นพศูล หรือ นภศูล ก็เรียก.ฝักเพกา น. เครื่องประดับยอดปรางค์ ทําเป็นรูปหอก มีกิ่งเป็นรูปดาบแตกสาขาออกไป ๔ ทิศ, แง่งขิง ลําภุขัน สลัดได นพศูล หรือ นภศูล ก็เรียก.
ฝักมะขาม เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับตีหัวคน ยาวราวศอกเศษ รูปแบนคล้ายฝักมะขาม เรียก ไม้ฝักมะขาม; ส่วนย่อยที่ต่อกันเป็นกงเกวียน.ฝักมะขาม น. ไม้สําหรับตีหัวคน ยาวราวศอกเศษ รูปแบนคล้ายฝักมะขาม เรียก ไม้ฝักมะขาม; ส่วนย่อยที่ต่อกันเป็นกงเกวียน.
ฝักบัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ดูใน ฝัก เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่.ฝักบัว ๑ ดูใน ฝัก.
ฝักบัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ฝักบัว ๒ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
ฝักฝ่าย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง พวก, ข้าง. เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าพวก, เข้าข้าง.ฝักฝ่าย น. พวก, ข้าง. ก. เข้าพวก, เข้าข้าง.
ฝักใฝ่ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่, ผูกพัน.ฝักใฝ่ ก. เอาใจใส่, ผูกพัน.
ฝักพร้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ถั่วฝักพร้า. ในวงเล็บ ดู ถั่วพร้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ที่ ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.ฝักพร้า ๑ น. ถั่วฝักพร้า. (ดู ถั่วพร้า ที่ ถั่ว ๑).
ฝักพร้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดู ดาบลาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน และ ท้องพลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ.ฝักพร้า ๒ ดู ดาบลาว และ ท้องพลุ.
ฝักยาว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ถั่วฝักยาว. ในวงเล็บ ดู ถั่วฝักยาว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ที่ ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.ฝักยาว น. ถั่วฝักยาว. (ดู ถั่วฝักยาว ที่ ถั่ว ๑).
ฝัง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง จมหรือทําให้จมลงไปจากระดับพื้นจนมิดทั้งหมดหรือมิดแต่บางส่วน เช่น ฝังศพ ฝังทรัพย์ ฝังเสา, ทําให้จมติดแน่นอยู่ในสิ่งต่าง ๆ เช่น ฝังเพชร ฝังลาย, โดยปริยายหมายถึงลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝังใจ ฝังหัว.ฝัง ก. จมหรือทําให้จมลงไปจากระดับพื้นจนมิดทั้งหมดหรือมิดแต่บางส่วน เช่น ฝังศพ ฝังทรัพย์ ฝังเสา, ทําให้จมติดแน่นอยู่ในสิ่งต่าง ๆ เช่น ฝังเพชร ฝังลาย, โดยปริยายหมายถึงลักษณะอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝังใจ ฝังหัว.
ฝังเข็ม เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเข็มที่ทำเป็นพิเศษชะโลมน้ำมันมนตร์ วางบนแขนให้ปลายจิ้มลงในเนื้อ แล้วเสกให้ค่อย ๆ เข้าไปในแขนโดยเชื่อว่าเพื่อให้อยู่ยงคงกระพัน; วิธีการรักษาโรคแบบหนึ่งตามตำราแพทย์จีนโดยใช้เข็มปักลงตามตำแหน่งจุดต่าง ๆ เพื่อรักษาโรคหรือไม่ให้รู้สึกเจ็บเวลาผ่าตัด.ฝังเข็ม ก. เอาเข็มที่ทำเป็นพิเศษชะโลมน้ำมันมนตร์ วางบนแขนให้ปลายจิ้มลงในเนื้อ แล้วเสกให้ค่อย ๆ เข้าไปในแขนโดยเชื่อว่าเพื่อให้อยู่ยงคงกระพัน; วิธีการรักษาโรคแบบหนึ่งตามตำราแพทย์จีนโดยใช้เข็มปักลงตามตำแหน่งจุดต่าง ๆ เพื่อรักษาโรคหรือไม่ให้รู้สึกเจ็บเวลาผ่าตัด.
ฝังใจ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตรึงใจ, จําได้แม่นยํา.ฝังใจ ก. ติดตรึงใจ, จําได้แม่นยํา.
ฝังรกฝังราก, ฝังรกราก ฝังรกฝังราก เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ฝังรกราก เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งถิ่นฐานประจํา.ฝังรกฝังราก, ฝังรกราก ก. ตั้งถิ่นฐานประจํา.
ฝังรอย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีทําคุณอย่างหนึ่ง โดยเอารอยตีนของอมิตรมาเสกคาถาอาคม แล้วนําไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรูป เป็น ฝังรูปฝังรอย.ฝังรอย น. วิธีทําคุณอย่างหนึ่ง โดยเอารอยตีนของอมิตรมาเสกคาถาอาคม แล้วนําไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรูป เป็น ฝังรูปฝังรอย.
ฝังรูป เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง วิธีทําคุณอย่างหนึ่ง โดยปั้นรูปสมมุติของอมิตรขึ้นด้วยขี้ผึ้งหรือดินเหนียวจากป่าช้า เสกคาถาอาคม แล้วนําไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรอย เป็น ฝังรูปฝังรอย.ฝังรูป น. วิธีทําคุณอย่างหนึ่ง โดยปั้นรูปสมมุติของอมิตรขึ้นด้วยขี้ผึ้งหรือดินเหนียวจากป่าช้า เสกคาถาอาคม แล้วนําไปฝังที่ใต้บันไดเรือน ป่าช้า หรือทางสามแพร่ง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฝังรอย เป็น ฝังรูปฝังรอย.
ฝังหัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เชื่ออย่างแน่นแฟ้น.ฝังหัว ก. เชื่ออย่างแน่นแฟ้น.
ฝั่ง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดินริมนํ้าเป็นขอบเขตทะเล แม่นํ้า ลําคลอง เป็นต้น.ฝั่ง น. ที่ดินริมนํ้าเป็นขอบเขตทะเล แม่นํ้า ลําคลอง เป็นต้น.
ฝั่งฝา เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ปึกแผ่น, หลักฐาน, (มักใช้แก่ผู้ที่มีครอบครัว).ฝั่งฝา น. ปึกแผ่น, หลักฐาน, (มักใช้แก่ผู้ที่มีครอบครัว).
ฝัด เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่แยกของเบาออกจากของหนักโดยกระดกภาชนะเช่นกระด้งขึ้น ๆ ลง ๆ ค่อนข้างเร็ว เพื่อสะบัดแกลบ รำ หรือผงออกจากข้าวเป็นต้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกกุ้งแห้งที่เอาเปลือกออกแล้วว่า กุ้งฝัด, กุ้งฟัด ก็ว่า.ฝัด ก. อาการที่แยกของเบาออกจากของหนักโดยกระดกภาชนะเช่นกระด้งขึ้น ๆ ลง ๆ ค่อนข้างเร็ว เพื่อสะบัดแกลบ รำ หรือผงออกจากข้าวเป็นต้น. ว. เรียกกุ้งแห้งที่เอาเปลือกออกแล้วว่า กุ้งฝัด, กุ้งฟัด ก็ว่า.
ฝัน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การเห็นเป็นเรื่องราวเมื่อหลับ, โดยปริยายหมายถึงการนึกเห็นในขณะที่ตื่นอยู่ ซึ่งไม่อาจจะเป็นจริงได้. เป็นคำกริยา หมายถึง เห็นเป็นเรื่องราวเมื่อหลับ, นึกเห็น, นึกเห็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้.ฝัน น. การเห็นเป็นเรื่องราวเมื่อหลับ, โดยปริยายหมายถึงการนึกเห็นในขณะที่ตื่นอยู่ ซึ่งไม่อาจจะเป็นจริงได้. ก. เห็นเป็นเรื่องราวเมื่อหลับ, นึกเห็น, นึกเห็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้.
ฝันกลางวัน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง นึกฝันถึงสิ่งที่ไม่อาจเป็นจริงได้.ฝันกลางวัน (ปาก) ก. นึกฝันถึงสิ่งที่ไม่อาจเป็นจริงได้.
ฝันเปียก เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง การหลั่งนํ้ากามในขณะนอนหลับและฝัน.ฝันเปียก น. การหลั่งนํ้ากามในขณะนอนหลับและฝัน.
ฝันเฟื่อง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์.ฝันเฟื่อง ก. คิดฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์.
ฝา เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปิดภาชนะต่าง ๆ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝาหม้อ ฝาโอ่ง ฝาท่อ; ฝ้าหรือเยื่อที่จับอยู่ข้างบนของเหลวเช่นนํ้านมเป็นต้น; เครื่องกั้นด้านนอกหรือเครื่องกั้นแบ่งห้องของตัวเรือนโรงเป็นต้น เช่น ฝาบ้าน ฝาเรือน ฝาห้อง; ส่วนที่ปิดปากหอยหรือหุ้มตัวหอยซึ่งเปิดได้, ใช้เป็นลักษณนาม เช่น ขนมถ้วยฝาหนึ่ง ขนมถ้วย ๒ ฝา.ฝา น. เครื่องปิดภาชนะต่าง ๆ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝาหม้อ ฝาโอ่ง ฝาท่อ; ฝ้าหรือเยื่อที่จับอยู่ข้างบนของเหลวเช่นนํ้านมเป็นต้น; เครื่องกั้นด้านนอกหรือเครื่องกั้นแบ่งห้องของตัวเรือนโรงเป็นต้น เช่น ฝาบ้าน ฝาเรือน ฝาห้อง; ส่วนที่ปิดปากหอยหรือหุ้มตัวหอยซึ่งเปิดได้, ใช้เป็นลักษณนาม เช่น ขนมถ้วยฝาหนึ่ง ขนมถ้วย ๒ ฝา.
ฝากระดาน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเรือนไทยแบบเก่าที่สร้างด้วยไม้จริงว่า เรือนฝากระดาน.ฝากระดาน น. เรียกเรือนไทยแบบเก่าที่สร้างด้วยไม้จริงว่า เรือนฝากระดาน.
ฝาชี เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสานชนิดหนึ่ง รูปคล้ายกรวย สําหรับครอบสํารับคาวหวานเป็นต้น.ฝาชี น. เครื่องสานชนิดหนึ่ง รูปคล้ายกรวย สําหรับครอบสํารับคาวหวานเป็นต้น.
ฝาแฝด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มี ๒ ฝาติดกัน, หมายความถึงผลไม้หรือสิ่งอื่นที่ออกมาติดกันผิดธรรมดา เรียกว่า ฝาแฝด, ถ้าเป็นคนเมื่อคลอดออกมาจะติดกันหรือไม่ติดกัน ก็เรียกว่า ฝาแฝด.ฝาแฝด ว. มี ๒ ฝาติดกัน, หมายความถึงผลไม้หรือสิ่งอื่นที่ออกมาติดกันผิดธรรมดา เรียกว่า ฝาแฝด, ถ้าเป็นคนเมื่อคลอดออกมาจะติดกันหรือไม่ติดกัน ก็เรียกว่า ฝาแฝด.
ฝาละมี เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ปิดปากหม้อดินที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกง; เรียกส่วนพระเจดีย์ที่เป็นฐานรองรับปล้องไฉนของเจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา คล้ายฝาละมี ว่า บัวฝาละมี.ฝาละมี น. สิ่งที่ปิดปากหม้อดินที่เป็นหม้อข้าวหม้อแกง; เรียกส่วนพระเจดีย์ที่เป็นฐานรองรับปล้องไฉนของเจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา คล้ายฝาละมี ว่า บัวฝาละมี.
ฝาสายบัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ฝาไม้กระดานตีตามแนวยืนและทับแนวด้วยไม้เส้นเล็ก ๆ ทุกรอยต่อของแผ่นฝามองดูคล้ายก้านบัว.ฝาสายบัว น. ฝาไม้กระดานตีตามแนวยืนและทับแนวด้วยไม้เส้นเล็ก ๆ ทุกรอยต่อของแผ่นฝามองดูคล้ายก้านบัว.
ฝาสำหรวด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง.ฝาสำหรวด น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง.
ฝาเสี้ยว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แผงฝาที่ประกอบขึ้นเพื่อใช้ปิดด้านสกัดของเรือนพะไลโดยเฉพาะ.ฝาเสี้ยว น. แผงฝาที่ประกอบขึ้นเพื่อใช้ปิดด้านสกัดของเรือนพะไลโดยเฉพาะ.
ฝาหอยโข่ง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฝาเรือนเครื่องผูกแบบหนึ่ง มีโครงไม้ไผ่ยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ด้านในของโครงยืนจะมีไม้ไผ่ผ่าซีกหรือแผ่นไม้เล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง.ฝาหอยโข่ง น. ฝาเรือนเครื่องผูกแบบหนึ่ง มีโครงไม้ไผ่ยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ด้านในของโครงยืนจะมีไม้ไผ่ผ่าซีกหรือแผ่นไม้เล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง.
ฝาหุ้มกลอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน.ฝาหุ้มกลอง น. ฝาด้านสกัดของเรือนฝากระดาน.
ฝาไหล เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นไม้กระดานวางตามแนวยืน แต่ละแผ่นเว้นช่องว่างเท่าความกว้างของไม้แผ่นหนึ่งตลอดทั้งแผง ฝาชนิดนี้ประกอบด้วยแผงดังกล่าววางชิดและซ้อนขนานกันในรางซึ่งเลื่อนเปิดปิดได้.ฝาไหล น. แผ่นไม้กระดานวางตามแนวยืน แต่ละแผ่นเว้นช่องว่างเท่าความกว้างของไม้แผ่นหนึ่งตลอดทั้งแผง ฝาชนิดนี้ประกอบด้วยแผงดังกล่าววางชิดและซ้อนขนานกันในรางซึ่งเลื่อนเปิดปิดได้.
ฝ่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง พื้นของมือและเท้า, มักพูดเข้าคู่กันว่า ฝ่ามือฝ่าเท้า.ฝ่า ๑ น. พื้นของมือและเท้า, มักพูดเข้าคู่กันว่า ฝ่ามือฝ่าเท้า.
ฝ่าพระบาท เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ท่าน (ใช้แก่เจ้านาย), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.ฝ่าพระบาท ส. ท่าน (ใช้แก่เจ้านาย), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
ฝ่า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กล้าผ่าน (เข้าไปหรือออกมา) หรือฝืนอยู่ในที่อันตราย, ทนรับ, ทนสู้, เช่น ฝ่าอุปสรรค ฝ่าอันตราย; ทวน เช่น ฝ่ากระแสคลื่น.ฝ่า ๒ ก. กล้าผ่าน (เข้าไปหรือออกมา) หรือฝืนอยู่ในที่อันตราย, ทนรับ, ทนสู้, เช่น ฝ่าอุปสรรค ฝ่าอันตราย; ทวน เช่น ฝ่ากระแสคลื่น.
ฝ่าคมหอกคมดาบ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสี่ยงภัยในสงคราม, เสี่ยงอันตรายจากอาวุธนานาชนิด.ฝ่าคมหอกคมดาบ (สำ) ก. เสี่ยงภัยในสงคราม, เสี่ยงอันตรายจากอาวุธนานาชนิด.
ฝ่าฝืน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดขืน, ล่วง, ละเมิด.ฝ่าฝืน ก. ขัดขืน, ล่วง, ละเมิด.
ฝ่าฟัน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อสู้กับความยากลําบาก.ฝ่าฟัน ก. ต่อสู้กับความยากลําบาก.
ฝ่ามรสุม เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อสู้ฟันฝ่าอุปสรรคชีวิตมามาก.ฝ่ามรสุม ก. ต่อสู้ฟันฝ่าอุปสรรคชีวิตมามาก.
ฝ้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง อนุภาคเล็ก ๆ ที่รวมตัวกัน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ลอยอยู่บนผิวนํ้าหรือติดอยู่ที่แผลเป็นต้น; แผ่นที่ดาดกรุหลังคา เพดาน หรือปิดใต้ตง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขุ่นมัวไม่ผ่องใส (ใช้แก่ผิว) เช่น กระจกฝ้า เพชรเป็นฝ้า, เรียกหน้าที่มีลักษณะเป็นจุดหรือรอยผื่นสีคลํ้า ๆ ว่า หน้าเป็นฝ้า.ฝ้า น. อนุภาคเล็ก ๆ ที่รวมตัวกัน มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ลอยอยู่บนผิวนํ้าหรือติดอยู่ที่แผลเป็นต้น; แผ่นที่ดาดกรุหลังคา เพดาน หรือปิดใต้ตง. ว. ขุ่นมัวไม่ผ่องใส (ใช้แก่ผิว) เช่น กระจกฝ้า เพชรเป็นฝ้า, เรียกหน้าที่มีลักษณะเป็นจุดหรือรอยผื่นสีคลํ้า ๆ ว่า หน้าเป็นฝ้า.
ฝ้าฟาง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขุ่นมัว ทำให้เห็นไม่ถนัด เช่น นัยน์ตาฝ้าฟาง.ฝ้าฟาง ว. ขุ่นมัว ทำให้เห็นไม่ถนัด เช่น นัยน์ตาฝ้าฟาง.
ฝาก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง มอบให้ไว้เป็นต้นว่าเพื่อให้ช่วยดูแลคุ้มครองหรือพิทักษ์รักษา เช่น ฝากตัว ฝากบ้าน, ให้ปรากฏเป็นเกียรติ เช่น ฝากชื่อเสียง ฝากฝีมือ, ให้นําไปหรือให้ทําแทนตัว เช่น ฝากจดหมาย ฝากหน้าที่.ฝาก ก. มอบให้ไว้เป็นต้นว่าเพื่อให้ช่วยดูแลคุ้มครองหรือพิทักษ์รักษา เช่น ฝากตัว ฝากบ้าน, ให้ปรากฏเป็นเกียรติ เช่น ฝากชื่อเสียง ฝากฝีมือ, ให้นําไปหรือให้ทําแทนตัว เช่น ฝากจดหมาย ฝากหน้าที่.
ฝากกอง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ผสมเข้ากับเขาด้วย.ฝากกอง ก. ผสมเข้ากับเขาด้วย.
ฝากกาย เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากตน, ฝากตัว, ฝากเนื้อฝากตัว.ฝากกาย ก. ฝากตน, ฝากตัว, ฝากเนื้อฝากตัว.
ฝากไข้ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง มอบหมายให้รักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้.ฝากไข้ ก. มอบหมายให้รักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้.
ฝากครรภ์ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากตัวให้อยู่ในความดูแลของแพทย์หรือผดุงครรภ์ในระหว่างตั้งครรภ์, ฝากท้อง ก็ว่า.ฝากครรภ์ ก. ฝากตัวให้อยู่ในความดูแลของแพทย์หรือผดุงครรภ์ในระหว่างตั้งครรภ์, ฝากท้อง ก็ว่า.
ฝากตน, ฝากตัว, ฝากเนื้อฝากตัว ฝากตน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-นอ-หนู ฝากตัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ฝากเนื้อฝากตัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง มอบตัวให้อยู่ในความดูแลหรืออุปการะของผู้อื่น, ฝากกาย ก็ว่า.ฝากตน, ฝากตัว, ฝากเนื้อฝากตัว ก. มอบตัวให้อยู่ในความดูแลหรืออุปการะของผู้อื่น, ฝากกาย ก็ว่า.
ฝากทรัพย์ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ฝาก ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับฝากและผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตน แล้วจะคืนให้.ฝากทรัพย์ (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ฝาก ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับฝากและผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตน แล้วจะคืนให้.
ฝากท้อง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง อาศัยกินด้วย, ขอกินด้วย; ฝากครรภ์.ฝากท้อง (ปาก) ก. อาศัยกินด้วย, ขอกินด้วย; ฝากครรภ์.
ฝากเนื้อไว้กับเสือ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้กับคนที่ชอบสิ่งนั้น ย่อมสูญหายได้ง่าย, ไว้วางใจคนที่ไม่ควรไว้วางใจ.ฝากเนื้อไว้กับเสือ (สำ) ก. ฝากสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้กับคนที่ชอบสิ่งนั้น ย่อมสูญหายได้ง่าย, ไว้วางใจคนที่ไม่ควรไว้วางใจ.
ฝากบำเรอ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ประเพณีที่หญิงชายได้เสียกันเองในเวลาที่ผู้ชายยังอยู่ในระหว่างฝากตัวรับใช้พ่อแม่ผู้หญิง.ฝากบำเรอ (โบ) น. ประเพณีที่หญิงชายได้เสียกันเองในเวลาที่ผู้ชายยังอยู่ในระหว่างฝากตัวรับใช้พ่อแม่ผู้หญิง.
ฝากประจำ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กําหนดไว้.ฝากประจำ ก. ฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กําหนดไว้.
ฝากปลาไว้กับแมว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้กับคนที่ชอบสิ่งนั้น ย่อมสูญหายได้ง่าย, ไว้วางใจคนที่ไม่ควรไว้วางใจ.ฝากปลาไว้กับแมว (สำ) ก. ฝากสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้กับคนที่ชอบสิ่งนั้น ย่อมสูญหายได้ง่าย, ไว้วางใจคนที่ไม่ควรไว้วางใจ.
ฝากผี เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง มอบหมายให้ช่วยทําศพให้ เช่น จะฝากผีลูกรักเมื่อตักษัย. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.ฝากผี ก. มอบหมายให้ช่วยทําศพให้ เช่น จะฝากผีลูกรักเมื่อตักษัย. (สังข์ทอง).
ฝากผีฝากไข้ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ขอยึดเป็นที่พึ่งจนวันตาย.ฝากผีฝากไข้ ก. ขอยึดเป็นที่พึ่งจนวันตาย.
ฝากเผื่อเรียก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะเรียกให้จ่ายเมื่อใดก็ได้.ฝากเผื่อเรียก ก. ฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะเรียกให้จ่ายเมื่อใดก็ได้.
ฝากฝัง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง มอบหมายให้ช่วยอุปการะ.ฝากฝัง ก. มอบหมายให้ช่วยอุปการะ.
ฝากโรงเรียน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นําเด็กไปสมัครเข้าเป็นนักเรียนในโรงเรียน.ฝากโรงเรียน ก. นําเด็กไปสมัครเข้าเป็นนักเรียนในโรงเรียน.
ฝากไว้ก่อน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกใจเจ็บ, ตั้งใจจะแก้แค้นภายหลัง.ฝากไว้ก่อน (ปาก) ก. ผูกใจเจ็บ, ตั้งใจจะแก้แค้นภายหลัง.
ฝากสู่ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง อนุญาตให้ชายสมสู่อยู่กินกับหญิงฉันผัวเมียกันได้ตั้งแต่วันสู่ขอแล้วทําพิธีแต่งงานในภายหลัง.ฝากสู่ (ถิ่น–อีสาน) ก. อนุญาตให้ชายสมสู่อยู่กินกับหญิงฉันผัวเมียกันได้ตั้งแต่วันสู่ขอแล้วทําพิธีแต่งงานในภายหลัง.
ฝาง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Caesalpinia sappan L. ในวงศ์ Leguminosae ต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง เนื้อไม้สีแดงใช้ย้อมผ้าและทํายาได้; สีแดงสด.ฝาง น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Caesalpinia sappan L. ในวงศ์ Leguminosae ต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง เนื้อไม้สีแดงใช้ย้อมผ้าและทํายาได้; สีแดงสด.
ฝาด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นในสกุล Lumnitzera วงศ์ Combretaceae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทําฟืน เปลือกใช้ฟอกหนัง มี ๒ ชนิด คือ ฝาดขาว (L. racemosa Willd.) ดอกสีขาว และ ฝาดแดง (L. littorea Voigt) ดอกสีแดง.ฝาด ๑ น. ชื่อไม้ต้นในสกุล Lumnitzera วงศ์ Combretaceae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทําฟืน เปลือกใช้ฟอกหนัง มี ๒ ชนิด คือ ฝาดขาว (L. racemosa Willd.) ดอกสีขาว และ ฝาดแดง (L. littorea Voigt) ดอกสีแดง.
ฝาด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รสชนิดหนึ่งอย่างรสหมากดิบทําให้ฝืดคอ กลืนไม่ลง นํ้าลายแห้ง.ฝาด ๒ ว. รสชนิดหนึ่งอย่างรสหมากดิบทําให้ฝืดคอ กลืนไม่ลง นํ้าลายแห้ง.
ฝาน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด เฉือน แฉลบให้เป็นแผ่นหรือเป็นชิ้นเป็นอัน เช่น ฝานกล้วย ฝานบวบ ฝานมะม่วง.ฝาน ก. ตัด เฉือน แฉลบให้เป็นแผ่นหรือเป็นชิ้นเป็นอัน เช่น ฝานกล้วย ฝานบวบ ฝานมะม่วง.
ฝาย เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ที่กั้นนํ้าเพื่อการชลประทาน.ฝาย น. ที่กั้นนํ้าเพื่อการชลประทาน.
ฝ่าย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ข้าง, พวก, ส่วน.ฝ่าย น. ข้าง, พวก, ส่วน.
ฝ่ายขวา เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการเมือง เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นโน้มไปทางอนุรักษนิยม.ฝ่ายขวา (การเมือง) น. กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นโน้มไปทางอนุรักษนิยม.
ฝ่ายค้าน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทําหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน.ฝ่ายค้าน น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทําหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน.
ฝ่ายซ้าย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการเมือง เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้น นิยมการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.ฝ่ายซ้าย (การเมือง) น. กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้น นิยมการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.
ฝ่ายใน เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เจ้านายและข้าราชการเป็นต้นที่เป็นสตรีสังกัดอยู่ภายในพระราชฐานชั้นใน.ฝ่ายใน น. เจ้านายและข้าราชการเป็นต้นที่เป็นสตรีสังกัดอยู่ภายในพระราชฐานชั้นใน.
ฝ่ายเป็นกลาง เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการเมือง เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นไม่ฝักใฝ่หนักไปทางฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายขวา.ฝ่ายเป็นกลาง (การเมือง) น. กลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมืองการเศรษฐกิจเป็นต้นไม่ฝักใฝ่หนักไปทางฝ่ายซ้ายหรือฝ่ายขวา.
ฝ่ายเสนอ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่ายที่แสดงความเห็นให้ฝ่ายค้านโต้แย้งตามญัตติในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายค้าน.ฝ่ายเสนอ น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นให้ฝ่ายค้านโต้แย้งตามญัตติในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายค้าน.
ฝ่ายหน้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เจ้านายและข้าราชการซึ่งไม่ใช่ฝ่ายใน.ฝ่ายหน้า น. เจ้านายและข้าราชการซึ่งไม่ใช่ฝ่ายใน.
ฝ้าย เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Gossypium วงศ์ Malvaceae เมล็ดให้นํ้ามัน ปุยหุ้มเมล็ดใช้ทอผ้า เปลือกรากใช้ทํายาได้ ที่ปลูกกันมากคือ ชนิด G. hirsutum L..ฝ้าย น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Gossypium วงศ์ Malvaceae เมล็ดให้นํ้ามัน ปุยหุ้มเมล็ดใช้ทอผ้า เปลือกรากใช้ทํายาได้ ที่ปลูกกันมากคือ ชนิด G. hirsutum L..
ฝ้ายคำ เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำดู สุพรรณิการ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด.ฝ้ายคำ ดู สุพรรณิการ์.
ฝ้ายผี เขียนว่า ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อีดู ชะมดต้น เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู.ฝ้ายผี ดู ชะมดต้น.
ฝิ่น เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Papaver somniferum L. ในวงศ์ Papaveraceae ยางซึ่งกรีดจากผลนํามาเคี่ยวให้เหนียวเป็นยาเสพติด ใช้ทํายาได้.ฝิ่น น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Papaver somniferum L. ในวงศ์ Papaveraceae ยางซึ่งกรีดจากผลนํามาเคี่ยวให้เหนียวเป็นยาเสพติด ใช้ทํายาได้.
ฝิ่นต้น เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนูดู กระโดงแดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู (๒).ฝิ่นต้น ดู กระโดงแดง (๒).
ฝี เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคจําพวกหนึ่ง เป็นต่อมบวมขึ้นกลัดหนองข้างใน เรียกชื่อต่าง ๆ กันหลายชนิด เช่น ฝีคัณฑมาลา ฝีดาษ ฝีประคําร้อย, ราชาศัพท์ว่า พระยอด.ฝี ๑ น. โรคจําพวกหนึ่ง เป็นต่อมบวมขึ้นกลัดหนองข้างใน เรียกชื่อต่าง ๆ กันหลายชนิด เช่น ฝีคัณฑมาลา ฝีดาษ ฝีประคําร้อย, ราชาศัพท์ว่า พระยอด.
ฝีกาฬ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ฝีพิษร้ายที่ทําให้ปวดร้อน กระสับกระส่าย มีสีดํา เป็นแล้วมักตาย.ฝีกาฬ น. ฝีพิษร้ายที่ทําให้ปวดร้อน กระสับกระส่าย มีสีดํา เป็นแล้วมักตาย.
ฝีคัณฑมาลา เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่งที่ขึ้นเป็นแถวตามคอ.ฝีคัณฑมาลา น. ชื่อฝีชนิดหนึ่งที่ขึ้นเป็นแถวตามคอ.
ฝีคัณฑสูตร เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง มักเป็นที่บริเวณขอบทวารหนัก.ฝีคัณฑสูตร น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง มักเป็นที่บริเวณขอบทวารหนัก.
ฝีดาษ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ไข้ทรพิษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ smallpox เขียนว่า เอส-เอ็ม-เอ-แอล-แอล-พี-โอ-เอ็กซ์ variola เขียนว่า วี-เอ-อา-ไอ-โอ-แอล-เอ .ฝีดาษ น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ไข้ทรพิษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. (อ. smallpox, variola).
ฝีดิบ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ฝีที่เป็นแก่คนอยู่ไฟเมื่อคลอดลูก เป็นฝีหัวเดียว มักขึ้นแถวท้อง.ฝีดิบ น. ฝีที่เป็นแก่คนอยู่ไฟเมื่อคลอดลูก เป็นฝีหัวเดียว มักขึ้นแถวท้อง.
ฝีในท้อง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วัณโรคที่เกิดในทรวงอกหรือในช่องท้อง.ฝีในท้อง น. วัณโรคที่เกิดในทรวงอกหรือในช่องท้อง.
ฝีประคำร้อย เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นบริเวณลำคอ เป็นเม็ดเรียงกันรอบคอ.ฝีประคำร้อย น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นบริเวณลำคอ เป็นเม็ดเรียงกันรอบคอ.
ฝีฝักบัว เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหลังและต้นคอ มีลักษณะเหมือนฝักบัว มีหัวหลายหัว.ฝีฝักบัว น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหลังและต้นคอ มีลักษณะเหมือนฝักบัว มีหัวหลายหัว.
ฝีมะม่วง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีที่โคนขาหนีบเกิดจากต่อมนํ้าเหลืองได้รับการติดเชื้อกามโรคชนิด Lymphogranuloma venereum.ฝีมะม่วง น. ชื่อฝีที่โคนขาหนีบเกิดจากต่อมนํ้าเหลืองได้รับการติดเชื้อกามโรคชนิด Lymphogranuloma venereum.
ฝีหัวขาด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง เมื่อแรกขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ แล้วจึงเป็นฝี.ฝีหัวขาด น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง เมื่อแรกขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ แล้วจึงเป็นฝี.
ฝี เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ใช้นําหน้าคําอื่น หมายความว่า การกระทําหรือการแสดงออกมาในบางลักษณะ.ฝี ๒ ใช้นําหน้าคําอื่น หมายความว่า การกระทําหรือการแสดงออกมาในบางลักษณะ.
ฝีจักร เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ฝีเข็มของจักรเย็บผ้าที่ถี่หรือห่าง, ความเร็วของเรือที่ใช้เครื่องยนต์.ฝีจักร น. ฝีเข็มของจักรเย็บผ้าที่ถี่หรือห่าง, ความเร็วของเรือที่ใช้เครื่องยนต์.
ฝีตีน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ฝีเท้า.ฝีตีน น. ฝีเท้า.
ฝีเท้า เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถในการเดิน วิ่ง ช้าหรือเร็ว หนักหรือเบา เป็นต้น เช่น ม้าฝีเท้าดี ม้าฝีเท้าจัด คนฝีเท้าหนัก, ฝีตีน ก็ว่า.ฝีเท้า น. ความสามารถในการเดิน วิ่ง ช้าหรือเร็ว หนักหรือเบา เป็นต้น เช่น ม้าฝีเท้าดี ม้าฝีเท้าจัด คนฝีเท้าหนัก, ฝีตีน ก็ว่า.
ฝีปาก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คารมของผู้กล่าว, ราชาศัพท์ว่า ฝีพระโอษฐ์.ฝีปาก น. คารมของผู้กล่าว, ราชาศัพท์ว่า ฝีพระโอษฐ์.
ฝีพาย เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีความสามารถในการพายเรือ โดยเฉพาะในการพายเรือพระที่นั่งหรือเรือแข่งเป็นต้น.ฝีพาย น. คนที่มีความสามารถในการพายเรือ โดยเฉพาะในการพายเรือพระที่นั่งหรือเรือแข่งเป็นต้น.
ฝีมือ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ความเชี่ยวชาญในการใช้มืออย่างมีศิลปะ เช่น มีฝีมือในการเย็บปักถักร้อย มีฝีมือในการปรุงอาหาร, เรียกการช่างทำด้วยมืออย่างมีศิลปะ ว่า การช่างฝีมือ, ราชาศัพท์ว่า ฝีพระหัตถ์; โดยปริยายหมายถึงความสามารถหรือทักษะและชั้นเชิงในการปฏิบัติการใด ๆ เช่น เขามีฝีมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้โดยรวดเร็ว.ฝีมือ น. ความเชี่ยวชาญในการใช้มืออย่างมีศิลปะ เช่น มีฝีมือในการเย็บปักถักร้อย มีฝีมือในการปรุงอาหาร, เรียกการช่างทำด้วยมืออย่างมีศิลปะ ว่า การช่างฝีมือ, ราชาศัพท์ว่า ฝีพระหัตถ์; โดยปริยายหมายถึงความสามารถหรือทักษะและชั้นเชิงในการปฏิบัติการใด ๆ เช่น เขามีฝีมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้โดยรวดเร็ว.
ฝีไม้ลายมือ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถในวิชาความรู้.ฝีไม้ลายมือ น. ความสามารถในวิชาความรู้.
ฝีเย็บ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณระหว่างอวัยวะเพศกับทวารหนัก สําหรับหญิงมักฉีกขาดได้ง่ายเนื่องจากการคลอดบุตร.ฝีเย็บ น. บริเวณระหว่างอวัยวะเพศกับทวารหนัก สําหรับหญิงมักฉีกขาดได้ง่ายเนื่องจากการคลอดบุตร.
ฝี่ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ซ้อนกันเป็นชั้น.ฝี่ ก. ซ้อนกันเป็นชั้น.
ฝีก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แฝง, เร้น, ซ่อน.ฝีก ก. แฝง, เร้น, ซ่อน.
ฝีจัก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ขวัญที่แสกหน้า ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ ฝีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, สีจัก ก็ว่า.ฝีจัก น. ขวัญที่แสกหน้า ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ ฝีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, สีจัก ก็ว่า.
ฝีหมอบ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ดู พญารากดํา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา.ฝีหมอบ ดู พญารากดํา.
ฝึก เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทํา (เช่นบอก แสดง หรือปฏิบัติ เป็นต้น) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชํานาญ เช่น ฝึกทหาร ฝึกกายบริหาร ฝึกงาน.ฝึก ก. ทํา (เช่นบอก แสดง หรือปฏิบัติ เป็นต้น) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชํานาญ เช่น ฝึกทหาร ฝึกกายบริหาร ฝึกงาน.
ฝึกงาน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สอนให้ทํางานจนทําเป็น.ฝึกงาน ก. สอนให้ทํางานจนทําเป็น.
ฝึกปรือ เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ฝึกให้ทําจนเป็น, หัดให้ทําจนดี, เช่น ฝึกปรือช้างม้า.ฝึกปรือ ก. ฝึกให้ทําจนเป็น, หัดให้ทําจนดี, เช่น ฝึกปรือช้างม้า.
ฝึกฝน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เพียรฝึก, พยายามฝึก, เช่นฝึกฝนตนเองให้ชำนาญในการเย็บปักถักร้อย.ฝึกฝน ก. เพียรฝึก, พยายามฝึก, เช่นฝึกฝนตนเองให้ชำนาญในการเย็บปักถักร้อย.
ฝึกสอน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา; สอนให้ทําจนเป็น, สอนให้เป็นคนดี, เช่น เฝ้าฝึกสอน.ฝึกสอน ก. ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา; สอนให้ทําจนเป็น, สอนให้เป็นคนดี, เช่น เฝ้าฝึกสอน.
ฝึกหัด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ฝึกให้ชํานาญ, หัดให้ทําจนชํานาญ, เช่น ฝึกหัดทำเลข ฝึกหัดทำการบ้าน.ฝึกหัด ก. ฝึกให้ชํานาญ, หัดให้ทําจนชํานาญ, เช่น ฝึกหัดทำเลข ฝึกหัดทำการบ้าน.
ฝืด เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไหวไม่สะดวกไม่คล่องเพราะแรงต้านทานมีการเสียดสีเป็นต้น เช่น ประตูฝืด กินข้าวฝืดคอ, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การค้าฝืด; เรียกภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีน้อยไป การใช้จ่ายลดน้อยลง ทำให้ราคาสินค้าตก ว่า เงินฝืด.ฝืด ว. เคลื่อนไหวไม่สะดวกไม่คล่องเพราะแรงต้านทานมีการเสียดสีเป็นต้น เช่น ประตูฝืด กินข้าวฝืดคอ, โดยปริยายหมายถึงอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การค้าฝืด; เรียกภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีน้อยไป การใช้จ่ายลดน้อยลง ทำให้ราคาสินค้าตก ว่า เงินฝืด.
ฝืดเคือง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง มีไม่สู้จะพอใช้พอสอย.ฝืดเคือง ก. มีไม่สู้จะพอใช้พอสอย.
ฝืน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ต้องจําใจทําสิ่งที่ไม่อยากจะทํา เช่น ฝืนกิน ฝืนทํา; ขัด, ไม่ทําตาม, เช่น ฝืนระเบียบ; ขืน, ขืนไว้, เหนี่ยวรั้ง, เช่น ฝืนใจ.ฝืน ก. ต้องจําใจทําสิ่งที่ไม่อยากจะทํา เช่น ฝืนกิน ฝืนทํา; ขัด, ไม่ทําตาม, เช่น ฝืนระเบียบ; ขืน, ขืนไว้, เหนี่ยวรั้ง, เช่น ฝืนใจ.
ฝืนท้อง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หมอตําแยโกยลูกที่อยู่ในท้องซึ่งเลื่อนลงไปข้างล่างให้กลับมาอยู่ที่เดิม, โกยท้อง.ฝืนท้อง ก. อาการที่หมอตําแยโกยลูกที่อยู่ในท้องซึ่งเลื่อนลงไปข้างล่างให้กลับมาอยู่ที่เดิม, โกยท้อง.
ฝุ่น เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินแห้งหรือสิ่งอื่นที่ละเอียดเป็นผง เช่น ฝุ่นละออง ฝุ่นชอล์ก; ผงขาว ๆ คล้ายแป้ง ใช้ผัดหน้าหรือทาสิ่งของต่าง ๆ เช่น ฝุ่นผัดหน้า.ฝุ่น น. ดินแห้งหรือสิ่งอื่นที่ละเอียดเป็นผง เช่น ฝุ่นละออง ฝุ่นชอล์ก; ผงขาว ๆ คล้ายแป้ง ใช้ผัดหน้าหรือทาสิ่งของต่าง ๆ เช่น ฝุ่นผัดหน้า.
ฝุ่นเมือง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พลเมือง, ราษฎร.ฝุ่นเมือง (โบ) น. พลเมือง, ราษฎร.
ฝูง เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พวก, หมู่, (ใช้แก่คนสามัญทั่ว ๆ ไป) เช่น ฝูงคน ฝูงชน, ใช้แก่อมนุษย์สามัญทั่ว ๆ ไป เช่น ฝูงเทวดา ฝูงยักษ์, ใช้แก่สัตว์ (นอกจากช้าง) เช่น ฝูงสัตว์ ฝูงวัว ฝูงควาย ฝูงมด.ฝูง น. พวก, หมู่, (ใช้แก่คนสามัญทั่ว ๆ ไป) เช่น ฝูงคน ฝูงชน, ใช้แก่อมนุษย์สามัญทั่ว ๆ ไป เช่น ฝูงเทวดา ฝูงยักษ์, ใช้แก่สัตว์ (นอกจากช้าง) เช่น ฝูงสัตว์ ฝูงวัว ฝูงควาย ฝูงมด.
ฝูงบิน เขียนว่า ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อู-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ขบวนบิน โดยปรกติมีเครื่องบิน ๖ เครื่องขึ้นไป.ฝูงบิน น. ขบวนบิน โดยปรกติมีเครื่องบิน ๖ เครื่องขึ้นไป.
เฝ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังดูแล, รักษา, เช่น เฝ้าไข้ เฝ้าขโมย เฝ้าบ้าน; มุ่งทำแต่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เฝ้าถาม เฝ้าแต่ร้องไห้; จ้องดู, คอยดู, เช่น นั่งเฝ้าโทรทัศน์ตลอดวัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง ไปพบ, ไปหา, เช่น เฝ้าเจ้านาย.เฝ้า ก. ระวังดูแล, รักษา, เช่น เฝ้าไข้ เฝ้าขโมย เฝ้าบ้าน; มุ่งทำแต่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เฝ้าถาม เฝ้าแต่ร้องไห้; จ้องดู, คอยดู, เช่น นั่งเฝ้าโทรทัศน์ตลอดวัน; (ราชา) ไปพบ, ไปหา, เช่น เฝ้าเจ้านาย.
เฝ้าไข้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง คอยดูแล ปรนนิบัติ พยาบาลผู้ป่วยไข้.เฝ้าไข้ ก. คอยดูแล ปรนนิบัติ พยาบาลผู้ป่วยไข้.
เฝ้าคอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง รอคอย, คอยด้วยใจจดใจจ่อ.เฝ้าคอย ก. รอคอย, คอยด้วยใจจดใจจ่อ.
เฝ้ายาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าสถานที่หรือระวังเหตุการณ์ตามกำหนดเวลา.เฝ้ายาม ก. เฝ้าสถานที่หรือระวังเหตุการณ์ตามกำหนดเวลา.
เฝ้าศพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่เป็นเพื่อนเจ้าภาพในงานศพ.เฝ้าศพ ก. อยู่เป็นเพื่อนเจ้าภาพในงานศพ.
เฝ้าแหน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-นอ-หนู[–แหนฺ] เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าระวังเหตุการณ์, เฝ้าเจ้านายตามตําแหน่ง.เฝ้าแหน [–แหนฺ] ก. เฝ้าระวังเหตุการณ์, เฝ้าเจ้านายตามตําแหน่ง.
เฝือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่นา ๒๕ ตารางวา หรือ ๑๐๐ ตารางเมตร เรียกว่า เฝือหนึ่ง; ชื่อเครื่องมือค้นด้ายในการทอผ้า.เฝือ ๑ น. ที่นา ๒๕ ตารางวา หรือ ๑๐๐ ตารางเมตร เรียกว่า เฝือหนึ่ง; ชื่อเครื่องมือค้นด้ายในการทอผ้า.
เฝือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รก, ยุ่ง, เรื้อ; เคลือบคลุม, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ข้อความยังเฝืออยู่, หมดความสำคัญ เช่น มากเสียจนเฝือ, บ่อย ๆ หรือซ้ำ ๆ ซาก ๆ จนทำให้หมดความสำคัญหรือหมดความสนใจ เช่น เรื่องนี้พูดกันจนเฝือ.เฝือ ๒ ว. รก, ยุ่ง, เรื้อ; เคลือบคลุม, ไม่แจ่มแจ้ง, เช่น ข้อความยังเฝืออยู่, หมดความสำคัญ เช่น มากเสียจนเฝือ, บ่อย ๆ หรือซ้ำ ๆ ซาก ๆ จนทำให้หมดความสำคัญหรือหมดความสนใจ เช่น เรื่องนี้พูดกันจนเฝือ.
เฝือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของทําเป็นซี่ ถักให้ติดกันเป็นผืน สําหรับกั้นนํ้า ดักปลา หรือห่อศพ.เฝือก ๑ น. ของทําเป็นซี่ ถักให้ติดกันเป็นผืน สําหรับกั้นนํ้า ดักปลา หรือห่อศพ.
เฝือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ดามกระดูกและข้อ มีหลายชนิดตามวัสดุที่ใช้ ปัจจุบันนิยมทําด้วยปูนปลาสเตอร์ เรียกว่า เฝือกปูน.เฝือก ๒ น. อุปกรณ์ที่ใช้ดามกระดูกและข้อ มีหลายชนิดตามวัสดุที่ใช้ ปัจจุบันนิยมทําด้วยปูนปลาสเตอร์ เรียกว่า เฝือกปูน.
เฝือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ใช้เข้าคู่กับคํา ฝา เป็น ฝาเฝือง หมายความว่า ฝา.เฝือง น. ใช้เข้าคู่กับคํา ฝา เป็น ฝาเฝือง หมายความว่า ฝา.
เฝื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รสที่เจือฝาดและขื่นอย่างรสดีเกลือ; วางหน้าไม่สนิทเหมือนกินของมีรสเฝื่อน.เฝื่อน ว. รสที่เจือฝาดและขื่นอย่างรสดีเกลือ; วางหน้าไม่สนิทเหมือนกินของมีรสเฝื่อน.
แฝก, แฝกหอม แฝก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-กอ-ไก่ แฝกหอม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Vetiveria zizanioides (L.) Nash ในวงศ์ Gramineae ใบใช้มุงหลังคา รากใช้ทํายาได้.แฝก, แฝกหอม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Vetiveria zizanioides (L.) Nash ในวงศ์ Gramineae ใบใช้มุงหลังคา รากใช้ทํายาได้.
แฝง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง หลบ แอบ ซ่อน เร้น โดยอาศัยสิ่งกําบัง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลือบคลุม, ที่ซ่อนเร้น เช่น ความร้อนแฝง.แฝง ก. หลบ แอบ ซ่อน เร้น โดยอาศัยสิ่งกําบัง. ว. เคลือบคลุม, ที่ซ่อนเร้น เช่น ความร้อนแฝง.
แฝด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นคู่ (ใช้เรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกันหรือใกล้กัน) เช่น มีลูกแฝด, โดยอนุโลมเรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่คนเดียวกันแม้เกินกว่า ๒ คนก็ได้ เช่น แฝด ๓ แฝด ๖, ติดกันเป็นคู่ เช่น มะม่วงแฝด ผลไม้แฝด.แฝด ๑ ว. เป็นคู่ (ใช้เรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกันหรือใกล้กัน) เช่น มีลูกแฝด, โดยอนุโลมเรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่คนเดียวกันแม้เกินกว่า ๒ คนก็ได้ เช่น แฝด ๓ แฝด ๖, ติดกันเป็นคู่ เช่น มะม่วงแฝด ผลไม้แฝด.
แฝดน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะการตั้งครรภ์ที่มีปริมาณนํ้าครํ่ามากกว่าปรกติ.แฝดน้ำ น. ภาวะการตั้งครรภ์ที่มีปริมาณนํ้าครํ่ามากกว่าปรกติ.
แฝดเลือด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่เลือดออกมากทางช่องคลอดก่อนคลอดลูก.แฝดเลือด น. ภาวะที่เลือดออกมากทางช่องคลอดก่อนคลอดลูก.
แฝด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกยาหรือสิ่งที่ผู้หญิงให้ผัวกินเพื่อให้หลงรักตัวคนเดียวว่า ยาแฝด.แฝด ๒ น. เรียกยาหรือสิ่งที่ผู้หญิงให้ผัวกินเพื่อให้หลงรักตัวคนเดียวว่า ยาแฝด.
ใฝ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่ง, หวัง, ใคร่, ผูกพัน.ใฝ่ ก. มุ่ง, หวัง, ใคร่, ผูกพัน.
ใฝ่ใจ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจผูกพันอยู่.ใฝ่ใจ ก. เอาใจผูกพันอยู่.
ใฝ่ต่ำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง นิยมไปในทางเลว.ใฝ่ต่ำ ก. นิยมไปในทางเลว.
ใฝ่ฝัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดอยากได้, มุ่งหวัง, เช่น ใฝ่ฝันอยากไปเมืองนอก.ใฝ่ฝัน ก. คิดอยากได้, มุ่งหวัง, เช่น ใฝ่ฝันอยากไปเมืองนอก.
ใฝ่ร้อนจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะดิ้นตาย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งหวังจะสบายต้องทํางาน ถ้าเกียจคร้านจะลําบากยากจน.ใฝ่ร้อนจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะดิ้นตาย (สำ) ก. มุ่งหวังจะสบายต้องทํางาน ถ้าเกียจคร้านจะลําบากยากจน.
ใฝ่สูง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทะเยอทะยานเกินตัว.ใฝ่สูง ก. ทะเยอทะยานเกินตัว.
ใฝ่สูงจนเกินศักดิ์, ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์ ใฝ่สูงจนเกินศักดิ์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หวังสิ่งที่เกินฐานะของตน (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าใฝ่สูงจนเกินศักดิ์ อย่าใฝ่สูงให้เกินศักดิ์.ใฝ่สูงจนเกินศักดิ์, ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์ (สำ) ก. หวังสิ่งที่เกินฐานะของตน (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าใฝ่สูงจนเกินศักดิ์ อย่าใฝ่สูงให้เกินศักดิ์.
ไฝ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฝอ-ฝา เป็นคำนาม หมายถึง จุด หรือตุ่มนูนที่มีสีดําหรือแดงขึ้นอยู่คงที่ตามตัว แต่ขนาดอาจเปลี่ยนได้.ไฝ น. จุด หรือตุ่มนูนที่มีสีดําหรือแดงขึ้นอยู่คงที่ตามตัว แต่ขนาดอาจเปลี่ยนได้.
เขียนว่า พอ-พานพยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์. พยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์.
พก เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ริมผ้านุ่งที่ดึงรวบขึ้นมาไขว้ไว้ที่บริเวณสะดือ มีลักษณะคล้ายถุงเล็ก ๆ เรียกว่า ชายพก ใส่เงินหรือหมากเป็นต้น; แผ่นดิน. เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเก็บหรือซ่อนไว้ในพกหรือในสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พกมีด พกนาฬิกา, เรียกสิ่งที่นำติดตัวไปในลักษณะเช่นนั้น เช่น มีดพก ปืนพก นาฬิกาพก; พัง, ทําลาย, เช่น ดุจพสุธาพังดังพสุธาพก. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาราช; ผก, หก, ตก; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง วก เช่น ภายหลังมาจึงพราหมณ์ชูชก พกมาทวงทอง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.พก ๑ น. ริมผ้านุ่งที่ดึงรวบขึ้นมาไขว้ไว้ที่บริเวณสะดือ มีลักษณะคล้ายถุงเล็ก ๆ เรียกว่า ชายพก ใส่เงินหรือหมากเป็นต้น; แผ่นดิน. ก. เอาเก็บหรือซ่อนไว้ในพกหรือในสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พกมีด พกนาฬิกา, เรียกสิ่งที่นำติดตัวไปในลักษณะเช่นนั้น เช่น มีดพก ปืนพก นาฬิกาพก; พัง, ทําลาย, เช่น ดุจพสุธาพังดังพสุธาพก. (ม. ร่ายยาว มหาราช); ผก, หก, ตก; (กลอน) วก เช่น ภายหลังมาจึงพราหมณ์ชูชก พกมาทวงทอง. (ม. คำหลวง ชูชก).
พกนุ่น เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใจเบา, ใช้เข้าคู่กับคำ พกหิน ในสำนวนว่า พกหินดีกว่าพกนุ่น.พกนุ่น (สำ) ว. ใจเบา, ใช้เข้าคู่กับคำ พกหิน ในสำนวนว่า พกหินดีกว่าพกนุ่น.
พกพ่าย เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตก ทําลาย.พกพ่าย ว. แตก ทําลาย.
พกลม เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแต่ลม คือ เหลวไหล, พูดจาไม่จริง, ใช้เข้าคู่กับคํา โกหก เป็น โกหกพกลม.พกลม ว. มีแต่ลม คือ เหลวไหล, พูดจาไม่จริง, ใช้เข้าคู่กับคํา โกหก เป็น โกหกพกลม.
พกหิน เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใจหนักแน่น, ใช้เข้าคู่กับคำ พกนุ่น ในสำนวนว่า พกหินดีกว่าพกนุ่น.พกหิน (สำ) ว. ใจหนักแน่น, ใช้เข้าคู่กับคำ พกนุ่น ในสำนวนว่า พกหินดีกว่าพกนุ่น.
พก– เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [พะกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นกยาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พก– ๒ [พะกะ–] (แบบ) น. นกยาง. (ป.).
พกจร เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ประพฤติอย่างนกยาง คือ คนหน้าซื่อใจคดหรือหน้าเนื้อใจเสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พกจร น. ประพฤติอย่างนกยาง คือ คนหน้าซื่อใจคดหรือหน้าเนื้อใจเสือ. (ส.).
พกา เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นกยาง.พกา (กลอน) น. นกยาง.
พกา เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อาดู พก– เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.พกา ดู พก– ๒.
พกุระ เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เขาสัตว์สําหรับเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พกุระ (แบบ) น. เขาสัตว์สําหรับเป่า. (ส.).
พกุล เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง[–กุน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ต้นพิกุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พกุล [–กุน] (แบบ) น. ต้นพิกุล. (ส.).
พง เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ดงหญ้าหรือดงไม้ที่เป็นหมู่ ๆ หรือที่รก ๆ เช่น ป่าดงพงพี รกเป็นพง.พง ๑ น. ดงหญ้าหรือดงไม้ที่เป็นหมู่ ๆ หรือที่รก ๆ เช่น ป่าดงพงพี รกเป็นพง.
พงพี เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ป่าดง.พงพี น. ป่าดง.
พง เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู ความหมายที่ ดู แขม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ และ เลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.พง ๒ ดู แขม ๑ และ เลา ๑.
พงศ–, พงศ์ พงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา พงศ์ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด [พงสะ–, พง] เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย, เทือกเถา, เหล่ากอ, สกุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วํส เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ.พงศ–, พงศ์ [พงสะ–, พง] น. เชื้อสาย, เทือกเถา, เหล่ากอ, สกุล. (ส.; ป. วํส).
พงศกร เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–สะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ตั้งวงศ์, บรรพบุรุษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พงศกร [–สะกอน] น. ผู้ตั้งวงศ์, บรรพบุรุษ. (ส.).
พงศธร เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทอ-ทง-รอ-เรือ[–สะทอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดํารงวงศ์สกุล, ผู้สืบสกุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พงศธร [–สะทอน] น. ผู้ดํารงวงศ์สกุล, ผู้สืบสกุล. (ส.).
พงศ์พันธุ์ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พวกพ้องที่เนื่องมาแต่วงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พงศ์พันธุ์ น. พวกพ้องที่เนื่องมาแต่วงศ์. (ส.).
พงศา เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีชาติสกุล.พงศา (กลอน) น. ผู้มีชาติสกุล.
พงศาวดาร เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–วะดาน] เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น เช่น พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์.พงศาวดาร [–วะดาน] น. เรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น เช่น พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์.
พงศาวลี เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–วะลี] เป็นคำนาม หมายถึง แผนลําดับเครือญาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พงศาวลี [–วะลี] น. แผนลําดับเครือญาติ. (ส.).
พงศา เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อาดู พงศ–, พงศ์ พงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา พงศ์ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด .พงศา ดู พงศ–, พงศ์.
พงศาวดาร เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู พงศ–, พงศ์ พงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา พงศ์ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด .พงศาวดาร ดู พงศ–, พงศ์.
พงศาวลี เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อีดู พงศ–, พงศ์ พงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา พงศ์ เขียนว่า พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด .พงศาวลี ดู พงศ–, พงศ์.
พจน–, พจน์ พจน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู พจน์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [พดจะนะ–, พด] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจน เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-นอ-หนู.พจน–, พจน์ ๑ [พดจะนะ–, พด] น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป. วจน).
พจนา เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[พดจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเปล่งวาจา, การพูด; คําพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พจนา [พดจะ–] น. การเปล่งวาจา, การพูด; คําพูด. (ป.).
พจนานุกรม เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[–กฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือว่าด้วยถ้อยคำในภาษาใดภาษาหนึ่ง เรียงตามลำดับตัวอักษร โดยทั่ว ๆ ไปจะบอกความหมายและที่มาของคำเป็นต้นด้วย.พจนานุกรม [–กฺรม] น. หนังสือว่าด้วยถ้อยคำในภาษาใดภาษาหนึ่ง เรียงตามลำดับตัวอักษร โดยทั่ว ๆ ไปจะบอกความหมายและที่มาของคำเป็นต้นด้วย.
พจนารถ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง[พดจะนาด] เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อความของคําพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พจนารถ [พดจะนาด] น. เนื้อความของคําพูด. (ส.).
พจน์ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์ที่แทนจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้อน ซึ่งจะเป็นจํานวนเดียวหรือหลายจํานวนคูณหรือหารกันก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ term เขียนว่า ที-อี-อา-เอ็ม.พจน์ ๒ (คณิต) น. สัญลักษณ์ที่แทนจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้อน ซึ่งจะเป็นจํานวนเดียวหรือหลายจํานวนคูณหรือหารกันก็ได้. (อ. term).
พจนา เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อาดู พจน–, พจน์ ๑ พจน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู พจน์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด .พจนา ดู พจน–, พจน์ ๑.
พจนานุกรม เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู พจน–, พจน์ ๑ พจน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู พจน์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด .พจนานุกรม ดู พจน–, พจน์ ๑.
พจนารถ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุงดู พจน–, พจน์ ๑ พจน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู พจน์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด .พจนารถ ดู พจน–, พจน์ ๑.
พจนีย์ เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[พดจะนี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรว่ากล่าว. เป็นคำนาม หมายถึง คําติเตียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พจนีย์ [พดจะนี] ว. ควรว่ากล่าว. น. คําติเตียน. (ส.).
พจมาน เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[พดจะมาน] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด.พจมาน [พดจะมาน] น. คําพูด.
พจี เขียนว่า พอ-พาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี[พะจี] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจี เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี.พจี [พะจี] น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป. วจี).
พชระ เขียนว่า พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[พดชะระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เพชร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วชิร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ.พชระ [พดชะระ] (กลอน) น. เพชร. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
พญา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา[พะยา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแผ่นดิน เช่น พญาลิไทย; ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า, (มักใช้นําหน้านามอื่น) เช่น พญานาค พญาหงส์.พญา [พะยา] (โบ) น. เจ้าแผ่นดิน เช่น พญาลิไทย; ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า, (มักใช้นําหน้านามอื่น) เช่น พญานาค พญาหงส์.
พญาเดิน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงปี่พาทย์.พญาเดิน น. ชื่อเพลงปี่พาทย์.
พญาไทย เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระราชาคณะผู้ใหญ่.พญาไทย (โบ) น. ชื่อพระราชาคณะผู้ใหญ่.
พญาแปแล เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.พญาแปแล น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
พญาพยาต เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พญาปราชญ์, จอมปราชญ์.พญาพยาต (โบ) น. พญาปราชญ์, จอมปราชญ์.
พญาโศก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่งในจําพวกเพลงโศก.พญาโศก น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่งในจําพวกเพลงโศก.
พญากาสัก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ดู กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.พญากาสัก ดู กาสัก ๒.
พญาขามป้อม, พญามะขามป้อม พญาขามป้อม เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า พญามะขามป้อม เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Cephalotaxus griffithii Hook.f. ในวงศ์ Cephalotaxaceae. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Podocarpus imbricatus Blume ในวงศ์ Podocarpaceae.พญาขามป้อม, พญามะขามป้อม น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Cephalotaxus griffithii Hook.f. ในวงศ์ Cephalotaxaceae. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Podocarpus imbricatus Blume ในวงศ์ Podocarpaceae.
พญาฉัททันต์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Vandopsis gigantea (Lindl.) Pfitz. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีเหลืองประนํ้าตาล.พญาฉัททันต์ น. ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Vandopsis gigantea (Lindl.) Pfitz. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีเหลืองประนํ้าตาล.
พญาช้างเผือก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ดู กําลังช้างเผือก เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่.พญาช้างเผือก ดู กําลังช้างเผือก.
พญาณ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[พะยาน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พยาน.พญาณ [พะยาน] (โบ) น. พยาน.
พญาดาบหัก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ดู ราชดัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก.พญาดาบหัก ดู ราชดัด.
พญาปากกว้าง เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Eurylaimidae ลําตัวอ้วนป้อม ปากใหญ่ หัวโต อาศัยอยู่ตามป่าทึบ กินแมลง สัตว์เล็ก ๆ และผลไม้ มีหลายชนิด เช่น พญาปากกว้างสีดํา (Corydon sumatranus) พญาปากกว้างท้องแดง (Cymbirhynchus macrorhynchos) พญาปากกว้างหางยาว (Psarisomus dalhousiae).พญาปากกว้าง น. ชื่อนกในวงศ์ Eurylaimidae ลําตัวอ้วนป้อม ปากใหญ่ หัวโต อาศัยอยู่ตามป่าทึบ กินแมลง สัตว์เล็ก ๆ และผลไม้ มีหลายชนิด เช่น พญาปากกว้างสีดํา (Corydon sumatranus) พญาปากกว้างท้องแดง (Cymbirhynchus macrorhynchos) พญาปากกว้างหางยาว (Psarisomus dalhousiae).
พญาไฟ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Campephagidae มีเสียงร้องไพเราะและสีสันสวยงาม ตัวผู้สีแดง ตัวเมียสีเหลือง บางชนิดเป็นสีเทาทั้งตัวผู้และตัวเมีย รวมกันอยู่เป็นฝูงตามยอดไม้ มีหลายชนิด เช่น พญาไฟสีกุหลาบ (Pericrocotus roseus) พญาไฟเล็กคอเทา (P. cinnamomeus) พญาไฟใหญ่ (P. flammeus) พญาไฟสีเทา (P. divaricatus).พญาไฟ น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Campephagidae มีเสียงร้องไพเราะและสีสันสวยงาม ตัวผู้สีแดง ตัวเมียสีเหลือง บางชนิดเป็นสีเทาทั้งตัวผู้และตัวเมีย รวมกันอยู่เป็นฝูงตามยอดไม้ มีหลายชนิด เช่น พญาไฟสีกุหลาบ (Pericrocotus roseus) พญาไฟเล็กคอเทา (P. cinnamomeus) พญาไฟใหญ่ (P. flammeus) พญาไฟสีเทา (P. divaricatus).
พญามือเหล็ก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Strychnos วงศ์ Strychnaceae คือ ชนิด S. ignatii Berg และชนิด S. lucida R. Br. เมล็ดมีพิษ ใช้ทํายาได้.พญามือเหล็ก น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Strychnos วงศ์ Strychnaceae คือ ชนิด S. ignatii Berg และชนิด S. lucida R. Br. เมล็ดมีพิษ ใช้ทํายาได้.
พญามุตติ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Grangea maderaspatana Poir. ในวงศ์ Compositae ใช้ทํายาได้. (พยาธิมุตติ).พญามุตติ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Grangea maderaspatana Poir. ในวงศ์ Compositae ใช้ทํายาได้. (พยาธิมุตติ).
พญามูมิน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Crotalaria calycina Schrank ในวงศ์ Leguminosae.พญามูมิน น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Crotalaria calycina Schrank ในวงศ์ Leguminosae.
พญาไม้ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Podocarpus wallichianus Presl ในวงศ์ Podocarpaceae ดอกสีเหลือง ฝักเล็ก.พญาไม้ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Podocarpus wallichianus Presl ในวงศ์ Podocarpaceae ดอกสีเหลือง ฝักเล็ก.
พญายา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อาดู กระแจะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒.พญายา ดู กระแจะ ๒.
พญารากดำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros variegata Kurz ในวงศ์ Ebenaceae ใช้ทํายาได้, ดําดง หรือ ฝีหมอบ ก็เรียก.พญารากดำ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros variegata Kurz ในวงศ์ Ebenaceae ใช้ทํายาได้, ดําดง หรือ ฝีหมอบ ก็เรียก.
พญารากเดียว เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวนดู ไม้เท้ายายม่อม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า.พญารากเดียว ดู ไม้เท้ายายม่อม.
พญาไร้ใบ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Euphorbia tirucalli L. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบเล็กมาก และมักทิ้งใบ ยางมีพิษ ใช้ทํายาได้.พญาไร้ใบ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Euphorbia tirucalli L. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบเล็กมาก และมักทิ้งใบ ยางมีพิษ ใช้ทํายาได้.
พญาลอ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Lophura diardi ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้สีเทา ตะโพกสีแดงสด ขนหางยาวสีดําเหลือบเขียว ตัวเมียสีนํ้าตาล มีลายขวางสีดํา นกชนิดนี้ถือเป็นแบบฉบับของนกไก่ฟ้าในประเทศไทยมีชื่อสามัญว่า Siamese Fireback Pheasant, ไก่ฟ้าพญาลอ ก็เรียก.พญาลอ น. ชื่อนกชนิด Lophura diardi ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้สีเทา ตะโพกสีแดงสด ขนหางยาวสีดําเหลือบเขียว ตัวเมียสีนํ้าตาล มีลายขวางสีดํา นกชนิดนี้ถือเป็นแบบฉบับของนกไก่ฟ้าในประเทศไทยมีชื่อสามัญว่า Siamese Fireback Pheasant, ไก่ฟ้าพญาลอ ก็เรียก.
พญาสัตบรรณ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนนดู ตีนเป็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก.พญาสัตบรรณ ดู ตีนเป็ด.
ฯพณฯ เขียนว่า ??207??-พอ-พาน-นอ-เนน-??207??[พะนะท่าน] เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อหรือตําแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. (ย่อมาจากคํา พณหัว พณหัวเจ้า พณหัวเจ้าท่าน).ฯพณฯ [พะนะท่าน] น. คํานําหน้าชื่อหรือตําแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. (ย่อมาจากคํา พณหัว พณหัวเจ้า พณหัวเจ้าท่าน).
พณิช เขียนว่า พอ-พาน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง[พะนิด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ค้าขาย, พ่อค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาณิช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง.พณิช [พะนิด] น. ผู้ค้าขาย, พ่อค้า. (ป., ส. วาณิช).
พณิชย์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[พะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วณิชฺยา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา วาณิชฺย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี วาณิชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง.พณิชย์ [พะ–] น. การค้าขาย. (ส. วณิชฺยา, วาณิชฺย; ป. วาณิชฺช).
พด เขียนว่า พอ-พาน-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, งอ, ขด.พด ว. คด, งอ, ขด.
พดกริช เขียนว่า พอ-พาน-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง คดกริช.พดกริช น. คดกริช.
พดด้วง เขียนว่า พอ-พาน-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเงินตราโบราณรูปขดกลมคล้ายตัวด้วง.พดด้วง น. เรียกเงินตราโบราณรูปขดกลมคล้ายตัวด้วง.
พธู เขียนว่า พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู[พะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าสาว; เมีย; ผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วธู เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู.พธู [พะ–] น. เจ้าสาว; เมีย; ผู้หญิง. (ส., ป. วธู).
พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู [พน, พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ป่า, พง, ดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู.พน, พน– [พน, พะนะ–] น. ป่า, พง, ดง. (ป., ส. วน).
พนขัณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทิวไม้, แนวป่า, ราวป่า, ราวไพร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนขณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ขอ-ไข่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท และมาจากภาษาบาลี วนสณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท.พนขัณฑ์ [พะนะ–] น. ทิวไม้, แนวป่า, ราวป่า, ราวไพร. (ส. วนขณฺฑ; ป. วนสณฺฑ).
พนโคจร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ[พะนะโคจอน] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวป่า, พรานป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนโคจร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ.พนโคจร [พะนะโคจอน] น. ชาวป่า, พรานป่า. (ส. วนโคจร).
พนจร, พนจรก พนจร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ พนจรก เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ [พะนะจอน, พะนะจะรก] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวป่า, พรานป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วนจร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ วนจรก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ .พนจร, พนจรก [พะนะจอน, พะนะจะรก] น. ชาวป่า, พรานป่า. (ป., ส. วนจร, วนจรก).
พนชีวี เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี[พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนชีวินฺ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.พนชีวี [พะนะ–] น. ชาวป่า. (ส. วนชีวินฺ).
พนธารา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แถวต้นไม้ (เช่นตาม ๒ ข้างถนนหลวง). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนธารา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.พนธารา [พะนะ–] น. แถวต้นไม้ (เช่นตาม ๒ ข้างถนนหลวง). (ส. วนธารา).
พนวาสี เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่ป่า, ฤษี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งอยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วนวาสี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี.พนวาสี [พะนะ–] น. ผู้อยู่ป่า, ฤษี. ว. ซึ่งอยู่ในป่า. (ป., ส. วนวาสี).
พนสณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[พะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พนขัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนสณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท และมาจากnull วนขณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ขอ-ไข่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท วนสณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท .พนสณฑ์ [พะนะ–] น. พนขัณฑ์. (ป. วนสณฺฑ; ส. วนขณฺฑ, วนสณฺฑ).
พนันดร, พนานดร พนันดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ พนานดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ [พะนันดอน, –ดอน] เป็นคำนาม หมายถึง ระหว่างป่า, กลางป่า, ภายในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วนนฺตร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.พนันดร, พนานดร [พะนันดอน, –ดอน] น. ระหว่างป่า, กลางป่า, ภายในป่า. (ป., ส. วนนฺตร).
พนาดร, พนาดอน พนาดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ พนาดอน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสูง, ใช้ว่า วนาดร หรือ วนาดอน ก็มี.พนาดร, พนาดอน น. ป่าสูง, ใช้ว่า วนาดร หรือ วนาดอน ก็มี.
พนาธวา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[พะนาทะวา] เป็นคำนาม หมายถึง ทางป่า.พนาธวา [พะนาทะวา] น. ทางป่า.
พนาราม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ป่าอันรื่นรมย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + อาราม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .พนาราม น. ป่าอันรื่นรมย์. (ป., ส. วน + อาราม).
พนาลัย เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่ป่า, ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาลย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก.พนาลัย น. การอยู่ป่า, ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาลย).
พนาลี เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง แนวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาลี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี.พนาลี น. แนวป่า. (ส. วนาลี).
พนาวา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ป่า.พนาวา (กลอน) น. ป่า.
พนาวาส เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนาวาส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.พนาวาส น. ที่อยู่ในป่า. (ป. วนาวาส).
พนาเวศ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ป่า.พนาเวศ น. ป่า.
พนาศรม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้า[พะนาสม] เป็นคำนาม หมายถึง อาศรมในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาศฺรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า.พนาศรม [พะนาสม] น. อาศรมในป่า. (ส. วนาศฺรม).
พนาศรัย เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาศฺรย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก.พนาศรัย น. ผู้อยู่ป่า. (ส. วนาศฺรย).
พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ พนาสณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด พนาสัณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, วนาสณฑ์ หรือ วนาสัณฑ์ ก็ว่า.พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ น. ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, วนาสณฑ์ หรือ วนาสัณฑ์ ก็ว่า.
พเนจร เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เที่ยวป่า, พรานป่า; โดยปริยายหมายความว่า ร่อนเร่ไป, เที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วเนจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ.พเนจร น. ผู้เที่ยวป่า, พรานป่า; โดยปริยายหมายความว่า ร่อนเร่ไป, เที่ยวไปโดยไร้จุดหมาย. (ป., ส. วเนจร).
พ่น เขียนว่า พอ-พาน-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ห่อปากเป่าให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งในปากออกมาเป็นฝอยเป็นต้น, อาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พ่นไฟ พ่นสี, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง พูดมาก เช่น รีบ ๆ เข้าเถอะ อย่ามัวพ่นอยู่เลย.พ่น ก. ห่อปากเป่าให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งในปากออกมาเป็นฝอยเป็นต้น, อาการที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พ่นไฟ พ่นสี, (ปาก) พูดมาก เช่น รีบ ๆ เข้าเถอะ อย่ามัวพ่นอยู่เลย.
พ้น เขียนว่า พอ-พาน-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ผ่านหรือหลุดเป็นต้นออกไปอยู่นอกเขตหรือเลยที่กำหนดไว้ เช่น พ้นอันตราย พ้นกิเลส พ้นทุกข์ พ้นเกณฑ์ พ้นตัว พ้นบ้าน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นอกเขตออกไป เช่น ข้ามพ้น บินพ้น ผ่านพ้น หลุดพ้น.พ้น ก. อาการที่ผ่านหรือหลุดเป็นต้นออกไปอยู่นอกเขตหรือเลยที่กำหนดไว้ เช่น พ้นอันตราย พ้นกิเลส พ้นทุกข์ พ้นเกณฑ์ พ้นตัว พ้นบ้าน. ว. นอกเขตออกไป เช่น ข้ามพ้น บินพ้น ผ่านพ้น หลุดพ้น.
พ้นวิสัย เขียนว่า พอ-พาน-ไม้-โท-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกินความสามารถ, ที่ไม่อาจเป็นไปได้หรือไม่สามารถจะกระทําได้.พ้นวิสัย ว. เกินความสามารถ, ที่ไม่อาจเป็นไปได้หรือไม่สามารถจะกระทําได้.
พนม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ; ลักษณะของสิ่งที่เป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัวตูม. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้มีรูปอย่างดอกบัวตูม เช่น พนมมือ.พนม น. ภูเขา. (ข.); ลักษณะของสิ่งที่เป็นพุ่มยอดแหลมอย่างดอกบัวตูม. ก. ทําให้มีรูปอย่างดอกบัวตูม เช่น พนมมือ.
พนมเพลิง เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กองเพลิงเผาศพ.พนมเพลิง น. กองเพลิงเผาศพ.
พนมมือ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง กระพุ่มมือ, ประนมมือ ก็ว่า.พนมมือ ก. กระพุ่มมือ, ประนมมือ ก็ว่า.
พนมศก เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เลขปีรัชกาลที่เขียนบนหลังศก.พนมศก น. เลขปีรัชกาลที่เขียนบนหลังศก.
พนมศพ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง การทําศพหรือการแต่งศพที่เป็นงานใหญ่.พนมศพ น. การทําศพหรือการแต่งศพที่เป็นงานใหญ่.
พนมสวรรค์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู นมสวรรค์ เขียนว่า นอ-หนู-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด.พนมสวรรค์ ดู นมสวรรค์.
พนอง เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ [พะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พฺนง เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-นอ-หนู-งอ-งู.พนอง ๑ [พะ–] น. ป่า. (ข. พฺนง).
พนอง เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Shorea hypochra Hance ในวงศ์ Dipterocarpaceae ยางใช้เป็นชันยาเรือและอื่น ๆ.พนอง ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Shorea hypochra Hance ในวงศ์ Dipterocarpaceae ยางใช้เป็นชันยาเรือและอื่น ๆ.
พนอม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[พะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พนม, จอมเขาหรือที่มีพุ่มไม้, ใช้ พระนอม หรือ พระน้อม ก็มี.พนอม [พะ–] น. พนม, จอมเขาหรือที่มีพุ่มไม้, ใช้ พระนอม หรือ พระน้อม ก็มี.
พนัก เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับพักสําหรับพิง เช่น พนักเก้าอี้.พนัก น. เครื่องสําหรับพักสําหรับพิง เช่น พนักเก้าอี้.
พนักงาน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หน้าที่ เช่น เรื่องนี้เป็นพนักงานของฉัน; ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงาน เช่น พนักงานรัฐวิสาหกิจ.พนักงาน น. หน้าที่ เช่น เรื่องนี้เป็นพนักงานของฉัน; ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงาน เช่น พนักงานรัฐวิสาหกิจ.
พนักงานเจ้าหน้าที่ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามที่กฎหมายกําหนด.พนักงานเจ้าหน้าที่ (กฎ) น. บุคคลผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามที่กฎหมายกําหนด.
พนักงานสอบสวน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอํานาจและหน้าที่ทําการสอบสวน.พนักงานสอบสวน (กฎ) น. เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอํานาจและหน้าที่ทําการสอบสวน.
พนักงานอัยการ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ฟ้องผู้ต้องหาต่อศาล ทั้งนี้จะเป็นข้าราชการในสำนักงานอัยการสูงสุด หรือเจ้าพนักงานอื่นผู้มีอำนาจเช่นนั้นก็ได้; ข้าราชการสังกัดสำนักงานอัยการสูงสุดผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการดำเนินคดีหรือทำหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน, อัยการ ก็เรียก.พนักงานอัยการ (กฎ) น. เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ฟ้องผู้ต้องหาต่อศาล ทั้งนี้จะเป็นข้าราชการในสำนักงานอัยการสูงสุด หรือเจ้าพนักงานอื่นผู้มีอำนาจเช่นนั้นก็ได้; ข้าราชการสังกัดสำนักงานอัยการสูงสุดผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการดำเนินคดีหรือทำหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน, อัยการ ก็เรียก.
พนัง เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทํานบกั้นนํ้าอย่างใหญ่; เครื่องกั้นเครื่องกําบัง เช่น พนังม้า คือแผ่นหนังสำหรับปิดข้างม้าทั้ง ๒ ข้าง พนังที่นอน คือแผ่นผ้าที่เย็บปิดกั้นรอบข้างที่นอนหรือกั้นภายในที่นอนให้เป็นช่อง ๆ เพื่อยัดนุ่นเป็นลูก ๆ พนังหมอน คือแผ่นผ้าที่เย็บปิดกั้นรอบหมอน.พนัง น. ทํานบกั้นนํ้าอย่างใหญ่; เครื่องกั้นเครื่องกําบัง เช่น พนังม้า คือแผ่นหนังสำหรับปิดข้างม้าทั้ง ๒ ข้าง พนังที่นอน คือแผ่นผ้าที่เย็บปิดกั้นรอบข้างที่นอนหรือกั้นภายในที่นอนให้เป็นช่อง ๆ เพื่อยัดนุ่นเป็นลูก ๆ พนังหมอน คือแผ่นผ้าที่เย็บปิดกั้นรอบหมอน.
พนัน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นเอาเงินหรือสิ่งอื่นโดยอาศัยความฉลาด ความชำนาญ เล่ห์เหลี่ยม ไหวพริบ และฝีมือ รวมทั้งโชคด้วย. เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นเช่นนั้น เรียกว่า การพนัน.พนัน ก. เล่นเอาเงินหรือสิ่งอื่นโดยอาศัยความฉลาด ความชำนาญ เล่ห์เหลี่ยม ไหวพริบ และฝีมือ รวมทั้งโชคด้วย. น. การเล่นเช่นนั้น เรียกว่า การพนัน.
พนันขันต่อ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง การพนันซึ่งได้เสียกันโดยวิธีต่อรอง.พนันขันต่อ น. การพนันซึ่งได้เสียกันโดยวิธีต่อรอง.
พนันดร, พนานดร พนันดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ พนานดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนันดร, พนานดร ดู พน, พน–.
พนัส, พนัส– พนัส เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ พนัส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ [พะนัด, พะนัดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ป่า, พง, ดง. (มาจาก พน แต่เพิ่มตัว ส เพื่อความสะดวกในการสนธิ). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู.พนัส, พนัส– [พะนัด, พะนัดสะ–] น. ป่า, พง, ดง. (มาจาก พน แต่เพิ่มตัว ส เพื่อความสะดวกในการสนธิ). (ส. วนสฺ; ป. วน).
พนัสดม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า[พะนัดสะดม] เป็นคำนาม หมายถึง ป่ามืด, ป่าทึบ.พนัสดม [พะนัดสะดม] น. ป่ามืด, ป่าทึบ.
พนัสบดี เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[พะนัดสะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนสฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ หมายถึง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ต้นโพ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน ต้นไทร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ และต้นมะเดื่อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง และมาจากภาษาบาลี วนปฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.พนัสบดี [พะนัดสะบอดี] น. เจ้าป่า. (ส. วนสฺปติ หมายถึง ต้นโพ ต้นไทร และต้นมะเดื่อ; ป. วนปฺปติ).
พนา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ป่า, พง, ดง, (มาจาก พน เติมสระอา เช่น พนาดร = ป่าสูง พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ = แนวป่า, ราวป่า).พนา น. ป่า, พง, ดง, (มาจาก พน เติมสระอา เช่น พนาดร = ป่าสูง พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ = แนวป่า, ราวป่า).
พนาด เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เบาะสําหรับปูหลังช้างเพื่อออกป่า เช่น พรายพัสตร์พนาดพร้อม ภูษา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, ใช้ว่า พระนาด ก็มี.พนาด น. เบาะสําหรับปูหลังช้างเพื่อออกป่า เช่น พรายพัสตร์พนาดพร้อม ภูษา. (ยวนพ่าย), ใช้ว่า พระนาด ก็มี.
พนาดร, พนาดอน พนาดร เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ พนาดอน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาดร, พนาดอน ดู พน, พน–.
พนาธวา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อาดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาธวา ดู พน, พน–.
พนาย เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําขุนนางผู้ใหญ่เรียกผู้ดีซึ่งอยู่ในบังคับตน.พนาย น. คําขุนนางผู้ใหญ่เรียกผู้ดีซึ่งอยู่ในบังคับตน.
พนาราม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้าดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาราม ดู พน, พน–.
พนาลัย เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาลัย ดู พน, พน–.
พนาลี เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อีดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาลี ดู พน, พน–.
พนาวา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อาดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาวา ดู พน, พน–.
พนาวาส เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาวาส ดู พน, พน–.
พนาเวศ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลาดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาเวศ ดู พน, พน–.
พนาศรม เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาศรม ดู พน, พน–.
พนาศรัย เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยักดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาศรัย ดู พน, พน–.
พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ พนาสณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด พนาสัณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พนาสณฑ์, พนาสัณฑ์ ดู พน, พน–.
พนิด, พนิดา พนิด เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก พนิดา เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วนิดา, หญิง, หญิงสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนิตา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.พนิด, พนิดา น. วนิดา, หญิง, หญิงสาว. (ส. วนิตา).
พนิต เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่รัก, ที่ชอบพอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนิต เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.พนิต ว. เป็นที่รัก, ที่ชอบพอ. (ส. วนิต).
พนียก เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[พะนียก] เป็นคำนาม หมายถึง วนิพก, คนขอทานโดยร้องเพลงขอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนียก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่.พนียก [พะนียก] น. วนิพก, คนขอทานโดยร้องเพลงขอ. (ส. วนียก).
พเนก เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่[พะเนก] เป็นคำนาม หมายถึง หมอนสําหรับช้างหนุนนอน.พเนก [พะเนก] น. หมอนสําหรับช้างหนุนนอน.
พเนจร เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือดู พน, พน– พน เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู พน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู .พเนจร ดู พน, พน–.
พบ เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เห็น (ใช้แก่อาการเห็นซึ่งต่อเนื่องกับกิริยาอื่น เช่น ขุดพบ ค้นพบ ไปพบ หาพบ), ปะ, ประสบ, เจอะ, เจอ, เช่น พบเพื่อน พบอุปสรรค.พบ ก. เห็น (ใช้แก่อาการเห็นซึ่งต่อเนื่องกับกิริยาอื่น เช่น ขุดพบ ค้นพบ ไปพบ หาพบ), ปะ, ประสบ, เจอะ, เจอ, เช่น พบเพื่อน พบอุปสรรค.
พบปะ เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง พบด้วยความสนิทสนมคุ้นเคย.พบปะ ก. พบด้วยความสนิทสนมคุ้นเคย.
พบพาน เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปะกัน, เจอกัน, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ประสบพบพาน.พบพาน ก. ปะกัน, เจอกัน, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ไม่ประสบพบพาน.
พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง พบหญิงสาวที่ต้องใจเมื่อแก่, ใช้ว่า พบไม้งามเมื่อยามขวานบิ่น ก็มี.พบไม้งามเมื่อขวานบิ่น (สำ) ก. พบหญิงสาวที่ต้องใจเมื่อแก่, ใช้ว่า พบไม้งามเมื่อยามขวานบิ่น ก็มี.
พบู เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กาย, ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วปุ เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ.พบู ๑ (กลอน) น. กาย, ตัว. (ป., ส. วปุ).
พบู เขียนว่า พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง หน้า; ดอกไม้ เช่น พบูบานประสานสี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม; ขาว, ด่อน.พบู ๒ (กลอน) น. หน้า; ดอกไม้ เช่น พบูบานประสานสี. ว. งาม; ขาว, ด่อน.
พม่า เขียนว่า พอ-พาน-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [พะม่า] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย.พม่า ๑ [พะม่า] น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศไทย.
พม่า เขียนว่า พอ-พาน-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [พะม่า] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า พม่า เช่น พม่ากล่อม พม่าเห่ พม่ากําชับ พม่าห้าท่อน.พม่า ๒ [พะม่า] น. ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า พม่า เช่น พม่ากล่อม พม่าเห่ พม่ากําชับ พม่าห้าท่อน.
พม่าแทงกบ เขียนว่า พอ-พาน-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.พม่าแทงกบ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
พม่ารำขวาน เขียนว่า พอ-พาน-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.พม่ารำขวาน น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
พยชน์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[พะยด] เป็นคำนาม หมายถึง พัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.พยชน์ [พะยด] น. พัด. (ส. วฺยชน).
พยชะ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ[พะยดชะ] เป็นคำกริยา หมายถึง ขับ, ขี่; พัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยช เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง.พยชะ [พะยดชะ] ก. ขับ, ขี่; พัด. (ส. วฺยช).
พยติเรก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่[พะยะติเหฺรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แปลกออกไป; ในไวยากรณ์ใช้เป็นชื่อประโยคใหญ่ที่แสดงเนื้อความแย้งกัน; ชื่อนิบาตในภาษาบาลีพวกหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยติเรก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่.พยติเรก [พะยะติเหฺรก] ว. แปลกออกไป; ในไวยากรณ์ใช้เป็นชื่อประโยคใหญ่ที่แสดงเนื้อความแย้งกัน; ชื่อนิบาตในภาษาบาลีพวกหนึ่ง. (ป., ส. วฺยติเรก).
พยนต์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[พะยน] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ผู้ทรงวิทยาคมปลุกเสกให้มีชีวิตขึ้น เช่น หุ่นพยนต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วยนฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยนฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.พยนต์ [พะยน] น. สิ่งที่ผู้ทรงวิทยาคมปลุกเสกให้มีชีวิตขึ้น เช่น หุ่นพยนต์. (ป. วยนฺต; ส. วฺยนฺต).
พยศ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา[พะยด] เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการดื้อหรือถือตัวไม่ยอมทําตาม.พยศ [พะยด] ก. แสดงอาการดื้อหรือถือตัวไม่ยอมทําตาม.
พยัก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[พะยัก] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ก้มหน้าลงเล็กน้อยแล้วเงยหน้าขึ้นโดยเร็วเป็นการแสดงความรับรู้ เรียกว่า พยักหน้า.พยัก [พะยัก] ก. อาการที่ก้มหน้าลงเล็กน้อยแล้วเงยหน้าขึ้นโดยเร็วเป็นการแสดงความรับรู้ เรียกว่า พยักหน้า.
พยักพเยิด เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[–พะเยิด] เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาหน้าตาพลอยรับรู้เห็นกับเขาด้วย, ไม่แสดงอาการให้ชัดเจนเป็นแต่พยักหน้า หรือทําบุ้ยใบ้ไม้มือเพื่อให้รู้.พยักพเยิด [–พะเยิด] ก. แสดงกิริยาหน้าตาพลอยรับรู้เห็นกับเขาด้วย, ไม่แสดงอาการให้ชัดเจนเป็นแต่พยักหน้า หรือทําบุ้ยใบ้ไม้มือเพื่อให้รู้.
พยักยิ้ม เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาพยักพเยิดพร้อมทั้งยิ้มอยู่ในหน้าเป็นเชิงเย้ยหยัน.พยักยิ้ม ก. แสดงกิริยาพยักพเยิดพร้อมทั้งยิ้มอยู่ในหน้าเป็นเชิงเย้ยหยัน.
พยัคฆ–, พยัคฆ์ พยัคฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง พยัคฆ์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด [พะยักคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เสือโคร่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง วฺยคฺฆ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ.พยัคฆ–, พยัคฆ์ [พะยักคะ–] น. เสือโคร่ง. (ป. พฺยคฺฆ, วฺยคฺฆ; ส. วฺยาฆฺร).
พยัคฆา, พยัคฆิน, พยัคฆี พยัคฆา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา พยัคฆิน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู พยัคฆี เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เสือโคร่ง.พยัคฆา, พยัคฆิน, พยัคฆี (กลอน) น. เสือโคร่ง.
พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ พยัคฆินทร์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด พยัคเฆนทร์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-คอ-ระ-คัง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พญาเสือโคร่ง.พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ น. พญาเสือโคร่ง.
พยัคฆา, พยัคฆิน, พยัคฆี พยัคฆา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา พยัคฆิน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู พยัคฆี เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อี ดู พยัคฆ–, พยัคฆ์ พยัคฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง พยัคฆ์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด .พยัคฆา, พยัคฆิน, พยัคฆี ดู พยัคฆ–, พยัคฆ์.
พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ พยัคฆินทร์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด พยัคเฆนทร์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-คอ-ระ-คัง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ดู พยัคฆ–, พยัคฆ์ พยัคฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง พยัคฆ์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด .พยัคฆินทร์, พยัคเฆนทร์ ดู พยัคฆ–, พยัคฆ์.
พยัชน์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[พะยัด] เป็นคำนาม หมายถึง พัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู.พยัชน์ [พะยัด] น. พัด. (ส. วฺยชน).
พยัญชนะ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[พะยันชะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ; กับข้าวที่ไม่ใช่แกง, คู่กับ สูปะ ซึ่งหมายถึง แกง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยญฺชน เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู วฺยญฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยญฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู; ลักษณะของร่างกาย.พยัญชนะ [พะยันชะนะ] น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ; กับข้าวที่ไม่ใช่แกง, คู่กับ สูปะ ซึ่งหมายถึง แกง. (ป. พฺยญฺชน, วฺยญฺชน; ส. วฺยญฺชน); ลักษณะของร่างกาย.
พยัต เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า[พะยัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เรียน, ผู้รู้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด, เฉียบแหลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยตฺต เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า วฺยตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยกฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.พยัต [พะยัด] น. ผู้เรียน, ผู้รู้. ว. ฉลาด, เฉียบแหลม. (ป. พฺยตฺต, วฺยตฺต; ส. วฺยกฺต).
พยับ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[พะยับ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครึ้ม, มืดมัว, (ใช้แก่อากาศ) เช่น พยับฟ้า พยับฝน พยับเมฆ.พยับ [พะยับ] ว. ครึ้ม, มืดมัว, (ใช้แก่อากาศ) เช่น พยับฟ้า พยับฝน พยับเมฆ.
พยับแดด เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เงาแดด, แสงแดดกล้าที่ปรากฏในระยะไกลเป็นระยิบระยับลวงตา ทําให้เห็นเป็นนํ้าเป็นต้น.พยับแดด น. เงาแดด, แสงแดดกล้าที่ปรากฏในระยะไกลเป็นระยิบระยับลวงตา ทําให้เห็นเป็นนํ้าเป็นต้น.
พยับฝน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ครึ้มฝน.พยับฝน น. ครึ้มฝน.
พยับเมฆ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เมฆฝนตั้งเค้า.พยับเมฆ ๑ น. เมฆฝนตั้งเค้า.
พยับหมอก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หมอกมืดครึ้ม.พยับหมอก ๑ น. หมอกมืดครึ้ม.
พยับเมฆ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง ความหมายที่ ดูใน พยับ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้.พยับเมฆ ๑ ดูใน พยับ.
พยับเมฆ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Orthosiphon aristatus Miq. ในวงศ์ Labiatae ดอกเล็กสีขาวอมม่วงอ่อน ออกเป็นช่อยาว เกสรเพศผู้ยาว ใบใช้ทํายาได้, หญ้าหนวดแมว ก็เรียก.พยับเมฆ ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Orthosiphon aristatus Miq. ในวงศ์ Labiatae ดอกเล็กสีขาวอมม่วงอ่อน ออกเป็นช่อยาว เกสรเพศผู้ยาว ใบใช้ทํายาได้, หญ้าหนวดแมว ก็เรียก.
พยับหมอก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดูใน พยับ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้.พยับหมอก ๑ ดูใน พยับ.
พยับหมอก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Plumbago auriculata Lam. ในวงศ์ Plumbaginaceae ดอกเป็นช่อสีฟ้าอ่อน, เจตมูลเพลิงฝรั่ง ก็เรียก.พยับหมอก ๒ น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Plumbago auriculata Lam. ในวงศ์ Plumbaginaceae ดอกเป็นช่อสีฟ้าอ่อน, เจตมูลเพลิงฝรั่ง ก็เรียก.
พยากรณ์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[พะยากอน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทํานายหรือคาดการณ์โดยอาศัยหลักวิชา. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์โหราศาสตร์ว่าด้วยการทํานาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยากรณ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน.พยากรณ์ [พะยากอน] ก. ทํานายหรือคาดการณ์โดยอาศัยหลักวิชา. น. ชื่อคัมภีร์โหราศาสตร์ว่าด้วยการทํานาย. (ป., ส. วฺยากรณ).
พยาฆร์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[พะยาก] เป็นคำนาม หมายถึง พยัคฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง.พยาฆร์ [พะยาก] น. พยัคฆ์. (ส. วฺยาฆฺร; ป. พฺยคฺฆ).
พยางค์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[พะยาง] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของคำที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เช่น กะ มี ๑ พยางค์ กระเป๋า มี ๒ พยางค์ พยากรณ์ มี ๓ พยางค์.พยางค์ [พะยาง] น. ส่วนของคำที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เช่น กะ มี ๑ พยางค์ กระเป๋า มี ๒ พยางค์ พยากรณ์ มี ๓ พยางค์.
พยาธิ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [พะยาทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจ็บไข้ เช่น โรคาพยาธิ ชาติชราพยาธิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยาธิ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.พยาธิ ๑ [พะยาทิ] น. ความเจ็บไข้ เช่น โรคาพยาธิ ชาติชราพยาธิ. (ป. พฺยาธิ, วฺยาธิ; ส. วฺยาธิ).
พยาธิ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [พะยาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังซึ่งอย่างน้อยในระยะหนึ่งของชีวิตจะเป็นปรสิตอยู่ในมนุษย์และสัตว์ ชนิดตัวแบน เช่น พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด ชนิดตัวกลมหรือหนอนพยาธิ เช่น พยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า.พยาธิ ๒ [พะยาด] น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังซึ่งอย่างน้อยในระยะหนึ่งของชีวิตจะเป็นปรสิตอยู่ในมนุษย์และสัตว์ ชนิดตัวแบน เช่น พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด ชนิดตัวกลมหรือหนอนพยาธิ เช่น พยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า.
พยาน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[พะยาน] เป็นคำนาม หมายถึง หลักฐานเครื่องพิสูจน์ข้อเท็จจริง, ผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นหลักฐานเครื่องพิสูจน์ได้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง บุคคลซึ่งให้การในเรื่องหรือสิ่งที่ตนได้เห็น ได้ยิน หรือได้รับรู้มาโดยวิธีอื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ witness เขียนว่า ดับเบิลยู-ไอ-ที-เอ็น-อี-เอส-เอส.พยาน [พะยาน] น. หลักฐานเครื่องพิสูจน์ข้อเท็จจริง, ผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นหลักฐานเครื่องพิสูจน์ได้; (กฎ) บุคคลซึ่งให้การในเรื่องหรือสิ่งที่ตนได้เห็น ได้ยิน หรือได้รับรู้มาโดยวิธีอื่น. (อ. witness).
พยานบอกเล่า เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง พยานบุคคลซึ่งให้การโดยตนมิได้เห็น ได้ยิน หรือรู้เรื่องมาด้วยตนเอง แต่ได้ยินหรือได้ฟังจากผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hearsay เขียนว่า เอช-อี-เอ-อา-เอส-เอ-วาย evidence เขียนว่า อี-วี-ไอ-ดี-อี-เอ็น-ซี-อี .พยานบอกเล่า (กฎ) น. พยานบุคคลซึ่งให้การโดยตนมิได้เห็น ได้ยิน หรือรู้เรื่องมาด้วยตนเอง แต่ได้ยินหรือได้ฟังจากผู้อื่น. (อ. hearsay evidence).
พยานบุคคล เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู พยาน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.พยานบุคคล (กฎ) ดู พยาน.
พยานวัตถุ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่อ้างเป็นพยานหลักฐาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ material เขียนว่า เอ็ม-เอ-ที-อี-อา-ไอ-เอ-แอล evidence เขียนว่า อี-วี-ไอ-ดี-อี-เอ็น-ซี-อี .พยานวัตถุ (กฎ) น. วัตถุที่อ้างเป็นพยานหลักฐาน. (อ. material evidence).
พยานหลักฐาน เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคล เอกสารหรือวัตถุที่ใช้ในการยืนยันหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ evidence เขียนว่า อี-วี-ไอ-ดี-อี-เอ็น-ซี-อี.พยานหลักฐาน (กฎ) น. บุคคล เอกสารหรือวัตถุที่ใช้ในการยืนยันหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริง. (อ. evidence).
พยานเอกสาร เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารที่อ้างเป็นพยานหลักฐาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ documentary เขียนว่า ดี-โอ-ซี-ยู-เอ็ม-อี-เอ็น-ที-เอ-อา-วาย evidence เขียนว่า อี-วี-ไอ-ดี-อี-เอ็น-ซี-อี .พยานเอกสาร (กฎ) น. เอกสารที่อ้างเป็นพยานหลักฐาน. (อ. documentary evidence).
พยาบาท เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน[พะยาบาด] เป็นคำนาม หมายถึง การผูกใจเจ็บคิดจะแก้แค้น, การคิดปองร้าย, ในคำว่า ผูกพยาบาท. เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ปองร้าย, เช่น อย่าไปพยาบาทเขาเลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยาปาท เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน วฺยาปาท เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาปาท เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน.พยาบาท [พะยาบาด] น. การผูกใจเจ็บคิดจะแก้แค้น, การคิดปองร้าย, ในคำว่า ผูกพยาบาท. ก. ผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ปองร้าย, เช่น อย่าไปพยาบาทเขาเลย. (ป. พฺยาปาท, วฺยาปาท; ส. วฺยาปาท).
พยาบาล เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[พะยาบาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแลคนไข้, ปรนนิบัติคนไข้; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เอื้อเฟื้อเลี้ยงดู. เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดูแลคนไข้.พยาบาล [พะยาบาน] ก. ดูแลคนไข้, ปรนนิบัติคนไข้; (โบ) เอื้อเฟื้อเลี้ยงดู. น. ผู้ดูแลคนไข้.
พยาม, พยามะ พยาม เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า พยามะ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ [พะยาม, พะยามะ] เป็นคำนาม หมายถึง วา คือ ระยะวาหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยาม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.พยาม, พยามะ [พะยาม, พะยามะ] น. วา คือ ระยะวาหนึ่ง. (ป. พฺยาม, วฺยาม; ส. วฺยาม).
พยายาม เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[พะยา–] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําโดยมานะบากบั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี วายาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.พยายาม [พะยา–] ก. ทําโดยมานะบากบั่น. (ส. วฺยายาม; ป. วายาม).
พยาล, พยาล– พยาล เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง พยาล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง [พะยาน, พะยาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ที่กินเนื้อสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยาล เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี วาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง วาฬ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา .พยาล, พยาล– [พะยาน, พะยาละ–] น. สัตว์ที่กินเนื้อสัตว์. (ส. วฺยาล; ป. วาล, วาฬ).
พยาลมฤค เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-รอ-รึ-คอ-ควาย[พะยาละมะรึก] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยาลมฺฤค เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี วาฬมิค เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย.พยาลมฤค [พะยาละมะรึก] น. สัตว์ร้าย. (ส. วฺยาลมฺฤค; ป. วาฬมิค).
พยุ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ[พะยุ] เป็นคำนาม หมายถึง ลมแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พฺยุะ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-อะ และมาจากภาษาบาลี .พยุ [พะยุ] น. ลมแรง. (ข. พฺยุะ; ป., ส. วายุ).
พยุง เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-งอ-งู[พะยุง] เป็นคำกริยา หมายถึง ประคองให้ทรงตัวอยู่, ประคองให้อยู่ในสภาพปรกติ, เช่น พยุงตัวลุกขึ้น พยุงตัวไม่ให้จมน้ำ, ระวังไม่ให้ล้มไม่ให้ซวนเซเป็นต้น เช่น พยุงลุก พยุงนั่ง พยุงคนไข้ พยุงฐานะ, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง พยุพยุง ก็ว่า.พยุง [พะยุง] ก. ประคองให้ทรงตัวอยู่, ประคองให้อยู่ในสภาพปรกติ, เช่น พยุงตัวลุกขึ้น พยุงตัวไม่ให้จมน้ำ, ระวังไม่ให้ล้มไม่ให้ซวนเซเป็นต้น เช่น พยุงลุก พยุงนั่ง พยุงคนไข้ พยุงฐานะ, (ปาก) พยุพยุง ก็ว่า.
พยุงปีก เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ประคองแขนพยุงไปด้วยมือข้างหนึ่ง แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งโอบรอบหลังไปสอดใต้รักแร้ของผู้ถูกพยุง.พยุงปีก ก. ประคองแขนพยุงไปด้วยมือข้างหนึ่ง แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งโอบรอบหลังไปสอดใต้รักแร้ของผู้ถูกพยุง.
พยุพยุง เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-งอ-งู[พะยุพะยุง] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง พยุง.พยุพยุง [พะยุพะยุง] (ปาก) ก. พยุง.
พยุห–, พยุหะ พยุห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ พยุหะ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ [พะยุหะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กระบวน, หมู่, กองทัพ, พยู่ห์ ก็ว่า; ชื่อวิธีนับในปักษคณนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยูห เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ วฺยูห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยูห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ.พยุห–, พยุหะ [พะยุหะ–] น. กระบวน, หมู่, กองทัพ, พยู่ห์ ก็ว่า; ชื่อวิธีนับในปักษคณนา. (ป. พฺยูห, วฺยูห; ส. วฺยูห).
พยุหบาตร, พยุหบาตรา พยุหบาตร เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ พยุหบาตรา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง [–บาด, –บาดตฺรา] (กลอน) น. กระบวนทัพ.พยุหบาตร, พยุหบาตรา (โบ) [–บาด, –บาดตฺรา] (กลอน) น. กระบวนทัพ.
พยุหยาตรา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–ยาดตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนทัพ, การเดินทัพ, เช่น ยกพยุหยาตรา. เป็นคำกริยา หมายถึง ไปเป็นกระบวนทัพใหญ่.พยุหยาตรา [–ยาดตฺรา] น. กระบวนทัพ, การเดินทัพ, เช่น ยกพยุหยาตรา. ก. ไปเป็นกระบวนทัพใหญ่.
พยุหโยธา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หมู่พลรบ, กระบวนพลรบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พยุหโยธา น. หมู่พลรบ, กระบวนพลรบ. (ป.).
พยุหเสนา, พยุหแสนยา, พยุหแสนยากร พยุหเสนา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา พยุหแสนยา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา พยุหแสนยากร เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หมู่เสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺยูห เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ + เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยูห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ + ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก วฺยูห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ + ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ .พยุหเสนา, พยุหแสนยา, พยุหแสนยากร น. หมู่เสนา. (ป. พฺยูห + เสนา; ส. วฺยูห + ไสนฺย, วฺยูห + ไสนฺย + อากร).
พยุหร เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-เรือ[พะยุหอน] เป็นคำนาม หมายถึง เกณฑ์เลขผลหารของวิธีฉวาง. (ศัพท์ใช้ในตําราเลขโบราณ).พยุหร [พะยุหอน] น. เกณฑ์เลขผลหารของวิธีฉวาง. (ศัพท์ใช้ในตําราเลขโบราณ).
พยู่ห์ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[พะยู่] เป็นคำนาม หมายถึง พยุหะ, กระบวน, หมู่, กองทัพ.พยู่ห์ [พะยู่] น. พยุหะ, กระบวน, หมู่, กองทัพ.
พเยีย เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก[พะเยีย] เป็นคำนาม หมายถึง พวงดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ภฺี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี.พเยีย [พะเยีย] น. พวงดอกไม้. (ข. ภฺี).
พร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ[พอน] เป็นคำนาม หมายถึง คําแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล เช่น ให้พร ถวายพระพร, สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์ เช่น ขอพร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ.พร [พอน] น. คําแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล เช่น ให้พร ถวายพระพร, สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์ เช่น ขอพร. (ป. วร).
พรสวรรค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถพิเศษหรือคุณสมบัติเด่นของบุคคลที่มีมาแต่กําเนิด.พรสวรรค์ น. ความสามารถพิเศษหรือคุณสมบัติเด่นของบุคคลที่มีมาแต่กําเนิด.
พรต เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ตอ-เต่า[พฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง กิจวัตร, การปฏิบัติ; มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจําศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม); การสมาทานบริโภคอาหารอย่างเดียวเป็นนิตย์ (เช่น มธุพรต คือ การสมาทานกินแต่นํ้าผึ้ง); ข้อกําหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกายใจ มีศีลวินัยเป็นต้น เช่น บําเพ็ญพรต ทรงพรต ถือพรต, เรียกผู้บําเพ็ญพรตว่า นักพรต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺรต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี วตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.พรต [พฺรด] น. กิจวัตร, การปฏิบัติ; มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจําศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม); การสมาทานบริโภคอาหารอย่างเดียวเป็นนิตย์ (เช่น มธุพรต คือ การสมาทานกินแต่นํ้าผึ้ง); ข้อกําหนดการปฏิบัติทางศาสนาเพื่อข่มกายใจ มีศีลวินัยเป็นต้น เช่น บําเพ็ญพรต ทรงพรต ถือพรต, เรียกผู้บําเพ็ญพรตว่า นักพรต. (ส. วฺรต; ป. วตฺต).
พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [พฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องลาดทําด้วยขนสัตว์, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นบางชนิดที่ใช้ปูลาดว่า พรม เช่น พรมนํ้ามัน พรมกาบมะพร้าว; เรียกด้ายที่ทําด้วยขนสัตว์หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า ไหมพรม; ตุ้มสําหรับหยั่งนํ้าตื้นลึกเมื่อเรือเดินใกล้ฝั่ง; ไม้สําหรับยึดกันครากมีกรอบถือเป็นต้น.พรม ๑ [พฺรม] น. เครื่องลาดทําด้วยขนสัตว์, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นบางชนิดที่ใช้ปูลาดว่า พรม เช่น พรมนํ้ามัน พรมกาบมะพร้าว; เรียกด้ายที่ทําด้วยขนสัตว์หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า ไหมพรม; ตุ้มสําหรับหยั่งนํ้าตื้นลึกเมื่อเรือเดินใกล้ฝั่ง; ไม้สําหรับยึดกันครากมีกรอบถือเป็นต้น.
พรมทาง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พรมเล็ก ๆ ยาว ๆ ที่ใช้ปูเป็นลาดพระบาทหรือทางเดิน.พรมทาง น. พรมเล็ก ๆ ยาว ๆ ที่ใช้ปูเป็นลาดพระบาทหรือทางเดิน.
พรมน้ำมัน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องลาดชนิดหนึ่ง ทําด้วยผงไม้ก๊อกผสมนํ้ามันลินสีด สี และสารเคมีที่ทําให้นํ้ามันลินสีดแห้งแข็งตัวเร็ว แล้วอัดให้เป็นแผ่น ใช้แผ่นสักหลาดเนื้อหยาบชุบแอสฟัลต์อัดทับด้านหนึ่งแล้วจึงอบให้ร้อนจนแข็งตัวแห้งสนิททั้งแผ่น จึงนํามาตกแต่งอีกด้านหนึ่งให้มีผิวเรียบเป็นมัน, เสื่อนํ้ามัน ก็เรียก.พรมน้ำมัน น. เครื่องลาดชนิดหนึ่ง ทําด้วยผงไม้ก๊อกผสมนํ้ามันลินสีด สี และสารเคมีที่ทําให้นํ้ามันลินสีดแห้งแข็งตัวเร็ว แล้วอัดให้เป็นแผ่น ใช้แผ่นสักหลาดเนื้อหยาบชุบแอสฟัลต์อัดทับด้านหนึ่งแล้วจึงอบให้ร้อนจนแข็งตัวแห้งสนิททั้งแผ่น จึงนํามาตกแต่งอีกด้านหนึ่งให้มีผิวเรียบเป็นมัน, เสื่อนํ้ามัน ก็เรียก.
พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [พฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งที่มีลักษณะเป็นน้ำประโปรยให้กระจายเป็นเม็ดเล็ก ๆ เช่น เอาน้ำพรมผ้า พรมน้ำมนต์.พรม ๒ [พฺรม] ก. เอาสิ่งที่มีลักษณะเป็นน้ำประโปรยให้กระจายเป็นเม็ดเล็ก ๆ เช่น เอาน้ำพรมผ้า พรมน้ำมนต์.
พรมนิ้ว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ประนิ้วรัวที่เครื่องดนตรีบางชนิด มีซอและขลุ่ยเป็นต้น.พรมนิ้ว ก. ประนิ้วรัวที่เครื่องดนตรีบางชนิด มีซอและขลุ่ยเป็นต้น.
พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ดู หนามพรม เขียนว่า หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า.พรม ๓ ดู หนามพรม.
พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ดู นางเกล็ด เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก.พรม ๔ ดู นางเกล็ด.
พรมคด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก[พฺรมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Heliciopsis terminalis (Kurz) Sleumer ในวงศ์ Proteaceae ช่อดอกสีขาว กลิ่นหอม. (๒) ดู กระโดงแดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู (๑).พรมคด [พฺรมมะ–] น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Heliciopsis terminalis (Kurz) Sleumer ในวงศ์ Proteaceae ช่อดอกสีขาว กลิ่นหอม. (๒) ดู กระโดงแดง (๑).
พรมคดตีนเต่า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งในวงศ์ Malvaceae ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ใบเป็น ๓ แฉก ดอกสีเหลือง.พรมคดตีนเต่า น. ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งในวงศ์ Malvaceae ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ใบเป็น ๓ แฉก ดอกสีเหลือง.
พรมแดน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู[พฺรม–] เป็นคำนาม หมายถึง ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พฺรํแฎน เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-แอ-ดอ-ชะ-ดา-นอ-หนู.พรมแดน [พฺรม–] น. ขีดขั้นเขตแดน, แดนต่อแดน. (ข. พฺรํแฎน).
พรมมิ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ[พฺรม–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Bacopa monniera (L.) Weltst. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ดอกสีขาวหรือม่วงอ่อน ใช้ทํายาได้.พรมมิ [พฺรม–] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Bacopa monniera (L.) Weltst. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ดอกสีขาวหรือม่วงอ่อน ใช้ทํายาได้.
พรรค, พรรค–, พรรค์ พรรค เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย พรรค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย พรรค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด [พัก, พักคะ–, พัน] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวกเป็นฝ่าย เช่น พรรคการเมือง, พวก เช่น คนพรรค์นั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี วคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย.พรรค, พรรค–, พรรค์ [พัก, พักคะ–, พัน] น. หมู่คนที่เข้ารวมกันเป็นพวกเป็นฝ่าย เช่น พรรคการเมือง, พวก เช่น คนพรรค์นั้น. (ส. วรฺค; ป. วคฺค).
พรรคกลิน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[พักกะลิน] เป็นคำนาม หมายถึง เหล่าทหารเรือที่เป็นช่างกลประจําท้องเรือ.พรรคกลิน [พักกะลิน] น. เหล่าทหารเรือที่เป็นช่างกลประจําท้องเรือ.
พรรคการเมือง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย.พรรคการเมือง น. กลุ่มบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างเดียวกัน ร่วมกันจัดตั้งและจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย.
พรรคนาวิกโยธิน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[พักนาวิกกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เหล่าทหารเรือที่ประจําการพลรบฝ่ายบก.พรรคนาวิกโยธิน [พักนาวิกกะ–] น. เหล่าทหารเรือที่ประจําการพลรบฝ่ายบก.
พรรคนาวิน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[พัก–] เป็นคำนาม หมายถึง เหล่าทหารเรือที่ประจําการพลรบ.พรรคนาวิน [พัก–] น. เหล่าทหารเรือที่ประจําการพลรบ.
พรรคพวก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-พอ-พาน-วอ-แหวน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พวกเดียวกัน.พรรคพวก น. พวกเดียวกัน.
พรรคานต์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[พักคาน] เป็นคำนาม หมายถึง ตัวอักษรที่สุดวรรค คือ ง ญ ณ น ม.พรรคานต์ [พักคาน] น. ตัวอักษรที่สุดวรรค คือ ง ญ ณ น ม.
พรรณ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[พัน] เป็นคำนาม หมายถึง สีของผิว; ชนิด เช่น พรรณพืช พรรณไม้ พรรณสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี วณฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน.พรรณ [พัน] น. สีของผิว; ชนิด เช่น พรรณพืช พรรณไม้ พรรณสัตว์. (ส. วรฺณ; ป. วณฺณ).
พรรณราย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[พันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สีพราย ๆ, สีเลื่อมระยับ, งามผุดผ่อง.พรรณราย [พันนะ–] น. สีพราย ๆ, สีเลื่อมระยับ, งามผุดผ่อง.
พรรณนา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[พันนะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวเป็นเรื่องเป็นราวอย่างละเอียดให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี วณฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.พรรณนา [พันนะ–] ก. กล่าวเป็นเรื่องเป็นราวอย่างละเอียดให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. (ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา).
พรรณนาโวหาร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ.พรรณนาโวหาร น. สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ.
พรรดึก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่[พันระ–] เป็นคำนาม หมายถึง อุจจาระที่เป็นก้อนแข็งกลม.พรรดึก [พันระ–] น. อุจจาระที่เป็นก้อนแข็งกลม.
พรรลาย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[พันลาย] เป็นคำกริยา หมายถึง มากมาย, เกลื่อนกลาด; เซ็งแซ่ เช่น ร้องก้องเสียงพรรลาย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.พรรลาย [พันลาย] ก. มากมาย, เกลื่อนกลาด; เซ็งแซ่ เช่น ร้องก้องเสียงพรรลาย. (ตะเลงพ่าย).
พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี [พัด, พันสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ.พรรษ, พรรษ– [พัด, พันสะ–] น. ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส).
พรรษประเวศ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา[พันสะปฺระเวด] เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าสู่ปีใหม่, เถลิงศก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรษประเวศ [พันสะปฺระเวด] น. การเข้าสู่ปีใหม่, เถลิงศก. (ส.).
พรรษฤดู เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู[พันสะรึดู] เป็นคำนาม หมายถึง หน้าฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรษฤดู [พันสะรึดู] น. หน้าฝน. (ส.).
พรรษวุฒิ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ[พันสะวุดทิ] เป็นคำนาม หมายถึง การเจริญแห่งปี; วันเกิด.พรรษวุฒิ [พันสะวุดทิ] น. การเจริญแห่งปี; วันเกิด.
พรรษา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[พันสา] เป็นคำนาม หมายถึง ช่วงระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน เช่น เข้าพรรษา จําพรรษา; ปี เช่น บวช ๓ พรรษา, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง มีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ วสฺสาน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู .พรรษา [พันสา] น. ช่วงระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน เช่น เข้าพรรษา จําพรรษา; ปี เช่น บวช ๓ พรรษา, (ราชา) มีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส, วสฺสาน).
พรรษากาล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรษากาล น. ฤดูฝน. (ส.).
พรรษาคม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การเริ่มฤดูฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรษาคม น. การเริ่มฤดูฝน. (ส.).
พรรษายุต เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง หมื่นปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรษายุต น. หมื่นปี. (ส.).
พรรโษทก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-สอ-รือ-สี-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าฝน.พรรโษทก น. นํ้าฝน.
พรรโษบล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-สอ-รือ-สี-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ลูกเห็บ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรรโษบล น. ลูกเห็บ. (ส.).
พรรษา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อาดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรษา ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรษากาล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิงดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรษากาล ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรษาคม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้าดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรษาคม ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรษายุต เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่าดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรษายุต ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรโษทก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-สอ-รือ-สี-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรโษทก ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรโษบล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-สอ-รือ-สี-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิงดู พรรษ, พรรษ– พรรษ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี พรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี .พรรโษบล ดู พรรษ, พรรษ–.
พรรเหา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา[พัน–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, ยิ่ง, พันเหา ก็ใช้ เช่น คือ เทพเพียงพันเหา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.พรรเหา [พัน–] ว. มาก, ยิ่ง, พันเหา ก็ใช้ เช่น คือ เทพเพียงพันเหา. (สมุทรโฆษ).
พรรเอิญ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง[พัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เผอิญ, ใช้ว่า เพอิญ ก็มี.พรรเอิญ [พัน–] (โบ) ว. เผอิญ, ใช้ว่า เพอิญ ก็มี.
พรวงเพรียง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู[พฺรวงเพฺรียง] เป็นคำกริยา หมายถึง พูดยกยอ.พรวงเพรียง [พฺรวงเพฺรียง] ก. พูดยกยอ.
พรวด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [พฺรวด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็วโดยไม่ยับยั้ง เช่น เทพรวด; เสียงดังเช่นนั้น.พรวด ๑ [พฺรวด] ว. อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็วโดยไม่ยับยั้ง เช่น เทพรวด; เสียงดังเช่นนั้น.
พรวดพราด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[–พฺราด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็วโดยไม่ยับยั้ง เช่น วิ่งพรวดพราด เปิดประตูพรวดพราดเข้ามา.พรวดพราด [–พฺราด] ว. อาการที่เป็นไปอย่างรวดเร็วโดยไม่ยับยั้ง เช่น วิ่งพรวดพราด เปิดประตูพรวดพราดเข้ามา.
พรวด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [พฺรวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้และภาคตะวันออก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผึ้งโพรง (Apis cerana) ในวงศ์ Apidae เป็นผึ้งขนาดกลาง ผึ้งงานลําตัวยาว ๐.๙–๑ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๓.๕ มิลลิเมตร เมื่อกางปีกวัดจากปลายปีกยาวประมาณ ๑.๗๕ เซนติเมตร รวมตัวอยู่เป็นกลุ่ม ทํารังอยู่ในโพรงหรือตามซอกหิน ซอกหลังคาบ้านที่ปิดมิดชิด, ผึ้งรวง ก็เรียก.พรวด ๒ [พฺรวด] (ถิ่น–ปักษ์ใต้, ตะวันออก) น. ชื่อผึ้งโพรง (Apis cerana) ในวงศ์ Apidae เป็นผึ้งขนาดกลาง ผึ้งงานลําตัวยาว ๐.๙–๑ เซนติเมตร กว้างประมาณ ๓.๕ มิลลิเมตร เมื่อกางปีกวัดจากปลายปีกยาวประมาณ ๑.๗๕ เซนติเมตร รวมตัวอยู่เป็นกลุ่ม ทํารังอยู่ในโพรงหรือตามซอกหิน ซอกหลังคาบ้านที่ปิดมิดชิด, ผึ้งรวง ก็เรียก.
พรวด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [พฺรวด]ดู กระทุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ.พรวด ๓ [พฺรวด] ดู กระทุ.
พรวน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [พฺรวน] เป็นคำนาม หมายถึง โลหะทําเป็นรูปกลมกลวง มีลูกกลิ้งเล็ก ๆ อยู่ข้างในเพื่อให้เกิดเสียง ใช้ผูกคอสัตว์หรือข้อเท้าเป็นต้น เรียกว่า ลูกพรวน, กระพรวน หรือ ลูกกระพรวน ก็ว่า, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน หมายถึง มะหิ่ง หรือ หมากหิ่ง.พรวน ๑ [พฺรวน] น. โลหะทําเป็นรูปกลมกลวง มีลูกกลิ้งเล็ก ๆ อยู่ข้างในเพื่อให้เกิดเสียง ใช้ผูกคอสัตว์หรือข้อเท้าเป็นต้น เรียกว่า ลูกพรวน, กระพรวน หรือ ลูกกระพรวน ก็ว่า, (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) มะหิ่ง หรือ หมากหิ่ง.
พรวน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [พฺรวน] เป็นคำนาม หมายถึง กระจุก, กลุ่ม, พวง, เช่น วิ่งตามเป็นพรวน.พรวน ๒ [พฺรวน] น. กระจุก, กลุ่ม, พวง, เช่น วิ่งตามเป็นพรวน.
พรวน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [พฺรวน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Labeo pruol ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลานวลจันทร์ ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .พรวน ๓ [พฺรวน] น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Labeo pruol ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลานวลจันทร์ ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน. (ข.).
พรวน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [พฺรวน] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ต้นเงาะ. ในวงเล็บ ดู เงาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒. (๒) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..พรวน ๔ [พฺรวน] น. (๑) (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ต้นเงาะ. (ดู เงาะ ๒). (๒) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L..
พรวน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [พฺรวน] เป็นคำกริยา หมายถึง คุ้ยดินให้เป็นกลุ่มล้อมต้นไม้, ใช้จอบหรือเสียมเป็นต้นทำดินให้โปร่งหรือร่วน, เรียกว่า พรวนดิน.พรวน ๕ [พฺรวน] ก. คุ้ยดินให้เป็นกลุ่มล้อมต้นไม้, ใช้จอบหรือเสียมเป็นต้นทำดินให้โปร่งหรือร่วน, เรียกว่า พรวนดิน.
พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า [พฺรม, พฺรมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระเป็นเจ้าผู้สร้างโลกตามศาสนาพราหมณ์, เทพในพรหมโลก จําพวกมีรูป เรียก รูปพรหม มี ๑๖ ชั้น จําพวกไม่มีรูป เรียก อรูปพรหม มี ๔ ชั้น ตามคติพระพุทธศาสนา, ในบทกลอนใช้ว่า พรหมัน พรหมา พรหมาน หรือ พรหมาร ก็มี; ผู้มีพรหมวิหารทั้ง ๔ (เช่น บิดามารดามีพรหมวิหารทั้ง ๔ ต่อบุตร ได้ชื่อว่า เป็นพรหมของบุตร). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พฺรหฺม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-พิน-ทุ-มอ-ม้า.พรหม, พรหม– [พฺรม, พฺรมมะ–] น. ชื่อพระเป็นเจ้าผู้สร้างโลกตามศาสนาพราหมณ์, เทพในพรหมโลก จําพวกมีรูป เรียก รูปพรหม มี ๑๖ ชั้น จําพวกไม่มีรูป เรียก อรูปพรหม มี ๔ ชั้น ตามคติพระพุทธศาสนา, ในบทกลอนใช้ว่า พรหมัน พรหมา พรหมาน หรือ พรหมาร ก็มี; ผู้มีพรหมวิหารทั้ง ๔ (เช่น บิดามารดามีพรหมวิหารทั้ง ๔ ต่อบุตร ได้ชื่อว่า เป็นพรหมของบุตร). (ป., ส. พฺรหฺม).
พรหมกาย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง พระกาย (คือ รูปกาย นามกาย) ประเสริฐ, พระนามของพระพุทธเจ้า.พรหมกาย น. พระกาย (คือ รูปกาย นามกาย) ประเสริฐ, พระนามของพระพุทธเจ้า.
พรหมโคละ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[พฺรมมะโคละ] เป็นคำนาม หมายถึง จักรวาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมโคละ [พฺรมมะโคละ] น. จักรวาล. (ส.).
พรหมจรรย์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาปรมัตถ์, การศึกษาพระเวท; การถือพรตบางอย่าง เช่นเว้นเมถุนเป็นต้น, การบวชซึ่งเว้นเมถุนเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมจรรย์ น. การศึกษาปรมัตถ์, การศึกษาพระเวท; การถือพรตบางอย่าง เช่นเว้นเมถุนเป็นต้น, การบวชซึ่งเว้นเมถุนเป็นต้น. (ส.).
พรหมจักร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง จักรวาล; คําสอนของพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี พฺรหฺมจกฺก เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-จอ-จาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.พรหมจักร น. จักรวาล; คําสอนของพระพุทธเจ้า. (ส.; ป. พฺรหฺมจกฺก).
พรหมจาริณี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่ยังบริสุทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พรหมจาริณี น. หญิงที่ยังบริสุทธิ์. (ป.).
พรหมจารี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ศึกษาปรมัตถ์, นักเรียนพระเวท; ผู้ถือพรตบางอย่าง เช่นเว้นเมถุนเป็นต้น, ในพระพุทธศาสนาหมายเอาผู้ตั้งอยู่ในธรรม มีเว้นจากเมถุนเป็นต้น เช่นภิกษุ; หญิงที่ยังบริสุทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พฺรหฺมจารินฺ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.พรหมจารี น. ผู้ศึกษาปรมัตถ์, นักเรียนพระเวท; ผู้ถือพรตบางอย่าง เช่นเว้นเมถุนเป็นต้น, ในพระพุทธศาสนาหมายเอาผู้ตั้งอยู่ในธรรม มีเว้นจากเมถุนเป็นต้น เช่นภิกษุ; หญิงที่ยังบริสุทธิ์. (ป.; ส. พฺรหฺมจารินฺ).
พรหมชาติ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตําราหมอดู.พรหมชาติ น. ชื่อตําราหมอดู.
พรหมทัณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ตามศาสนาพราหมณ์หมายความว่า “ไม้พระพรหม” ชื่อศัสตรากายสิทธิ์ชนิดหนึ่ง; การสาปแห่งพราหมณ์; โทษอย่างสูง คือห้ามไม่ให้ใคร ๆ พูดด้วยในหมู่สงฆ์ด้วยกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี .พรหมทัณฑ์ น. ตามศาสนาพราหมณ์หมายความว่า “ไม้พระพรหม” ชื่อศัสตรากายสิทธิ์ชนิดหนึ่ง; การสาปแห่งพราหมณ์; โทษอย่างสูง คือห้ามไม่ให้ใคร ๆ พูดด้วยในหมู่สงฆ์ด้วยกัน. (ส., ป.).
พรหมไทย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดินซึ่งพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่พราหมณ์และยกเว้นภาษีอากร; ของที่บิดามารดาให้.พรหมไทย น. ที่ดินซึ่งพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่พราหมณ์และยกเว้นภาษีอากร; ของที่บิดามารดาให้.
พรหมธาดา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พระพรหมผู้สร้าง.พรหมธาดา น. พระพรหมผู้สร้าง.
พรหมบถ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ทางไปสู่พระพรหม, ทางไปสู่ความดีสูงสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมบถ น. ทางไปสู่พระพรหม, ทางไปสู่ความดีสูงสุด. (ส.).
พรหมบท เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ของพระพรหม; ตําแหน่งพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมบท น. ที่อยู่ของพระพรหม; ตําแหน่งพราหมณ์. (ส.).
พรหมบริษัท เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ชุมนุมพระพรหม, ชุมนุมพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมบริษัท น. ชุมนุมพระพรหม, ชุมนุมพราหมณ์. (ส.).
พรหมบุตร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์, ลูกพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมบุตร น. พราหมณ์, ลูกพราหมณ์. (ส.).
พรหมปุโรหิต เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์ชั้นสูง; ชื่อพรหมหมู่หนึ่งอยู่ในสวรรค์อันสูงกว่าชั้นพรหมปาริสัช; ชื่อคัมภีร์แพทย์ว่าด้วยต้นเหตุที่มนุษย์เกิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมปุโรหิต น. พราหมณ์ชั้นสูง; ชื่อพรหมหมู่หนึ่งอยู่ในสวรรค์อันสูงกว่าชั้นพรหมปาริสัช; ชื่อคัมภีร์แพทย์ว่าด้วยต้นเหตุที่มนุษย์เกิด. (ส.).
พรหมพักตร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ยอดเครื่องสูงหรือยอดสิ่งก่อสร้างที่เป็นหน้าพรหม ๔ ด้าน.พรหมพักตร์ น. ยอดเครื่องสูงหรือยอดสิ่งก่อสร้างที่เป็นหน้าพรหม ๔ ด้าน.
พรหมพันธุ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง “วงศ์พรหม” คือพราหมณ์โดยตระกูล คือ พราหมณ์เลว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมพันธุ์ น. “วงศ์พรหม” คือพราหมณ์โดยตระกูล คือ พราหมณ์เลว. (ส.).
พรหมภูติ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[พฺรมมะพูติ] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาสนธยา, เวลาขมุกขมัว, โพล้เพล้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมภูติ [พฺรมมะพูติ] น. เวลาสนธยา, เวลาขมุกขมัว, โพล้เพล้. (ส.).
พรหมยาน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ยานที่นําไปสู่ความเป็นพรหม คือการบริจาคอันยิ่งใหญ่ เช่นบุตรทารทาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์สักบรรพ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พรหมยาน น. ยานที่นําไปสู่ความเป็นพรหม คือการบริจาคอันยิ่งใหญ่ เช่นบุตรทารทาน. (ม. ร่ายยาว สักบรรพ). (ป.).
พรหมเรขา, พรหมลิขิต พรหมเรขา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา พรหมลิขิต เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า [พฺรมมะ–, พฺรม–] เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจที่กําหนดความเป็นไปของชีวิต (ถือกันว่า พระพรหมเขียนไว้ที่หน้าผากของเด็กซึ่งเกิดได้ ๖ วัน). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมเรขา, พรหมลิขิต [พฺรมมะ–, พฺรม–] น. อํานาจที่กําหนดความเป็นไปของชีวิต (ถือกันว่า พระพรหมเขียนไว้ที่หน้าผากของเด็กซึ่งเกิดได้ ๖ วัน). (ส.).
พรหมโลก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[พฺรมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง โลกของพระพรหม; ภูมิเป็นที่สถิตของพระพรหม.พรหมโลก [พฺรมมะ–] น. โลกของพระพรหม; ภูมิเป็นที่สถิตของพระพรหม.
พรหมฤษี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ฤษีที่เป็นพราหมณ์โดยกําเนิด.พรหมฤษี น. ฤษีที่เป็นพราหมณ์โดยกําเนิด.
พรหมวิหาร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[พฺรมมะ–, พฺรม–] เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พรหมวิหาร [พฺรมมะ–, พฺรม–] น. ธรรมของพรหมหรือของท่านผู้เป็นใหญ่ มี ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. (ป.).
พรหมศร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกาบกระหนกชนิดหนึ่ง ที่ประกอบกับโคนเสา เช่น เสาบุษบก มีลักษณะคล้ายอินทรธนูละคร เรียกว่า กาบพรหมศร.พรหมศร น. ชื่อกาบกระหนกชนิดหนึ่ง ที่ประกอบกับโคนเสา เช่น เสาบุษบก มีลักษณะคล้ายอินทรธนูละคร เรียกว่า กาบพรหมศร.
พรหมสี่หน้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[พฺรม–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระบวนมวยท่าหนึ่ง, ชื่อกระบวนรําท่าหนึ่ง.พรหมสี่หน้า [พฺรม–] น. ชื่อกระบวนมวยท่าหนึ่ง, ชื่อกระบวนรําท่าหนึ่ง.
พรหมสูตร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายที่สวมสะพายแล่ง เป็นเครื่องหมายของพราหมณ์, สายธุรําของพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมสูตร น. ด้ายที่สวมสะพายแล่ง เป็นเครื่องหมายของพราหมณ์, สายธุรําของพราหมณ์. (ส.).
พรหมโองการ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ทํารูปเหมือนใบมะตูมติดที่โรงพิธี.พรหมโองการ น. ชื่อไม้ทํารูปเหมือนใบมะตูมติดที่โรงพิธี.
พรหมัญตา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[พฺรมมันยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่พราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .พรหมัญตา [พฺรมมันยะ–] น. ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่พราหมณ์. (ป.).
พรหมา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา[พฺรมมา] เป็นคำนาม หมายถึง พรหม.พรหมา [พฺรมมา] น. พรหม.
พรหมาณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[พฺรมมาน] เป็นคำนาม หมายถึง จักรวาล, โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมาณฑ์ [พฺรมมาน] น. จักรวาล, โลก. (ส.).
พรหมาสตร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[พฺรมมาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศรเล่มหนึ่งของพระราม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมาสตร์ [พฺรมมาด] น. ชื่อศรเล่มหนึ่งของพระราม. (ส.).
พรหมินทร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[พฺรมมิน] เป็นคำนาม หมายถึง พรหมผู้เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหมินทร์ [พฺรมมิน] น. พรหมผู้เป็นใหญ่. (ส.).
พรหเมนทร์, พรหเมศวร พรหเมนทร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด พรหเมศวร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ [พฺรมเมน, พฺรมเมสวน] เป็นคำนาม หมายถึง พระพรหมผู้เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .พรหเมนทร์, พรหเมศวร [พฺรมเมน, พฺรมเมสวน] น. พระพรหมผู้เป็นใหญ่. (ส.).
พรหมหัวเหม็น เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนูดู ขี้ขม เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ขอ-ไข่-มอ-ม้า.พรหมหัวเหม็น ดู ขี้ขม.
พรหมัญตา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อาดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหมัญตา ดู พรหม, พรหม–.
พรหมา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อาดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหมา ดู พรหม, พรหม–.
พรหมาณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาดดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหมาณฑ์ ดู พรหม, พรหม–.
พรหมาสตร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหมาสตร์ ดู พรหม, พรหม–.
พรหมินทร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหมินทร์ ดู พรหม, พรหม–.
พรหเมนทร์, พรหเมศวร พรหเมนทร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด พรหเมศวร เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ ดู พรหม, พรหม– พรหม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า พรหม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า .พรหเมนทร์, พรหเมศวร ดู พรหม, พรหม–.
พรอก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[พฺรอก] เป็นคำกริยา หมายถึง บอก, พูด, เช่น บัดบอกพรอกพราง.พรอก [พฺรอก] ก. บอก, พูด, เช่น บัดบอกพรอกพราง.
พร่อง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู[พฺร่อง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เต็มตามอัตราเพราะลดหรือขาดไป เช่น ตักแกงพร่อง ทำงานไม่พร่อง กินไม่รู้จักพร่อง. เป็นคำกริยา หมายถึง ยุบไปหรือลดไปจากเดิม เช่น น้ำในโอ่งพร่องไป ข้าวสารในกระสอบพร่องไป.พร่อง [พฺร่อง] ว. ไม่เต็มตามอัตราเพราะลดหรือขาดไป เช่น ตักแกงพร่อง ทำงานไม่พร่อง กินไม่รู้จักพร่อง. ก. ยุบไปหรือลดไปจากเดิม เช่น น้ำในโอ่งพร่องไป ข้าวสารในกระสอบพร่องไป.
พร้อง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู[พฺร้อง] เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, กล่าว, ร้อง.พร้อง [พฺร้อง] ก. พูด, กล่าว, ร้อง.
พร้องเพรียก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[–เพฺรียก] เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องเรียก.พร้องเพรียก [–เพฺรียก] ก. ร้องเรียก.
พรอด, พรอด ๆ พรอด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก พรอด ๆ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก [พฺรอด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเสียงของเหลวปนกับลมไหลออกจากช่องเล็ก ๆ หรือขึ้นมาจากเลนตม. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกดินเลนที่ฟูดโป่งขึ้นมา เช่น พรอดปลาไหล คือดินที่โป่งขึ้นมาซึ่งเป็นที่มีปลาไหล, ฟอด ก็ว่า.พรอด, พรอด ๆ [พฺรอด] ว. เสียงดังอย่างเสียงของเหลวปนกับลมไหลออกจากช่องเล็ก ๆ หรือขึ้นมาจากเลนตม. น. เรียกดินเลนที่ฟูดโป่งขึ้นมา เช่น พรอดปลาไหล คือดินที่โป่งขึ้นมาซึ่งเป็นที่มีปลาไหล, ฟอด ก็ว่า.
พร้อม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[พฺร้อม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําแสดงกิริยาร่วมกัน เช่น ร้องเพลงพร้อมกัน ปรบมือพร้อมกัน หรือในเวลาเดียวกัน เช่น ไปพร้อมกัน ถึงพร้อมกัน, โดยปริยายหมายความว่า ครบครัน เช่น งามพร้อม ดีพร้อม เตรียมพร้อม, เสร็จ เช่น พร้อมแล้ว. เป็นคำกริยา หมายถึง เตรียมครบถ้วน เช่น พร้อมแล้ว.พร้อม [พฺร้อม] ว. คําแสดงกิริยาร่วมกัน เช่น ร้องเพลงพร้อมกัน ปรบมือพร้อมกัน หรือในเวลาเดียวกัน เช่น ไปพร้อมกัน ถึงพร้อมกัน, โดยปริยายหมายความว่า ครบครัน เช่น งามพร้อม ดีพร้อม เตรียมพร้อม, เสร็จ เช่น พร้อมแล้ว. ก. เตรียมครบถ้วน เช่น พร้อมแล้ว.
พร้อมใจ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมใจ, มีน้ำใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น เขาพร้อมใจกันทำงาน.พร้อมใจ ก. ร่วมใจ, มีน้ำใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น เขาพร้อมใจกันทำงาน.
พร้อมญาติ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีญาติพี่น้องมากันมากมาย.พร้อมญาติ ว. มีญาติพี่น้องมากันมากมาย.
พร้อมพรัก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พรักพร้อม.พร้อมพรัก ว. พรักพร้อม.
พร้อมพรั่ง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมอยู่มากหลาย เช่น มากันพร้อมพรั่ง, พรั่งพร้อม ก็ว่า.พร้อมพรั่ง ว. รวมอยู่มากหลาย เช่น มากันพร้อมพรั่ง, พรั่งพร้อม ก็ว่า.
พร้อมเพรียง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครบถ้วน, ร่วมใจกัน, เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น ช่วยกันทำงานอย่างพร้อมเพรียง.พร้อมเพรียง ว. ครบถ้วน, ร่วมใจกัน, เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, เช่น ช่วยกันทำงานอย่างพร้อมเพรียง.
พร้อมมูล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บริบูรณ์, มีครบทุกอย่าง, เช่น มีหลักฐานพร้อมมูล.พร้อมมูล ว. บริบูรณ์, มีครบทุกอย่าง, เช่น มีหลักฐานพร้อมมูล.
พร้อมสรรพ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อมทุกอย่าง, มีครบทุกอย่าง, เช่น เตรียมให้พร้อมสรรพ.พร้อมสรรพ ว. พร้อมทุกอย่าง, มีครบทุกอย่าง, เช่น เตรียมให้พร้อมสรรพ.
พร้อมหน้า, พร้อมหน้าพร้อมตา พร้อมหน้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา พร้อมหน้าพร้อมตา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมอยู่เป็นจํานวนมากอย่างพร้อมเพรียงกัน (ใช้แก่คนที่มีความเกี่ยวข้องกัน) เช่น มากันพร้อมหน้า มากันพร้อมหน้าพร้อมตา.พร้อมหน้า, พร้อมหน้าพร้อมตา ว. รวมอยู่เป็นจํานวนมากอย่างพร้อมเพรียงกัน (ใช้แก่คนที่มีความเกี่ยวข้องกัน) เช่น มากันพร้อมหน้า มากันพร้อมหน้าพร้อมตา.
พร่อมพร้อ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง[พฺร่อมพฺร้อ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซอมซ่อ, ไม่งดงาม.พร่อมพร้อ [พฺร่อมพฺร้อ] ว. ซอมซ่อ, ไม่งดงาม.
พร่อย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[พฺร่อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครํ่าคร่า, แก่ครํ่า.พร่อย [พฺร่อย] ว. ครํ่าคร่า, แก่ครํ่า.
พร้อย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[พฺร้อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประไปทั่ว, ลายกระเป็นจุดประปราย, วาว, พราย, เช่น ลายพร้อย ด่างพร้อย.พร้อย [พฺร้อย] ว. ประไปทั่ว, ลายกระเป็นจุดประปราย, วาว, พราย, เช่น ลายพร้อย ด่างพร้อย.
พระ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[พฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง คำใช้แทนชื่อเรียกภิกษุสงฆ์ เช่น วัดนี้มีพระกี่องค์ พระลงโบสถ์, พระพุทธรูป เช่น ชักพระ ไหว้พระในโบสถ์, พระพุทธเจ้า หรือ เนื่องด้วยพระพุทธเจ้า เช่น เมืองพระ คําพระ พระมาตรัส, ชื่อวันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ ค่ำ ขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ และแรม ๑๕ ค่ำ ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ ค่ำ เรียกว่า วันพระ; พระเจ้า, พระเยซู, (ตามที่คริสต์ศาสนิกชนในเมืองไทยใช้อนุโลมเรียก) เช่น พระลงโทษ แม่พระ; นักบวช, นักพรต, เช่น พระไทยพระแขก พระฝรั่ง พระจีน พระญวน; ตัวเอกในเรื่องละคร เช่น ตัวพระตัวนาง; ใช้ประกอบหน้าคําอื่นแสดงความยกย่อง ๑. เทพเจ้าหรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวรพระนารายณ์ พระพิรุณ ๒. พระเจ้าแผ่นดินหรือของที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายชั้นสูง เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ ๓. สมณศักดิ์ชั้นราชาคณะ เช่น พระราชเวที พระเทพเมธี ๔. นักบวช เช่น พระแดง ๕. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระภูมิ; อิสริยยศเจ้านาย เช่น พระรามคําแหง พระนเรศวร พระเทียรราชา; บรรดาศักดิ์ข้าราชการสูงกว่าหลวง ต่ำกว่าพระยา เช่น พระสารประเสริฐ พระธรรมนิเทศทวยหาญ, ใช้ประกอบหน้าชื่อบรรดาศักดิ์พระสนม; โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีเมตตากรุณาทรงคุณงามความดีเหมือนพระ เช่น ใจพระ พ่อแม่เป็นพระของลูก. เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง ใช้กับผู้เป็นใหญ่ เช่น พระเสด็จโดยแดนชล, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.พระ [พฺระ] น. คำใช้แทนชื่อเรียกภิกษุสงฆ์ เช่น วัดนี้มีพระกี่องค์ พระลงโบสถ์, พระพุทธรูป เช่น ชักพระ ไหว้พระในโบสถ์, พระพุทธเจ้า หรือ เนื่องด้วยพระพุทธเจ้า เช่น เมืองพระ คําพระ พระมาตรัส, ชื่อวันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ ค่ำ ขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ และแรม ๑๕ ค่ำ ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ ค่ำ เรียกว่า วันพระ; พระเจ้า, พระเยซู, (ตามที่คริสต์ศาสนิกชนในเมืองไทยใช้อนุโลมเรียก) เช่น พระลงโทษ แม่พระ; นักบวช, นักพรต, เช่น พระไทยพระแขก พระฝรั่ง พระจีน พระญวน; ตัวเอกในเรื่องละคร เช่น ตัวพระตัวนาง; ใช้ประกอบหน้าคําอื่นแสดงความยกย่อง ๑. เทพเจ้าหรือเทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวรพระนารายณ์ พระพิรุณ ๒. พระเจ้าแผ่นดินหรือของที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายชั้นสูง เช่น พระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ ๓. สมณศักดิ์ชั้นราชาคณะ เช่น พระราชเวที พระเทพเมธี ๔. นักบวช เช่น พระแดง ๕. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น พระภูมิ; อิสริยยศเจ้านาย เช่น พระรามคําแหง พระนเรศวร พระเทียรราชา; บรรดาศักดิ์ข้าราชการสูงกว่าหลวง ต่ำกว่าพระยา เช่น พระสารประเสริฐ พระธรรมนิเทศทวยหาญ, ใช้ประกอบหน้าชื่อบรรดาศักดิ์พระสนม; โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีเมตตากรุณาทรงคุณงามความดีเหมือนพระ เช่น ใจพระ พ่อแม่เป็นพระของลูก. ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง ใช้กับผู้เป็นใหญ่ เช่น พระเสด็จโดยแดนชล, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.
พระกรน้อย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสื้อชั้นในที่แขนต่อแถบรัดคู่กับฉลองพระองค์ทรงประพาส, ฉลองพระกรน้อย ก็ว่า.พระกรน้อย (ราชา) น. ชื่อเสื้อชั้นในที่แขนต่อแถบรัดคู่กับฉลองพระองค์ทรงประพาส, ฉลองพระกรน้อย ก็ว่า.
พระครู เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ฐานันดรประเภทหนึ่งแห่งพระภิกษุ ตํ่ากว่าพระราชาคณะ เช่น พระครูสรวุฒิพิศาล พระครูสรภาณพิสุทธิ; บรรดาศักดิ์พราหมณ์ เช่น พระครูวามเทพมุนี.พระครู น. ฐานันดรประเภทหนึ่งแห่งพระภิกษุ ตํ่ากว่าพระราชาคณะ เช่น พระครูสรวุฒิพิศาล พระครูสรภาณพิสุทธิ; บรรดาศักดิ์พราหมณ์ เช่น พระครูวามเทพมุนี.
พระคะแนน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พระเครื่องขนาดเล็ก ใช้เป็นสิ่งกำหนดนับจำนวนพระเครื่องที่สร้างขึ้น เช่น เมื่อสร้างพระเครื่องครบ ๑๐๐ องค์ ก็มีพระคะแนน ๑ องค์.พระคะแนน น. พระเครื่องขนาดเล็ก ใช้เป็นสิ่งกำหนดนับจำนวนพระเครื่องที่สร้างขึ้น เช่น เมื่อสร้างพระเครื่องครบ ๑๐๐ องค์ ก็มีพระคะแนน ๑ องค์.
พระคุณ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง บุญคุณ เช่น รำลึกถึงพระคุณครูอาจารย์.พระคุณ น. บุญคุณ เช่น รำลึกถึงพระคุณครูอาจารย์.
พระคุณเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําเรียกพระภิกษุที่นับถือ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.พระคุณเจ้า ส. คําเรียกพระภิกษุที่นับถือ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
พระเคราะห์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ดาวนพเคราะห์.พระเคราะห์ น. ดาวนพเคราะห์.
พระเครื่อง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ ที่นับถือว่าเป็นเครื่องคุ้มครองป้องกันอันตราย (ย่อมาจากคํา พระเครื่องราง); เครื่องเสวย.พระเครื่อง น. พระพุทธรูปองค์เล็ก ๆ ที่นับถือว่าเป็นเครื่องคุ้มครองป้องกันอันตราย (ย่อมาจากคํา พระเครื่องราง); เครื่องเสวย.
พระเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พระพุทธเจ้า เช่น พระเจ้าห้าพระองค์, พระพุทธรูป เช่น ทุกแห่งห้องพระเจ้า นั่งเนือง. ในวงเล็บ มาจาก กำสรวลศรีปราชญ์ ฉบับโรงพิมพ์ ไท ถนนรองเมือง พ.ศ. ๒๔๖๐, เทพผู้เป็นใหญ่; คํานําหน้าพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านาย เช่น พระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าลูกเธอ; พระเศียรหรือพระเกศาพระเจ้าแผ่นดิน.พระเจ้า น. พระพุทธเจ้า เช่น พระเจ้าห้าพระองค์, พระพุทธรูป เช่น ทุกแห่งห้องพระเจ้า นั่งเนือง. (กําสรวล), เทพผู้เป็นใหญ่; คํานําหน้าพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านาย เช่น พระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าลูกเธอ; พระเศียรหรือพระเกศาพระเจ้าแผ่นดิน.
พระเจ้าหลวง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดินที่สละราชสมบัติให้รัชทายาทเป็นพระเจ้าแผ่นดินแทน.พระเจ้าหลวง น. พระเจ้าแผ่นดินที่สละราชสมบัติให้รัชทายาทเป็นพระเจ้าแผ่นดินแทน.
พระเจ้าอยู่หัว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระเจ้าแผ่นดิน.พระเจ้าอยู่หัว น. คําเรียกพระเจ้าแผ่นดิน.
พระชายา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง พระองค์เจ้าหญิงซึ่งเป็นภรรยาของพระราชวงศ์.พระชายา (ราชา) น. พระองค์เจ้าหญิงซึ่งเป็นภรรยาของพระราชวงศ์.
พระเชื้อเมือง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พระเสื้อเมือง, เทวดาที่รักษาบ้านเมือง.พระเชื้อเมือง (โบ) น. พระเสื้อเมือง, เทวดาที่รักษาบ้านเมือง.
พระเดชพระคุณ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง คําใช้นําหน้าสมณศักดิ์ของพระราชาคณะ เช่น เรียน พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระพิมลธรรม, ถ้าใช้นําหน้าสมณศักดิ์ของสมเด็จพระราชาคณะ ใช้ว่า พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณ หรือพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณ เช่น กราบเรียน พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์. เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําเรียกผู้มียศบรรดาศักดิ์หรือพระภิกษุสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์สูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.พระเดชพระคุณ น. คําใช้นําหน้าสมณศักดิ์ของพระราชาคณะ เช่น เรียน พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระพิมลธรรม, ถ้าใช้นําหน้าสมณศักดิ์ของสมเด็จพระราชาคณะ ใช้ว่า พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณ หรือพระเดชพระคุณท่านเจ้าพระคุณ เช่น กราบเรียน พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์. ส. คําเรียกผู้มียศบรรดาศักดิ์หรือพระภิกษุสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์สูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
พระทอง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง คําแทนชื่อเจ้านาย.พระทอง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง; (กลอน) คําแทนชื่อเจ้านาย.
พระทัย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ใจ.พระทัย (ราชา) น. ใจ.
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ.พระธรรมนูญศาลยุติธรรม (กฎ) น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ.
พระธรรมศาสตร์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู ธรรมศาสตร์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด.พระธรรมศาสตร์ ดู ธรรมศาสตร์.
พระนม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง แม่นม.พระนม (ราชา) น. แม่นม.
พระนาง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พระธิดาหรือพระมเหสีของพระมหากษัตริย์.พระนาง น. พระธิดาหรือพระมเหสีของพระมหากษัตริย์.
พระนางเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งพระมเหสี สูงกว่าพระนางเธอขึ้นไป.พระนางเจ้า น. ตําแหน่งพระมเหสี สูงกว่าพระนางเธอขึ้นไป.
พระนางเธอ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งพระมเหสี ตํ่ากว่าพระนางเจ้า.พระนางเธอ น. ตําแหน่งพระมเหสี ตํ่ากว่าพระนางเจ้า.
พระนาย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกหัวหมื่นมหาดเล็ก เช่น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ เรียกว่า พระนายไวยวรนาถ.พระนาย น. คําเรียกหัวหมื่นมหาดเล็ก เช่น เจ้าหมื่นไวยวรนาถ เรียกว่า พระนายไวยวรนาถ.
พระบฏ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-ปะ-ตัก เป็นคำนาม หมายถึง ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้นและแขวนไว้เพื่อบูชา.พระบฏ น. ผืนผ้าที่มีรูปพระพุทธเจ้าเป็นต้นและแขวนไว้เพื่อบูชา.
พระบท เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ตําราหมอดูโบราณสําหรับใช้เสี่ยงทายโดยวิธีเอาไม้แทง.พระบท น. ตําราหมอดูโบราณสําหรับใช้เสี่ยงทายโดยวิธีเอาไม้แทง.
พระบาลี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อีดู บาลี เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี.พระบาลี ดู บาลี.
พระประธาน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหารเป็นต้น.พระประธาน น. พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถหรือวิหารเป็นต้น.
พระเป็นเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวร, พระผู้สร้างโลก.พระเป็นเจ้า น. เทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวร, พระผู้สร้างโลก.
พระผู้เป็นเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวร; พระภิกษุที่นับถือ.พระผู้เป็นเจ้า น. เทวดาผู้เป็นใหญ่ เช่น พระอิศวร; พระภิกษุที่นับถือ.
พระแผง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พระพิมพ์ที่หล่อติดกันเป็นแผง, พระพิมพ์ที่บรรจุอยู่ในแผงไม้ขนาดใหญ่.พระแผง น. พระพิมพ์ที่หล่อติดกันเป็นแผง, พระพิมพ์ที่บรรจุอยู่ในแผงไม้ขนาดใหญ่.
พระพันปี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง คำเรียกพระราชชนนี.พระพันปี (ราชา) น. คำเรียกพระราชชนนี.
พระพิมพ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระเครื่องที่สร้างขึ้นตามแบบแม่พิมพ์.พระพิมพ์ น. พระเครื่องที่สร้างขึ้นตามแบบแม่พิมพ์.
พระพุทธเจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา, ใช้เป็นคํานําหน้าชื่อพระเจ้าแผ่นดิน เช่น พระพุทธเจ้าเสือ.พระพุทธเจ้า น. คําเรียกพระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนา, ใช้เป็นคํานําหน้าชื่อพระเจ้าแผ่นดิน เช่น พระพุทธเจ้าเสือ.
พระพุทธเจ้าข้า, พระพุทธเจ้าข้าขอรับ, พระพุทธเจ้าข้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม พระพุทธเจ้าข้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา พระพุทธเจ้าข้าขอรับ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ พระพุทธเจ้าข้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําขานรับพระเจ้าแผ่นดิน.พระพุทธเจ้าข้า, พระพุทธเจ้าข้าขอรับ, พระพุทธเจ้าข้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม น. คําขานรับพระเจ้าแผ่นดิน.
พระพุทธเจ้าหลวง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินที่เสด็จสวรรคตแล้ว.พระพุทธเจ้าหลวง น. คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินที่เสด็จสวรรคตแล้ว.
พระพุทธเจ้าอยู่หัว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินด้วยความนับถือ.พระพุทธเจ้าอยู่หัว น. คําเรียกพระเจ้าแผ่นดินด้วยความนับถือ.
พระพุทธองค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําเรียกพระพุทธเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.พระพุทธองค์ ส. คําเรียกพระพุทธเจ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.
พระภูมิ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง เทพารักษ์ประจําพื้นที่และสถานที่, พระภูมิเจ้าที่ ก็เรียก.พระภูมิ น. เทพารักษ์ประจําพื้นที่และสถานที่, พระภูมิเจ้าที่ ก็เรียก.
พระมาลัยมาโปรด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่กําลังตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที.พระมาลัยมาโปรด (สำ) น. ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่กําลังตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที.
พระยา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาศักดิ์ข้าราชการผู้ใหญ่สูงกว่าพระ ตํ่ากว่าเจ้าพระยา เช่น พระยาอนุมานราชธน.พระยา น. บรรดาศักดิ์ข้าราชการผู้ใหญ่สูงกว่าพระ ตํ่ากว่าเจ้าพระยา เช่น พระยาอนุมานราชธน.
พระยาโต๊ะทอง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานโต๊ะทอง (พานก้นตื้น) เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับโต๊ะทอง.พระยาโต๊ะทอง น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานโต๊ะทอง (พานก้นตื้น) เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับโต๊ะทอง.
พระยาเทครัว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่ได้หญิงเป็นภรรยาทั้งแม่ทั้งลูกหรือทั้งพี่ทั้งน้อง.พระยาเทครัว (ปาก) น. ชายที่ได้หญิงเป็นภรรยาทั้งแม่ทั้งลูกหรือทั้งพี่ทั้งน้อง.
พระยาพานทอง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานพานทอง เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าชั้นทุติยจุลจอมเกล้าขึ้นไป มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับพานทอง.พระยาพานทอง น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานพานทอง เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าชั้นทุติยจุลจอมเกล้าขึ้นไป มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับพานทอง.
พระรอง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตัวรองฝ่ายชายในการแสดงละครหรือภาพยนตร์เป็นต้น.พระรอง น. ตัวรองฝ่ายชายในการแสดงละครหรือภาพยนตร์เป็นต้น.
พระราชาคณะ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง พระภิกษุที่ได้รับแต่งตั้งและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ.พระราชาคณะ (กฎ) น. พระภิกษุที่ได้รับแต่งตั้งและสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ.
พระรูป, พระรูปชี พระรูป เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา พระรูปชี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เจ้านายที่เสด็จบวชเป็นชี.พระรูป, พระรูปชี น. เจ้านายที่เสด็จบวชเป็นชี.
พระฤๅษี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศรวณะ มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย ดาวศระวณะ หรือ ดาวสาวนะ ก็เรียก.พระฤๅษี น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศรวณะ มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย ดาวศระวณะ หรือ ดาวสาวนะ ก็เรียก.
พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ความทุกข์ยากลําบากที่เกิดซ้อน ๆ เข้ามาในขณะเดียวกัน.พระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรก (สำ) น. ความทุกข์ยากลําบากที่เกิดซ้อน ๆ เข้ามาในขณะเดียวกัน.
พระสนม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานซึ่งทรงพระเมตตายกย่องขึ้นเป็นชั้นสูง โดยได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี.พระสนม น. เจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานซึ่งทรงพระเมตตายกย่องขึ้นเป็นชั้นสูง โดยได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี.
พระสนมเอก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าจอมมารดาที่ได้รับพระราชทานพานทองเพิ่มจากหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี ในสมัยโบราณมี ๔ ตำแหน่ง คือ ท้าวอินสุเรนทร์ ท้าวศรีสุดาจันทร์ ท้าวอินทรเทวี และท้าวศรีจุฬาลักษณ์.พระสนมเอก น. เจ้าจอมมารดาที่ได้รับพระราชทานพานทองเพิ่มจากหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี ในสมัยโบราณมี ๔ ตำแหน่ง คือ ท้าวอินสุเรนทร์ ท้าวศรีสุดาจันทร์ ท้าวอินทรเทวี และท้าวศรีจุฬาลักษณ์.
พระเสื้อเมือง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ เสื้อเมือง ก็เรียก, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง พระเชื้อเมือง.พระเสื้อเมือง น. เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ เสื้อเมือง ก็เรียก, (โบ) พระเชื้อเมือง.
พระองค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ตัว เช่น รู้สึกพระองค์ เผลอพระองค์; ลักษณนามใช้แก่พระพุทธเจ้า เทพผู้เป็นใหญ่ พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป และสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระมหากษัตริย์ ๒ พระองค์. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป และสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี.พระองค์ (ราชา) น. ตัว เช่น รู้สึกพระองค์ เผลอพระองค์; ลักษณนามใช้แก่พระพุทธเจ้า เทพผู้เป็นใหญ่ พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป และสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระมหากษัตริย์ ๒ พระองค์. (ราชา) ส. สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน พระราชวงศ์ตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป และสมเด็จพระสังฆราช เช่น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระองค์เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี.
พระองค์เจ้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ยศสําหรับพระราชโอรสหรือพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ที่ประสูติแต่สามัญชน, ยศสําหรับพระโอรสหรือพระธิดาในพระองค์เจ้าลูกหลวงที่ประสูติแต่พระมารดาเป็นพระองค์เจ้า, ยศสําหรับพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าที่พระมารดาเป็นเจ้า, ยศสําหรับหม่อมเจ้าหรือผู้ที่ตํ่ากว่าหม่อมเจ้าที่ได้รับสถาปนา.พระองค์เจ้า น. ยศสําหรับพระราชโอรสหรือพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ที่ประสูติแต่สามัญชน, ยศสําหรับพระโอรสหรือพระธิดาในพระองค์เจ้าลูกหลวงที่ประสูติแต่พระมารดาเป็นพระองค์เจ้า, ยศสําหรับพระโอรสหรือพระธิดาในสมเด็จเจ้าฟ้าที่พระมารดาเป็นเจ้า, ยศสําหรับหม่อมเจ้าหรือผู้ที่ตํ่ากว่าหม่อมเจ้าที่ได้รับสถาปนา.
พระอภิบาล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง พระพี่เลี้ยง.พระอภิบาล (ราชา) น. พระพี่เลี้ยง.
พระอันดับ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง พระลูกวัด, พระอนุจร ก็เรียก, พระผู้มิได้เป็นประธานหรือคู่สวดในสังฆกรรม เช่น พระอันดับนาค (พระอันดับในพิธีบวชนาค) พระอันดับแจง (พระอันดับในพิธีสวดแจง), โดยปริยายหมายถึงผู้น้อยที่เข้าร่วมพิธีโดยมิได้มีบทบาทสําคัญอะไร.พระอันดับ น. พระลูกวัด, พระอนุจร ก็เรียก, พระผู้มิได้เป็นประธานหรือคู่สวดในสังฆกรรม เช่น พระอันดับนาค (พระอันดับในพิธีบวชนาค) พระอันดับแจง (พระอันดับในพิธีสวดแจง), โดยปริยายหมายถึงผู้น้อยที่เข้าร่วมพิธีโดยมิได้มีบทบาทสําคัญอะไร.
พระอิฐพระปูน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นิ่งเฉย, วางเฉย ไม่เดือดร้อน, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย.พระอิฐพระปูน (สำ) ว. นิ่งเฉย, วางเฉย ไม่เดือดร้อน, ไม่รู้สึกยินดียินร้าย.
พระเอก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตัวเอกฝ่ายชายในการแสดงละครหรือภาพยนตร์เป็นต้น.พระเอก น. ตัวเอกฝ่ายชายในการแสดงละครหรือภาพยนตร์เป็นต้น.
พระไอยการ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมวดของกฎหมาย เช่น พระไอยการลักษณะกู้หนี้.พระไอยการ (โบ) น. ชื่อหมวดของกฎหมาย เช่น พระไอยการลักษณะกู้หนี้.
พระจันทร์ครึ่งซีก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lobelia chinensis Lour. ในวงศ์ Campanulaceae ดอกสีขาวอมชมพูหรือม่วง ใช้ทํายาได้.พระจันทร์ครึ่งซีก ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lobelia chinensis Lour. ในวงศ์ Campanulaceae ดอกสีขาวอมชมพูหรือม่วง ใช้ทํายาได้.
พระจันทร์ครึ่งซีก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.พระจันทร์ครึ่งซีก ๒ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
พระเจ้าลอยถาด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.พระเจ้าลอยถาด น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
พระเจ้าห้าพระองค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคาถา นโมพุทธายะ ว่า คาถาพระเจ้าห้าพระองค์.พระเจ้าห้าพระองค์ ๑ น. เรียกคาถา นโมพุทธายะ ว่า คาถาพระเจ้าห้าพระองค์.
พระเจ้าห้าพระองค์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dracontomelon dao (Blanco) Merr. et Rolfe ในวงศ์ Anacardiaceae ดอกเล็ก สีขาว.พระเจ้าห้าพระองค์ ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Dracontomelon dao (Blanco) Merr. et Rolfe ในวงศ์ Anacardiaceae ดอกเล็ก สีขาว.
พระนอม, พระน้อม พระนอม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า พระน้อม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง จอมเขาหรือที่มีพุ่มไม้, พนอม ก็ว่า.พระนอม, พระน้อม (กลอน) น. จอมเขาหรือที่มีพุ่มไม้, พนอม ก็ว่า.
พระนาด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เบาะสําหรับปูบนหลังช้างเพื่อออกป่า, พนาด ก็ว่า.พระนาด น. เบาะสําหรับปูบนหลังช้างเพื่อออกป่า, พนาด ก็ว่า.
พระยาวัน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วันขึ้นจุลศักราชใหม่หรือวันเถลิงศก ตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน.พระยาวัน น. วันขึ้นจุลศักราชใหม่หรือวันเถลิงศก ตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน.
พระราชกฤษฎีกา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน.พระราชกฤษฎีกา (กฎ) น. บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกําหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน.
พระราชกำหนด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจบริหารให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะหรือในระหว่างสมัยประชุมของรัฐสภาถ้ามีความจําเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยการภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน.พระราชกำหนด (กฎ) น. บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอํานาจบริหารให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะหรือในระหว่างสมัยประชุมของรัฐสภาถ้ามีความจําเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยการภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน.
พระราชบัญญัติ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา.พระราชบัญญัติ (กฎ) น. บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา.
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เพื่อขยายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วนยิ่งขึ้น เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๔๑ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นได้ต่อเมื่อมีบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้โดยเฉพาะ ส่วนกระบวนการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเหมือนกับการตราพระราชบัญญัติทั่วไป.พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (กฎ) น. บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เพื่อขยายบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วนยิ่งขึ้น เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. ๒๕๔๑ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราขึ้นได้ต่อเมื่อมีบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้โดยเฉพาะ ส่วนกระบวนการตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นเหมือนกับการตราพระราชบัญญัติทั่วไป.
พระลบ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง พลบ.พระลบ (กลอน) น. พลบ.
พระลือ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สว่าง.พระลือ (กลอน) ว. สว่าง.
พระแวว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพรว, แวววาว, มีแสงวับ ๆ.พระแวว (กลอน) ว. แพรว, แวววาว, มีแสงวับ ๆ.
พระหา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, กว้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺรหา เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต พฺฤหตฺ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ.พระหา ว. ใหญ่, กว้าง. (ป. พฺรหา; ส. พฺฤหตฺ).
พระหารณย์, พระหารัณย์ พระหารณย์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด พระหารัณย์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ป่าใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี พฺรหา เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา + ภาษาสันสกฤต อารณฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก .พระหารณย์, พระหารัณย์ น. ป่าใหญ่. (ป. พฺรหา + ส. อารณฺย).
พระหาม, พระฮาม พระหาม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า พระฮาม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เวลาเช้ามืด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พฺรหาม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.พระหาม, พระฮาม (กลอน) น. เวลาเช้ามืด. (ข. พฺรหาม).
พระหิด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.พระหิด น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
พรักพร้อม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[พฺรัก–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมอยู่พร้อมหน้ากัน ใช้ในลักษณะเช่นญาติพี่น้องมากันพรักพร้อม, รวมอยู่พร้อมทุกอย่าง เช่น เตรียมข้าวของไว้ให้พรักพร้อม, พร้อมพรัก ก็ว่า.พรักพร้อม [พฺรัก–] ว. รวมอยู่พร้อมหน้ากัน ใช้ในลักษณะเช่นญาติพี่น้องมากันพรักพร้อม, รวมอยู่พร้อมทุกอย่าง เช่น เตรียมข้าวของไว้ให้พรักพร้อม, พร้อมพรัก ก็ว่า.
พรั่ง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู[พฺรั่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คับคั่ง, รวมกันอยู่มาก.พรั่ง [พฺรั่ง] ว. คับคั่ง, รวมกันอยู่มาก.
พรั่งพร้อม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมอยู่มากหลาย เช่น มากันพรั่งพร้อม, พร้อมพรั่ง ก็ว่า.พรั่งพร้อม ว. รวมอยู่มากหลาย เช่น มากันพรั่งพร้อม, พร้อมพรั่ง ก็ว่า.
พรั่งพรู เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้าหรือออกพร้อม ๆ กันอย่างเนืองแน่น เช่น คนพรั่งพรูกันเข้ามา คำพูดพรั่งพรูออกจากปาก.พรั่งพรู ว. เข้าหรือออกพร้อม ๆ กันอย่างเนืองแน่น เช่น คนพรั่งพรูกันเข้ามา คำพูดพรั่งพรูออกจากปาก.
พรัด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[พฺรัด] เป็นคำกริยา หมายถึง พรากออกจากกัน.พรัด [พฺรัด] ก. พรากออกจากกัน.
พรั่น เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู[พฺรั่น] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหวั่นกลัว เช่น พรั่นใจ.พรั่น [พฺรั่น] ก. รู้สึกหวั่นกลัว เช่น พรั่นใจ.
พรั่นพรึง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง นึกหวาดหวั่น, นึกพรั่นใจ.พรั่นพรึง ก. นึกหวาดหวั่น, นึกพรั่นใจ.
พรับ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[พฺรับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง พริบ, ขยิบ, (ใช้แก่ตา).พรับ [พฺรับ] (กลอน) ก. พริบ, ขยิบ, (ใช้แก่ตา).
พร่า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[พฺร่า] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เสียหาย, ทําลาย, ทําให้ย่อยยับ, เช่น พร่าชื่อเสียง พร่าทรัพย์สมบัติ พร่าประโยชน์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจัดกระจายจนเห็นหรือได้ยินไม่ถนัดชัดเจน เช่น ตาพร่า รูปพร่า เสียงพร่า.พร่า [พฺร่า] ก. ทําให้เสียหาย, ทําลาย, ทําให้ย่อยยับ, เช่น พร่าชื่อเสียง พร่าทรัพย์สมบัติ พร่าประโยชน์. ว. กระจัดกระจายจนเห็นหรือได้ยินไม่ถนัดชัดเจน เช่น ตาพร่า รูปพร่า เสียงพร่า.
พร้า เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[พฺร้า] เป็นคำนาม หมายถึง มีดขนาดใหญ่, ถ้าเป็นรูปเพรียวยาวสําหรับถือกรีดกราย เรียกว่า พร้ากราย หรือ มีดกราย ทางถิ่นปักษ์ใต้เรียกว่า พร้าโอ หรือ มีดโอ, ถ้าปลายเป็นขอมีด้ามยาวสําหรับใช้เกี่ยวตัด เรียกว่า พร้าขอ หรือ มีดขอ, ถ้าปลายงุ้ม สันหนา และด้ามสั้น เรียกว่า พร้าโต้, มีดโต้ หรือ อีโต้ ก็เรียก, ถ้าเป็นรูปเพรียวยาวด้ามงอ ๆ สําหรับหวดหญ้า เรียกว่า พร้าหวด หรือ มีดหวด, ถ้าปลายแบนโตมีคม สําหรับขุดดินได้ เรียกว่า พร้าเสียม, ถ้าปลายตัดมีรูปโค้งนิด ๆ เรียกว่า พร้าถาง.พร้า [พฺร้า] น. มีดขนาดใหญ่, ถ้าเป็นรูปเพรียวยาวสําหรับถือกรีดกราย เรียกว่า พร้ากราย หรือ มีดกราย ทางถิ่นปักษ์ใต้เรียกว่า พร้าโอ หรือ มีดโอ, ถ้าปลายเป็นขอมีด้ามยาวสําหรับใช้เกี่ยวตัด เรียกว่า พร้าขอ หรือ มีดขอ, ถ้าปลายงุ้ม สันหนา และด้ามสั้น เรียกว่า พร้าโต้, มีดโต้ หรือ อีโต้ ก็เรียก, ถ้าเป็นรูปเพรียวยาวด้ามงอ ๆ สําหรับหวดหญ้า เรียกว่า พร้าหวด หรือ มีดหวด, ถ้าปลายแบนโตมีคม สําหรับขุดดินได้ เรียกว่า พร้าเสียม, ถ้าปลายตัดมีรูปโค้งนิด ๆ เรียกว่า พร้าถาง.
พร้างัดปากไม่ออก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นิ่ง, ไม่ค่อยพูด, พร้าคัดปากไม่ออก ก็ว่า.พร้างัดปากไม่ออก (สำ) ว. นิ่ง, ไม่ค่อยพูด, พร้าคัดปากไม่ออก ก็ว่า.
พราก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ [พฺราก] เป็นคำกริยา หมายถึง จากไป, พาเอาไปเสียจาก, แยกออกจากกัน, เอาออกจากกัน, (ใช้เฉพาะสิ่งที่พัวพันกันอยู่อย่างใกล้ชิด) เช่น พรากลูกพรากเมียเขา พรากลูกจากอกแม่.พราก ๑ [พฺราก] ก. จากไป, พาเอาไปเสียจาก, แยกออกจากกัน, เอาออกจากกัน, (ใช้เฉพาะสิ่งที่พัวพันกันอยู่อย่างใกล้ชิด) เช่น พรากลูกพรากเมียเขา พรากลูกจากอกแม่.
พรากเด็ก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อความผิดอาญาฐานพาเอาเด็กอายุไม่เกิน ๑๕ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยปราศจากเหตุอันสมควร.พรากเด็ก (กฎ) น. ชื่อความผิดอาญาฐานพาเอาเด็กอายุไม่เกิน ๑๕ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยปราศจากเหตุอันสมควร.
พรากผู้เยาว์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อความผิดอาญาฐานพาเอาผู้เยาว์ที่มีอายุเกิน ๑๕ ปี แต่ยังไม่เกิน ๑๘ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์นั้นไม่เต็มใจไปด้วย.พรากผู้เยาว์ (กฎ) น. ชื่อความผิดอาญาฐานพาเอาผู้เยาว์ที่มีอายุเกิน ๑๕ ปี แต่ยังไม่เกิน ๑๘ ปีไปเสียจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแล โดยผู้เยาว์นั้นไม่เต็มใจไปด้วย.
พรากลูกนกลูกกา, พรากลูกนกฉกลูกกา พรากลูกนกลูกกา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา พรากลูกนกฉกลูกกา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-นอ-หนู-กอ-ไก่-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ลูกพลัดพรากจากพ่อแม่.พรากลูกนกลูกกา, พรากลูกนกฉกลูกกา (สำ) ก. ทําให้ลูกพลัดพรากจากพ่อแม่.
พราก ๒, พราก ๆ พราก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ พราก ๆ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก [พฺราก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่น้ำตาไหลออกมาก ๆ ในคำว่า น้ำตาไหลพราก.พราก ๒, พราก ๆ [พฺราก] ว. อาการที่น้ำตาไหลออกมาก ๆ ในคำว่า น้ำตาไหลพราก.
พราง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู[พฺราง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เข้าใจเป็นอื่น, ทําให้เลือน, เช่น พรางตัว พรางไฟ.พราง [พฺราง] ก. ทําให้เข้าใจเป็นอื่น, ทําให้เลือน, เช่น พรางตัว พรางไฟ.
พรางพรอก เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[–พฺรอก] เป็นคำกริยา หมายถึง พูดลวง, แสร้งพูด.พรางพรอก [–พฺรอก] ก. พูดลวง, แสร้งพูด.
พร่าง เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู[พฺร่าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แวววาวพร่าไปหมด.พร่าง [พฺร่าง] ว. แวววาวพร่าไปหมด.
พร่างพราว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[–พฺราว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงประกายแวววาวระยิบระยับ เช่น แสงพร่างพราว.พร่างพราว [–พฺราว] ว. มีแสงประกายแวววาวระยิบระยับ เช่น แสงพร่างพราว.
พราด, พราด ๆ พราด เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก พราด ๆ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก [พฺราด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น; อาการที่ดิ้นบิดตัวไปมา เช่น เด็กดิ้นพราด ปลาช่อนถูกทุบหัวดิ้นพราด ๆ.พราด, พราด ๆ [พฺราด] ว. เสียงดังเช่นนั้น; อาการที่ดิ้นบิดตัวไปมา เช่น เด็กดิ้นพราด ปลาช่อนถูกทุบหัวดิ้นพราด ๆ.
พราน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[พฺราน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หากินในทางล่าสัตว์เป็นต้น, ผู้ชำนาญป่า, เช่น พรานนก พรานป่า.พราน [พฺราน] น. ผู้หากินในทางล่าสัตว์เป็นต้น, ผู้ชำนาญป่า, เช่น พรานนก พรานป่า.
พราย เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[พฺราย] เป็นคำนาม หมายถึง ผีจําพวกหนึ่ง (มักกล่าวกันว่าเป็นผีผู้หญิงที่ตายทั้งกลม); ต่อมนํ้าเล็ก ๆ ที่ผุดกระจายขึ้นจากนํ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แวววาว, พราว, พร้อย.พราย [พฺราย] น. ผีจําพวกหนึ่ง (มักกล่าวกันว่าเป็นผีผู้หญิงที่ตายทั้งกลม); ต่อมนํ้าเล็ก ๆ ที่ผุดกระจายขึ้นจากนํ้า. ว. แวววาว, พราว, พร้อย.
พรายกระซิบ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผีพรายที่มากระซิบบอกให้ผู้ที่เลี้ยงตนรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้แม้เกิดในที่ห่างไกล.พรายกระซิบ น. ผีพรายที่มากระซิบบอกให้ผู้ที่เลี้ยงตนรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้แม้เกิดในที่ห่างไกล.
พรายตานี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผีผู้หญิงที่สิงอยู่ในต้นกล้วยตานีที่กำลังตั้งท้อง.พรายตานี น. ผีผู้หญิงที่สิงอยู่ในต้นกล้วยตานีที่กำลังตั้งท้อง.
พรายทะเล เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่างที่เป็นแสงเรือง ๆ อยู่ที่เสากระโดงเรือ.พรายทะเล น. แสงสว่างที่เป็นแสงเรือง ๆ อยู่ที่เสากระโดงเรือ.
พรายน้ำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง แสงเรืองในที่มืด ปรากฏที่ตัวเลขหน้าปัดนาฬิกาหรือที่สวิตช์ไฟฟ้าบางชนิด เกิดขึ้นได้เพราะสิ่งเหล่านั้นฉาบหรือผสมด้วยสารเคมีที่มีสมบัติเปล่งแสงเรืองออกมาได้หลังจากที่ถูกแสงสว่างอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง สารเคมีประเภทนี้ เช่น แคลเซียมซัลไฟด์ (CaS) แบเรียมซัลไฟด์ (BaS) ที่มีโลหะบางชนิดเจือปน.พรายน้ำ น. แสงเรืองในที่มืด ปรากฏที่ตัวเลขหน้าปัดนาฬิกาหรือที่สวิตช์ไฟฟ้าบางชนิด เกิดขึ้นได้เพราะสิ่งเหล่านั้นฉาบหรือผสมด้วยสารเคมีที่มีสมบัติเปล่งแสงเรืองออกมาได้หลังจากที่ถูกแสงสว่างอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง สารเคมีประเภทนี้ เช่น แคลเซียมซัลไฟด์ (CaS) แบเรียมซัลไฟด์ (BaS) ที่มีโลหะบางชนิดเจือปน.
พรายแพรว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลื่อม, แวววาว, วับ ๆ วาบ ๆ, พราย ๆ, พราว, แพรวพราย แพรวพราว หรือ พราวแพรว ก็ว่า.พรายแพรว ว. เลื่อม, แวววาว, วับ ๆ วาบ ๆ, พราย ๆ, พราว, แพรวพราย แพรวพราว หรือ พราวแพรว ก็ว่า.
พรายย้ำ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง รอยดํา ๆ คล้ายถูกอะไรกัดเป็นรอยชํ้า ปรากฏตามร่างกายเป็นแห่ง ๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บปวดอย่างไร โบราณถือว่าถูกผีพรายกัดยํ้าเอา แต่ไม่ถึงกับเข้าเป็นแผล.พรายย้ำ น. รอยดํา ๆ คล้ายถูกอะไรกัดเป็นรอยชํ้า ปรากฏตามร่างกายเป็นแห่ง ๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บปวดอย่างไร โบราณถือว่าถูกผีพรายกัดยํ้าเอา แต่ไม่ถึงกับเข้าเป็นแผล.
พราว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[พฺราว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พราย, แวววาว, เช่น แต่งเครื่องเพชรพราว; โดยปริยายหมายความว่า มากมาย เช่น มีเล่ห์เหลี่ยมพราวไปหมด.พราว [พฺราว] ว. พราย, แวววาว, เช่น แต่งเครื่องเพชรพราว; โดยปริยายหมายความว่า มากมาย เช่น มีเล่ห์เหลี่ยมพราวไปหมด.
พราวตา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำให้เห็นพร่าไปหมด.พราวตา ว. อาการที่ทำให้เห็นพร่าไปหมด.
พราวแพรว เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลื่อม, แวววาว, วับ ๆ วาบ ๆ พราย ๆ, พราว, แพรวพราว แพรวพราย หรือ พรายแพรว ก็ว่า.พราวแพรว ว. เลื่อม, แวววาว, วับ ๆ วาบ ๆ พราย ๆ, พราว, แพรวพราว แพรวพราย หรือ พรายแพรว ก็ว่า.
พราหมณ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [พฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง คนในวรรณะที่ ๑ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร, ผู้ที่ถือเพศไว้ผม นุ่งขาวห่มขาว เช่น พราหมณ์ปุโรหิต พราหมณ์พฤฒิบาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .พราหมณ์ ๑ [พฺราม] น. คนในวรรณะที่ ๑ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร, ผู้ที่ถือเพศไว้ผม นุ่งขาวห่มขาว เช่น พราหมณ์ปุโรหิต พราหมณ์พฤฒิบาศ. (ป., ส.).
พราหมณัศบดี เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[พฺรามมะนัดสะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระเพลิง.พราหมณัศบดี [พฺรามมะนัดสะบอดี] น. ชื่อหนึ่งของพระเพลิง.
พราหมณ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [พฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า พราหมณ์ เช่น พราหมณ์เข้าโบสถ์ พราหมณ์เก็บหัวแหวน พราหมณ์ดีดน้ำเต้า.พราหมณ์ ๒ [พฺราม] น. ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า พราหมณ์ เช่น พราหมณ์เข้าโบสถ์ พราหมณ์เก็บหัวแหวน พราหมณ์ดีดน้ำเต้า.