เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท.ท ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท.
เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซ ในคําบางคํา เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคําบางคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียงเดิมคือ ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ.ท ๒ ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซ ในคําบางคํา เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคําบางคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียงเดิมคือ ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ.
เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ [ทะ]ใช้เป็นคํานําหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทนาย ทแกล้ว.ท ๓ [ทะ] ใช้เป็นคํานําหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทนาย ทแกล้ว.
ทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทุก เช่น ทกพวก ทกพาย.ทก ๑ (โบ) ว. ทุก เช่น ทกพวก ทกพาย.
ทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทก ๒ (แบบ) น. นํ้า. (ป., ส.).
ทกล้า, ทแกล้ว ทกล้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ทแกล้ว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน [ทะกฺล้า, ทะแกฺล้ว] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล้า, ทหาร.ทกล้า, ทแกล้ว [ทะกฺล้า, ทะแกฺล้ว] น. ผู้กล้า, ทหาร.
ท่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทุ่ง.ท่ง (กลอน) น. ทุ่ง.
ทงัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[ทะงัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตระหง่าน, กว้างใหญ่, สูงใหญ่.ทงัน [ทะงัน] (กลอน) ว. ตระหง่าน, กว้างใหญ่, สูงใหญ่.
ทชี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี[ทะชี] เป็นคำนาม หมายถึง นักบวช. (กร่อนมาจาก ท่านชี).ทชี [ทะชี] น. นักบวช. (กร่อนมาจาก ท่านชี).
ทด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง กันไว้, กั้นไว้, ทําให้นํ้าท่วมท้นขึ้นมาด้วยทํานบเป็นต้น เช่น ทดนํ้า; แทน, เป็นคําใช้เข้าคู่กันว่า ทดแทน เนื้อความกลายเป็นตอบแทน, บางทีใช้ ทด คําเดียว เช่น ทดข้าวทดปลา; เพิ่ม.น. สิ่งที่ใช้กั้นนํ้า.ทด ก. กันไว้, กั้นไว้, ทําให้นํ้าท่วมท้นขึ้นมาด้วยทํานบเป็นต้น เช่น ทดนํ้า; แทน, เป็นคําใช้เข้าคู่กันว่า ทดแทน เนื้อความกลายเป็นตอบแทน, บางทีใช้ ทด คําเดียว เช่น ทดข้าวทดปลา; เพิ่ม.น. สิ่งที่ใช้กั้นนํ้า.
ทดแทน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตอบแทน, ชดใช้หรือชดเชยสิ่งที่เสียไป.ทดแทน ก. ตอบแทน, ชดใช้หรือชดเชยสิ่งที่เสียไป.
ทดรอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกเงินหรือทรัพย์รองจ่ายไปก่อน.ทดรอง ก. ออกเงินหรือทรัพย์รองจ่ายไปก่อน.
ทดลอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลองทํา, ลองให้ทํา, ทดสอบข้อสมมุติฐานเป็นต้น.ทดลอง ก. ลองทํา, ลองให้ทํา, ทดสอบข้อสมมุติฐานเป็นต้น.
ทดเลข เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยกจํานวนเลขครบสิบไปไว้เพื่อบวกกับผลของหลักหน้า.ทดเลข ก. ยกจํานวนเลขครบสิบไปไว้เพื่อบวกกับผลของหลักหน้า.
ทดสอบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจสอบเพื่อความถูกต้องแน่นอน เช่น ทดสอบเครื่องยนต์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการศึกษา หมายถึง สอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถเป็นต้น เช่น ทดสอบความรู้ของนักเรียนด้วยการให้ลองปฏิบัติ.ทดสอบ ก. ตรวจสอบเพื่อความถูกต้องแน่นอน เช่น ทดสอบเครื่องยนต์; (การศึกษา) สอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถเป็นต้น เช่น ทดสอบความรู้ของนักเรียนด้วยการให้ลองปฏิบัติ.
ทดโทร่ห เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-หอ-หีบ[–โทฺร่] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง การคิดประทุษร้าย, ใช้เข้าคู่กับคํา กบฏ เป็น กบฏทดโทร่ห, ทดโท่ ก็ว่า.ทดโทร่ห [–โทฺร่] (แบบ) ก. การคิดประทุษร้าย, ใช้เข้าคู่กับคํา กบฏ เป็น กบฏทดโทร่ห, ทดโท่ ก็ว่า.
ทท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน[ทด, ทะทะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ให้, มักใช้ประกอบท้ายศัพท์ เช่น กามทท = ผู้ให้สิ่งที่น่าปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทท [ทด, ทะทะ] น. ผู้ให้, มักใช้ประกอบท้ายศัพท์ เช่น กามทท = ผู้ให้สิ่งที่น่าปรารถนา. (ป., ส.).
ทธิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[ทะทิ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นมส้ม คือนมที่ขึ้นฝาแปรสภาพเป็นนมเปรี้ยว อยู่ในจําพวกเบญจโครส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทธิ [ทะทิ] (แบบ) น. นมส้ม คือนมที่ขึ้นฝาแปรสภาพเป็นนมเปรี้ยว อยู่ในจําพวกเบญจโครส. (ป., ส.).
ทน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อดกลั้นได้, ทานอยู่ได้, เช่น ทนด่า ทนทุกข์ ทนหนาว, ไม่แตกหักหรือบุบสลายง่าย เช่น ของดีใช้ทน ไม้สักทนกว่าไม้ยาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งแรง, มั่นคง, เช่น ฟันทน, อึด เช่น วิ่งทน ดํานํ้าทน.ทน ก. อดกลั้นได้, ทานอยู่ได้, เช่น ทนด่า ทนทุกข์ ทนหนาว, ไม่แตกหักหรือบุบสลายง่าย เช่น ของดีใช้ทน ไม้สักทนกว่าไม้ยาง. ว. แข็งแรง, มั่นคง, เช่น ฟันทน, อึด เช่น วิ่งทน ดํานํ้าทน.
ทนทาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, ไม่เสียหายง่าย.ทนทาน ว. มั่นคง, ไม่เสียหายง่าย.
ท้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอ่อสูงขึ้นจนเปี่ยมพร้อมจะไหลล้นหรือไหลทวนกลับขึ้นไป เช่น นํ้าท้นฝั่ง, อาการที่เนื้อล้นออกมาจนเห็นเป็นรอยนอกเสื้อ เช่น สวมเสื้อคับจนเนื้อท้น.ท้น ก. เอ่อสูงขึ้นจนเปี่ยมพร้อมจะไหลล้นหรือไหลทวนกลับขึ้นไป เช่น นํ้าท้นฝั่ง, อาการที่เนื้อล้นออกมาจนเห็นเป็นรอยนอกเสื้อ เช่น สวมเสื้อคับจนเนื้อท้น.
ทนดี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ดู ตองแตก เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่.ทนดี ๑ ดู ตองแตก.
ทนดี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทนฺตี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต ทนฺตินฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ ว่า สัตว์มีงา .ทนดี ๒ (แบบ) น. ช้าง. (ป. ทนฺตี; ส. ทนฺตินฺ ว่า สัตว์มีงา).
ทนต–, ทนต์ ทนต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า ทนต์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด [ทนตะ–, ทน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟัน, งาช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทนฺต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.ทนต–, ทนต์ [ทนตะ–, ทน] (แบบ) น. ฟัน, งาช้าง. (ป., ส. ทนฺต).
ทนตกาษฐ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด[–กาด] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สีฟัน คือท่อนไม้เล็ก ๆ สําหรับถูฟันให้สะอาด ทําจากต้นไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้คนทา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทนฺต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า + กาษฺ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน .ทนตกาษฐ์ [–กาด] น. ไม้สีฟัน คือท่อนไม้เล็ก ๆ สําหรับถูฟันให้สะอาด ทําจากต้นไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้คนทา. (ส. ทนฺต + กาษฺ).
ทนโท่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่ทนโท่, โทนโท่ ก็ว่า.ทนโท่ ว. ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่ทนโท่, โทนโท่ ก็ว่า.
ทนม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-มอ-ม้า[ทะนม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกสอนตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทมน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-นอ-หนู.ทนม [ทะนม] (กลอน) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกสอนตน. (ป., ส. ทมน).
ทนาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รับใช้, ผู้แทนนาย, (ใช้แก่ผู้มีอํานาจ); คำเรียกทนายความอย่างสั้น ๆ.ทนาย [ทะ–] น. ผู้รับใช้, ผู้แทนนาย, (ใช้แก่ผู้มีอํานาจ); คำเรียกทนายความอย่างสั้น ๆ.
ทนายความ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, เรียกสั้น ๆ ว่า ทนาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ผู้ที่สภาทนายความได้รับจดทะเบียนและออกใบอนุญาตให้เป็นทนายความ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง หมอความ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ผู้พากย์หนัง.ทนายความ น. ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, เรียกสั้น ๆ ว่า ทนาย; (กฎ) ผู้ที่สภาทนายความได้รับจดทะเบียนและออกใบอนุญาตให้เป็นทนายความ; (ปาก) หมอความ; (โบ) ผู้พากย์หนัง.
ทนายแผ่นดิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู อัยการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.ทนายแผ่นดิน (กฎ) ดู อัยการ.
ทนายเรือน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พนักงานฝ่ายในมีหน้าที่ติดต่อกับสถานที่ต่าง ๆ ในพระราชวัง.ทนายเรือน (โบ) น. พนักงานฝ่ายในมีหน้าที่ติดต่อกับสถานที่ต่าง ๆ ในพระราชวัง.
ทนายเลือก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง นักมวยสําหรับป้องกันพระเจ้าแผ่นดิน; ชื่อกรมกรมหนึ่งมีหน้าที่กํากับมวย.ทนายเลือก (โบ) น. นักมวยสําหรับป้องกันพระเจ้าแผ่นดิน; ชื่อกรมกรมหนึ่งมีหน้าที่กํากับมวย.
ทนายหน้าหอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าคนรับใช้ที่ใช้ออกหน้าออกตา, ผู้รับหน้าแทนนาย.ทนายหน้าหอ (ปาก) น. หัวหน้าคนรับใช้ที่ใช้ออกหน้าออกตา, ผู้รับหน้าแทนนาย.
ทบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พับเข้ามา เช่น ทบผ้า ทบเชือก, เพิ่มเข้า เช่น เอาเชือกมาทบเข้าอีกเส้นหนึ่ง, ลักษณนามเรียกสิ่งที่พับเข้ามาหรือเพิ่มเข้ามา เช่น ผ้าทบหนึ่ง ผ้า ๒ ทบ.ทบ ๑ ก. พับเข้ามา เช่น ทบผ้า ทบเชือก, เพิ่มเข้า เช่น เอาเชือกมาทบเข้าอีกเส้นหนึ่ง, ลักษณนามเรียกสิ่งที่พับเข้ามาหรือเพิ่มเข้ามา เช่น ผ้าทบหนึ่ง ผ้า ๒ ทบ.
ทบทวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ย้อนกลับทําซํ้าอีกเพื่อให้แม่นยํา เช่น ทบทวนตํารา, ทวนทบ ก็ว่า; พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เช่น ทบทวนนโยบาย.ทบทวน ก. ย้อนกลับทําซํ้าอีกเพื่อให้แม่นยํา เช่น ทบทวนตํารา, ทวนทบ ก็ว่า; พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เช่น ทบทวนนโยบาย.
ทบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบ เช่น ของ้าวทบทะกัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.ทบ ๒ (กลอน) ก. กระทบ เช่น ของ้าวทบทะกัน. (ตะเลงพ่าย).
ทบท่าว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทรุดลง, ล้มลง, เช่น เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.ทบท่าว ก. ทรุดลง, ล้มลง, เช่น เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น. (ตะเลงพ่าย).
ทบวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู[ทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง ซึ่งโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมที่จะตั้งเป็นกระทรวง อาจสังกัดหรือไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงก็ได้; ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางที่มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง แต่เรียกชื่อว่า ทบวง เช่น ทบวงมหาวิทยาลัย.ทบวง [ทะ–] (กฎ) น. ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง ซึ่งโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมที่จะตั้งเป็นกระทรวง อาจสังกัดหรือไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงก็ได้; ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลางที่มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง แต่เรียกชื่อว่า ทบวง เช่น ทบวงมหาวิทยาลัย.
ทบวงการ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง องค์การทางราชการ.ทบวงการ น. องค์การทางราชการ.
ทบวงการเมือง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีสภาพเป็นนิติบุคคล และมีอํานาจหน้าที่ในทางปกครอง เช่น กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล.ทบวงการเมือง (กฎ) น. ส่วนราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีสภาพเป็นนิติบุคคล และมีอํานาจหน้าที่ในทางปกครอง เช่น กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล.
ทมก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-กอ-ไก่[ทะมก, ทะมะกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทรมาน, ผู้ฝึกตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทมก [ทะมก, ทะมะกะ] (แบบ) น. ผู้ทรมาน, ผู้ฝึกตน. (ป.).
ทมนะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[ทะมะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การทรมาน, การข่ม, การฝึกสอนตน, การปราบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทมนะ [ทะมะนะ] (แบบ) น. การทรมาน, การข่ม, การฝึกสอนตน, การปราบ. (ป., ส.).
ทมบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้[ทะมบ] เป็นคำนาม หมายถึง ผีผู้หญิงที่ตายในป่าและสิงอยู่ในบริเวณที่ตาย มีรูปเห็นเป็นเงา ๆ แต่ไม่ทําอันตรายใคร, ฉมบ หรือ ชมบ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฉฺมบ เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้ ว่า หมอตําแย .ทมบ [ทะมบ] น. ผีผู้หญิงที่ตายในป่าและสิงอยู่ในบริเวณที่ตาย มีรูปเห็นเป็นเงา ๆ แต่ไม่ทําอันตรายใคร, ฉมบ หรือ ชมบ ก็ว่า. (ข. ฉฺมบ ว่า หมอตําแย).
ทมอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง[ทะมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีมอ, สีนกกระเรียน.ทมอ [ทะมอ] ว. สีมอ, สีนกกระเรียน.
ทมะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ[ทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกตน; อาชญา, การปรับไหม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทมะ [ทะ–] (แบบ) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกตน; อาชญา, การปรับไหม. (ป., ส.).
ทมิฬ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ลอ-จุ-ลา[ทะมิน] เป็นคำนาม หมายถึง ชนพื้นเมืองอินเดียเผ่าหนึ่ง ปัจจุบันมีอยู่มากทางอินเดียแถบใต้และเกาะลังกาแถบเหนือ, ชื่อภาษาของชนเผ่านั้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุร้าย, ร้ายกาจ, เช่น ใจทมิฬ ยุคทมิฬ, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ หินชาติ เป็น ใจทมิฬหินชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทมิฬ [ทะมิน] น. ชนพื้นเมืองอินเดียเผ่าหนึ่ง ปัจจุบันมีอยู่มากทางอินเดียแถบใต้และเกาะลังกาแถบเหนือ, ชื่อภาษาของชนเผ่านั้น. ว. ดุร้าย, ร้ายกาจ, เช่น ใจทมิฬ ยุคทมิฬ, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ หินชาติ เป็น ใจทมิฬหินชาติ. (ป.).
ทเมิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เถฺมิร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ.ทเมิน [ทะ–] น. พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. (ข. เถฺมิร).
ทโมน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-นอ-หนู[ทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่และมีกําลังมาก (มักใช้แก่สัตว์ตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูง) เช่น ลิงทโมน.ทโมน [ทะ–] ว. ใหญ่และมีกําลังมาก (มักใช้แก่สัตว์ตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูง) เช่น ลิงทโมน.
ทยอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หย่อย ๆ กันไปไม่ขาดระยะ, อาการที่ไปหรือมาทีละน้อย.ทยอย ๑ [ทะ–] ว. หย่อย ๆ กันไปไม่ขาดระยะ, อาการที่ไปหรือมาทีละน้อย.
ทยอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง มีชนิดย่อยเป็น ทยอยนอก ทยอยใน ทยอยโอด.ทยอย ๒ [ทะ–] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง มีชนิดย่อยเป็น ทยอยนอก ทยอยใน ทยอยโอด.
ทยา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [ทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความเอ็นดู, ความกรุณา, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส เช่น ทยาทิคุณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทยา ๑ [ทะ–] (แบบ) น. ความเอ็นดู, ความกรุณา, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส เช่น ทยาทิคุณ. (ป., ส.).
ทยาลุ, ทยาลุก ทยาลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ ทยาลุก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความเอ็นดู, มีความสงสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทยาลุ, ทยาลุก (แบบ) ว. มีความเอ็นดู, มีความสงสาร. (ป., ส.).
ทยา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, สําคัญ, ต้องการ, เช่น ของทยาของเจ้าตะเภาทอง. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไกรทอง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พ.ศ. ๒๔๕๖, กูจะให้ขนมเข่งของทยา กินอร่อยหนักหนาประสาจน. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์, ทายา ก็ใช้.ทยา ๒ [ทะ–] ว. ดี, สําคัญ, ต้องการ, เช่น ของทยาของเจ้าตะเภาทอง. (ไกรทอง), กูจะให้ขนมเข่งของทยา กินอร่อยหนักหนาประสาจน. (สังข์ทอง), ทายา ก็ใช้.
ทแยง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-งอ-งู[ทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียง, เฉลียง.ทแยง [ทะ–] ว. เฉียง, เฉลียง.
ทแยงมุม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียงจากมุมหนึ่งไปยังมุมตรงข้าม.ทแยงมุม ว. เฉียงจากมุมหนึ่งไปยังมุมตรงข้าม.
ทร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[ทอระ–]คําอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ ทุรฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พิน-ทุ และมาจากภาษาสันสกฤต ทุสฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ.ทร– [ทอระ–] คําอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลําบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. (ป. ทุ, ทุรฺ; ส. ทุสฺ).
ทรกรรม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การทําให้ลําบาก.ทรกรรม น. การทําให้ลําบาก.
ทรชน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนชั่วร้าย, ทุรชน ก็ว่า.ทรชน น. คนชั่วร้าย, ทุรชน ก็ว่า.
ทรชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชาติชั่ว.ทรชาติ น. ชาติชั่ว.
ทรธึก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วยิ่ง, ใช้เรียกวันในตําราหมอดูว่า วันทรธึก หมายความว่า วันชั่วยิ่ง ห้ามทําการมงคลต่าง ๆ.ทรธึก ว. ชั่วยิ่ง, ใช้เรียกวันในตําราหมอดูว่า วันทรธึก หมายความว่า วันชั่วยิ่ง ห้ามทําการมงคลต่าง ๆ.
ทรพล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกําลังน้อย, อ่อนแอ, ท้อแท้; เลวทราม.ทรพล ว. มีกําลังน้อย, อ่อนแอ, ท้อแท้; เลวทราม.
ทรพิษ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคระบาด มักขึ้นตามตัว เป็นเม็ดเล็ก ๆ ดาษทั่วไป เรียกว่า ไข้ทรพิษ, ฝีดาษ ก็ว่า.ทรพิษ น. ชื่อโรคระบาด มักขึ้นตามตัว เป็นเม็ดเล็ก ๆ ดาษทั่วไป เรียกว่า ไข้ทรพิษ, ฝีดาษ ก็ว่า.
ทรภิกษ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง การขาดแคลนอาหาร, ข้าวยากหมากแพง.ทรภิกษ์ น. การขาดแคลนอาหาร, ข้าวยากหมากแพง.
ทรยศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง คิดร้ายต่อผู้มีอุปการะ, กบฏ.ทรยศ ก. คิดร้ายต่อผู้มีอุปการะ, กบฏ.
ทรยุค เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ยุคชั่ว.ทรยุค น. ยุคชั่ว.
ทรราช เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ปกครองบ้านเมืองที่ใช้อํานาจตามอําเภอใจ ทําความเดือดร้อนทารุณให้แก่ผู้อยู่ใต้การปกครองของตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tyrant เขียนว่า ที-วาย-อา-เอ-เอ็น-ที, เรียกลัทธิเช่นนั้นว่า ทรราชย์ หรือ ระบบทรราชย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tyranny เขียนว่า ที-วาย-อา-เอ-เอ็น-เอ็น-วาย.ทรราช น. ผู้ปกครองบ้านเมืองที่ใช้อํานาจตามอําเภอใจ ทําความเดือดร้อนทารุณให้แก่ผู้อยู่ใต้การปกครองของตน. (อ. tyrant), เรียกลัทธิเช่นนั้นว่า ทรราชย์ หรือ ระบบทรราชย์. (อ. tyranny).
ทรลักษณ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะที่ถือว่าไม่ดี.ทรลักษณ์ ว. มีลักษณะที่ถือว่าไม่ดี.
ทรง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู[ซง] เป็นคำนาม หมายถึง รูปร่าง เช่น ทรงกระบอก ทรงปั้นหยา ทรงกระสอบ ทรงกระทาย (ลักษณะชามหรือถ้วยมีรูปคล้ายกระทาย), แบบ เช่น ทรงผม. เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งอยู่ได้ เช่น ทรงตัว; จํา เช่น ทรงพระไตรปิฎก; รองรับ เช่น ธรรมย่อมทรงผู้ประพฤติธรรมไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว; มี เช่น ทรงคุณวุฒิ; คงอยู่ เช่น ไข้ยังทรงอยู่ นํ้าทรง; ในราชาศัพท์มีความหมายว่า ขี่ หรือ ถือ เป็นต้น ตามเนื้อความของคําที่ตามหลัง เช่น ทรงม้า ว่า ขี่ม้า ทรงช้าง ว่า ขี่ช้าง ทรงศร ว่า ถือศร ทรงศีล ว่า รับศีล ทรงธรรม ว่า ฟังเทศน์ ทรงบาตร ว่า ตักบาตร ทรงราชย์ ว่า ครองราชสมบัติ; ถ้าประกอบหน้านามบางคํา เช่น ชัย ภพ ศรี ศักดิ์ ธรรม เป็น พระทรงชัย พระทรงภพ พระทรงศรี พระทรงศักดิ์ พระทรงธรรม หมายถึง กษัตริย์; ถ้าประกอบหน้านามที่เป็นพาหนะหรืออาวุธเป็นต้นของพระเป็นเจ้า หมายถึง พระเป็นเจ้านั้น ๆ เช่น พระทรงโค หมายถึง พระอิศวร พระทรงครุฑ พระทรงศร พระทรงสังข์ หมายถึง พระนารายณ์ พระทรงหงส์ หมายถึง พระพรหม; ใช้นําหน้าคํากริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ; ใช้นําหน้าคํานามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระสรวล ทรงพระเมตตา ทรงพระประชวร, ในลักษณะนี้จะหมายความว่า มี ก็ได้ เช่น ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงพระคุณ ทรงพระนาม, เมื่อกริยาเป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่นิยมใช้คําว่า ทรง นําหน้าซ้อนลงไปอีก เช่นไม่ใช้ว่า ทรงตรัส ทรงประทับ ทรงพระราชทาน. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกช้าง ม้า ที่ขึ้นระวางแล้วว่า ช้างทรง ม้าทรง.ทรง [ซง] น. รูปร่าง เช่น ทรงกระบอก ทรงปั้นหยา ทรงกระสอบ ทรงกระทาย (ลักษณะชามหรือถ้วยมีรูปคล้ายกระทาย), แบบ เช่น ทรงผม. ก. ตั้งอยู่ได้ เช่น ทรงตัว; จํา เช่น ทรงพระไตรปิฎก; รองรับ เช่น ธรรมย่อมทรงผู้ประพฤติธรรมไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว; มี เช่น ทรงคุณวุฒิ; คงอยู่ เช่น ไข้ยังทรงอยู่ นํ้าทรง; ในราชาศัพท์มีความหมายว่า ขี่ หรือ ถือ เป็นต้น ตามเนื้อความของคําที่ตามหลัง เช่น ทรงม้า ว่า ขี่ม้า ทรงช้าง ว่า ขี่ช้าง ทรงศร ว่า ถือศร ทรงศีล ว่า รับศีล ทรงธรรม ว่า ฟังเทศน์ ทรงบาตร ว่า ตักบาตร ทรงราชย์ ว่า ครองราชสมบัติ; ถ้าประกอบหน้านามบางคํา เช่น ชัย ภพ ศรี ศักดิ์ ธรรม เป็น พระทรงชัย พระทรงภพ พระทรงศรี พระทรงศักดิ์ พระทรงธรรม หมายถึง กษัตริย์; ถ้าประกอบหน้านามที่เป็นพาหนะหรืออาวุธเป็นต้นของพระเป็นเจ้า หมายถึง พระเป็นเจ้านั้น ๆ เช่น พระทรงโค หมายถึง พระอิศวร พระทรงครุฑ พระทรงศร พระทรงสังข์ หมายถึง พระนารายณ์ พระทรงหงส์ หมายถึง พระพรหม; ใช้นําหน้าคํากริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ; ใช้นําหน้าคํานามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระสรวล ทรงพระเมตตา ทรงพระประชวร, ในลักษณะนี้จะหมายความว่า มี ก็ได้ เช่น ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงพระคุณ ทรงพระนาม, เมื่อกริยาเป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่นิยมใช้คําว่า ทรง นําหน้าซ้อนลงไปอีก เช่นไม่ใช้ว่า ทรงตรัส ทรงประทับ ทรงพระราชทาน. (ราชา) ว. เรียกช้าง ม้า ที่ขึ้นระวางแล้วว่า ช้างทรง ม้าทรง.
ทรงกลด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์.ทรงกลด ว. มีแสงสีรุ้งเป็นวงกลมล้อมรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์.
ทรงข้าวบิณฑ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาดดู พุ่มทรงข้าวบิณฑ์ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด.ทรงข้าวบิณฑ์ ดู พุ่มทรงข้าวบิณฑ์.
ทรงเครื่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งตัวมีเครื่องประดับ เช่น พระพุทธรูปทรงเครื่อง, มีเครื่องปรุงพิเศษกว่าปรกติ เช่น กระท้อนทรงเครื่อง, ประดิดประดอยให้งดงามเป็นพิเศษ เช่น ตัวหนังสือทรงเครื่อง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง ตัดผม (ใช้แก่เจ้านาย).ทรงเครื่อง ก. แต่งตัวมีเครื่องประดับ เช่น พระพุทธรูปทรงเครื่อง, มีเครื่องปรุงพิเศษกว่าปรกติ เช่น กระท้อนทรงเครื่อง, ประดิดประดอยให้งดงามเป็นพิเศษ เช่น ตัวหนังสือทรงเครื่อง; (ราชา) ตัดผม (ใช้แก่เจ้านาย).
ทรงเครื่องใหญ่, ทรงพระเครื่องใหญ่ ทรงเครื่องใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก ทรงพระเครื่องใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดผม (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน).ทรงเครื่องใหญ่, ทรงพระเครื่องใหญ่ (ราชา) ก. ตัดผม (ใช้แก่พระเจ้าแผ่นดิน).
ทรงเจ้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีเชิญเจ้าเข้าสิงคนทรง. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคนสําหรับทรงเจ้าว่า คนทรงเจ้า.ทรงเจ้า ก. ทําพิธีเชิญเจ้าเข้าสิงคนทรง. น. เรียกคนสําหรับทรงเจ้าว่า คนทรงเจ้า.
ทรงเจ้าเข้าผี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าผี, ลงผี.ทรงเจ้าเข้าผี ก. เข้าผี, ลงผี.
ทรงตัก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง กระบวยสําหรับตักนํ้าอบ.ทรงตัก (ราชา) น. กระบวยสําหรับตักนํ้าอบ.
ทรงประพาส เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉลองพระองค์ มีรูปเป็นเสื้อกั๊กมีชาย, คู่กับ พระกรน้อย เป็นเสื้อชั้นใน ที่แขนต่อแถบรัด มีสายรัดกับเสื้อทรงประพาส, ชื่อเสื้อยศผู้ว่าราชการเมืองครั้งก่อน; ชื่อหมวกเครื่องยศรูปเป็นกลีบ ๆ มีชายปกข้างและหลัง.ทรงประพาส น. ชื่อฉลองพระองค์ มีรูปเป็นเสื้อกั๊กมีชาย, คู่กับ พระกรน้อย เป็นเสื้อชั้นใน ที่แขนต่อแถบรัด มีสายรัดกับเสื้อทรงประพาส, ชื่อเสื้อยศผู้ว่าราชการเมืองครั้งก่อน; ชื่อหมวกเครื่องยศรูปเป็นกลีบ ๆ มีชายปกข้างและหลัง.
ทรงมัณฑ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[ซงมัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรูปทรงกลมหรือเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เรียวขึ้นไปอย่างหัวเม็ดเสาเกย. (สันนิษฐานกันว่า คําว่า มัณฑ์ น่าจะตัดมาจากคํา มณฑป).ทรงมัณฑ์ [ซงมัน] ว. มีรูปทรงกลมหรือเหลี่ยมซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เรียวขึ้นไปอย่างหัวเม็ดเสาเกย. (สันนิษฐานกันว่า คําว่า มัณฑ์ น่าจะตัดมาจากคํา มณฑป).
ทรงลังกา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเจดีย์รูปทรงกลม มีฐานล่างเป็นฐานบัวลูกแก้ว องค์ครรภธาตุมีรูปทรงคล้ายระฆังควํ่า ตอนบนเป็นที่ตั้งของรัตนบัลลังก์ มียอดประดับด้วยปล้องไฉน.ทรงลังกา ว. เรียกเจดีย์รูปทรงกลม มีฐานล่างเป็นฐานบัวลูกแก้ว องค์ครรภธาตุมีรูปทรงคล้ายระฆังควํ่า ตอนบนเป็นที่ตั้งของรัตนบัลลังก์ มียอดประดับด้วยปล้องไฉน.
ทรงหม้อตาล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวมว่า หมวกทรงหม้อตาล.ทรงหม้อตาล น. เรียกหมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวมว่า หมวกทรงหม้อตาล.
ทรงกระเทียม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[ซง–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Eleocharis dulcis (Burm.f.) Hensch. var. dulcis ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นกลม มีกาบบาง ๆ หุ้มที่โคน ดอกเป็นกระจุก มีหัวกินได้.ทรงกระเทียม [ซง–] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Eleocharis dulcis (Burm.f.) Hensch. var. dulcis ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นกลม มีกาบบาง ๆ หุ้มที่โคน ดอกเป็นกระจุก มีหัวกินได้.
ทรงบาดาล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[ซง–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Senna surattensis (Burm.f.) Irwin et Barneby ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบใกล้ยอด ใบอ่อนกินได้ เปลือกและใบใช้ทํายา.ทรงบาดาล [ซง–] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Senna surattensis (Burm.f.) Irwin et Barneby ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อสั้น ๆ ตามง่ามใบใกล้ยอด ใบอ่อนกินได้ เปลือกและใบใช้ทํายา.
ทรทึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ [ทฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คอยท่า, ห่วงใย, ทรรทึง ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ทรทึง ๑ [ทฺระ–] (กลอน) ก. คอยท่า, ห่วงใย, ทรรทึง ก็ใช้. (ข.).
ทรทึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ [ทฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง บ่น, บ่นถึง, ทรรทึง ก็ใช้.ทรทึง ๒ [ทฺระ–] (กลอน) ก. บ่น, บ่นถึง, ทรรทึง ก็ใช้.
ทรนาว, ทระนาว ทรนาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ทระนาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน [ทอระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน.ทรนาว, ทระนาว [ทอระ–] ว. ระนาว, มากมาย, เช่น พบโพหนึ่งในไพรสณฑ์ สาขานฤมล แลลำทรนาวสาวสาร. (สมุทรโฆษ), งั่วนาวทรนาวเนก กรูดฉุรเฉกจรุงธาร. (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรพี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ทอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตักข้าวและแกงมีรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า ทําด้วยทองเหลืองเป็นต้น, ทัพพี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทรฺวี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี ทพฺพิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ.ทรพี ๑ [ทอระ–] น. เครื่องตักข้าวและแกงมีรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า ทําด้วยทองเหลืองเป็นต้น, ทัพพี ก็ว่า. (ส. ทรฺวี; ป. ทพฺพิ).
ทรพี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ทอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกที่ไม่รู้คุณพ่อแม่ว่า ลูกทรพี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เนรคุณถึงประทุษร้ายพ่อแม่.ทรพี ๒ [ทอระ–] น. เรียกลูกที่ไม่รู้คุณพ่อแม่ว่า ลูกทรพี. ว. เนรคุณถึงประทุษร้ายพ่อแม่.
ทรมาทรกรรม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[ทอระมาทอระกํา] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ทนทุกข์ทรมานไม่รู้จักจบจักสิ้น, ทําให้ทนทุกข์ทรมานอย่างยืดเยื้อ.ทรมาทรกรรม [ทอระมาทอระกํา] (ปาก) ก. ทําให้ทนทุกข์ทรมานไม่รู้จักจบจักสิ้น, ทําให้ทนทุกข์ทรมานอย่างยืดเยื้อ.
ทรมาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[ทอระมาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ลําบาก, ทําทารุณ เช่น ทรมานตัว ทรมานสัตว์, ทําให้ละพยศหรือลดทิฐิมานะลง. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปางพระพุทธรูปที่ขึ้นต้นด้วยคํานี้ เช่นว่า ปางทรมานช้างนาฬาคิรี ปางทรมานพญานาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทมน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-นอ-หนู.ทรมาน [ทอระมาน] ก. ทําให้ลําบาก, ทําทารุณ เช่น ทรมานตัว ทรมานสัตว์, ทําให้ละพยศหรือลดทิฐิมานะลง. น. ชื่อปางพระพุทธรูปที่ขึ้นต้นด้วยคํานี้ เช่นว่า ปางทรมานช้างนาฬาคิรี ปางทรมานพญานาค. (ป., ส. ทมน).
ทรมุก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[ทอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง กรักขี เช่น ทรมุกพรรณดวงจาวก็มี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.ทรมุก [ทอระ–] น. กรักขี เช่น ทรมุกพรรณดวงจาวก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรรทึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ [ทัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คอยท่า, ห่วงใย, ทรทึง ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ทรรทึง ๑ [ทัน–] (กลอน) ก. คอยท่า, ห่วงใย, ทรทึง ก็ใช้. (ข.).
ทรรทึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ [ทัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง บ่น, บ่นถึง, ทรทึง ก็ใช้.ทรรทึง ๒ [ทัน–] (กลอน) ก. บ่น, บ่นถึง, ทรทึง ก็ใช้.
ทรรป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา[ทับ] เป็นคำนาม หมายถึง ความโง่, ความเซ่อ; ความโอ้อวด, ความจองหอง, ความเย่อหยิ่ง, เช่น แลมาให้แก่บาคค่อมขวลทรรป. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก, ทัป ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทรฺป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา และมาจากภาษาบาลี ทปฺป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.ทรรป [ทับ] น. ความโง่, ความเซ่อ; ความโอ้อวด, ความจองหอง, ความเย่อหยิ่ง, เช่น แลมาให้แก่บาคค่อมขวลทรรป. (ม. คำหลวง ชูชก), ทัป ก็ว่า. (ส. ทรฺป; ป. ทปฺป).
ทรรปณ์, ทรรปณะ ทรรปณ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ทรรปณะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [ทับ, ทับปะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แว่นส่องหน้า, ทัปนะ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทรฺปณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี ทปฺปน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู.ทรรปณ์, ทรรปณะ [ทับ, ทับปะนะ] (แบบ) น. แว่นส่องหน้า, ทัปนะ ก็ใช้. (ส. ทรฺปณ; ป. ทปฺปน).
ทรรศนะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[ทัดสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทัศนะ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทรฺศน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี ทสฺสน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู.ทรรศนะ [ทัดสะนะ] น. ความเห็น, การเห็น, เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทัศนะ ก็ใช้. (ส. ทรฺศน; ป. ทสฺสน).
ทรรศนาการ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง อาการดู.ทรรศนาการ น. อาการดู.
ทรรศนาการ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู ทรรศนะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ.ทรรศนาการ ดู ทรรศนะ.
ทรรศนีย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[ทัดสะนี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าดู, งาม, ทัศนีย์ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทรฺศนีย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี ทสฺสนีย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.ทรรศนีย์ [ทัดสะนี] ว. น่าดู, งาม, ทัศนีย์ ก็ใช้. (ส. ทรฺศนีย; ป. ทสฺสนีย).
ทรเล่ห์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด[ทอระ–] เป็นคำกริยา หมายถึง เฉียดหลังนํ้า เช่น ทุงทองทรเล่ห์สระทรหวล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.ทรเล่ห์ [ทอระ–] ก. เฉียดหลังนํ้า เช่น ทุงทองทรเล่ห์สระทรหวล. (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู[ซวง] เป็นคำนาม หมายถึง อก, ใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ อก เป็น ทรวงอก, โดยมากใช้ในบทกลอน, ที่ใช้เป็นสามัญก็มีบ้าง เช่น เย็นทรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ทฺรูง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู.ทรวง [ซวง] น. อก, ใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ อก เป็น ทรวงอก, โดยมากใช้ในบทกลอน, ที่ใช้เป็นสามัญก็มีบ้าง เช่น เย็นทรวง. (ข. ทฺรูง).
ทรวด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก[ซวด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง นูนขึ้น เช่น อันว่าสวภาพท้องบมิทรวดเสมออก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร.ทรวด [ซวด] (โบ) ก. นูนขึ้น เช่น อันว่าสวภาพท้องบมิทรวดเสมออก. (ม. คำหลวง ทศพร).
ทรวดทรง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู[ซวดซง] เป็นคำนาม หมายถึง รูปร่าง, สัณฐาน, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ซวดทรง.ทรวดทรง [ซวดซง] น. รูปร่าง, สัณฐาน, (โบ) ซวดทรง.
ทรวาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ทอระวาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ประตู เช่น ตื่นนอนใครแลมาเทงทรวาร. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.ทรวาร [ทอระวาน] (กลอน) น. ประตู เช่น ตื่นนอนใครแลมาเทงทรวาร. (ม. คำหลวง กุมาร).
ทรสองทรสุม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[ทอระสองทอระสุม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่องสุม, ประชุมกัน, เช่น ดูทรสองทรสุมผกา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.ทรสองทรสุม [ทอระสองทอระสุม] (กลอน) ก. ซ่องสุม, ประชุมกัน, เช่น ดูทรสองทรสุมผกา. (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรสาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง พุ่มไม้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน, ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.ทรสาย [ทอระ–] (กลอน) น. พุ่มไม้. ว. สยาย, รุงรัง, เช่น ทรสายกิ่งชื้อชัฏ. (ม. คำหลวง จุลพน), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสุม เป็น ทรสายทรสุม ก็มี เช่น กิ่งทรสายทรสุมผกา. (ม. คำหลวง มหาพน).
ทรสุม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร, ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน.ทรสุม [ทอระ–] (กลอน) ว. ซึ่งสุมกัน, เป็นกลุ่ม, เป็นพุ่ม, เป็นช่อ, เช่น ไม้ทรสุมสมกิ่งวันนี้. (ม. คำหลวง กุมาร), ใช้เข้าคู่กับคำ ทรสาย เป็น ทรสุมทรสาย ก็มี เช่น ใบทรสุมทรสายศาล. (ม. คำหลวง จุลพน).
ทรหด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก[ทอระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อดทน, บึกบึน, ไม่ย่อท้อ, (มักใช้แก่กริยาสู้).ทรหด [ทอระ–] ว. อดทน, บึกบึน, ไม่ย่อท้อ, (มักใช้แก่กริยาสู้).
ทรหน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทางลําบาก, ทางกันดาร.ทรหน [ทอระ–] (กลอน) น. ทางลําบาก, ทางกันดาร.
ทรหวล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พัดหอบเอาไป.ทรหวล [ทอระ–] (กลอน) ว. พัดหอบเอาไป.
ทรหึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นาน; เสียงเอ็ดอึง.ทรหึง [ทอระ–] (กลอน) ว. นาน; เสียงเอ็ดอึง.
ทรหึงทรหวล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[ทอระหึงทอระหวน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังปั่นป่วน เช่น ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.ทรหึงทรหวล [ทอระหึงทอระหวน] (กลอน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ. (ตะเลงพ่าย).
ทรหู, ทรฮู ทรหู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู ทรฮู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อู [ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ดิ้นรนอยากรู้, ร้องดัง, เช่น ในเมื่อกูไห้ทรหูรํ่าร้อง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ทรหู, ทรฮู [ทอระ–] (กลอน) ก. ดิ้นรนอยากรู้, ร้องดัง, เช่น ในเมื่อกูไห้ทรหูรํ่าร้อง. (ม. คำหลวง ชูชก).
ทรเหล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง[ทอระเหน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ความลําบากในการเดินทางไป เช่น เขาก็บอกความทุกข์ทรเหล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์.ทรเหล [ทอระเหน] (กลอน) น. ความลําบากในการเดินทางไป เช่น เขาก็บอกความทุกข์ทรเหล. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ทรอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง[ซอ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ซอ เช่น เสียงสารสังคีตขับทรอท่อ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ทรอ [ซอ] (โบ) น. ซอ เช่น เสียงสารสังคีตขับทรอท่อ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ทรอมโบน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู[ทฺรอม–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแตรประเภทหนึ่ง มีท่อลมสวมซ้อนกันและบังคับเสียงโดยวิธีชักท่อลมเลื่อนเข้าออก, ลักษณนามว่า ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trombone เขียนว่า ที-อา-โอ-เอ็ม-บี-โอ-เอ็น-อี.ทรอมโบน [ทฺรอม–] น. ชื่อแตรประเภทหนึ่ง มีท่อลมสวมซ้อนกันและบังคับเสียงโดยวิธีชักท่อลมเลื่อนเข้าออก, ลักษณนามว่า ตัว. (อ. trombone).
ทรอึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ถือตัว. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือคำฤษดี สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส สมเด็จกรมพระเดชาดิศร และ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ช่วยกันทรงนิพนธ์ ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ ร.ศ. ๑๒๔.ทรอึง [ทอระ–] (กลอน) ก. ถือตัว. (คําฤษดี).
ทรอุ้ม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชรอุ่ม, มืด, มืดมัว.ทรอุ้ม [ทอระ–] (กลอน) ว. ชรอุ่ม, มืด, มืดมัว.
ทระนง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-งอ-งู[ทอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ทะนง.ทระนง [ทอระ–] (กลอน) ก. ทะนง.
ทรัพย–, ทรัพย์ ทรัพย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก ทรัพย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [ซับพะยะ–, ซับ] เป็นคำนาม หมายถึง เงินตรา เช่น ไม่มีทรัพย์ติดตัว, สมบัติพัสถาน เช่น เขาเป็นคนมีทรัพย์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่ถือว่ามีค่า อาจไม่มีรูปร่างก็ได้ เช่น มีปัญญาเป็นทรัพย์ อริยทรัพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺรวฺย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.ทรัพย–, ทรัพย์ [ซับพะยะ–, ซับ] น. เงินตรา เช่น ไม่มีทรัพย์ติดตัว, สมบัติพัสถาน เช่น เขาเป็นคนมีทรัพย์; (กฎ) วัตถุมีรูปร่าง; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่ถือว่ามีค่า อาจไม่มีรูปร่างก็ได้ เช่น มีปัญญาเป็นทรัพย์ อริยทรัพย์. (ส. ทฺรวฺย).
ทรัพย์นอกพาณิชย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้ และทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดยชอบด้วยกฎหมาย.ทรัพย์นอกพาณิชย์ (กฎ) น. ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้ และทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดยชอบด้วยกฎหมาย.
ทรัพย์ในดิน สินในน้ำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีอยู่หรือเกิดตามธรรมชาติ อันอาจนํามาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้.ทรัพย์ในดิน สินในน้ำ (สำ) น. สิ่งที่มีอยู่หรือเกิดตามธรรมชาติ อันอาจนํามาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้.
ทรัพย์มรดก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู มรดก เขียนว่า มอ-ม้า-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่.ทรัพย์มรดก (กฎ) ดู มรดก.
ทรัพย์สมบัติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินที่อยู่ในครอบครองอันอาจใช้สอยแจกจ่ายได้.ทรัพย์สมบัติ น. ทรัพย์สินที่อยู่ในครอบครองอันอาจใช้สอยแจกจ่ายได้.
ทรัพยสิทธิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[ซับพะยะสิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สิทธิเหนือทรัพย์ที่จะก่อตั้งขึ้นได้แต่ด้วยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เช่น สิทธิครอบครอง กรรมสิทธิ์.ทรัพยสิทธิ [ซับพะยะสิด] (กฎ) น. สิทธิเหนือทรัพย์ที่จะก่อตั้งขึ้นได้แต่ด้วยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เช่น สิทธิครอบครอง กรรมสิทธิ์.
ทรัพย์สิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุทั้งที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นวัตถุมีรูปร่าง ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เป็นวัตถุไม่มีรูปร่าง.ทรัพย์สิน (กฎ) น. วัตถุทั้งที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นวัตถุมีรูปร่าง ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เป็นวัตถุไม่มีรูปร่าง.
ทรัพย์สินของแผ่นดิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินทุกชนิดของรัฐ.ทรัพย์สินของแผ่นดิน (กฎ) น. ทรัพย์สินทุกชนิดของรัฐ.
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินในพระมหากษัตริย์ นอกจากทรัพย์สินส่วนพระองค์และทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน.ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (กฎ) น. ทรัพย์สินในพระมหากษัตริย์ นอกจากทรัพย์สินส่วนพระองค์และทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน.
ทรัพย์สินส่วนพระองค์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินที่เป็นของพระมหากษัตริย์อยู่แล้วก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ หรือทรัพย์สินที่รัฐทูลเกล้าฯ ถวาย หรือทรัพย์สินที่ทรงได้มาไม่ว่าในทางใดและเวลาใด นอกจากที่ทรงได้มาในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ รวมทั้งดอกผลที่เกิดจากบรรดาทรัพย์สินเช่นว่านั้น.ทรัพย์สินส่วนพระองค์ (กฎ) น. ทรัพย์สินที่เป็นของพระมหากษัตริย์อยู่แล้วก่อนเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ หรือทรัพย์สินที่รัฐทูลเกล้าฯ ถวาย หรือทรัพย์สินที่ทรงได้มาไม่ว่าในทางใดและเวลาใด นอกจากที่ทรงได้มาในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ รวมทั้งดอกผลที่เกิดจากบรรดาทรัพย์สินเช่นว่านั้น.
ทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินในพระมหากษัตริย์ ซึ่งใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เป็นต้นว่า พระราชวัง.ทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน (กฎ) น. ทรัพย์สินในพระมหากษัตริย์ ซึ่งใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เป็นต้นว่า พระราชวัง.
ทรัพยากร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[ซับพะยากอน] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งทั้งปวงอันเป็นทรัพย์.ทรัพยากร [ซับพะยากอน] น. สิ่งทั้งปวงอันเป็นทรัพย์.
ทรัพยากรธรณี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์อันอยู่ใต้แผ่นดิน เช่น แร่ธาตุ นํ้ามัน.ทรัพยากรธรณี น. ทรัพย์อันอยู่ใต้แผ่นดิน เช่น แร่ธาตุ นํ้ามัน.
ทรัพยากรธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์อันเกิดขึ้นเองหรือมีอยู่ตามธรรมชาติ.ทรัพยากรธรรมชาติ น. ทรัพย์อันเกิดขึ้นเองหรือมีอยู่ตามธรรมชาติ.
ทรัพยากร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือดู ทรัพย–, ทรัพย์ ทรัพย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก ทรัพย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .ทรัพยากร ดู ทรัพย–, ทรัพย์.
ทรัพยากรธรณี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อีดู ทรัพย–, ทรัพย์ ทรัพย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก ทรัพย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .ทรัพยากรธรณี ดู ทรัพย–, ทรัพย์.
ทรัพยากรธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู ทรัพย–, ทรัพย์ ทรัพย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก ทรัพย์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด .ทรัพยากรธรรมชาติ ดู ทรัพย–, ทรัพย์.
ทรัมเป็ต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ตอ-เต่า[ทฺรํา–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแตรประเภทหนึ่ง มีเสียงแหลม, ลักษณนามว่า ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trumpet เขียนว่า ที-อา-ยู-เอ็ม-พี-อี-ที.ทรัมเป็ต [ทฺรํา–] น. ชื่อแตรประเภทหนึ่ง มีเสียงแหลม, ลักษณนามว่า ตัว. (อ. trumpet).
ทรานซิสเตอร์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[ทฺราน–] เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยผลึกของสารกึ่งตัวนํา มีขั้วไฟฟ้า ๓ ขั้วสําหรับต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าภายนอก ใช้สําหรับควบคุมและขยายกระแสไฟฟ้า คือกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าคู่หนึ่งควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ถูกขยายซึ่งเคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าอีกคู่หนึ่ง โดยขั้วไฟฟ้า ๒ คู่นี้มีขั้วหนึ่งเป็นขั้วร่วมกัน, ลักษณนามว่า ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ transistor เขียนว่า ที-อา-เอ-เอ็น-เอส-ไอ-เอส-ที-โอ-อา.ทรานซิสเตอร์ [ทฺราน–] น. อุปกรณ์ขนาดเล็กมาก ประกอบด้วยผลึกของสารกึ่งตัวนํา มีขั้วไฟฟ้า ๓ ขั้วสําหรับต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าภายนอก ใช้สําหรับควบคุมและขยายกระแสไฟฟ้า คือกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าคู่หนึ่งควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ถูกขยายซึ่งเคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้าอีกคู่หนึ่ง โดยขั้วไฟฟ้า ๒ คู่นี้มีขั้วหนึ่งเป็นขั้วร่วมกัน, ลักษณนามว่า ตัว. (อ. transistor).
ทราบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้[ซาบ] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ (ใช้ในความสุภาพ) เช่น ทราบข่าวได้รับทราบแล้ว เรียนมาเพื่อทราบ.ทราบ [ซาบ] ก. รู้ (ใช้ในความสุภาพ) เช่น ทราบข่าวได้รับทราบแล้ว เรียนมาเพื่อทราบ.
ทราบเกล้าทราบกระหม่อม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ (ใช้กราบทูลเจ้านายตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป), ใช้ย่อว่า ทราบเกล้าฯ.ทราบเกล้าทราบกระหม่อม (ราชา) ก. รู้ (ใช้กราบทูลเจ้านายตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป), ใช้ย่อว่า ทราบเกล้าฯ.
ทราบฝ่าพระบาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ (ใช้กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จเจ้าฟ้า).ทราบฝ่าพระบาท (ราชา) ก. รู้ (ใช้กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระวรวงศ์เธอที่ทรงกรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จเจ้าฟ้า).
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ (ใช้กราบทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ).ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท (ราชา) ก. รู้ (ใช้กราบทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ).
ทราบฝ่าละอองพระบาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ (ใช้กราบทูลสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี).ทราบฝ่าละอองพระบาท (ราชา) ก. รู้ (ใช้กราบทูลสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี).
ทราม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[ซาม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลว เช่น ใจทราม, เสื่อม เช่น ปัญญาทราม จิตทราม; ไหลอาบเป็นแห่ง ๆ เช่น เลือดไหลทรามลงตามขา.ทราม [ซาม] ว. เลว เช่น ใจทราม, เสื่อม เช่น ปัญญาทราม จิตทราม; ไหลอาบเป็นแห่ง ๆ เช่น เลือดไหลทรามลงตามขา.
ทรามชม, ทรามเชย ทรามชม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า ทรามเชย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก [ซาม–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก.ทรามชม, ทรามเชย [ซาม–] น. หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก.
ทรามวัย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[ซาม–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาววัยรุ่น.ทรามวัย [ซาม–] น. หญิงสาววัยรุ่น.
ทรามสงวน, ทรามสวาท ทรามสงวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู ทรามสวาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน [ซาม–] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก.ทรามสงวน, ทรามสวาท [ซาม–] น. หญิงงามน่ารัก, นางงามผู้เป็นที่รัก.
ทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ซาย] เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่เป็นเศษหินขนาดเล็ก มีลักษณะซุยร่วนไม่เกาะกัน มีหลายชนิด เช่น ทรายขี้เป็ด ทรายหยาบ ทรายละเอียด, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะอย่างทราย เช่น เนื้อแตงโมเป็นทราย นํ้าตาลทราย กระดาษทราย.ทราย ๑ [ซาย] น. วัตถุที่เป็นเศษหินขนาดเล็ก มีลักษณะซุยร่วนไม่เกาะกัน มีหลายชนิด เช่น ทรายขี้เป็ด ทรายหยาบ ทรายละเอียด, ใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะอย่างทราย เช่น เนื้อแตงโมเป็นทราย นํ้าตาลทราย กระดาษทราย.
ทรายแก้ว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แร่ควอตซ์ที่มีขนาดเล็กเท่าเม็ดทราย มีลักษณะเป็นสีขาวใส ใช้ในอุตสาหกรรมทําแก้ว.ทรายแก้ว น. แร่ควอตซ์ที่มีขนาดเล็กเท่าเม็ดทราย มีลักษณะเป็นสีขาวใส ใช้ในอุตสาหกรรมทําแก้ว.
ทรายแป้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทรายที่มีขนาดละเอียดยิบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ silt เขียนว่า เอส-ไอ-แอล-ที.ทรายแป้ง น. ทรายที่มีขนาดละเอียดยิบ. (อ. silt).
ทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ซาย]ดู เนื้อทราย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ที่ เนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.ทราย ๒ [ซาย] ดู เนื้อทราย ที่ เนื้อ ๒.
ทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ซาย] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่ชนิด Ensidens ingallsianus ในวงศ์ Unionidae อาศัยอยู่ในทราย.ทราย ๓ [ซาย] น. ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่ชนิด Ensidens ingallsianus ในวงศ์ Unionidae อาศัยอยู่ในทราย.
ทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ซาย]ดู ซ่อนทราย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก (๑).ทราย ๔ [ซาย] ดู ซ่อนทราย (๑).
ทรายขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[ซาย–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลในสกุล Scolopsis วงศ์ Nemipteridae ลำตัวสั้น รูปไข่ แบนข้าง ปากเล็ก ไม่มีฟันเขี้ยว มีหนามแหลมอยู่บริเวณใต้ตา ปลายชี้ไปทางด้านหลัง เช่น ชนิด S. cancellatus, S. dubiosus.ทรายขาว [ซาย–] น. ชื่อปลาทะเลในสกุล Scolopsis วงศ์ Nemipteridae ลำตัวสั้น รูปไข่ แบนข้าง ปากเล็ก ไม่มีฟันเขี้ยว มีหนามแหลมอยู่บริเวณใต้ตา ปลายชี้ไปทางด้านหลัง เช่น ชนิด S. cancellatus, S. dubiosus.
ทริทร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[ทะริด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากจน, เข็ญใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทลิทฺท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.ทริทร [ทะริด] (แบบ) ว. ยากจน, เข็ญใจ. (ส.; ป. ทลิทฺท).
ทรุด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก[ซุด] เป็นคำกริยา หมายถึง จมลงหรือลดลงกว่าระดับเดิมเพราะสิ่งรองรับมีกําลังต้านทานไม่พอ เช่น กําแพงทรุด สะพานทรุด, ยุบลง เช่น ดั้งจมูกทรุด, มีฐานะตกตํ่ากว่าเดิม เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจกําลังทรุดหนัก, เรียกอาการไข้ที่หนักลงไปกว่าเดิมว่า ไข้ทรุด.ทรุด [ซุด] ก. จมลงหรือลดลงกว่าระดับเดิมเพราะสิ่งรองรับมีกําลังต้านทานไม่พอ เช่น กําแพงทรุด สะพานทรุด, ยุบลง เช่น ดั้งจมูกทรุด, มีฐานะตกตํ่ากว่าเดิม เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจกําลังทรุดหนัก, เรียกอาการไข้ที่หนักลงไปกว่าเดิมว่า ไข้ทรุด.
ทรุดโทรม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสื่อมไปเพราะร่วงโรย ครํ่าคร่า หรือตรากตรําเกินไป.ทรุดโทรม ว. เสื่อมไปเพราะร่วงโรย ครํ่าคร่า หรือตรากตรําเกินไป.
ทรุดนั่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลดตัวลงนั่ง.ทรุดนั่ง ก. ลดตัวลงนั่ง.
ทรุม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[ทฺรุม, ทฺรุมะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทุม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า.ทรุม [ทฺรุม, ทฺรุมะ] (แบบ) น. ต้นไม้. (ส.; ป. ทุม).
ทรู่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก[ซู่] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ลากไป, คร่าไป.ทรู่ [ซู่] (กลอน) ก. ลากไป, คร่าไป.
ทฤฆ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-คอ-ระ-คัง[ทฺรึคะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยาว, ยืนยาว, เช่น ทฤฆชนม์ ทฤฆชาติ ทฤฆายุ. (แผลงมาจาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ทีรฺฆ; ป. ทีฆ).ทฤฆ– [ทฺรึคะ–] ว. ยาว, ยืนยาว, เช่น ทฤฆชนม์ ทฤฆชาติ ทฤฆายุ. (แผลงมาจาก ส. ทีรฺฆ; ป. ทีฆ).
ทฤษฎี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี[ทฺริดสะดี] เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็น; การเห็น, การเห็นด้วยใจ; ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทิฏฺิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ. (อ. theory).ทฤษฎี [ทฺริดสะดี] น. ความเห็น; การเห็น, การเห็นด้วยใจ; ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ. (ส.; ป. ทิฏฺิ). (อ. theory).
ทฤษฎีบท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ theorem เขียนว่า ที-เอช-อี-โอ-อา-อี-เอ็ม.ทฤษฎีบท น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้. (อ. theorem).
ทล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง[ทน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ใบไม้, กลีบดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทล [ทน] (แบบ) น. ใบไม้, กลีบดอกไม้. (ป., ส.).
ทลบม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า[ทนละบม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ประพรม, ลูบไล้, ฉาบทา, เช่น ทลบมด้วยรัตจันทน์.ทลบม [ทนละบม] (กลอน) ก. ประพรม, ลูบไล้, ฉาบทา, เช่น ทลบมด้วยรัตจันทน์.
ทลอึง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[ทนละ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งมั่น, มั่นคง.ทลอึง [ทนละ–] (กลอน) ก. ตั้งมั่น, มั่นคง.
ทลาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[ทะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่สิ่งซึ่งเป็นกลุ่มก้อนแตกหักหรือพังกระจัดกระจาย เช่น กองทรายทลาย, พังหรือทําให้พัง เช่น กําแพงทลาย ทลายกําแพง, มักใช้เข้าคู่กับคำ พัง เป็น พังทลาย, โดยปริยายหมายความว่า ล้มเหลว ไม่ได้ดังหวัง เช่น ความฝันพังทลาย วิมานทลาย.ทลาย [ทะ–] ก. อาการที่สิ่งซึ่งเป็นกลุ่มก้อนแตกหักหรือพังกระจัดกระจาย เช่น กองทรายทลาย, พังหรือทําให้พัง เช่น กําแพงทลาย ทลายกําแพง, มักใช้เข้าคู่กับคำ พัง เป็น พังทลาย, โดยปริยายหมายความว่า ล้มเหลว ไม่ได้ดังหวัง เช่น ความฝันพังทลาย วิมานทลาย.
ทลิท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน[ทะลิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากจน, เข็ญใจ, เช่น พราหมณพฤฒาเฒ่าทลิทยากยิ่งยาจก. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทลิทฺท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน.ทลิท [ทะลิด] (แบบ) ว. ยากจน, เข็ญใจ, เช่น พราหมณพฤฒาเฒ่าทลิทยากยิ่งยาจก. (ม. ร่ายยาว ชูชก). (ป. ทลิทฺท).
ทลิททก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่[ทะลิดทก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากจน, เข็ญใจ, เช่น ส่วนออเฒ่าพฤฒาทลิททก. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทลิทฺทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่.ทลิททก [ทะลิดทก] (แบบ) ว. ยากจน, เข็ญใจ, เช่น ส่วนออเฒ่าพฤฒาทลิททก. (ม. ร่ายยาว ชูชก). (ป. ทลิทฺทก).
ทวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เรียกเอาสิ่งที่เป็นของตนหรือที่ติดค้างกลับคืน เช่น ทวงหนี้ ทวงเงิน ทวงค่าเช่า, เรียกร้องเอาสิ่งที่จะพึงมีพึงได้ เช่น ทวงสิทธิ ทวงบุญทวงคุณ.ทวง ก. เรียกเอาสิ่งที่เป็นของตนหรือที่ติดค้างกลับคืน เช่น ทวงหนี้ ทวงเงิน ทวงค่าเช่า, เรียกร้องเอาสิ่งที่จะพึงมีพึงได้ เช่น ทวงสิทธิ ทวงบุญทวงคุณ.
ทวงถาม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-งอ-งู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง เรียกร้องให้ชําระหนี้.ทวงถาม (กฎ) ก. เรียกร้องให้ชําระหนี้.
ท้วง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเป็นทํานองไม่เห็นด้วย; พยุง, ประคอง, พา, เช่น ท้วงตนหนีไปได้.ท้วง ก. พูดเป็นทํานองไม่เห็นด้วย; พยุง, ประคอง, พา, เช่น ท้วงตนหนีไปได้.
ท้วงติง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ค้านไว้.ท้วงติง ก. ค้านไว้.
ท่วงท่า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การรู้จักวางกิริยาท่าทาง.ท่วงท่า น. การรู้จักวางกิริยาท่าทาง.
ท่วงทำนอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทํานอง.ท่วงทำนอง น. ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทํานอง.
ท่วงที เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ท่าทาง, หน่วยก้าน, ชั้นเชิง.ท่วงที น. ท่าทาง, หน่วยก้าน, ชั้นเชิง.
ทวด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง พ่อหรือแม่ของ ปู่ ย่า ตา ยาย, ชวด ก็ว่า.ทวด น. พ่อหรือแม่ของ ปู่ ย่า ตา ยาย, ชวด ก็ว่า.
ทวดน้อย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคนชั้นน้องของทวดว่า ทวดน้อย.ทวดน้อย น. เรียกคนชั้นน้องของทวดว่า ทวดน้อย.
ทวดึงส์, ทวัตดึงส์ ทวดึงส์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด ทวัตดึงส์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด [ทะวะดึง, ทะวัดดึง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามสิบสอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทฺวตฺติส เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-??60??-เอส-ยู-พี-??62??-นิค-คะ-หิด-??60??-??47??-เอส-ยู-พี-??62??-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต ทฺวาตฺริศตฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-??60??-เอส-ยู-พี-??62??-นิค-คะ-หิด-??60??-??47??-เอส-ยู-พี-??62??-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ.ทวดึงส์, ทวัตดึงส์ [ทะวะดึง, ทะวัดดึง] (แบบ) ว. สามสิบสอง. (ป. ทฺวตฺติส; ส. ทฺวาตฺริศตฺ).
ทวัตดึงสาการ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อาการของร่างกาย ๓๒ อย่าง มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น.ทวัตดึงสาการ (แบบ) น. อาการของร่างกาย ๓๒ อย่าง มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น.
ทวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธชนิดหนึ่งคล้ายหอก แต่เรียวเล็กและเบากว่า ด้ามยาวมาก; ไม้ ๒ อันที่ตั้งขึ้นข้างหัวและท้ายเรือต่อ สำหรับติดกระดานต่อขึ้นไป; เครื่องมือช่างทองทําด้วยไม้ ปลายข้างหนึ่งติดครั่งสําหรับยึดรูปพรรณ อีกข้างหนึ่งสําหรับยึดกับฐานที่ทําไว้โดยเฉพาะเพื่อนั่งสลักได้สะดวก; เครื่องมือช่างเจียระไนทำด้วยไม้ ปลายข้างหนึ่งติดครั่งสำหรับยึดอัญมณี อีกข้างหนึ่งเป็นด้ามสำหรับถือเพื่อนำไปเจียบนแท่นเจียให้เป็นเหลี่ยมหรือรูปตามต้องการ; ส่วนปลายคันซอไทยบริเวณที่มีลูกบิด; เครื่องดินเผาสําหรับรองตะคันอบนํ้าหอม.ทวน ๑ น. อาวุธชนิดหนึ่งคล้ายหอก แต่เรียวเล็กและเบากว่า ด้ามยาวมาก; ไม้ ๒ อันที่ตั้งขึ้นข้างหัวและท้ายเรือต่อ สำหรับติดกระดานต่อขึ้นไป; เครื่องมือช่างทองทําด้วยไม้ ปลายข้างหนึ่งติดครั่งสําหรับยึดรูปพรรณ อีกข้างหนึ่งสําหรับยึดกับฐานที่ทําไว้โดยเฉพาะเพื่อนั่งสลักได้สะดวก; เครื่องมือช่างเจียระไนทำด้วยไม้ ปลายข้างหนึ่งติดครั่งสำหรับยึดอัญมณี อีกข้างหนึ่งเป็นด้ามสำหรับถือเพื่อนำไปเจียบนแท่นเจียให้เป็นเหลี่ยมหรือรูปตามต้องการ; ส่วนปลายคันซอไทยบริเวณที่มีลูกบิด; เครื่องดินเผาสําหรับรองตะคันอบนํ้าหอม.
ทวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ฝ่ากระแสนํ้าหรือกระแสลม ในคําว่า ทวนนํ้า ทวนลม, เอาใบพายรานํ้าไว้เพื่อชะลอให้เรือหยุด; กลับมาตั้งต้นใหม่, กลับซํ้าใหม่, เช่น อ่านทวน ทวนเพลง; ย้อนทาง เช่น ทวนเข็มนาฬิกา ทวนแสง; เฆี่ยนตีด้วยลวดหนัง; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทวนกระแสจิต ทวนกระแสโลก.ทวน ๒ ก. ฝ่ากระแสนํ้าหรือกระแสลม ในคําว่า ทวนนํ้า ทวนลม, เอาใบพายรานํ้าไว้เพื่อชะลอให้เรือหยุด; กลับมาตั้งต้นใหม่, กลับซํ้าใหม่, เช่น อ่านทวน ทวนเพลง; ย้อนทาง เช่น ทวนเข็มนาฬิกา ทวนแสง; เฆี่ยนตีด้วยลวดหนัง; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ทวนกระแสจิต ทวนกระแสโลก.
ทวนทบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ย้อนกลับทําซํ้าอีกเพื่อให้แม่นยํา, ทบทวน ก็ว่า.ทวนทบ ก. ย้อนกลับทําซํ้าอีกเพื่อให้แม่นยํา, ทบทวน ก็ว่า.
ทวนสบถ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ทําตามคําสบถ.ทวนสบถ ก. ไม่ทําตามคําสบถ.
ทวนสาบาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ทําตามคําสาบาน.ทวนสาบาน ก. ไม่ทําตามคําสาบาน.
ท้วน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วนแข็งแรง, ใช้พูดประกอบกับคํา อ้วน เป็น อ้วนท้วน.ท้วน ว. อ้วนแข็งแรง, ใช้พูดประกอบกับคํา อ้วน เป็น อ้วนท้วน.
ท่วม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ไหลหลาก บ่า หรือเอ่อท้นจนลบพื้นที่หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นํ้าท่วมทุ่ง นํ้าท่วมบ้าน, กลบ เช่น ทรายท่วมเท้า, ซาบซึมไปทั่ว เช่น เหงื่อท่วมตัว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หนี้ท่วมตัว ความรู้ท่วมหัว.ท่วม ก. ไหลหลาก บ่า หรือเอ่อท้นจนลบพื้นที่หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น นํ้าท่วมทุ่ง นํ้าท่วมบ้าน, กลบ เช่น ทรายท่วมเท้า, ซาบซึมไปทั่ว เช่น เหงื่อท่วมตัว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หนี้ท่วมตัว ความรู้ท่วมหัว.
ท่วมท้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมายเหลือล้น เช่น ได้คะแนนเสียงท่วมท้น.ท่วมท้น ว. มากมายเหลือล้น เช่น ได้คะแนนเสียงท่วมท้น.
ท้วม, ท้วม ๆ ท้วม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า ท้วม ๆ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรูปร่างสันทัดอ้วนน้อย ๆ และไม่สูงใหญ่ เช่น ผู้หญิงคนนี้ท้วม; กลมกล่อม, นุ่มนวล, พอสมควร, พอประมาณ, เช่น พอท้วม ๆ.ท้วม, ท้วม ๆ ว. มีรูปร่างสันทัดอ้วนน้อย ๆ และไม่สูงใหญ่ เช่น ผู้หญิงคนนี้ท้วม; กลมกล่อม, นุ่มนวล, พอสมควร, พอประมาณ, เช่น พอท้วม ๆ.
ทวย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, เหล่า, เช่น ทวยราษฎร์.ทวย ๑ น. หมู่, เหล่า, เช่น ทวยราษฎร์.
ทวยโถง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง จัดกระบวนกลางแปลง, ถ้วยโถง หรือ ท่วยโถง ก็ใช้.ทวยโถง (กลอน) ก. จัดกระบวนกลางแปลง, ถ้วยโถง หรือ ท่วยโถง ก็ใช้.
ทวย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทําเป็นรูปนาค, เรียกว่า คันทวย ก็มี; วัตถุอย่างหนึ่งเป็นคันสําหรับรองส่งเครื่องราชูปโภค เช่น ขันใส่เงินทรงโปรยหรือพระสุพรรณศรีถวายพระมหากษัตริย์จากเบื้องตํ่าสู่ที่ประทับ เรียกว่า พระทวย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระทวย, อ่อน, งอน.ทวย ๒ น. ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทําเป็นรูปนาค, เรียกว่า คันทวย ก็มี; วัตถุอย่างหนึ่งเป็นคันสําหรับรองส่งเครื่องราชูปโภค เช่น ขันใส่เงินทรงโปรยหรือพระสุพรรณศรีถวายพระมหากษัตริย์จากเบื้องตํ่าสู่ที่ประทับ เรียกว่า พระทวย. ว. ระทวย, อ่อน, งอน.
ท่วย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, เหล่า.ท่วย (กลอน) น. หมู่, เหล่า.
ท่วยโถง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง จัดกระบวนกลางแปลง, ถ้วยโถง หรือ ทวยโถง ก็ใช้.ท่วยโถง (กลอน) ก. จัดกระบวนกลางแปลง, ถ้วยโถง หรือ ทวยโถง ก็ใช้.
ท้วย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อนช้อย, งอน.ท้วย (กลอน) ว. อ่อนช้อย, งอน.
ทวยะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ[ทะวะยะ] เป็นคำนาม หมายถึง หมวด ๒, ส่วนทั้ง ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทวยะ [ทะวะยะ] น. หมวด ๒, ส่วนทั้ง ๒. (ป., ส.).
ทวอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงร้องรําอย่างหนึ่ง.ทวอย [ทะ–] น. ชื่อเพลงร้องรําอย่างหนึ่ง.
ทวัย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[ทะไว] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หมวด ๒, ส่วนทั้ง ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทวัย [ทะไว] (แบบ) น. หมวด ๒, ส่วนทั้ง ๒. (ป., ส.).
ทวา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[ทะวา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทฺวา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา.ทวา [ทะวา] (แบบ) ว. สอง. (ป., ส. ทฺวา).
ทวาตรึงประดับ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโคลงโบราณ.ทวาตรึงประดับ น. ชื่อโคลงโบราณ.
ทวาทศะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ[ทะวาทะสะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สิบสอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺวาทศนฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี ทฺวาทส เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ.ทวาทศะ [ทะวาทะสะ] ว. สิบสอง. (ส. ทฺวาทศนฺ; ป. ทฺวาทส).
ทวาทศม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า[ทะวาทะสะมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศมสุรทิน = วันที่ ๑๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทฺวาทสม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-มอ-ม้า.ทวาทศม– [ทะวาทะสะมะ–] ว. ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศมสุรทิน = วันที่ ๑๒. (ส.; ป. ทฺวาทสม).
ทวาทศมณฑล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กลมโดยรอบครบ ๑๒ ราศี; ชื่อมาตราวัดจักรราศีเท่ากับ ๒ อัฒจักร เป็น ๑ จักรราศี คือ ทวาทศมณฑลหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวาทศมณฑล น. กลมโดยรอบครบ ๑๒ ราศี; ชื่อมาตราวัดจักรราศีเท่ากับ ๒ อัฒจักร เป็น ๑ จักรราศี คือ ทวาทศมณฑลหนึ่ง. (ส.).
ทวาทศี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศีดิถี = วัน ๑๒ คํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวาทศี ว. ที่ ๑๒ เช่น ทวาทศีดิถี = วัน ๑๒ คํ่า. (ส.).
ทวาบร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ[ทะวาบอน] เป็นคำนาม หมายถึง ด้านของลูกสกาที่มี ๒ แต้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺวาบร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ.ทวาบร [ทะวาบอน] น. ด้านของลูกสกาที่มี ๒ แต้ม. (ส. ทฺวาบร).
ทวาบรยุค เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย[ทะวาบอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยุคที่ ๓ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๒ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. ในวงเล็บ ดู จตุรยุค เขียนว่า จอ-จาน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย.ทวาบรยุค [ทะวาบอระ–] น. ชื่อยุคที่ ๓ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๒ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ดู จตุรยุค).
ทว่า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[ทะว่า] เป็นคำสันธาน หมายถึง แต่ถ้าว่า, แต่ว่า, ย่อมาจาก แต่ทว่า.ทว่า [ทะว่า] สัน. แต่ถ้าว่า, แต่ว่า, ย่อมาจาก แต่ทว่า.
ทวาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเมืองทางภาคใต้ของประเทศพม่า, เรียกชาวเมืองนั้นว่า ชาวทวาย.ทวาย ๑ [ทะ–] น. ชื่อเมืองทางภาคใต้ของประเทศพม่า, เรียกชาวเมืองนั้นว่า ชาวทวาย.
ทวาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.ทวาย ๒ [ทะ–] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
ทวาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ [ทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยําชนิดหนึ่ง มีผักลวก เช่น ผักบุ้ง กะหลํ่าปลี ถั่วงอก ราดด้วยหัวกะทิ นํ้าพริกรสเปรี้ยว เค็ม หวาน และโรยงาคั่ว เรียกว่า ยําทวาย.ทวาย ๓ [ทะ–] น. ชื่อยําชนิดหนึ่ง มีผักลวก เช่น ผักบุ้ง กะหลํ่าปลี ถั่วงอก ราดด้วยหัวกะทิ นํ้าพริกรสเปรี้ยว เค็ม หวาน และโรยงาคั่ว เรียกว่า ยําทวาย.
ทวาร, ทวาร– ทวาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ทวาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [ทะวาน, ทะวาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ประตู เช่น นายทวาร; ช่อง ในคํา เช่น ทวารหนัก ทวารเบา ใช้เป็นคําสุภาพ หมายถึง รูขี้ รูเยี่ยว, ทาง เช่น กายทวาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทวาร, ทวาร– [ทะวาน, ทะวาระ–] น. ประตู เช่น นายทวาร; ช่อง ในคํา เช่น ทวารหนัก ทวารเบา ใช้เป็นคําสุภาพ หมายถึง รูขี้ รูเยี่ยว, ทาง เช่น กายทวาร. (ป., ส.).
ทวารทั้งเก้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ช่องตามร่างกายทั้ง ๙ ช่อง ได้แก่ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ ปาก ๑ ทวารหนัก ๑ ทวารเบา ๑.ทวารทั้งเก้า น. ช่องตามร่างกายทั้ง ๙ ช่อง ได้แก่ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ ปาก ๑ ทวารหนัก ๑ ทวารเบา ๑.
ทวารบถ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง[ทะวาระบด] เป็นคำนาม หมายถึง ทางเข้าออก เช่น อันกําแพงเชิงเทินป้อมปราการที่ล้อมกรุง รวมทั้งทวารบถทางเข้านครเล่า. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือเรื่องกามนิต ของ เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป ฉบับ เจริญวิทย์การพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๐.ทวารบถ [ทะวาระบด] น. ทางเข้าออก เช่น อันกําแพงเชิงเทินป้อมปราการที่ล้อมกรุง รวมทั้งทวารบถทางเข้านครเล่า. (กามนิต).
ทวารบาล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[ทะวาระบาน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เฝ้าประตู, นายประตู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทวารบาล [ทะวาระบาน] น. ผู้เฝ้าประตู, นายประตู. (ป.).
ทวารประดับ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้[ทะวาน–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโคลงโบราณ, สกัดแคร่ ก็เรียก.ทวารประดับ [ทะวาน–] น. ชื่อโคลงโบราณ, สกัดแคร่ ก็เรียก.
ทวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ[ทะวิ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทวิ [ทะวิ] (แบบ) ว. สอง. (ป., ส.).
ทวิช, ทวิช– ทวิช เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง ทวิช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง [ทะวิด, ทะวิชะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นก; พราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิช เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง ว่า ผู้เกิด ๒ หน .ทวิช, ทวิช– [ทะวิด, ทะวิชะ–] (แบบ) น. นก; พราหมณ์. (ป., ส. ทฺวิช ว่า ผู้เกิด ๒ หน).
ทวิชงค์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิชงค์ น. พราหมณ์. (ส.).
ทวิชชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิด ๒ ครั้ง, นก, หมู่นก; พราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทวิชชาติ น. ผู้เกิด ๒ ครั้ง, นก, หมู่นก; พราหมณ์. (ป., ส.).
ทวิชากร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[ทะวิ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฝูงนก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิชากร [ทะวิ–] (แบบ) น. ฝูงนก. (ส.).
ทวิชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง นก; พราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ผู้เกิด ๒ หน .ทวิชาติ น. นก; พราหมณ์. (ส. ทฺวิชาติ ว่า ผู้เกิด ๒ หน).
ทวิบถ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่ทางทั้ง ๒ ตัดผ่านกัน, สี่แยก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิบถ น. สถานที่ที่ทางทั้ง ๒ ตัดผ่านกัน, สี่แยก. (ส.).
ทวิบท, ทวิบาท ทวิบท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน ทวิบาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์สองเท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิบท, ทวิบาท น. สัตว์สองเท้า. (ส.).
ทวิป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา ว่า ผู้ดื่ม ๒ หน คือ ด้วยงวงและด้วยปาก .ทวิป น. ช้าง. (ส. ทฺวิป ว่า ผู้ดื่ม ๒ หน คือ ด้วยงวงและด้วยปาก).
ทวิภาค เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ๒ ส่วน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิภาค น. ๒ ส่วน. (ส.).
ทวิภาคี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการทูต เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สองฝ่าย. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสัญญาระหว่างประเทศที่มีคู่สัญญา ๒ ฝ่ายว่า สัญญาทวิภาคี (bilateral treaty).ทวิภาคี (การทูต) ว. สองฝ่าย. น. เรียกสัญญาระหว่างประเทศที่มีคู่สัญญา ๒ ฝ่ายว่า สัญญาทวิภาคี (bilateral treaty).
ทวิช, ทวิช– ทวิช เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง ทวิช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง ดู ทวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ.ทวิช, ทวิช– ดู ทวิ.
ทวิชชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู ทวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ.ทวิชชาติ ดู ทวิ.
ทวิตียะ, ทวิตียา ทวิตียะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ทวิตียา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา [ทะวิ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิตียะ, ทวิตียา [ทะวิ–] (แบบ) ว. ที่ ๒. (ส.).
ทวิป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลาดู ทวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ.ทวิป ดู ทวิ.
ทวิระ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[ทะวิ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวิระ [ทะวิ–] (แบบ) ว. สอง. (ส.).
ทวี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี[ทะวี] เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มขึ้น, มากขึ้น, เช่น งานทวีขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ.ทวี [ทะวี] ก. เพิ่มขึ้น, มากขึ้น, เช่น งานทวีขึ้น. (ป., ส. ทฺวิ).
ทวีคูณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-นอ-เนน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ๒ เท่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิคุณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี ทิคุณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน.ทวีคูณ ว. ๒ เท่า. (ส. ทฺวิคุณ; ป. ทิคุณ).
ทวีธาภิเษก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระราชพิธีการสมโภชที่รัชกาลที่ ๕ ได้ครองราชสมบัติยืนนานมาเป็น ๒ เท่าของรัชกาลที่ ๔, เรียกเหรียญที่จัดทําขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีนี้ว่า เหรียญทวีธาภิเษก.ทวีธาภิเษก น. ชื่อพระราชพิธีการสมโภชที่รัชกาลที่ ๕ ได้ครองราชสมบัติยืนนานมาเป็น ๒ เท่าของรัชกาลที่ ๔, เรียกเหรียญที่จัดทําขึ้นเป็นที่ระลึกในพระราชพิธีนี้ว่า เหรียญทวีธาภิเษก.
ทวีธาภิเษก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ดู ทวี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี.ทวีธาภิเษก ดู ทวี.
ทวีป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา[ทะวีบ] เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกโลกส่วนที่เป็นพื้นดินซึ่งมีขนาดใหญ่โตกว้างขวาง มี ๗ ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ และแอนตาร์กติกา บางทวีปกําหนดนํ้าล้อมรอบเป็นขอบเขต เช่น ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กติกา บางทวีปกําหนดภูเขา ทะเล แหล่งอารยธรรมเป็นต้น เป็นแนวแบ่งเขต เช่น ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เกาะ เช่น ลังกาทวีป สิงหฬทวีป; ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่ามี ๔ ทวีป คือ ๑. ชมพูทวีป ๒. อมรโคยานทวีป ๓. อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป ๔. บุพวิเทหทวีป. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทีป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา.ทวีป [ทะวีบ] น. เปลือกโลกส่วนที่เป็นพื้นดินซึ่งมีขนาดใหญ่โตกว้างขวาง มี ๗ ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ และแอนตาร์กติกา บางทวีปกําหนดนํ้าล้อมรอบเป็นขอบเขต เช่น ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กติกา บางทวีปกําหนดภูเขา ทะเล แหล่งอารยธรรมเป็นต้น เป็นแนวแบ่งเขต เช่น ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป; (โบ) เกาะ เช่น ลังกาทวีป สิงหฬทวีป; ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่ามี ๔ ทวีป คือ ๑. ชมพูทวีป ๒. อมรโคยานทวีป ๓. อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป ๔. บุพวิเทหทวีป. (ส.; ป. ทีป).
ทวีปี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี[ทะวี–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสือ, เสือดาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทวีปี [ทะวี–] (แบบ) น. เสือ, เสือดาว. (ส.).
ทศ ๑, ทศ– ทศ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ทศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา [ทด, ทดสะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.ทศ ๑, ทศ– [ทด, ทดสะ–] น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
ทศกัณฐ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง “ผู้มีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์.ทศกัณฐ์ น. “ผู้มีสิบคอ” คือ ท้าวราพณ์ในเรื่องรามเกียรติ์.
ทศชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ๑๐ ชาติ, ชื่อคัมภีร์ชาดกว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ ๑๐ ชาติ.ทศชาติ น. ๑๐ ชาติ, ชื่อคัมภีร์ชาดกว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ ๑๐ ชาติ.
ทศทิศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ทิศทั้ง ๑๐ คือ ทิศทั้ง ๘ ทิศเบื้องบน ๑ ทิศเบื้องล่าง ๑. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทศทิศ น. ทิศทั้ง ๑๐ คือ ทิศทั้ง ๘ ทิศเบื้องบน ๑ ทิศเบื้องล่าง ๑. (ส.).
ทศนิยม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกําหนดจุดจุดหนึ่งให้อยู่ข้างหน้าหรืออยู่ระหว่างตัวเลขต่าง ๆ เช่น .๘๕๖, ๑๒.๐๘. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decimal เขียนว่า ดี-อี-ซี-ไอ-เอ็ม-เอ-แอล.ทศนิยม น. จํานวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกําหนดจุดจุดหนึ่งให้อยู่ข้างหน้าหรืออยู่ระหว่างตัวเลขต่าง ๆ เช่น .๘๕๖, ๑๒.๐๘. (อ. decimal).
ทศเบญจกูล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-หยิง-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเผ็ดร้อน ๑๐ อย่างตามตําราแพทย์แผนโบราณ.ทศเบญจกูล น. เครื่องเผ็ดร้อน ๑๐ อย่างตามตําราแพทย์แผนโบราณ.
ทศพร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-พอ-พาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง พร ๑๐ ประการ, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑ ของมหาชาติ ว่าด้วยพร ๑๐ ประการ.ทศพร น. พร ๑๐ ประการ, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑ ของมหาชาติ ว่าด้วยพร ๑๐ ประการ.
ทศพล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีกําลัง ๑๐ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า.ทศพล น. ผู้มีกําลัง ๑๐ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า.
ทศพิธราชธรรม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจําพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ - ความซื่อตรง ๕. มัททวะ - ความอ่อนโยน ๖. ตบะ - การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ - ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ - ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ – ความไม่คลาดจากธรรม.ทศพิธราชธรรม น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจําพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ - ความซื่อตรง ๕. มัททวะ - ความอ่อนโยน ๖. ตบะ - การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ - ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ - ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ – ความไม่คลาดจากธรรม.
ทศมาส เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ๑๐ เดือน.ทศมาส น. ๑๐ เดือน.
ทศวรรษ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง รอบ ๑๐ ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decade เขียนว่า ดี-อี-ซี-เอ-ดี-อี.ทศวรรษ น. รอบ ๑๐ ปี. (อ. decade).
ทศ ๒, ทศา ทศ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ทศา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา [ทด, ทะสา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชายผ้า, ชายครุย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทศ ๒, ทศา [ทด, ทะสา] (แบบ) น. ชายผ้า, ชายครุย. (ส.).
ทศม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า[ทะสะมะ–, ทดสะมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๑๐ เช่น ทศมสุรทิน = วันที่ ๑๐. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทศม– [ทะสะมะ–, ทดสะมะ–] (แบบ) ว. ที่ ๑๐ เช่น ทศมสุรทิน = วันที่ ๑๐. (ส.).
ทศมี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี[ทะสะมี, ทดสะมี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๑๐ เช่น ทศมีดิถี = วัน ๑๐ คํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทศมี [ทะสะมี, ทดสะมี] (แบบ) ว. ที่ ๑๐ เช่น ทศมีดิถี = วัน ๑๐ คํ่า. (ส.).
ทศางค์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[ทะสาง] เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว.ทศางค์ [ทะสาง] น. มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว.
ทสา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา[ทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชายผ้า, ชายครุย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทสา [ทะ–] (แบบ) น. ชายผ้า, ชายครุย. (ป.).
ทหระ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[ทะหะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เด็ก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนุ่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ทหระ [ทะหะ–] (แบบ) น. เด็ก. ว. หนุ่ม. (ป., ส.).
ทหาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ทะหาน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ, นักรบ. (อะหม หาน ว่า นักรบ).ทหาร [ทะหาน] น. ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ, นักรบ. (อะหม หาน ว่า นักรบ).
ทหารกองเกิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่มีสัญชาติไทย อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีบริบูรณ์ และยังไม่ถึง ๓๐ ปีบริบูรณ์ ซึ่งได้ลงบัญชีทหารกองเกิน หรือผู้ที่มีอายุยังไม่ถึง ๔๖ ปีบริบูรณ์ และยังมิได้ลงบัญชีทหารกองเกินที่อำเภอพร้อมกับคนชั้นปีเดียวกันเพราะเหตุใด ๆ ก็ดี ซึ่งได้ลงบัญชีทหารกองเกินตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารแล้ว.ทหารกองเกิน (กฎ) น. ชายที่มีสัญชาติไทย อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีบริบูรณ์ และยังไม่ถึง ๓๐ ปีบริบูรณ์ ซึ่งได้ลงบัญชีทหารกองเกิน หรือผู้ที่มีอายุยังไม่ถึง ๔๖ ปีบริบูรณ์ และยังมิได้ลงบัญชีทหารกองเกินที่อำเภอพร้อมกับคนชั้นปีเดียวกันเพราะเหตุใด ๆ ก็ดี ซึ่งได้ลงบัญชีทหารกองเกินตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหารแล้ว.
ทหารกองประจำการ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ซึ่งขึ้นทะเบียนกองประจำการและได้เข้ารับราชการในกองประจำการจนกว่าจะได้ปลด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ทหารเกณฑ์.ทหารกองประจำการ (กฎ) น. ผู้ซึ่งขึ้นทะเบียนกองประจำการและได้เข้ารับราชการในกองประจำการจนกว่าจะได้ปลด, (ปาก) ทหารเกณฑ์.
ทหารเกณฑ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ทหารกองประจำการ.ทหารเกณฑ์ (ปาก) น. ทหารกองประจำการ.
ทหารผ่านศึก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทหารหรือบุคคลซึ่งมีตําแหน่งหน้าที่ในราชการทหาร หรือบุคคลซึ่งทําหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนด และได้กระทําหน้าที่นั้นในการสงครามหรือในการรบไม่ว่าภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรหรือในการปราบปรามการจลาจล; ทหารหรือบุคคลซึ่งทําการป้องกันหรือปราบปรามการกระทําอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร ตามที่กระทรวงกลาโหมหรือสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนด.ทหารผ่านศึก (กฎ) น. ทหารหรือบุคคลซึ่งมีตําแหน่งหน้าที่ในราชการทหาร หรือบุคคลซึ่งทําหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนด และได้กระทําหน้าที่นั้นในการสงครามหรือในการรบไม่ว่าภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรหรือในการปราบปรามการจลาจล; ทหารหรือบุคคลซึ่งทําการป้องกันหรือปราบปรามการกระทําอันเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร ตามที่กระทรวงกลาโหมหรือสํานักนายกรัฐมนตรีกําหนด.
ทหารเลว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พลทหาร.ทหารเลว (โบ) น. พลทหาร.
ทอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พุ่งเส้นด้ายหรือเส้นไหมเป็นต้นให้ขัดกับเส้นยืนในเครื่องทอ เช่น ทอผ้า ทอไหม ทอกระสอบ ทอเสื่อ.ทอ ๑ ก. พุ่งเส้นด้ายหรือเส้นไหมเป็นต้นให้ขัดกับเส้นยืนในเครื่องทอ เช่น ทอผ้า ทอไหม ทอกระสอบ ทอเสื่อ.
ทอแสง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ฉายแสงอ่อน ๆ ขึ้นมา เช่น ตะวันทอแสง.ทอแสง ก. ฉายแสงอ่อน ๆ ขึ้นมา เช่น ตะวันทอแสง.
ทอหูก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทอผ้าด้วยหูก.ทอหูก ก. ทอผ้าด้วยหูก.
ทอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง ขวิด, กระทบ, ชน, เช่น วัวควายทอคนตาย.ทอ ๒ (ถิ่น) ก. ขวิด, กระทบ, ชน, เช่น วัวควายทอคนตาย.
ท่อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งสําหรับให้สิ่งอื่นมีนํ้าเป็นต้นผ่านไปได้ มักมีลักษณะกลม รูปคล้ายปล่อง เช่น ท่อนํ้า ท่อลม.ท่อ ๑ น. สิ่งสําหรับให้สิ่งอื่นมีนํ้าเป็นต้นผ่านไปได้ มักมีลักษณะกลม รูปคล้ายปล่อง เช่น ท่อนํ้า ท่อลม.
ท่อคงคา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของท่อเหล้าในโรงต้มกลั่น.ท่อคงคา น. ส่วนของท่อเหล้าในโรงต้มกลั่น.
ท่อลม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่างที่อยู่ระหว่างกล่องเสียงกับหลอดลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trachea เขียนว่า ที-อา-เอ-ซี-เอช-อี-เอ****(อ. trachea; windpipe).ท่อลม น. ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่างที่อยู่ระหว่างกล่องเสียงกับหลอดลม. (อ. trachea; windpipe).
ท่อไอเสีย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ท่อที่ต่อจากห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ เพื่อระบายแก๊สและช่วยลดเสียงระเบิดที่เกิดจากการเผาไหม้.ท่อไอเสีย น. ท่อที่ต่อจากห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ เพื่อระบายแก๊สและช่วยลดเสียงระเบิดที่เกิดจากการเผาไหม้.
ท่อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ตี เช่น ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก กูไปท่อบ้านท่อเมือง. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง).ท่อ ๒ (โบ) ก. ตี เช่น ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่อเมืองตาก กูไปท่อบ้านท่อเมือง. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง).
ท่อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โต้ตอบ, ประสาน, เช่น นกท่อเสียงกัน.ท่อ ๓ ก. โต้ตอบ, ประสาน, เช่น นกท่อเสียงกัน.
ท่อถ้อย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําโต้. เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี.ท่อถ้อย น. คําโต้. ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี.
ท่อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่า, เสมอ.ท่อ ๔ (ถิ่น–อีสาน) ว. เท่า, เสมอ.
ท้อ ๑, ท้อใจ ท้อ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง ท้อใจ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีกําลังใจจะสู้.ท้อ ๑, ท้อใจ ก. ไม่มีกําลังใจจะสู้.
ท้อถอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง มีความพยายามลดน้อยถอยลง.ท้อถอย ก. มีความพยายามลดน้อยถอยลง.
ท้อแท้ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง อ่อนเปลี้ยเพลียใจ.ท้อแท้ ก. อ่อนเปลี้ยเพลียใจ.
ท้อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Prunus persica (L.) Batsch ในวงศ์ Rosaceae ผลกินได้, พายัพเรียก หมากม่วน.ท้อ ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Prunus persica (L.) Batsch ในวงศ์ Rosaceae ผลกินได้, พายัพเรียก หมากม่วน.
ท้อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าว, โต้, เถียง.ท้อ ๓ (กลอน) ก. กล่าว, โต้, เถียง.
ท้อถ้อย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําโต้. เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท่อถ้อย ก็มี.ท้อถ้อย น. คําโต้. ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, ใช้ว่า ถ้อถ้อย หรือ ท่อถ้อย ก็มี.
ทอก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โบราณเรียกนกยางชนิดหนึ่งว่า ยางทอก; เรียกหมูขนาดใหญ่เขี้ยวตันว่า หมูทอก; เรียกช้างตัวใหญ่ ๆ ที่เป็นจ่าฝูงว่า อ้ายทอก.ทอก น. โบราณเรียกนกยางชนิดหนึ่งว่า ยางทอก; เรียกหมูขนาดใหญ่เขี้ยวตันว่า หมูทอก; เรียกช้างตัวใหญ่ ๆ ที่เป็นจ่าฝูงว่า อ้ายทอก.
ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุแท้ชนิดหนึ่งเนื้อแน่นมาก สีเหลืองสุกปลั่ง เป็นโลหะมีค่า เช่น บ่อทอง เหรียญทอง ทองแท่ง ทองลิ่ม, เรียกเต็มว่า ทองคํา; เรียกสิ่งที่ทําด้วยทองเหลืองว่า ทอง ก็มี เช่น กระทะทอง หม้อทอง, โดยปริยายหมายถึงสีเหลือง ๆ อย่างสีทอง เช่น เนื้อทอง ผมทอง แสงทอง, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ขนมทอง คือขนมชนิดหนึ่ง รูปวงกลม มีนํ้าตาลหยอดข้างบน, ปลาทอง คือปลาชนิดหนึ่ง ตัวสีเหลืองหรือแดงส้ม.ทอง ๑ น. ธาตุแท้ชนิดหนึ่งเนื้อแน่นมาก สีเหลืองสุกปลั่ง เป็นโลหะมีค่า เช่น บ่อทอง เหรียญทอง ทองแท่ง ทองลิ่ม, เรียกเต็มว่า ทองคํา; เรียกสิ่งที่ทําด้วยทองเหลืองว่า ทอง ก็มี เช่น กระทะทอง หม้อทอง, โดยปริยายหมายถึงสีเหลือง ๆ อย่างสีทอง เช่น เนื้อทอง ผมทอง แสงทอง, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ขนมทอง คือขนมชนิดหนึ่ง รูปวงกลม มีนํ้าตาลหยอดข้างบน, ปลาทอง คือปลาชนิดหนึ่ง ตัวสีเหลืองหรือแดงส้ม.
ทองกร, ทองพระกร ทองกร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ ทองพระกร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง กําไลมือ.ทองกร, ทองพระกร (ราชา) น. กําไลมือ.
ทองขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โลหะสีขาวแกมเทา บุเป็นแผ่นรีดเป็นลวดได้ อาจหมายถึงโลหะนิกเกิล หรือโลหะแพลทินัม ก็ได้; ส่วนประกอบส่วนหนึ่งของจานจ่ายไฟในเครื่องยนต์ของรถยนต์ ทําหน้าที่เป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้าแรงตํ่า และทําให้กระแสไฟฟ้าแรงตํ่าขาดวงจรเพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าแรงสูงที่คอยล์ (coil) เป็นผลให้มีประกายไฟฟ้าขึ้นที่ปลายเขี้ยวของหัวเทียนในจังหวะที่ถูกต้อง.ทองขาว (โบ) น. โลหะสีขาวแกมเทา บุเป็นแผ่นรีดเป็นลวดได้ อาจหมายถึงโลหะนิกเกิล หรือโลหะแพลทินัม ก็ได้; ส่วนประกอบส่วนหนึ่งของจานจ่ายไฟในเครื่องยนต์ของรถยนต์ ทําหน้าที่เป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้าแรงตํ่า และทําให้กระแสไฟฟ้าแรงตํ่าขาดวงจรเพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าแรงสูงที่คอยล์ (coil) เป็นผลให้มีประกายไฟฟ้าขึ้นที่ปลายเขี้ยวของหัวเทียนในจังหวะที่ถูกต้อง.
ทองคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๗๙ สัญลักษณ์ Au เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเหลือง หลอมละลายที่ ๑๐๖๓°ซ. เนื้ออ่อนมาก บุให้เป็นแผ่นจนมีความหนาน้อยกว่า ๐.๐๐๐๑ มิลลิเมตรได้ ใช้ทํารูปพรรณต่าง ๆ และทําเงินตรา ปัจจุบันกําหนดความบริสุทธิ์ของทองคําด้วยหน่วยกะรัต โดยกําหนดว่า ทองคํา ๒๔ กะรัตเป็นทองคําบริสุทธิ์ที่สุด, โบราณกําหนดคุณภาพของเนื้อ ตั้งแต่เนื้อสี่ถึงเนื้อเก้า โดยตั้งพิกัดราคาตามเนื้อทอง เช่น ทองเนื้อหก คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๖ บาท ทองเนื้อเก้า คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. ๒๕๐๕, ทองเนื้อเก้านี้เป็นทองแท้เป็นทองบริสุทธิ์ เรียกว่า ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือบางทีเรียกว่า ทองชมพูนุท เช่นว่า ดังทองชมพูนุทเนื้อเก้า. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ตอนตีคลี ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gold เขียนว่า จี-โอ-แอล-ดี.ทองคำ น. ธาตุลําดับที่ ๗๙ สัญลักษณ์ Au เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเหลือง หลอมละลายที่ ๑๐๖๓°ซ. เนื้ออ่อนมาก บุให้เป็นแผ่นจนมีความหนาน้อยกว่า ๐.๐๐๐๑ มิลลิเมตรได้ ใช้ทํารูปพรรณต่าง ๆ และทําเงินตรา ปัจจุบันกําหนดความบริสุทธิ์ของทองคําด้วยหน่วยกะรัต โดยกําหนดว่า ทองคํา ๒๔ กะรัตเป็นทองคําบริสุทธิ์ที่สุด, โบราณกําหนดคุณภาพของเนื้อ ตั้งแต่เนื้อสี่ถึงเนื้อเก้า โดยตั้งพิกัดราคาตามเนื้อทอง เช่น ทองเนื้อหก คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๖ บาท ทองเนื้อเก้า คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท. (ประกาศ ร. ๔), ทองเนื้อเก้านี้เป็นทองแท้เป็นทองบริสุทธิ์ เรียกว่า ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือบางทีเรียกว่า ทองชมพูนุท เช่นว่า ดังทองชมพูนุทเนื้อเก้า. (สังข์ทอง ตอนตีคลี). (อ. gold).
ทองคำขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเจือชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของแข็งสีเงินเป็นเงางาม บุให้เป็นแผ่นหรือรีดให้เป็นเส้นลวดได้ ประกอบด้วยทองคําเจือโลหะอื่น เช่น เงิน นิกเกิล สังกะสี แพลเลเดียม เพื่อให้ได้สีเงินคล้ายแพลทินัม มักใช้ทําเครื่องรูปพรรณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ white เขียนว่า ดับเบิลยู-เอช-ไอ-ที-อี gold เขียนว่า จี-โอ-แอล-ดี .ทองคำขาว น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของแข็งสีเงินเป็นเงางาม บุให้เป็นแผ่นหรือรีดให้เป็นเส้นลวดได้ ประกอบด้วยทองคําเจือโลหะอื่น เช่น เงิน นิกเกิล สังกะสี แพลเลเดียม เพื่อให้ได้สีเงินคล้ายแพลทินัม มักใช้ทําเครื่องรูปพรรณ. (อ. white gold).
ทองคำเปลว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําที่ตีแผ่ให้บางที่สุด ตัดใส่แผ่นกระดาษ ใช้สําหรับปิดบนสิ่งที่ลงรักเช่นพระพุทธรูป.ทองคำเปลว น. ทองคําที่ตีแผ่ให้บางที่สุด ตัดใส่แผ่นกระดาษ ใช้สําหรับปิดบนสิ่งที่ลงรักเช่นพระพุทธรูป.
ทองเค เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง เรียกทองคําที่มีเกณฑ์สําหรับวัดความบริสุทธิ์เป็นกะรัตว่า ทองเค, ทอง ๒๔ กะรัต ถือเป็นทองแท้ ถ้ามีกะรัตตํ่าลงมา ก็มีโลหะอื่นเจือมากขึ้นตามส่วน เช่น ทองคํา ๑๔ กะรัต หมายถึงมีเนื้อทอง ๑๔ ส่วน มีโลหะอื่นปน ๑๐ ส่วน, ทองนอก ก็เรียก.ทองเค น. เรียกทองคําที่มีเกณฑ์สําหรับวัดความบริสุทธิ์เป็นกะรัตว่า ทองเค, ทอง ๒๔ กะรัต ถือเป็นทองแท้ ถ้ามีกะรัตตํ่าลงมา ก็มีโลหะอื่นเจือมากขึ้นตามส่วน เช่น ทองคํา ๑๔ กะรัต หมายถึงมีเนื้อทอง ๑๔ ส่วน มีโลหะอื่นปน ๑๐ ส่วน, ทองนอก ก็เรียก.
ทองจังโก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ ป้องกันการผุกร่อน, ทองสักโก ก็ว่า.ทองจังโก (ถิ่น–พายัพ) น. ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ ป้องกันการผุกร่อน, ทองสักโก ก็ว่า.
ทองชมพูนุท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์ มีสีเหลืองเข้มออกแดง, ทองเนื้อเก้า ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ หรือ ทองนพคุณ ก็เรียก.ทองชมพูนุท น. ทองคําเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์ มีสีเหลืองเข้มออกแดง, ทองเนื้อเก้า ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ หรือ ทองนพคุณ ก็เรียก.
ทองชุบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง โลหะชุบทอง, ทองวิทยาศาสตร์ ก็เรียก.ทองชุบ น. โลหะชุบทอง, ทองวิทยาศาสตร์ ก็เรียก.
ทองดอกบวบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ทองเนื้อหก มีสีเหลืองอ่อนคล้ายดอกบวบ.ทองดอกบวบ น. ทองเนื้อหก มีสีเหลืองอ่อนคล้ายดอกบวบ.
ทองดำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทองชนิดหนึ่ง โบราณเข้าใจกันว่ามีสีเนื้อดํา นับถือเป็นของวิเศษ.ทองดำ ๑ น. ทองชนิดหนึ่ง โบราณเข้าใจกันว่ามีสีเนื้อดํา นับถือเป็นของวิเศษ.
ทองแดง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๒๙ สัญลักษณ์ Cu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีแดง หลอมละลายที่ ๑๐๘๓°ซ. เนื้ออ่อนบุให้เป็นแผ่นบางและรีดเป็นเส้นลวดได้ง่าย เป็นตัวนําความร้อนและไฟฟ้าได้ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ copper เขียนว่า ซี-โอ-พี-พี-อี-อา.ทองแดง ๑ น. ธาตุลําดับที่ ๒๙ สัญลักษณ์ Cu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีแดง หลอมละลายที่ ๑๐๘๓°ซ. เนื้ออ่อนบุให้เป็นแผ่นบางและรีดเป็นเส้นลวดได้ง่าย เป็นตัวนําความร้อนและไฟฟ้าได้ดี. (อ. copper).
ทองต้นแขน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับชนิดหนึ่ง สวมรัดต้นแขน, พาหุรัด ก็ว่า.ทองต้นแขน น. เครื่องประดับชนิดหนึ่ง สวมรัดต้นแขน, พาหุรัด ก็ว่า.
ทองตะกู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ทองตะโก.ทองตะกู น. ทองตะโก.
ทองตะโก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สีทองที่เกิดจากการใช้รงผสมนํ้ามันยางอาบลงบนแผ่นตะกั่ว ถ้าทาลงบนโลหะจะมีสมบัติจับแน่นและกันสนิมได้, ทองตะกู หรือ ทองตากู ก็เรียก.ทองตะโก น. สีทองที่เกิดจากการใช้รงผสมนํ้ามันยางอาบลงบนแผ่นตะกั่ว ถ้าทาลงบนโลหะจะมีสมบัติจับแน่นและกันสนิมได้, ทองตะกู หรือ ทองตากู ก็เรียก.
ทองตากู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ทองตะโก.ทองตากู น. ทองตะโก.
ทองทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ทองที่เป็นเม็ด ๆ อย่างทรายปนอยู่กับทราย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีพื้นทาทองให้เป็นจุด ๆ อย่างเม็ดทราย.ทองทราย น. ทองที่เป็นเม็ด ๆ อย่างทรายปนอยู่กับทราย. ว. มีพื้นทาทองให้เป็นจุด ๆ อย่างเม็ดทราย.
ทองทศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท.ทองทศ น. ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท.
ทองทึบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีพื้นเป็นทองทึบทั้งหมด.ทองทึบ ว. มีพื้นเป็นทองทึบทั้งหมด.
ทองธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์, ทองเนื้อเก้า ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.ทองธรรมชาติ ๑ น. ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์, ทองเนื้อเก้า ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.
ทองนพคุณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-พอ-พาน-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดราคาตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท เป็นเงิน ๙ บาท เรียกว่า ทองเนื้อเก้า หรือ ทองนพคุณเก้าน้ำ, เรียกสั้น ๆ ว่า ทองนพคุณ, ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.ทองนพคุณ น. ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดราคาตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท เป็นเงิน ๙ บาท เรียกว่า ทองเนื้อเก้า หรือ ทองนพคุณเก้าน้ำ, เรียกสั้น ๆ ว่า ทองนพคุณ, ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.
ทองนพคุณเก้าน้ำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-พอ-พาน-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ทองนพคุณ.ทองนพคุณเก้าน้ำ น. ทองนพคุณ.
ทองนอก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ทองเค.ทองนอก น. ทองเค.
ทองเนื้อเก้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ทองคำบริสุทธิ์ โบราณกำหนดคุณภาพของเนื้อตั้งแต่เนื้อสี่ถึงเนื้อเก้า โดยตั้งพิกัดราคาตามเนื้อทอง คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท, ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.ทองเนื้อเก้า น. ทองคำบริสุทธิ์ โบราณกำหนดคุณภาพของเนื้อตั้งแต่เนื้อสี่ถึงเนื้อเก้า โดยตั้งพิกัดราคาตามเนื้อทอง คือ ทองหนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท, ทองธรรมชาติ ทองเนื้อแท้ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.
ทองเนื้อแท้ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์, ทองเนื้อเก้า ทองธรรมชาติ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.ทองเนื้อแท้ น. ทองคำเนื้อเก้า เป็นทองบริสุทธิ์, ทองเนื้อเก้า ทองธรรมชาติ ทองนพคุณ หรือ ทองชมพูนุท ก็เรียก.
ทองบรอนซ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ สัมฤทธิ์ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ bronze เขียนว่า บี-อา-โอ-เอ็น-แซด-อี.ทองบรอนซ์ น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, ทองสัมฤทธิ์ หรือ สัมฤทธิ์ ก็เรียก. (อ. bronze).
ทองใบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําที่แผ่ให้เป็นแผ่นบาง ๆ.ทองใบ น. ทองคําที่แผ่ให้เป็นแผ่นบาง ๆ.
ทองปราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ปืนโบราณชนิดหนึ่ง เช่น ล้วนถือทองปรายทุกคน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑.ทองปราย (โบ) น. ปืนโบราณชนิดหนึ่ง เช่น ล้วนถือทองปรายทุกคน. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ทองปลายแขน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับชนิดหนึ่ง สวมรัดข้อมือ.ทองปลายแขน ๑ น. เครื่องประดับชนิดหนึ่ง สวมรัดข้อมือ.
ทองแป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเหรียญทองตราโบราณที่ใช้แลกเปลี่ยนกันได้อย่างเงินตรา.ทองแป (โบ) น. ชื่อเหรียญทองตราโบราณที่ใช้แลกเปลี่ยนกันได้อย่างเงินตรา.
ทองแผ่นเดียวกัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวดองกันโดยการแต่งงาน.ทองแผ่นเดียวกัน (สำ) ว. เกี่ยวดองกันโดยการแต่งงาน.
ทองพระบาท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง (ราชา) กำไลเท้า.ทองพระบาท น. (ราชา) กำไลเท้า.
ทองพัดดึงส์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท.ทองพัดดึงส์ น. ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๓๒ ของชั่ง = ๒.๕๐ บาท.
ทองพิศ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท.ทองพิศ น. ค่ากําหนดแลกเปลี่ยนของเหรียญทองกระษาปณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท.
ทองไม่รู้ร้อน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉยเมย, ไม่กระตือรือร้น, ไม่สะดุ้งสะเทือน.ทองไม่รู้ร้อน (สำ) ว. เฉยเมย, ไม่กระตือรือร้น, ไม่สะดุ้งสะเทือน.
ทองรูปพรรณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[–รูบปะพัน] เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําที่ทําสําเร็จเป็นเครื่องประดับและของใช้ต่าง ๆ.ทองรูปพรรณ [–รูบปะพัน] น. ทองคําที่ทําสําเร็จเป็นเครื่องประดับและของใช้ต่าง ๆ.
ทองแล่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําที่เอามาแล่งเป็นเส้นบาง ๆ ใช้สําหรับปักหรือทอผ้า.ทองแล่ง น. ทองคําที่เอามาแล่งเป็นเส้นบาง ๆ ใช้สําหรับปักหรือทอผ้า.
ทองวิทยาศาสตร์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง โลหะชุบทอง, ทองชุบ ก็เรียก.ทองวิทยาศาสตร์ น. โลหะชุบทอง, ทองชุบ ก็เรียก.
ทองสักโก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ป้องกันการผุกร่อน, พายัพเรียก ทองจังโก.ทองสักโก น. ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ป้องกันการผุกร่อน, พายัพเรียก ทองจังโก.
ทองสัมฤทธิ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, สัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก.ทองสัมฤทธิ์ น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทองแดงกับดีบุก, สัมฤทธิ์ หรือ ทองบรอนซ์ ก็เรียก.
ทองหมั้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทองคําที่ฝ่ายชายมอบให้ไว้แก่ฝ่ายหญิง แสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย.ทองหมั้น น. ทองคําที่ฝ่ายชายมอบให้ไว้แก่ฝ่ายหญิง แสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย.
ทองหยอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ทองรูปพรรณ.ทองหยอง (ปาก) น. ทองรูปพรรณ.
ทองหยอด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงประสมแป้งเล็กน้อย หยอดเป็นลูกกลม ๆ อย่างหยดนํ้าในนํ้าเชื่อมเดือด ๆ, ลักษณนามว่า ลูก.ทองหยอด น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงประสมแป้งเล็กน้อย หยอดเป็นลูกกลม ๆ อย่างหยดนํ้าในนํ้าเชื่อมเดือด ๆ, ลักษณนามว่า ลูก.
ทองหยิบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงตีให้ขึ้นเล็กน้อย หยอดเป็นแผ่นเล็ก ๆ ในนํ้าเชื่อมร้อน ๆ ตั้งไฟให้สุก แล้วช้อนออกมาหยิบเป็นกลีบ ๆ ๕ หรือ ๗ หยิบ ใส่ถ้วยตะไลทิ้งไว้ให้คงรูป, ลักษณนามว่า ดอก.ทองหยิบ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยไข่แดงตีให้ขึ้นเล็กน้อย หยอดเป็นแผ่นเล็ก ๆ ในนํ้าเชื่อมร้อน ๆ ตั้งไฟให้สุก แล้วช้อนออกมาหยิบเป็นกลีบ ๆ ๕ หรือ ๗ หยิบ ใส่ถ้วยตะไลทิ้งไว้ให้คงรูป, ลักษณนามว่า ดอก.
ทองเหลือง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยทองแดงและสังกะสี ลักษณะเป็นโลหะสีเหลือง.ทองเหลือง น. โลหะเจือชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยทองแดงและสังกะสี ลักษณะเป็นโลหะสีเหลือง.
ทองอังกฤษ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-รึ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง เรียกโลหะชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ สีคล้ายทองคําหรือสีอื่น ๆ ก็มี ใช้สลักหรือปรุเป็นลายประดับเครื่องศพเป็นต้น.ทองอังกฤษ น. เรียกโลหะชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ สีคล้ายทองคําหรือสีอื่น ๆ ก็มี ใช้สลักหรือปรุเป็นลายประดับเครื่องศพเป็นต้น.
ทองเอก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง เคี่ยวน้ำกะทิกับน้ำตาลจนเหนียว ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วใส่ไข่แดง แป้งสาลี ตั้งไฟกวนจนแป้งร่อน อัดใส่พิมพ์เป็นรูปต่าง ๆ แต่งหน้าด้วยทองคำเปลวแผ่นเล็ก ๆ.ทองเอก น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง เคี่ยวน้ำกะทิกับน้ำตาลจนเหนียว ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วใส่ไข่แดง แป้งสาลี ตั้งไฟกวนจนแป้งร่อน อัดใส่พิมพ์เป็นรูปต่าง ๆ แต่งหน้าด้วยทองคำเปลวแผ่นเล็ก ๆ.
ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพรรณไม้ ๒ ชนิดในสกุล Butea วงศ์ Leguminosae ชนิด B. monosperma (Lam.) Kuntze เป็นไม้ต้น ดอกสีแสด, ทองธรรมชาติ ก็เรียก, พายัพเรียก ทองกวาว, อีสานเรียก จาน; ชนิด B. superba Roxb. เป็นไม้เถา, ทองเครือ หรือ ตานจอมทอง ก็เรียก.ทอง ๒ น. ชื่อพรรณไม้ ๒ ชนิดในสกุล Butea วงศ์ Leguminosae ชนิด B. monosperma (Lam.) Kuntze เป็นไม้ต้น ดอกสีแสด, ทองธรรมชาติ ก็เรียก, พายัพเรียก ทองกวาว, อีสานเรียก จาน; ชนิด B. superba Roxb. เป็นไม้เถา, ทองเครือ หรือ ตานจอมทอง ก็เรียก.
ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง เรียกว่า เพลงทอง และมีชนิดย่อยว่า ทองย่อน ทองย้อย.ทอง ๓ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง เรียกว่า เพลงทอง และมีชนิดย่อยว่า ทองย่อน ทองย้อย.
ท่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เดินก้าวไปในนํ้า เช่น ท่องนํ้า; ว่าซํ้า ๆ ให้จําได้ เช่น ท่องหนังสือ.ท่อง ก. เดินก้าวไปในนํ้า เช่น ท่องนํ้า; ว่าซํ้า ๆ ให้จําได้ เช่น ท่องหนังสือ.
ท่องจำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ท่องบ่นจนจําได้, ท่องบ่นจนขึ้นใจ.ท่องจำ ก. ท่องบ่นจนจําได้, ท่องบ่นจนขึ้นใจ.
ท่องเที่ยว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไป.ท่องเที่ยว ก. เที่ยวไป.
ท่องสื่อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งล่ามจีนครั้งโบราณ เช่น ขุนพจนาพิจิตร ท่องสื่อใหญ่. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ของ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) ฉบับหอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๗๗ ในวงเล็บ เทียบ ภาษาจีน ท่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ว่า ติดต่อ, สื่อ ว่า ธุระ, การงาน .ท่องสื่อ น. ตําแหน่งล่ามจีนครั้งโบราณ เช่น ขุนพจนาพิจิตร ท่องสื่อใหญ่. (พงศ. ร. ๓). (เทียบ จ. ท่อง ว่า ติดต่อ, สื่อ ว่า ธุระ, การงาน).
ท้อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่จนถึงบริเวณต้นขา มีสะดืออยู่ตรงกลาง มีกระเพาะและไส้พุงอยู่ภายใน; ครรภ์ เช่น น้องร่วมท้อง; พื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่ เช่น ท้องนํ้า ท้องฟ้า ท้องทุ่ง ท้องไร่ ท้องนา ท้องถนน; ส่วนที่มีลักษณะโค้ง เช่น ท้องแขน ท้องน่อง ท้องเรือ ท้องร่อง. เป็นคำกริยา หมายถึง มีลูกอยู่ในท้อง, ตั้งครรภ์.ท้อง น. ส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่จนถึงบริเวณต้นขา มีสะดืออยู่ตรงกลาง มีกระเพาะและไส้พุงอยู่ภายใน; ครรภ์ เช่น น้องร่วมท้อง; พื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่ เช่น ท้องนํ้า ท้องฟ้า ท้องทุ่ง ท้องไร่ ท้องนา ท้องถนน; ส่วนที่มีลักษณะโค้ง เช่น ท้องแขน ท้องน่อง ท้องเรือ ท้องร่อง. ก. มีลูกอยู่ในท้อง, ตั้งครรภ์.
ท้องกาง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกท้องที่กางออกมากกว่าปรกติเพราะกินเกินขนาด.ท้องกาง ว. เรียกท้องที่กางออกมากกว่าปรกติเพราะกินเกินขนาด.
ท้องกิ่ว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หิวจัด, มักใช้เข้าคู่กับคำ ท้องแขวน เป็น ท้องกิ่วท้องแขวน เช่น หิวจนท้องกิ่วท้องแขวน, ไส้กิ่วไส้แขวน ก็ว่า.ท้องกิ่ว ว. หิวจัด, มักใช้เข้าคู่กับคำ ท้องแขวน เป็น ท้องกิ่วท้องแขวน เช่น หิวจนท้องกิ่วท้องแขวน, ไส้กิ่วไส้แขวน ก็ว่า.
ท้องแก่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีครรภ์จวนจะคลอด.ท้องแก่ ว. มีครรภ์จวนจะคลอด.
ท้องขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าที่มีส่วนกลางขาวว่า ผ้าท้องขาว เช่น ผ้าท้องขาวเชิงชายเขียน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา, ถ้ามีส่วนกลางเขียว เรียกว่า ผ้าท้องเขียว เช่น ผ้าท้องเขียวชายกรวย. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา.ท้องขาว ๑ น. เรียกผ้าที่มีส่วนกลางขาวว่า ผ้าท้องขาว เช่น ผ้าท้องขาวเชิงชายเขียน. (พงศ. เลขา), ถ้ามีส่วนกลางเขียว เรียกว่า ผ้าท้องเขียว เช่น ผ้าท้องเขียวชายกรวย. (พงศ. เลขา).
ท้องขึ้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ท้องอืดเพราะลมในกระเพาะอาหารเฟ้อขึ้น; เรียกปลาจวนจะเน่าว่า ปลาท้องขึ้น.ท้องขึ้น ว. อาการที่ท้องอืดเพราะลมในกระเพาะอาหารเฟ้อขึ้น; เรียกปลาจวนจะเน่าว่า ปลาท้องขึ้น.
ท้องขึ้นท้องพอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกผลไม้บางอย่างที่ชํ้าจวนจะเสีย เช่น กล้วยท้องขึ้นท้องพอง คือกล้วยที่ชํ้าจวนจะเสีย, ท้องขึ้น ก็ว่า.ท้องขึ้นท้องพอง ว. เรียกผลไม้บางอย่างที่ชํ้าจวนจะเสีย เช่น กล้วยท้องขึ้นท้องพอง คือกล้วยที่ชํ้าจวนจะเสีย, ท้องขึ้น ก็ว่า.
ท้องแข็ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หน้าท้องตึงเพราะหัวเราะเต็มที่, ท้องคัดท้องแข็ง ก็ว่า.ท้องแข็ง ว. อาการที่หน้าท้องตึงเพราะหัวเราะเต็มที่, ท้องคัดท้องแข็ง ก็ว่า.
ท้องแขน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของแขนด้านใน มีลักษณะโค้งนูน.ท้องแขน น. ส่วนของแขนด้านใน มีลักษณะโค้งนูน.
ท้องแขวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู[–แขฺวน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หิวจัด, มักใช้เข้าคู่กับคำ ท้องกิ่ว เป็น ท้องกิ่วท้องแขวน เช่น หิวจนท้องกิ่วท้องแขวน, ไส้กิ่วไส้แขวน ก็ว่า.ท้องแขวน [–แขฺวน] ว. หิวจัด, มักใช้เข้าคู่กับคำ ท้องกิ่ว เป็น ท้องกิ่วท้องแขวน เช่น หิวจนท้องกิ่วท้องแขวน, ไส้กิ่วไส้แขวน ก็ว่า.
ท้องคัดท้องแข็ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หน้าท้องตึงเพราะหัวเราะเต็มที่, ท้องแข็ง ก็ว่า.ท้องคัดท้องแข็ง ว. อาการที่หน้าท้องตึงเพราะหัวเราะเต็มที่, ท้องแข็ง ก็ว่า.
ท้องคุ้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของคุ้งนํ้า.ท้องคุ้ง น. ส่วนกลางของคุ้งนํ้า.
ท้องฉนวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดินสําหรับฝ่ายในซึ่งกั้นด้วยผ้าหรือม่านเป็นต้น.ท้องฉนวน น. ทางเดินสําหรับฝ่ายในซึ่งกั้นด้วยผ้าหรือม่านเป็นต้น.
ท้องเดิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ถ่ายอุจจาระเหลวมากบ่อย ๆ.ท้องเดิน ว. อาการที่ถ่ายอุจจาระเหลวมากบ่อย ๆ.
ท้องตรา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือคําสั่งที่ประทับตราของเจ้ากระทรวง, เดิมเรียกว่า สารตรา.ท้องตรา น. หนังสือคําสั่งที่ประทับตราของเจ้ากระทรวง, เดิมเรียกว่า สารตรา.
ท้องตลาด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดทั่ว ๆ ไป, ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ.ท้องตลาด น. ตลาดทั่ว ๆ ไป, ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ.
ท้องถิ่น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เวลาท้องถิ่น ประเพณีท้องถิ่น; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง พื้นที่ภายในเขตการปกครองของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล.ท้องถิ่น น. ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เวลาท้องถิ่น ประเพณีท้องถิ่น; (กฎ) พื้นที่ภายในเขตการปกครองของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล.
ท้องที่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่หรือถิ่นที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น ท้องที่จังหวัด ท้องที่อําเภอ ท้องที่ที่เกิดเหตุ ท้องที่ที่มีภูมิลําเนา; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง พื้นที่ภายในเขตการปกครองส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อําเภอ กิ่งอําเภอ ตําบล และหมู่บ้าน; พื้นที่ที่อยู่ในเขตอํานาจของพนักงานสอบสวนหรือศาล.ท้องที่ น. พื้นที่หรือถิ่นที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น ท้องที่จังหวัด ท้องที่อําเภอ ท้องที่ที่เกิดเหตุ ท้องที่ที่มีภูมิลําเนา; (กฎ) พื้นที่ภายในเขตการปกครองส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อําเภอ กิ่งอําเภอ ตําบล และหมู่บ้าน; พื้นที่ที่อยู่ในเขตอํานาจของพนักงานสอบสวนหรือศาล.
ท้องน่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของขาเบื้องหลัง มีลักษณะโค้งนูน ด้านตรงกันข้ามกับหน้าแข้ง.ท้องน่อง น. ส่วนของขาเบื้องหลัง มีลักษณะโค้งนูน ด้านตรงกันข้ามกับหน้าแข้ง.
ท้องน้อย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของท้องระหว่างสะดือกับหัวหน่าว.ท้องน้อย น. ส่วนของท้องระหว่างสะดือกับหัวหน่าว.
ท้องแบน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือชนิดหนึ่งมีท้องแบน กินนํ้าตื้น สําหรับลําเลียงทหารหรืออาวุธยุทโธปกรณ์ขึ้นบก.ท้องแบน น. ชื่อเรือชนิดหนึ่งมีท้องแบน กินนํ้าตื้น สําหรับลําเลียงทหารหรืออาวุธยุทโธปกรณ์ขึ้นบก.
ท้องปลิง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตะไบชนิดหนึ่ง มีรูปเหมือนท้องปลิง คือข้างหนึ่งกลม อีกข้างหนึ่งแบน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีรูปเหมือนท้องปลิง เช่น กําไลท้องปลิง.ท้องปลิง น. ชื่อตะไบชนิดหนึ่ง มีรูปเหมือนท้องปลิง คือข้างหนึ่งกลม อีกข้างหนึ่งแบน. ว. เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีรูปเหมือนท้องปลิง เช่น กําไลท้องปลิง.
ท้องผุท้องพัง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกท้องปลาทูเป็นต้นที่ไม่ค่อยสด เมื่อทอดแล้วมีลักษณะแตกโหว่.ท้องผุท้องพัง ว. เรียกท้องปลาทูเป็นต้นที่ไม่ค่อยสด เมื่อทอดแล้วมีลักษณะแตกโหว่.
ท้องผูก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่อุจจาระแข็งถ่ายออกลําบาก.ท้องผูก ว. อาการที่อุจจาระแข็งถ่ายออกลําบาก.
ท้องพระคลัง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่เก็บพระราชทรัพย์หรือสิ่งของอันมีค่าอื่น ๆ ของพระมหากษัตริย์.ท้องพระคลัง น. สถานที่เก็บพระราชทรัพย์หรือสิ่งของอันมีค่าอื่น ๆ ของพระมหากษัตริย์.
ท้องพระโรง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ห้องโถงใหญ่ในพระราชวังหรือในวังของพระราชโอรสพระราชธิดา.ท้องพระโรง น. ห้องโถงใหญ่ในพระราชวังหรือในวังของพระราชโอรสพระราชธิดา.
ท้องพลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ขนมทองพลุ.ท้องพลุ (โบ) น. ขนมทองพลุ.
ท้องพอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ท้องอืด, ใช้เข้าคู่กับคํา ท้องขึ้น เป็น ท้องขึ้นท้องพอง.ท้องพอง ว. ท้องอืด, ใช้เข้าคู่กับคํา ท้องขึ้น เป็น ท้องขึ้นท้องพอง.
ท้องเฟ้อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ลมในกระเพาะตีขึ้นเพราะอาหารไม่ย่อยและเป็นพิษ.ท้องเฟ้อ ว. อาการที่ลมในกระเพาะตีขึ้นเพราะอาหารไม่ย่อยและเป็นพิษ.
ท้องมาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคจําพวกหนึ่งมีอาการให้ท้องโตอย่างหญิงมีครรภ์.ท้องมาน น. ชื่อโรคจําพวกหนึ่งมีอาการให้ท้องโตอย่างหญิงมีครรภ์.
ท้องไม้ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของฐานที่เป็นหน้าเรียบ.ท้องไม้ น. ส่วนกลางของฐานที่เป็นหน้าเรียบ.
ท้องยุ้งพุงกระสอบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนกินจุ. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่กินจุผิดปรกติ.ท้องยุ้งพุงกระสอบ (สำ) น. คนกินจุ. (ปาก) ว. ที่กินจุผิดปรกติ.
ท้องร่วง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ท้องเดินอย่างแรง.ท้องร่วง ว. อาการที่ท้องเดินอย่างแรง.
ท้องร่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทางนํ้าที่ขุดลงไปเป็นลํารางเพื่อขังนํ้าไว้รดต้นไม้เป็นต้น.ท้องร่อง น. ทางนํ้าที่ขุดลงไปเป็นลํารางเพื่อขังนํ้าไว้รดต้นไม้เป็นต้น.
ท้องเรื่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อเรื่องที่ดําเนินไปตั้งแต่ต้นจนจบ.ท้องเรื่อง น. เนื้อเรื่องที่ดําเนินไปตั้งแต่ต้นจนจบ.
ท้องลาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรูปแบน ๆ เหมือนท้องแห่งลาน อย่างรูปคันกระสุนที่เหลาแบน ๆ.ท้องลาน ว. มีรูปแบน ๆ เหมือนท้องแห่งลาน อย่างรูปคันกระสุนที่เหลาแบน ๆ.
ท้องเล็น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกข้าวสารที่หุงยังไม่สุกดี ยังมีแกนเมล็ดข้าวเหลืออยู่บ้าง ว่า ข้าวท้องเล็น.ท้องเล็น ว. เรียกข้าวสารที่หุงยังไม่สุกดี ยังมีแกนเมล็ดข้าวเหลืออยู่บ้าง ว่า ข้าวท้องเล็น.
ท้องเลว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โซ, อดอยาก, เช่น ชะรอยผีท้องเลวในเหวถํ้า. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไกรทอง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พ.ศ. ๒๔๕๖.ท้องเลว ว. โซ, อดอยาก, เช่น ชะรอยผีท้องเลวในเหวถํ้า. (ไกรทอง).
ท้องสาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ท้องลูกคนแรก.ท้องสาว น. ท้องลูกคนแรก.
ท้องสำนวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหาของเรื่อง.ท้องสำนวน น. เนื้อหาของเรื่อง.
ท้องเสีย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เกิดจากเครื่องย่อยอาหารไม่ทําหน้าที่ตามปรกติทําให้ถ่ายอุจจาระกะปริบกะปรอย.ท้องเสีย ว. อาการที่เกิดจากเครื่องย่อยอาหารไม่ทําหน้าที่ตามปรกติทําให้ถ่ายอุจจาระกะปริบกะปรอย.
ท้องหมา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หน้าท้องแฟบ, เรียกครรภ์ของหญิงที่มีลักษณะเล็ก.ท้องหมา น. หน้าท้องแฟบ, เรียกครรภ์ของหญิงที่มีลักษณะเล็ก.
ท้องหมู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง หน้าท้องมีไขมันมากอย่างท้องคนอ้วน, เรียกครรภ์ของหญิงที่มีลักษณะใหญ่มาก.ท้องหมู น. หน้าท้องมีไขมันมากอย่างท้องคนอ้วน, เรียกครรภ์ของหญิงที่มีลักษณะใหญ่มาก.
ท้องแห้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ฝืดเคือง, อด.ท้องแห้ง (ปาก) ก. ฝืดเคือง, อด.
ท้องอัสดงคต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง รูปบัวประกอบฐานผนังโบสถ์ หัวท้ายงอนขึ้น. ในวงเล็บ รูปภาพ ท้องอัสดงคต.ท้องอัสดงคต น. รูปบัวประกอบฐานผนังโบสถ์ หัวท้ายงอนขึ้น. (รูปภาพ ท้องอัสดงคต).
ท้องอืด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ท้องขึ้นทําให้รู้สึกอึดอัด.ท้องอืด ว. อาการที่ท้องขึ้นทําให้รู้สึกอึดอัด.
ทองกวาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[–กฺวาว] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นทอง. ในวงเล็บ ดู ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ทองกวาว [–กฺวาว] (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นทอง. (ดู ทอง ๒).
ท้องขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ดูใน ท้อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู.ท้องขาว ๑ ดูใน ท้อง.
ท้องขาว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนูขนาดกลางชนิด Rattus rattus ในวงศ์ Muridae ตัวสีนํ้าตาลอ่อนถึงนํ้าตาลแดง พื้นท้องสีขาว มีเส้นสีนํ้าตาลหรือดําพาดขวางหน้าอก จมูกแหลม ใบหูใหญ่ หางสีดํายาวไล่เลี่ยกับความยาวของส่วนหัวและลําตัว กินเมล็ดพืชและเศษอาหาร มีชุกชุมทั่วทุกภาคของประเทศไทย.ท้องขาว ๒ น. ชื่อหนูขนาดกลางชนิด Rattus rattus ในวงศ์ Muridae ตัวสีนํ้าตาลอ่อนถึงนํ้าตาลแดง พื้นท้องสีขาว มีเส้นสีนํ้าตาลหรือดําพาดขวางหน้าอก จมูกแหลม ใบหูใหญ่ หางสีดํายาวไล่เลี่ยกับความยาวของส่วนหัวและลําตัว กินเมล็ดพืชและเศษอาหาร มีชุกชุมทั่วทุกภาคของประเทศไทย.
ทองเครือ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่างดู ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ทองเครือ ดู ทอง ๒.
ทองดำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ดูใน ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ทองดำ ๑ ดูใน ทอง ๑.
ทองดำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลสีเขียวค่อนข้างดํา.ทองดำ ๒ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลสีเขียวค่อนข้างดํา.
ทองดำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจิ้งหรีดชนิด Acheta bimaculatus ในวงศ์ Gryllidae ลําตัวยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร อกกว้างประมาณ ๙ มิลลิเมตร โดยทั่วไปสีดําตลอดทั้งตัว ยกเว้นบริเวณโคนปีกคู่แรกมีจุดโตสีเหลืองหรือแดงปนเหลือง ๒ จุด ขาคู่สุดท้ายสีนํ้าตาลแดง.ทองดำ ๓ น. ชื่อจิ้งหรีดชนิด Acheta bimaculatus ในวงศ์ Gryllidae ลําตัวยาวประมาณ ๓ เซนติเมตร อกกว้างประมาณ ๙ มิลลิเมตร โดยทั่วไปสีดําตลอดทั้งตัว ยกเว้นบริเวณโคนปีกคู่แรกมีจุดโตสีเหลืองหรือแดงปนเหลือง ๒ จุด ขาคู่สุดท้ายสีนํ้าตาลแดง.
ทองแดง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ทองแดง ๑ ดูใน ทอง ๑.
ทองแดง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจิ้งหรีดชนิด Gryllus testaceus ในวงศ์ Gryllidae ตัวยาวประมาณ ๒.๘ เซนติเมตร อกกว้างประมาณ ๘ มิลลิเมตร โดยทั่วไปสีนํ้าตาลทั้งตัว โดยเฉพาะด้านล่างของหัว อก ท้อง และขา ส่วนทางด้านหลังสีนํ้าตาลอมแดง ลายปีกเป็นเส้นสีนํ้าตาลยาวเกือบตลอด.ทองแดง ๒ น. ชื่อจิ้งหรีดชนิด Gryllus testaceus ในวงศ์ Gryllidae ตัวยาวประมาณ ๒.๘ เซนติเมตร อกกว้างประมาณ ๘ มิลลิเมตร โดยทั่วไปสีนํ้าตาลทั้งตัว โดยเฉพาะด้านล่างของหัว อก ท้อง และขา ส่วนทางด้านหลังสีนํ้าตาลอมแดง ลายปีกเป็นเส้นสีนํ้าตาลยาวเกือบตลอด.
ทองธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ดูใน ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ทองธรรมชาติ ๑ ดูใน ทอง ๑.
ทองธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ดู ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ทองธรรมชาติ ๒ ดู ทอง ๒.
ทองปลายแขน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ทองปลายแขน ๑ ดูใน ทอง ๑.
ทองปลายแขน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลยาว ปลายงอ.ทองปลายแขน ๒ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลยาว ปลายงอ.
ทองเผือก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ดู ทองหลาง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู.ทองเผือก ดู ทองหลาง.
ทองพระขุน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ขุนเพ็ด.ทองพระขุน (ราชา) น. ขุนเพ็ด.
ทองพลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ขนมแป้งทอดชนิดหนึ่ง ทอดเป็นก้อนกลมแล้วผ่ายัดไส้ภายหลัง, โบราณเรียก ท้องพลุ. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.ทองพลุ น. ขนมแป้งทอดชนิดหนึ่ง ทอดเป็นก้อนกลมแล้วผ่ายัดไส้ภายหลัง, โบราณเรียก ท้องพลุ. (ปาเลกัว).
ท้องพลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Machrochirichthys machrochirus ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาดาบลาว เว้นแต่มีเส้นข้างตัว อกเชิดขึ้นและต่อเนื่องกับคางซึ่งเงยขึ้นไปอีก ฟันเล็ก ด้านหลังลําตัวสีเขียวอมเหลือง ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน พบตามแม่นํ้าและแหล่งนํ้าขนาดใหญ่ทั่วไป, ดาบ หรือ ฝักพร้า ก็เรียก; ชื่อนี้ยังใช้เรียกปลาแปบบางชนิด. ในวงเล็บ ดู แปบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒.ท้องพลุ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Machrochirichthys machrochirus ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาดาบลาว เว้นแต่มีเส้นข้างตัว อกเชิดขึ้นและต่อเนื่องกับคางซึ่งเงยขึ้นไปอีก ฟันเล็ก ด้านหลังลําตัวสีเขียวอมเหลือง ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน พบตามแม่นํ้าและแหล่งนํ้าขนาดใหญ่ทั่วไป, ดาบ หรือ ฝักพร้า ก็เรียก; ชื่อนี้ยังใช้เรียกปลาแปบบางชนิด. (ดู แปบ ๒).
ทองพันชั่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Rhinacanthus nasutus Kurz ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีขาว ใบและรากใช้ทํายาได้.ทองพันชั่ง น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rhinacanthus nasutus Kurz ในวงศ์ Acanthaceae ดอกสีขาว ใบและรากใช้ทํายาได้.
ทองพันดุล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Decaschistia parviflora Kurz ในวงศ์ Malvaceae ดอกสีชมพูอมส้ม.ทองพันดุล น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Decaschistia parviflora Kurz ในวงศ์ Malvaceae ดอกสีชมพูอมส้ม.
ทองภู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ทองภู น. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายา. (พจน. ๒๔๙๓).
ทองม้วน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งประสมกับกะทิและไข่ เทราดลงในพิมพ์ซึ่งมักมีลักษณะกลมให้เป็นแผ่นบาง ๆ ผิงไฟให้สุกแล้วม้วนเป็นหลอด, ถ้าพับเป็นชิ้น เรียก ทองพับ, มีทั้งอย่างรสเค็มและรสหวาน.ทองม้วน น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งประสมกับกะทิและไข่ เทราดลงในพิมพ์ซึ่งมักมีลักษณะกลมให้เป็นแผ่นบาง ๆ ผิงไฟให้สุกแล้วม้วนเป็นหลอด, ถ้าพับเป็นชิ้น เรียก ทองพับ, มีทั้งอย่างรสเค็มและรสหวาน.
ทองย้อย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ยอ-ยัก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง.ทองย้อย น. ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง.
ทองลิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Labiobarbus kuhlii ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างยาวเรียว แบนข้าง หนวดสั้น ครีบหลังยาวทํานองเดียวกับปลาซ่าซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน เกล็ดข้างลําตัวมีจุดสีดําจนเห็นเรียงกันเป็นสายตามยาวหลายเส้น ที่คอดหางมีจุดใหญ่สีดํา ขนาดยาวกว่า ๒๐ เซนติเมตร, สร้อยนกเขา ก็เรียก.ทองลิน น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Labiobarbus kuhlii ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างยาวเรียว แบนข้าง หนวดสั้น ครีบหลังยาวทํานองเดียวกับปลาซ่าซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน เกล็ดข้างลําตัวมีจุดสีดําจนเห็นเรียงกันเป็นสายตามยาวหลายเส้น ที่คอดหางมีจุดใหญ่สีดํา ขนาดยาวกว่า ๒๐ เซนติเมตร, สร้อยนกเขา ก็เรียก.
ทองหลาง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Erythrina วงศ์ Leguminosae เช่น ทองหลางป่า [E. subumbrans (Hassk.) Merr.], ทองหลางลาย หรือ ทองเผือก (E. variegata L.), ทองหลางนํ้า หรือ ทองโหลง (E. fusca Lour.) ดอกออกเป็นช่อสีแดงคล้ำ.ทองหลาง น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Erythrina วงศ์ Leguminosae เช่น ทองหลางป่า [E. subumbrans (Hassk.) Merr.], ทองหลางลาย หรือ ทองเผือก (E. variegata L.), ทองหลางนํ้า หรือ ทองโหลง (E. fusca Lour.) ดอกออกเป็นช่อสีแดงคล้ำ.
ทองโหลง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งูดู ทองหลาง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู.ทองโหลง ดู ทองหลาง.
ทองอุไร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Tecoma stans (L.) Kunth ในวงศ์ Bignoniaceae ขอบใบหยัก ดอกสีเหลืองสด รูปแตร, พวงอุไร ก็เรียก.ทองอุไร น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Tecoma stans (L.) Kunth ในวงศ์ Bignoniaceae ขอบใบหยัก ดอกสีเหลืองสด รูปแตร, พวงอุไร ก็เรียก.
ทอด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ระยะจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่ง เช่น นอนทอดเดียวตลอดคืน ขึ้นรถ ๒ ทอด, ระยะเดียวหรือหลายระยะต่อเนื่องกัน เช่น มรดกตกทอด ส่งต่อกันเป็นทอด ๆ.ทอด ๑ น. ระยะจากจุดหนึ่งถึงอีกจุดหนึ่ง เช่น นอนทอดเดียวตลอดคืน ขึ้นรถ ๒ ทอด, ระยะเดียวหรือหลายระยะต่อเนื่องกัน เช่น มรดกตกทอด ส่งต่อกันเป็นทอด ๆ.
ทอด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สุกด้วยนํ้ามันเป็นต้นที่เดือด เช่น ทอดปลา ทอดเนื้อ, เรียกสิ่งที่ทําให้สุกเช่นนั้น เช่น ปลาทอด เนื้อทอด.ทอด ๒ ก. ทําให้สุกด้วยนํ้ามันเป็นต้นที่เดือด เช่น ทอดปลา ทอดเนื้อ, เรียกสิ่งที่ทําให้สุกเช่นนั้น เช่น ปลาทอด เนื้อทอด.
ทอดมัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง เอาปลาหรือกุ้งผสมกับนํ้าพริกโขลกให้เข้ากันจนเหนียวแล้วทอดในนํ้ามัน.ทอดมัน น. ของกินชนิดหนึ่ง เอาปลาหรือกุ้งผสมกับนํ้าพริกโขลกให้เข้ากันจนเหนียวแล้วทอดในนํ้ามัน.
ทอด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ้ง เช่น มันทําชู้แล้วมันทอดหญิงนั้นเสีย. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง, ปล่อย, วาง, เช่น ทอดธุระ ทอดทุ่น; พาดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น ทอดสะพาน, เหยียดยาวออกไป เช่น ทอดแขน ทอดขา; ปล่อยลง, ทิ้งลง, เช่น ทอดหมากเก็บ ทอดลูกเต๋า.ทอด ๓ ก. ทิ้ง เช่น มันทําชู้แล้วมันทอดหญิงนั้นเสีย. (สามดวง), ปล่อย, วาง, เช่น ทอดธุระ ทอดทุ่น; พาดจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น ทอดสะพาน, เหยียดยาวออกไป เช่น ทอดแขน ทอดขา; ปล่อยลง, ทิ้งลง, เช่น ทอดหมากเก็บ ทอดลูกเต๋า.
ทอดกฐิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์.ทอดกฐิน ก. ทําพิธีถวายผ้ากฐินแก่พระสงฆ์.
ทอดโกลน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นอ-หนู[–โกฺลน] เป็นคำนาม หมายถึง เอาไม้ท่อนกลม ๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น.ทอดโกลน [–โกฺลน] น. เอาไม้ท่อนกลม ๆ วางเป็นระยะเพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น.
ทอดตัว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอนตัวลงนอน.ทอดตัว ก. เอนตัวลงนอน.
ทอดตา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แลไป, มองดูในระยะไกล.ทอดตา ก. แลไป, มองดูในระยะไกล.
ทอดทฤษฎี เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง มองไปรอบ ๆ, ตั้งใจดู, เช่น เวลาท่านทอดทฤษฎี. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.ทอดทฤษฎี (แบบ) ก. มองไปรอบ ๆ, ตั้งใจดู, เช่น เวลาท่านทอดทฤษฎี. (เสือโค).
ทอดทิ้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ละเลย, ทิ้งขว้าง, ไม่เอาเป็นธุระ, ไม่เอาใจใส่, ไม่นําพา.ทอดทิ้ง ก. ละเลย, ทิ้งขว้าง, ไม่เอาเป็นธุระ, ไม่เอาใจใส่, ไม่นําพา.
ทอดที่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง จัดที่นั่งที่นอน เช่น ทอดที่พระราชอาสน์.ทอดที่ (ราชา) ก. จัดที่นั่งที่นอน เช่น ทอดที่พระราชอาสน์.
ทอดน่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินช้า ๆ ตามสบาย.ทอดน่อง ว. อาการที่เดินช้า ๆ ตามสบาย.
ทอดน้ำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง วางนํ้าให้สัตว์เช่นช้างม้าเป็นต้นกิน.ทอดน้ำ ก. วางนํ้าให้สัตว์เช่นช้างม้าเป็นต้นกิน.
ทอดผ้าป่า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอาผ้าถวายพระโดยวางไว้เพื่อให้พระชักเอาเอง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่วางไว้อย่างนั้น เช่น ทอดผ้าป่าเรียงวางไว้กลางสนาม. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ทอดผ้าป่า ก. เอาผ้าถวายพระโดยวางไว้เพื่อให้พระชักเอาเอง, โดยปริยายหมายถึงอาการที่วางไว้อย่างนั้น เช่น ทอดผ้าป่าเรียงวางไว้กลางสนาม. (อภัย).
ทอดพระที่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง จัดที่บรรทม (ใช้แก่เจ้านาย).ทอดพระที่ (ราชา) ก. จัดที่บรรทม (ใช้แก่เจ้านาย).
ทอดพระเนตร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ดู.ทอดพระเนตร (ราชา) ก. ดู.
ทอดยอด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เลื้อยไป (ใช้แก่ยอดไม้เลื้อย). ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ผักบุ้ง เรียกว่า ผักทอดยอด.ทอดยอด ก. เลื้อยไป (ใช้แก่ยอดไม้เลื้อย). (ราชา) น. ผักบุ้ง เรียกว่า ผักทอดยอด.
ทอดรวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกรวง (ใช้แก่ต้นข้าว).ทอดรวง ก. ออกรวง (ใช้แก่ต้นข้าว).
ทอดสกา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เทลูกเต๋าลงในเติ่ง.ทอดสกา ก. เทลูกเต๋าลงในเติ่ง.
ทอดสนิท เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกไมตรี, สร้างความสัมพันธ์, เช่น ซื้อของมาฝากบ่อย ๆ เพื่อทอดสนิทให้เขารัก.ทอดสนิท ก. ผูกไมตรี, สร้างความสัมพันธ์, เช่น ซื้อของมาฝากบ่อย ๆ เพื่อทอดสนิทให้เขารัก.
ทอดสมอ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ้งสมอลงไปในนํ้าเพื่อให้เรือจอดอยู่กับที่.ทอดสมอ ก. ทิ้งสมอลงไปในนํ้าเพื่อให้เรือจอดอยู่กับที่.
ทอดสะพาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สื่อสายเข้าไปติดต่อทําความสนิทสนมกับผู้ที่ต้องการคุ้นเคย, แสดงกิริยาท่าทางเป็นทํานองอยากติดต่อด้วย.ทอดสะพาน ก. ใช้สื่อสายเข้าไปติดต่อทําความสนิทสนมกับผู้ที่ต้องการคุ้นเคย, แสดงกิริยาท่าทางเป็นทํานองอยากติดต่อด้วย.
ทอดสายตา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง มองด้วยอาการสํารวม; ใช้สายตาเป็นสื่อ.ทอดสายตา ก. มองด้วยอาการสํารวม; ใช้สายตาเป็นสื่อ.
ทอดเสียง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อนเสียงให้ยาวกว่าปรกติ.ทอดเสียง ก. เอื้อนเสียงให้ยาวกว่าปรกติ.
ทอดหญ้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง วางหญ้าให้สัตว์เช่นช้างม้าเป็นต้นกิน.ทอดหญ้า ก. วางหญ้าให้สัตว์เช่นช้างม้าเป็นต้นกิน.
ทอดหุ่ย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ไม่เอาธุระปล่อยให้เป็นไปตามเรื่องตามราว, อาการที่ปล่อยอารมณ์ตามสบาย, มักใช้ประกอบคำนอน ว่า นอนทอดหุ่ย.ทอดหุ่ย (ปาก) ว. อาการที่ไม่เอาธุระปล่อยให้เป็นไปตามเรื่องตามราว, อาการที่ปล่อยอารมณ์ตามสบาย, มักใช้ประกอบคำนอน ว่า นอนทอดหุ่ย.
ทอดแห เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ เป็นคำกริยา หมายถึง เหวี่ยงแหให้แผ่กว้างออกไปเพื่อจับปลาเป็นต้น.ทอดแห ก. เหวี่ยงแหให้แผ่กว้างออกไปเพื่อจับปลาเป็นต้น.
ทอดอาลัย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยไปตามบุญตามกรรมทั้ง ๆ ที่ยังมีใจผูกพันหรือมีความเสียดายอยู่.ทอดอาลัย ก. ปล่อยไปตามบุญตามกรรมทั้ง ๆ ที่ยังมีใจผูกพันหรือมีความเสียดายอยู่.
ทอน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดหรือหั่นให้เป็นท่อน เช่น ทอนฟืน, ทําให้ลดลงหรือให้สั้นลง เช่น ทอนกําลัง ทอนอายุ; หักจํานวนเงินตามราคาแล้วคืนส่วนที่เหลือไป เช่น ทอนเงิน ทอนสตางค์.ทอน ก. ตัดหรือหั่นให้เป็นท่อน เช่น ทอนฟืน, ทําให้ลดลงหรือให้สั้นลง เช่น ทอนกําลัง ทอนอายุ; หักจํานวนเงินตามราคาแล้วคืนส่วนที่เหลือไป เช่น ทอนเงิน ทอนสตางค์.
ท่อน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ตัดหรือทอนออกเป็นตอน ๆ เช่น ท่อนหัว ท่อนกลาง ท่อนหาง, ตอนหนึ่ง ๆ ของเพลงไทย เช่น ท่อน ๑ ท่อน ๒ ท่อน ๓; ลักษณนามเรียกสิ่งที่ตัดแบ่งหรือทอนออกเป็นท่อน ๆ เช่น ฟืนท่อนหนึ่ง ฟืน ๒ ท่อน เพลง ๓ ท่อน.ท่อน น. ส่วนที่ตัดหรือทอนออกเป็นตอน ๆ เช่น ท่อนหัว ท่อนกลาง ท่อนหาง, ตอนหนึ่ง ๆ ของเพลงไทย เช่น ท่อน ๑ ท่อน ๒ ท่อน ๓; ลักษณนามเรียกสิ่งที่ตัดแบ่งหรือทอนออกเป็นท่อน ๆ เช่น ฟืนท่อนหนึ่ง ฟืน ๒ ท่อน เพลง ๓ ท่อน.
ทอนซิล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ปุ่มเนื้อเยื่อนํ้าเหลือง อยู่ในบริเวณลําคอข้างละปุ่ม มีหน้าที่ช่วยป้องกันการแผ่กระจายของแบคทีเรียที่เข้าสู่ร่างกายผ่านทางลําคอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tonsil เขียนว่า ที-โอ-เอ็น-เอส-ไอ-แอล.ทอนซิล น. ปุ่มเนื้อเยื่อนํ้าเหลือง อยู่ในบริเวณลําคอข้างละปุ่ม มีหน้าที่ช่วยป้องกันการแผ่กระจายของแบคทีเรียที่เข้าสู่ร่างกายผ่านทางลําคอ. (อ. tonsil).
ทอฟฟี่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ของหวานแบบฝรั่ง ใช้อม ทําด้วยนํ้าตาลกวนกับนมหรือเนยเป็นต้น มักปั้นเป็นก้อนห่อกระดาษแก้วบิดหัวท้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ toffee เขียนว่า ที-โอ-เอฟ-เอฟ-อี-อี.ทอฟฟี่ น. ของหวานแบบฝรั่ง ใช้อม ทําด้วยนํ้าตาลกวนกับนมหรือเนยเป็นต้น มักปั้นเป็นก้อนห่อกระดาษแก้วบิดหัวท้าย. (อ. toffee).
ท่อม ๆ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินก้ม ๆ เงย ๆ ไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีจุดหมายที่แน่นอน.ท่อม ๆ ว. อาการที่เดินก้ม ๆ เงย ๆ ไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีจุดหมายที่แน่นอน.
ทอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โยนให้เรียดหรือเรี่ยดินไปให้ถูกเป้า.ทอย ๑ ก. โยนให้เรียดหรือเรี่ยดินไปให้ถูกเป้า.
ทอยกอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นพนันอย่างหนึ่ง ใช้สตางค์หรือสิ่งอื่นตั้งซ้อน ๆ กันแล้วทอยให้ล้ม.ทอยกอง น. ชื่อการเล่นพนันอย่างหนึ่ง ใช้สตางค์หรือสิ่งอื่นตั้งซ้อน ๆ กันแล้วทอยให้ล้ม.
ทอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ตอกลูกประสักหรือตะปูเป็นต้นให้ถอยออกมาจากที่เดิม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทยอยติด ๆ กันไปไม่ขาดระยะ เช่น เดินทอย ๆ กันเข้าไป. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้แหลมสําหรับตอกต้นไม้เป็นระยะ ๆ เพื่อเหยียบขึ้นไปว่า ลูกทอย, เรียกกิริยาที่ตอกลูกทอยอย่างนั้นว่า ตอกทอย.ทอย ๒ ก. กิริยาที่ตอกลูกประสักหรือตะปูเป็นต้นให้ถอยออกมาจากที่เดิม. ว. ทยอยติด ๆ กันไปไม่ขาดระยะ เช่น เดินทอย ๆ กันเข้าไป. น. เรียกไม้แหลมสําหรับตอกต้นไม้เป็นระยะ ๆ เพื่อเหยียบขึ้นไปว่า ลูกทอย, เรียกกิริยาที่ตอกลูกทอยอย่างนั้นว่า ตอกทอย.
ทอร์นาโด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพายุประจำถิ่นขนาดเล็ก แต่มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๒–๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tornado เขียนว่า ที-โอ-อา-เอ็น-เอ-ดี-โอ.ทอร์นาโด น. ชื่อพายุประจำถิ่นขนาดเล็ก แต่มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๒–๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. (อ. tornado).
ทอเรียม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๙๐ สัญลักษณ์ Th เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาเข้ม หลอมละลายที่ ๑๗๕๐°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ thorium เขียนว่า ที-เอช-โอ-อา-ไอ-ยู-เอ็ม.ทอเรียม น. ธาตุลําดับที่ ๙๐ สัญลักษณ์ Th เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาเข้ม หลอมละลายที่ ๑๗๕๐°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. thorium).
ทะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ คําใช้นําหน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคําเดิมนั้น หรือเป็นคําซํ้าซึ่งคําหน้าเสียงกร่อนไป เช่น****ทะ ๑ คําใช้นําหน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยตัว ท ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคําเดิมนั้น หรือเป็นคําซํ้าซึ่งคําหน้าเสียงกร่อนไป เช่น
ทะทัด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สะบัด.ทะทัด ก. สะบัด.
ทะทา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง นกกระทา.ทะทา น. นกกระทา.
ทะทาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง จับ, ถือ.ทะทาย ก. จับ, ถือ.
ทะท่าว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ล้ม, ทบ, ซํ้า, ยอบ, เติม.ทะท่าว ก. ล้ม, ทบ, ซํ้า, ยอบ, เติม.
ทะท้าว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตัวสั่นเทา ๆ.ทะท้าว ว. อาการที่ตัวสั่นเทา ๆ.
ทะทึก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ใจเต้นตึก ๆ.ทะทึก ว. อาการที่ใจเต้นตึก ๆ.
ทะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ปะทะ เช่น ของ้าวทบทะกัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.ทะ ๒ (กลอน) ก. ปะทะ เช่น ของ้าวทบทะกัน. (ตะเลงพ่าย).
ทะงัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตระหง่าน, กว้างใหญ่, สูงใหญ่.ทะงัน (กลอน) ว. ตระหง่าน, กว้างใหญ่, สูงใหญ่.
ทะเทียด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง กลองแขกมี ๒ หน้า หน้าหนึ่งใช้มือตี อีกหน้าหนึ่งใช้ไม้ตี ใช้ในกระบวนแห่.ทะเทียด น. กลองแขกมี ๒ หน้า หน้าหนึ่งใช้มือตี อีกหน้าหนึ่งใช้ไม้ตี ใช้ในกระบวนแห่.
ทะนง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ถือตัว, หยิ่งในเกียรติของตัว, ใช้ว่า ทระนง ก็มี.ทะนง ก. ถือตัว, หยิ่งในเกียรติของตัว, ใช้ว่า ทระนง ก็มี.
ทะนงตัว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ถือดีในตัวของตัว.ทะนงตัว ก. ถือดีในตัวของตัว.
ทะนงศักดิ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ถือดีในอํานาจของตัว.ทะนงศักดิ์ ก. ถือดีในอํานาจของตัว.
ทะนน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งมีขีดเป็นรอยโดยรอบ สําหรับใส่นํ้า นํ้าตาลโตนด เป็นต้น ว่า หม้อทะนน, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง หม้อคะนน. ในวงเล็บ รูปภาพ ทะนน.ทะนน น. เรียกหม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งมีขีดเป็นรอยโดยรอบ สําหรับใส่นํ้า นํ้าตาลโตนด เป็นต้น ว่า หม้อทะนน, (ปาก) หม้อคะนน. (รูปภาพ ทะนน).
ทะนะ, ทะนา ทะนะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ทะนา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําละมาจากคําว่า เทอญนะ เทอญนา เถิดนะ หรือ เถิดนา, มักใช้ในความชักชวน เช่น ไปทะนะ.ทะนะ, ทะนา (โบ; กลอน) ว. คําละมาจากคําว่า เทอญนะ เทอญนา เถิดนะ หรือ เถิดนา, มักใช้ในความชักชวน เช่น ไปทะนะ.
ทะนาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตวงอย่างหนึ่งทําด้วยกะโหลกมะพร้าวเป็นต้น; ชื่อมาตราตวงโบราณ ๒๐ ทะนาน เป็น ๑ ถัง, มาตราตวงของไทยโบราณเท่ากับ ๘ ฟายมือ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต ทินาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ว่า ตาชั่ง .ทะนาน น. เครื่องตวงอย่างหนึ่งทําด้วยกะโหลกมะพร้าวเป็นต้น; ชื่อมาตราตวงโบราณ ๒๐ ทะนาน เป็น ๑ ถัง, มาตราตวงของไทยโบราณเท่ากับ ๘ ฟายมือ. (เทียบ ส. ทินาร ว่า ตาชั่ง).
ทะนานหลวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท.ทะนานหลวง น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท.
ทะนุ, ทะนุก ทะนุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ทะนุก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อุดหนุน (มักใช้ควบกับคําอื่น).ทะนุ, ทะนุก ก. อุดหนุน (มักใช้ควบกับคําอื่น).
ทะนุถนอม, ทะนุกถนอม ทะนุถนอม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ถอ-ถุง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ทะนุกถนอม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง คอยระวังรักษา, คอยประคับประคอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺนาก่ถฺนม เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-นอ-หนู-มอ-ม้า.ทะนุถนอม, ทะนุกถนอม ก. คอยระวังรักษา, คอยประคับประคอง. (ข. ถฺนาก่ถฺนม).
ทะนุบำรุง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดู เช่น ทะนุบํารุงบิดามารดา ทะนุบํารุงบุตรธิดา; ซ่อมแซมรักษา, อุดหนุนให้เจริญขึ้น, เช่น ทะนุบํารุงวัด; ธํารงรักษาไว้ เช่น ทะนุบํารุงศาสนา ทะนุบํารุงบ้านเมือง, ทํานุบํารุง ก็ว่า.ทะนุบำรุง ก. เอาใจใส่ดูแลเลี้ยงดู เช่น ทะนุบํารุงบิดามารดา ทะนุบํารุงบุตรธิดา; ซ่อมแซมรักษา, อุดหนุนให้เจริญขึ้น, เช่น ทะนุบํารุงวัด; ธํารงรักษาไว้ เช่น ทะนุบํารุงศาสนา ทะนุบํารุงบ้านเมือง, ทํานุบํารุง ก็ว่า.
ทะบู เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ป้อม, หอรบ.ทะบู (กลอน) น. ป้อม, หอรบ.
ทะเบียน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีจดลักษณะจํานวนคน จํานวนสัตว์หรือจํานวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง.ทะเบียน น. บัญชีจดลักษณะจํานวนคน จํานวนสัตว์หรือจํานวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง.
ทะเบียนบ้าน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทะเบียนประจําบ้านแต่ละบ้านซึ่งแสดงเลขประจําบ้านและรายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน.ทะเบียนบ้าน (กฎ) น. ทะเบียนประจําบ้านแต่ละบ้านซึ่งแสดงเลขประจําบ้านและรายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน.
ทะเบียนราษฎร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู การทะเบียนราษฎร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ.ทะเบียนราษฎร (กฎ) ดู การทะเบียนราษฎร.
ทะเบียนสำมะโนครัว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวนดู สํามะโนครัว เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน.ทะเบียนสำมะโนครัว ดู สํามะโนครัว.
ทะมัดทะแมง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล่องแคล่ว, กระฉับกระเฉง, ไม่เก้งก้าง, เช่น ทํางานทะมัดทะแมง ท่าทางทะมัดทะแมง; รัดกุม เช่น แต่งตัวทะมัดทะแมง, ถะมัดถะแมง ก็ว่า.ทะมัดทะแมง ว. คล่องแคล่ว, กระฉับกระเฉง, ไม่เก้งก้าง, เช่น ทํางานทะมัดทะแมง ท่าทางทะมัดทะแมง; รัดกุม เช่น แต่งตัวทะมัดทะแมง, ถะมัดถะแมง ก็ว่า.
ทะมึน, ทะมื่น ทะมึน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู ทะมื่น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะดํามืดสูงใหญ่น่าเกรงขาม, ตระมื่น ก็ว่า.ทะมึน, ทะมื่น ว. มีลักษณะดํามืดสูงใหญ่น่าเกรงขาม, ตระมื่น ก็ว่า.
ทะแม่ง, ทะแม่ง ๆ ทะแม่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-งอ-งู ทะแม่ง ๆ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะลับลมคมในหรือมีอะไรเคลือบแฝงอยู่ทําให้น่าสงสัย.ทะแม่ง, ทะแม่ง ๆ (ปาก) ว. มีลักษณะลับลมคมในหรือมีอะไรเคลือบแฝงอยู่ทําให้น่าสงสัย.
ทะยาทะแยแส เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่เป็นพิเศษ, เอื้อเฟื้อ.ทะยาทะแยแส ก. เอาใจใส่เป็นพิเศษ, เอื้อเฟื้อ.
ทะยาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เผ่นขึ้นไป เช่น เครื่องบินทะยานขึ้นสู่ฟ้า, โผนเข้าใส่ เช่น ทะยานเข้าสู้.ทะยาน ก. เผ่นขึ้นไป เช่น เครื่องบินทะยานขึ้นสู่ฟ้า, โผนเข้าใส่ เช่น ทะยานเข้าสู้.
ทะยานใจ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ย่ามใจ, เหิมใจ.ทะยานใจ ก. ย่ามใจ, เหิมใจ.
ทะยานอยาก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อยากได้หรืออยากมีอยากเป็นยิ่ง ๆ ขึ้น.ทะยานอยาก ก. อยากได้หรืออยากมีอยากเป็นยิ่ง ๆ ขึ้น.
ทะเยอทะยาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อยากมีฐานะหรือภาวะสูงกว่าดีกว่าที่เป็นอยู่.ทะเยอทะยาน ก. อยากมีฐานะหรือภาวะสูงกว่าดีกว่าที่เป็นอยู่.
ทะแย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยโบราณทํานองหนึ่ง มีมาแต่สมัยอยุธยา มีอัตรา ๒ ชั้น ประเภทหน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน ท่อนที่ ๑ มี ๔ จังหวะ ท่อนที่ ๒ มี ๖ จังหวะ.ทะแย น. ชื่อเพลงไทยโบราณทํานองหนึ่ง มีมาแต่สมัยอยุธยา มีอัตรา ๒ ชั้น ประเภทหน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน ท่อนที่ ๑ มี ๔ จังหวะ ท่อนที่ ๒ มี ๖ จังหวะ.
ทะแยกลองโยน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงหน้าพาทย์ซึ่งใช้ทำนองเพลงทะแยมาบรรเลงอย่างเพลงเรื่อง และต้องตีกลองหน้าทับกลองโยนเลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโยนเข้ากับกลองชนะในกระบวนเสด็จ และใช้บรรเลงเป็นเพลงประจำกัณฑ์นครกัณฑ์ในการเทศน์มหาชาติ, เรียกสั้น ๆ ว่า กลองโยน.ทะแยกลองโยน น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์ซึ่งใช้ทำนองเพลงทะแยมาบรรเลงอย่างเพลงเรื่อง และต้องตีกลองหน้าทับกลองโยนเลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโยนเข้ากับกลองชนะในกระบวนเสด็จ และใช้บรรเลงเป็นเพลงประจำกัณฑ์นครกัณฑ์ในการเทศน์มหาชาติ, เรียกสั้น ๆ ว่า กลองโยน.
ทะแยสามชั้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เพลงสําหรับร้องรับในวงมโหรีปี่พาทย์.ทะแยสามชั้น น. เพลงสําหรับร้องรับในวงมโหรีปี่พาทย์.
ทะร่อทะแร่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปเกี่ยวข้องทั้ง ๆ ที่ไม่มีหน้าที่, ทะร่อท่อแร่ ก็ว่า.ทะร่อทะแร่ (ปาก) ก. เข้าไปเกี่ยวข้องทั้ง ๆ ที่ไม่มีหน้าที่, ทะร่อท่อแร่ ก็ว่า.
ทะลวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เป็นช่องทะลุ เช่น ทะลวงปล้องไม้ไผ่, ทําให้เป็นทางหรือเป็นช่องทะลุเข้าไป เช่น ทะลวงฟัน บุกทะลวง.ทะลวง ก. ทําให้เป็นช่องทะลุ เช่น ทะลวงปล้องไม้ไผ่, ทําให้เป็นทางหรือเป็นช่องทะลุเข้าไป เช่น ทะลวงฟัน บุกทะลวง.
ทะลอก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Parinari anamense Hance ในวงศ์ Chrysobalanaceae ไม้ใช้ทําเครื่องบนและเครื่องล่างของเรือน เมล็ดให้นํ้ามันใช้ทากันนํ้าซึมและผสมยางรักทําเครื่องเขิน.ทะลอก น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Parinari anamense Hance ในวงศ์ Chrysobalanaceae ไม้ใช้ทําเครื่องบนและเครื่องล่างของเรือน เมล็ดให้นํ้ามันใช้ทากันนํ้าซึมและผสมยางรักทําเครื่องเขิน.
ทะลัก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่สิ่งที่แออัดกันอยู่หรือถูกกีดกั้นผลุดหรือหลุดออกมาโดยแรง เมื่อสิ่งกีดกั้นแตกหรือพังทลายลง เช่น ลูกทะลัก ไส้ทะลัก หนองทะลัก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สินค้าที่กักตุนทะลักออกมา.ทะลัก ก. อาการที่สิ่งที่แออัดกันอยู่หรือถูกกีดกั้นผลุดหรือหลุดออกมาโดยแรง เมื่อสิ่งกีดกั้นแตกหรือพังทลายลง เช่น ลูกทะลัก ไส้ทะลัก หนองทะลัก, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สินค้าที่กักตุนทะลักออกมา.
ทะลักทะแลง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลักลั่นกัน, ไม่เป็นระเบียบ.ทะลักทะแลง ก. ลักลั่นกัน, ไม่เป็นระเบียบ.
ทะลาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ช่อผลของหมากมะพร้าวที่ออกเป็นกลุ่มรวมกัน เช่น ทะลายหมาก ทะลายมะพร้าว, อัน ก็เรียก, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หมากทะลายหนึ่ง มะพร้าว ๒ ทะลาย.ทะลาย น. ช่อผลของหมากมะพร้าวที่ออกเป็นกลุ่มรวมกัน เช่น ทะลายหมาก ทะลายมะพร้าว, อัน ก็เรียก, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หมากทะลายหนึ่ง มะพร้าว ๒ ทะลาย.
ทะลิ่น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ทะเล้น, หน้าเป็น.ทะลิ่น (กลอน) ก. ทะเล้น, หน้าเป็น.
ทะลิ่นชระลั่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู[–ชฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ทะลึ่งทะลั่ง.ทะลิ่นชระลั่ง [–ชฺระ–] (กลอน) ก. ทะลึ่งทะลั่ง.
ทะลึ่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ถีบตัวพรวดขึ้นมา เช่น ทะลึ่งขึ้นจากนํ้า, เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วผิดหูผิดตา เช่น ต้นไม้ทะลึ่งขึ้น; แสดงกิริยาหรือวาจาอันไม่สมควรในเรื่องที่มิใช่ธุระของตัวหรือในเวลาที่เขาไม่ต้องการ, แสดงกิริยาหรือวาจาอาจเอื้อม ไม่รู้จักที่ตํ่าสูง.ทะลึ่ง ก. ถีบตัวพรวดขึ้นมา เช่น ทะลึ่งขึ้นจากนํ้า, เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วผิดหูผิดตา เช่น ต้นไม้ทะลึ่งขึ้น; แสดงกิริยาหรือวาจาอันไม่สมควรในเรื่องที่มิใช่ธุระของตัวหรือในเวลาที่เขาไม่ต้องการ, แสดงกิริยาหรือวาจาอาจเอื้อม ไม่รู้จักที่ตํ่าสูง.
ทะลึ่งตึงตัง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง มีกิริยามารยาทไม่เรียบร้อย ส่งเสียงเอะอะ.ทะลึ่งตึงตัง ก. มีกิริยามารยาทไม่เรียบร้อย ส่งเสียงเอะอะ.
ทะลึ่งทะลั่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พรวดพราด.ทะลึ่งทะลั่ง ว. พรวดพราด.
ทะลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดเป็นรูหรือทําให้เป็นรูถึงอีกข้างหนึ่ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เป็นรู เช่น หม้อทะลุ.ทะลุ ก. เกิดเป็นรูหรือทําให้เป็นรูถึงอีกข้างหนึ่ง. ว. ที่เป็นรู เช่น หม้อทะลุ.
ทะลุกลางปล้อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดสอดขึ้นมาในเวลาที่เขากําลังพูดกันอยู่.ทะลุกลางปล้อง ก. พูดสอดขึ้นมาในเวลาที่เขากําลังพูดกันอยู่.
ทะลุปรุโปร่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เห็นหรือเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งโดยตลอด.ทะลุปรุโปร่ง ว. อาการที่เห็นหรือเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งโดยตลอด.
ทะลุดทะลาด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พรวดพราด, ถลําถลาก.ทะลุดทะลาด ว. พรวดพราด, ถลําถลาก.
ทะเล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ห้วงนํ้าเค็มที่เวิ้งว้างกว้างใหญ่ แต่เล็กกว่ามหาสมุทร. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่อยู่หรือเกิดในทะเล เช่น สาหร่ายทะเล ปลิงทะเล แมงดาทะเล.ทะเล น. ห้วงนํ้าเค็มที่เวิ้งว้างกว้างใหญ่ แต่เล็กกว่ามหาสมุทร. ว. ที่อยู่หรือเกิดในทะเล เช่น สาหร่ายทะเล ปลิงทะเล แมงดาทะเล.
ทะเลทราย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง อาณาบริเวณที่กว้างใหญ่เต็มไปด้วยทราย มีอากาศหนาวจัดหรือร้อนจัด ยากแก่การดํารงชีวิต มีพืชขึ้นอยู่น้อยมาก.ทะเลทราย น. อาณาบริเวณที่กว้างใหญ่เต็มไปด้วยทราย มีอากาศหนาวจัดหรือร้อนจัด ยากแก่การดํารงชีวิต มีพืชขึ้นอยู่น้อยมาก.
ทะเลใน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลภายใน, ทะเลหน้าใน ก็เรียก.ทะเลใน น. ทะเลภายใน, ทะเลหน้าใน ก็เรียก.
ทะเลบ้า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.ทะเลบ้า น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
ทะเลภายใน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลประเภทที่อยู่เข้ามาภายในพื้นแผ่นดิน และเกือบไม่มีทางติดต่อกับทะเลหรือมหาสมุทรภายนอก, ทะเลใน หรือ ทะเลหน้าใน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ inland เขียนว่า ไอ-เอ็น-แอล-เอ-เอ็น-ดี sea เขียนว่า เอส-อี-เอ .ทะเลภายใน น. ทะเลประเภทที่อยู่เข้ามาภายในพื้นแผ่นดิน และเกือบไม่มีทางติดต่อกับทะเลหรือมหาสมุทรภายนอก, ทะเลใน หรือ ทะเลหน้าใน ก็เรียก. (อ. inland sea).
ทะเลสาบ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ห้วงนํ้าใหญ่ที่มีแผ่นดินล้อมรอบ มี ๒ ชนิด คือ ทะเลสาบนํ้าเค็ม และ ทะเลสาบนํ้าจืด.ทะเลสาบ น. ห้วงนํ้าใหญ่ที่มีแผ่นดินล้อมรอบ มี ๒ ชนิด คือ ทะเลสาบนํ้าเค็ม และ ทะเลสาบนํ้าจืด.
ทะเลหน้าใน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลภายใน, ทะเลใน ก็เรียก.ทะเลหน้าใน น. ทะเลภายใน, ทะเลใน ก็เรียก.
ทะเลหลวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลใหญ่, มหาสมุทร, ทะเลหรือมหาสมุทรที่อยู่นอกน่านนํ้าอาณาเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของ.ทะเลหลวง น. ทะเลใหญ่, มหาสมุทร, ทะเลหรือมหาสมุทรที่อยู่นอกน่านนํ้าอาณาเขตของประเทศที่เป็นเจ้าของ.
ทะเลไหล่ทวีป เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณทะเลตื้นที่อยู่เหนือไหล่ทวีป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ epicontinental เขียนว่า อี-พี-ไอ-ซี-โอ-เอ็น-ที-ไอ-เอ็น-อี-เอ็น-ที-เอ-แอล sea เขียนว่า เอส-อี-เอ .ทะเลไหล่ทวีป น. บริเวณทะเลตื้นที่อยู่เหนือไหล่ทวีป. (อ. epicontinental sea).
ทะเลอาณาเขต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของทะเลซึ่งแต่ละประเทศกําหนดว่าอยู่ภายใต้อํานาจอธิปไตยของประเทศนั้น ๆ โดยกําหนดเป็นระยะทางวัดจากชายฝั่งทะเลตามแต่จะตกลงกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ territorial เขียนว่า ที-อี-อา-อา-ไอ-ที-โอ-อา-ไอ-เอ-แอล sea เขียนว่า เอส-อี-เอ .ทะเลอาณาเขต น. ส่วนของทะเลซึ่งแต่ละประเทศกําหนดว่าอยู่ภายใต้อํานาจอธิปไตยของประเทศนั้น ๆ โดยกําหนดเป็นระยะทางวัดจากชายฝั่งทะเลตามแต่จะตกลงกัน. (อ. territorial sea).
ทะเล้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง โปนออก เช่น ตาทะเล้น, ล้นออก เช่น เนื้อผ้าตรงตะเข็บทะเล้นออก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําหน้าหัวเราะอย่างทะลึ่งโดยไม่เหมาะแก่บุคคลหรือโอกาส.ทะเล้น ก. โปนออก เช่น ตาทะเล้น, ล้นออก เช่น เนื้อผ้าตรงตะเข็บทะเล้นออก. ว. ทําหน้าหัวเราะอย่างทะลึ่งโดยไม่เหมาะแก่บุคคลหรือโอกาส.
ทะเล่อทะล่า เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างพรวดพราดโดยไม่ถูกกาลเทศะหรืออย่างไม่ระมัดระวัง เช่น เดินทะเล่อทะล่าเข้าไปในที่ประชุม วิ่งทะเล่อทะล่าออกไปที่ถนนเลยถูกรถชน.ทะเล่อทะล่า ว. อาการที่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างพรวดพราดโดยไม่ถูกกาลเทศะหรืออย่างไม่ระมัดระวัง เช่น เดินทะเล่อทะล่าเข้าไปในที่ประชุม วิ่งทะเล่อทะล่าออกไปที่ถนนเลยถูกรถชน.
ทะเลาะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ทุ่มเถียงกันด้วยความโกรธ, โต้เถียงกัน, เป็นปากเป็นเสียงกัน.ทะเลาะ ก. ทุ่มเถียงกันด้วยความโกรธ, โต้เถียงกัน, เป็นปากเป็นเสียงกัน.
ทะเลาะเบาะแว้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทะเลาะกันด้วยเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ หยุม ๆ หยิม ๆ.ทะเลาะเบาะแว้ง ก. ทะเลาะกันด้วยเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ หยุม ๆ หยิม ๆ.
ทะเลิ่กทะลั่ก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำหน้าตาตื่น เหลียวหน้าเหลียวหลัง เช่น เขาวิ่งหน้าตาทะเลิ่กทะลั่กเข้ามา.ทะเลิ่กทะลั่ก ว. อาการที่ทำหน้าตาตื่น เหลียวหน้าเหลียวหลัง เช่น เขาวิ่งหน้าตาทะเลิ่กทะลั่กเข้ามา.
ทะวาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ออกผลไม่ตรงตามฤดูกาล (ใช้แก่ผลไม้) เช่น มะม่วงทะวาย.ทะวาย ว. ที่ออกผลไม่ตรงตามฤดูกาล (ใช้แก่ผลไม้) เช่น มะม่วงทะวาย.
ทะเวน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง พานักโทษไปประจานในที่ต่าง ๆ, ตะเวน ตระเวน หรือ กระเวน ก็ว่า.ทะเวน (โบ) ก. พานักโทษไปประจานในที่ต่าง ๆ, ตะเวน ตระเวน หรือ กระเวน ก็ว่า.
ทัก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น จิ้งจกทัก.ทัก ๑ ก. กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น จิ้งจกทัก.
ทักท้วง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวหรือแสดงออกเป็นทํานองว่ายังไม่เห็นด้วย.ทักท้วง ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทํานองว่ายังไม่เห็นด้วย.
ทักทาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ไต่ถามถึงความเป็นอยู่หรือทุกข์สุขอย่างเป็นกันเอง.ทักทาย ก. ไต่ถามถึงความเป็นอยู่หรือทุกข์สุขอย่างเป็นกันเอง.
ทักนิมิต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ถามตอบในการผูกพัทธสีมา.ทักนิมิต ก. ถามตอบในการผูกพัทธสีมา.
ทัก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง ตะกร้าเก็บเกลือ ทําด้วยไม้ไผ่สาน ตาห่างคล้ายชะลอม ทรงสูงคล้ายชะลอม. ในวงเล็บ มาจาก วารสารวิทยาจารย์.ทัก ๒ (ถิ่น) น. ตะกร้าเก็บเกลือ ทําด้วยไม้ไผ่สาน ตาห่างคล้ายชะลอม ทรงสูงคล้ายชะลอม. (วิทยาจารย์).
ทักข์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทักข์ ๑ ว. สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. (ป.).
ทักข์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดู, แล, เห็น, เช่น เล็งทักข์อาทรเธอ เท่าฟ้า, เล็งทักข์ทุรเวทแล้ว เล็งดอย ดงนา. ในวงเล็บ มาจาก นิราศตามเสด็จทัพลำน้ำน้อย หนังสือวรรณคดีพระยาตรัง ฉบับโรงพิมพ์รุ่งวัฒนา พ.ศ. ๒๕๑๕.ทักข์ ๒ ก. ดู, แล, เห็น, เช่น เล็งทักข์อาทรเธอ เท่าฟ้า, เล็งทักข์ทุรเวทแล้ว เล็งดอย ดงนา. (ลํานํ้าน้อย).
ทักขิญ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง[–ขิน] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเบื้องขวา หมายความว่า สะดวกในการพูดจาปราศรัย, ความอารีอารอบ, ความกรุณา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทกฺขิฺ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง.ทักขิญ [–ขิน] น. ความเป็นเบื้องขวา หมายความว่า สะดวกในการพูดจาปราศรัย, ความอารีอารอบ, ความกรุณา. (ป. ทกฺขิฺ).
ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทักษิณ, ใต้; ข้างขวา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทกฺษิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิณ (แบบ) ว. ทักษิณ, ใต้; ข้างขวา. (ป.; ส. ทกฺษิณ).
ทักขิณา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ทักษิณา, ทานเพื่อผลอันเจริญ; ขวา, ทิศใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทกฺษิณา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา.ทักขิณา น. ทักษิณา, ทานเพื่อผลอันเจริญ; ขวา, ทิศใต้. (ป.; ส. ทกฺษิณา).
ทักขิณาบถ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง เมืองแถบใต้, ประเทศฝ่ายทิศใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทักขิณาบถ น. เมืองแถบใต้, ประเทศฝ่ายทิศใต้. (ป.).
ทักขิณาวัฏ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนขวา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เวียนไปทางขวา คือเวียนเลี้ยวทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา, ทักษิณาวรรต ก็ว่า, ตรงข้ามกับ อุตราวัฏ หรือ อุตราวรรต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทกฺษิณาวรฺต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.ทักขิณาวัฏ น. การเวียนขวา. ว. เวียนไปทางขวา คือเวียนเลี้ยวทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา, ทักษิณาวรรต ก็ว่า, ตรงข้ามกับ อุตราวัฏ หรือ อุตราวรรต. (ป.; ส. ทกฺษิณาวรฺต).
ทักขิโณทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือ นํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทักขิโณทก น. นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือ นํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น. (ป.).
ทักขิไณยบุคคล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-เนน-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง[–ไนยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลผู้ควรรับทักษิณา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ทักขิไณยบุคคล [–ไนยะ–] น. บุคคลผู้ควรรับทักษิณา. (ป.).
ทักขิณา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อาดู ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิณา ดู ทักขิณ.
ทักขิณาบถ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุงดู ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิณาบถ ดู ทักขิณ.
ทักขิณาวัฏ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตักดู ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิณาวัฏ ดู ทักขิณ.
ทักขิโณทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิโณทก ดู ทักขิณ.
ทักขิไณยบุคคล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-เนน-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิงดู ทักขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักขิไณยบุคคล ดู ทักขิณ.
ทักทิน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[ทักกะทิน] เป็นคำนาม หมายถึง วันชั่วร้าย (ใช้ในตําราหมอดู).ทักทิน [ทักกะทิน] น. วันชั่วร้าย (ใช้ในตําราหมอดู).
ทักษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี[–สะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทักษ– [–สะ–] (แบบ) ว. สามารถ, เหมาะ, ขยัน, หมั่น, คล่องแคล่ว, แข็งแรง. (ส.).
ทักษะ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ความชํานาญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ skill เขียนว่า เอส-เค-ไอ-แอล-แอล.ทักษะ น. ความชํานาญ. (อ. skill).
ทักษา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกดาวพระเคราะห์เฉพาะ ๘ ดวง คือ อาทิตย์ (ประจําทิศอีสาน ใช้เลข ๑ แทน) จันทร์ (ประจําทิศบูรพา ใช้เลข ๒ แทน) อังคาร (ประจําทิศอาคเนย์ ใช้เลข ๓ แทน) พุธ (ประจําทิศทักษิณ ใช้เลข ๔ แทน) เสาร์ (ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗ แทน) พฤหัสบดี (ประจําทิศประจิม ใช้เลข ๕ แทน) ราหู (ประจําทิศพายัพ ใช้เลข ๘ แทน) และศุกร์ (ประจําทิศอุดร ใช้เลข ๖ แทน) เขียนเป็นแผนภูมิดังนี้ (มีรูป).ทักษา (โหร) น. เรียกดาวพระเคราะห์เฉพาะ ๘ ดวง คือ อาทิตย์ (ประจําทิศอีสาน ใช้เลข ๑ แทน) จันทร์ (ประจําทิศบูรพา ใช้เลข ๒ แทน) อังคาร (ประจําทิศอาคเนย์ ใช้เลข ๓ แทน) พุธ (ประจําทิศทักษิณ ใช้เลข ๔ แทน) เสาร์ (ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗ แทน) พฤหัสบดี (ประจําทิศประจิม ใช้เลข ๕ แทน) ราหู (ประจําทิศพายัพ ใช้เลข ๘ แทน) และศุกร์ (ประจําทิศอุดร ใช้เลข ๖ แทน) เขียนเป็นแผนภูมิดังนี้ (มีรูป).
ทักษิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ทิศใต้ ใช้ว่า ทิศทักษิณ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใต้; ข้างขวา เช่น ฝ่ายทักษิณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทกฺขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักษิณ น. ทิศใต้ ใช้ว่า ทิศทักษิณ. ว. ใต้; ข้างขวา เช่น ฝ่ายทักษิณ. (ส.; ป. ทกฺขิณ).
ทักษิณนิกาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เถรวาท, หินยาน.ทักษิณนิกาย น. เถรวาท, หินยาน.
ทักษิณาจาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่งนับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบขวาหรือฝ่ายขวา มีพิธีกรรมเปิดเผย ไม่มีลามกอนาจาร, คู่กับ วามาจาร, ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์ โดยถือพระไวโรจนพุทธะแทนพรหมัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทักษิณาจาร น. ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่งนับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบขวาหรือฝ่ายขวา มีพิธีกรรมเปิดเผย ไม่มีลามกอนาจาร, คู่กับ วามาจาร, ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์ โดยถือพระไวโรจนพุทธะแทนพรหมัน. (ส.).
ทักษิณายัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทางใต้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ หมายถึง จุดสุดทางใต้ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ ธันวาคม เป็นจุดในหน้าหนาว มีกลางคืนยาวที่สุด เรียกว่า ทักษิณายัน (winter solstice), คู่กับ อุตตรายัน, เหมายัน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ทกฺขิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน + ภาษาสันสกฤต อายน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู .ทักษิณายัน น. ทางใต้; (ดารา) จุดสุดทางใต้ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ ธันวาคม เป็นจุดในหน้าหนาว มีกลางคืนยาวที่สุด เรียกว่า ทักษิณายัน (winter solstice), คู่กับ อุตตรายัน, เหมายัน ก็เรียก. (ส.; ป. ทกฺขิณ + ส. อายน).
ทักษิณาวรรต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนขวา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เวียนไปทางขวา คือเวียนเลี้ยวทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา, ทักขิณาวัฏ ก็ว่า, ตรงข้ามกับ อุตราวรรต หรือ อุตราวัฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทกฺษิณาวรฺต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี ทกฺขิณาวฏฺฏ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก.ทักษิณาวรรต น. การเวียนขวา. ว. เวียนไปทางขวา คือเวียนเลี้ยวทางขวาอย่างเข็มนาฬิกา, ทักขิณาวัฏ ก็ว่า, ตรงข้ามกับ อุตราวรรต หรือ อุตราวัฏ. (ส. ทกฺษิณาวรฺต; ป. ทกฺขิณาวฏฺฏ).
ทักษิณา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ของทําบุญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทักษิณา น. ของทําบุญ. (ส.).
ทักษิณาทาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การให้ของทําบุญทําทาน.ทักษิณาทาน น. การให้ของทําบุญทําทาน.
ทักษิณานุประทาน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง การทําบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มให้แก่ผู้ตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทักษิณานุประทาน น. การทําบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มให้แก่ผู้ตาย. (ส.).
ทักษิโณทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือ นํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น, เมื่อเป็นชื่อของพระเต้า เรียกย่อว่า พระเต้าษิโณทก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทักษิโณทก น. นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือ นํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น, เมื่อเป็นชื่อของพระเต้า เรียกย่อว่า พระเต้าษิโณทก. (ส.).
ทักษิณาจาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู ทักษิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักษิณาจาร ดู ทักษิณ.
ทักษิณายัน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนูดู ทักษิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักษิณายัน ดู ทักษิณ.
ทักษิณาวรรต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่าดู ทักษิณ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ทักษิณาวรรต ดู ทักษิณ.
ทักษิโณทก เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ดู ทักษิณา เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา.ทักษิโณทก ดู ทักษิณา.
ทัคธ์ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหม้, เกรียม, แห้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ทัคธ์ ว. ไหม้, เกรียม, แห้ง. (ส.).
ทัง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Vernicia วงศ์ Euphorbiaceae คือชนิด V. fordii Airy Shaw และชนิด V. montana Lour. เมล็ดให้นํ้ามันใช้ทากันซึม.ทัง ๑ น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Vernicia วงศ์ Euphorbiaceae คือชนิด V. fordii Airy Shaw และชนิด V. montana Lour. เมล็ดให้นํ้ามันใช้ทากันซึม.
ทัง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำสันธาน หมายถึง ทั้ง.ทัง ๒ สัน. ทั้ง.
ทั่ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แท่งเหล็กสําหรับช่างใช้รองรับในการตีโลหะบางชนิด เช่นเหล็ก ทอง ให้เป็นรูปต่าง ๆ.ทั่ง น. แท่งเหล็กสําหรับช่างใช้รองรับในการตีโลหะบางชนิด เช่นเหล็ก ทอง ให้เป็นรูปต่าง ๆ.
ทั้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่ว เช่น ทั้งโลก ทั้งห้อง ทั้งตัว, รวมหมด เช่น ปลาทั้งตัว, พร้อมด้วย เช่น ต้มทั้งกระดูก นอนทั้งรองเท้า, ตลอด เช่น ทั้งคืน ทั้งวัน ทั้งเดือน ทั้งปี, ครบตามที่กําหนด เช่น โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง และโกฐจุฬาลัมพา, ชุมเห็ดทั้ง ๕ ได้แก่ ต้น ราก เปลือก ใบ และดอก ของต้นชุมเห็ด; ทั้งที่ เช่น ทําทั้งรู้ ๆ กินทั้งจืด ๆ ล้มทั้งยืน; มิหนําซํ้า เช่น ของนี้คุณภาพตํ่า ทั้งราคาก็แพง ยานี้จะทําให้ท้องผูกทั้งจะทําให้ใจสั่นอีกด้วย.ทั้ง ว. ทั่ว เช่น ทั้งโลก ทั้งห้อง ทั้งตัว, รวมหมด เช่น ปลาทั้งตัว, พร้อมด้วย เช่น ต้มทั้งกระดูก นอนทั้งรองเท้า, ตลอด เช่น ทั้งคืน ทั้งวัน ทั้งเดือน ทั้งปี, ครบตามที่กําหนด เช่น โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง และโกฐจุฬาลัมพา, ชุมเห็ดทั้ง ๕ ได้แก่ ต้น ราก เปลือก ใบ และดอก ของต้นชุมเห็ด; ทั้งที่ เช่น ทําทั้งรู้ ๆ กินทั้งจืด ๆ ล้มทั้งยืน; มิหนําซํ้า เช่น ของนี้คุณภาพตํ่า ทั้งราคาก็แพง ยานี้จะทําให้ท้องผูกทั้งจะทําให้ใจสั่นอีกด้วย.
ทั้งกลม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น; เรียกหญิงที่ตายพร้อมกับลูกที่อยู่ในท้องด้วยว่า ตายทั้งกลม คือ ตายทั้งหมด.ทั้งกลม ว. ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น; เรียกหญิงที่ตายพร้อมกับลูกที่อยู่ในท้องด้วยว่า ตายทั้งกลม คือ ตายทั้งหมด.
ทั้ง...กับ, ทั้ง...และ ทั้ง...กับ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-จุด-จุด-จุด-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ทั้ง...และ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-จุด-จุด-จุด-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำสันธาน หมายถึง รวมทั้ง ๒ อย่าง เช่น ทั้งผักกับผลไม้ล้วนน่ากิน ทั้งผักและผลไม้ล้วนน่ากิน.ทั้ง...กับ, ทั้ง...และ สัน. รวมทั้ง ๒ อย่าง เช่น ทั้งผักกับผลไม้ล้วนน่ากิน ทั้งผักและผลไม้ล้วนน่ากิน.
ทั้งขึ้นทั้งล่อง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ไม่พ้นไปได้ (มักใช้ในทํานองไม่ดี).ทั้งขึ้นทั้งล่อง (สำ) ว. มีความเกี่ยวข้องด้วยเสมอ ไม่พ้นไปได้ (มักใช้ในทํานองไม่ดี).
ทั้งคน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบท้ายคําหรือความ เพื่อเน้นให้เห็นความสําคัญของคําหรือความข้างหน้า เช่น แม่ทั้งคน.ทั้งคน ว. ใช้ประกอบท้ายคําหรือความ เพื่อเน้นให้เห็นความสําคัญของคําหรือความข้างหน้า เช่น แม่ทั้งคน.
ทั้งดุ้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งหมดโดยมิได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือตัดแบ่งเลย เช่น ลอกมาทั้งดุ้น.ทั้งดุ้น ว. ทั้งหมดโดยมิได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือตัดแบ่งเลย เช่น ลอกมาทั้งดุ้น.
ทั้ง...ทั้ง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-จุด-จุด-จุด-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด้วย เช่น ทั้งกินทั้งเล่น คือ กินด้วยเล่นด้วย ให้ทั้งข้าวทั้งเงิน คือ ให้ข้าวด้วยเงินด้วย. เป็นคำสันธาน หมายถึง และ เช่น ทั้งภูเก็ตทั้งเชียงใหม่ล้วนน่าเที่ยว.ทั้ง...ทั้ง ว. ด้วย เช่น ทั้งกินทั้งเล่น คือ กินด้วยเล่นด้วย ให้ทั้งข้าวทั้งเงิน คือ ให้ข้าวด้วยเงินด้วย. สัน. และ เช่น ทั้งภูเก็ตทั้งเชียงใหม่ล้วนน่าเที่ยว.
ทั้งที เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหน ๆ ก็ได้โอกาสแล้ว เช่น มาทั้งที.ทั้งที ว. ไหน ๆ ก็ได้โอกาสแล้ว เช่น มาทั้งที.
ทั้งที่, ทั้ง ๆ ที่ ทั้งที่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ทั้ง ๆ ที่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ในขณะที่ เช่น เขาออกจากบ้านไปทั้งที่ฝนกำลังตก เขาลาออกทั้ง ๆ ที่หน้าที่การงานกําลังเจริญก้าวหน้า.ทั้งที่, ทั้ง ๆ ที่ ว. ในขณะที่ เช่น เขาออกจากบ้านไปทั้งที่ฝนกำลังตก เขาลาออกทั้ง ๆ ที่หน้าที่การงานกําลังเจริญก้าวหน้า.
ทั้งนั้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งหมดโดยไม่ยกเว้น เช่น พระสงฆ์ทั้งนั้น ล้วนแต่สาว ๆ สวย ๆ ทั้งนั้น.ทั้งนั้น ว. ทั้งหมดโดยไม่ยกเว้น เช่น พระสงฆ์ทั้งนั้น ล้วนแต่สาว ๆ สวย ๆ ทั้งนั้น.
ทั้งนี้ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำสันธาน หมายถึง ตามที่กล่าวมานี้ เช่น ทั้งนี้กล่าวตามที่เขาบันทึกไว้หรือกล่าวตามพจนานุกรม.ทั้งนี้ สัน. ตามที่กล่าวมานี้ เช่น ทั้งนี้กล่าวตามที่เขาบันทึกไว้หรือกล่าวตามพจนานุกรม.
ทั้งนี้ทั้งนั้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอสรุปลงได้ว่า.ทั้งนี้ทั้งนั้น ว. พอสรุปลงได้ว่า.
ทั้งเนื้อทั้งตัว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งหมดเท่าที่มีติดตัวอยู่.ทั้งเนื้อทั้งตัว ว. ทั้งหมดเท่าที่มีติดตัวอยู่.
ทั้งปวง, ทั้งผอง, ทั้งเพ, ทั้งมวล, ทั้งสิ้น, ทั้งหมด ทั้งปวง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-งอ-งู ทั้งผอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ออ-อ่าง-งอ-งู ทั้งเพ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน ทั้งมวล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ลอ-ลิง ทั้งสิ้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ทั้งหมด เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดด้วยกัน.ทั้งปวง, ทั้งผอง, ทั้งเพ, ทั้งมวล, ทั้งสิ้น, ทั้งหมด ว. หมดด้วยกัน.
ทั้งหลาย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดด้วยกัน เช่น คนทั้งหลายเกิดมาแล้วต้องตาย, มีจํานวนมาก เช่น คนทั้งหลายเขาพูดกันว่า.ทั้งหลาย ว. หมดด้วยกัน เช่น คนทั้งหลายเกิดมาแล้วต้องตาย, มีจํานวนมาก เช่น คนทั้งหลายเขาพูดกันว่า.
ทั้งอย่างนั้น เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้ง ๆ ที่เป็นอยู่ในลักษณะอาการเช่นนั้น.ทั้งอย่างนั้น ว. ทั้ง ๆ ที่เป็นอยู่ในลักษณะอาการเช่นนั้น.
ทังวล, ทังวี้ทังวล ทังวล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ลอ-ลิง ทังวี้ทังวล เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กังวล, ห่วงใย, เช่น เป็นทังวี้ทังวลวุ่นวาย. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.ทังวล, ทังวี้ทังวล (กลอน) ก. กังวล, ห่วงใย, เช่น เป็นทังวี้ทังวลวุ่นวาย. (คาวี).
ทังสเตน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๗๔ สัญลักษณ์ W เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา หลอมละลายที่ ๓๔๑๐°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นไส้หลอดไฟฟ้า ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ, วุลแฟรม ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tungsten เขียนว่า ที-ยู-เอ็น-จี-เอส-ที-อี-เอ็น.ทังสเตน น. ธาตุลําดับที่ ๗๔ สัญลักษณ์ W เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา หลอมละลายที่ ๓๔๑๐°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นไส้หลอดไฟฟ้า ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ, วุลแฟรม ก็เรียก. (อ. tungsten).