ตะแก, ตะแก่ ตะแก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ตะแก่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ตัวแก เช่น ตะแก่เสียจริตผิดแล้วเหวย. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.ตะแก, ตะแก่ น. ตัวแก เช่น ตะแก่เสียจริตผิดแล้วเหวย. (สังข์ทอง).
ตะแกรง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู[–แกฺรง] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปแบน ขอบกลม มีตาห่าง สําหรับร่อนสิ่งของหรือช้อนกุ้งปลาเป็นต้น, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตะแกรงหน้าหัวรถจักร.ตะแกรง [–แกฺรง] น. ภาชนะสานรูปแบน ขอบกลม มีตาห่าง สําหรับร่อนสิ่งของหรือช้อนกุ้งปลาเป็นต้น, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตะแกรงหน้าหัวรถจักร.
ตะโก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Diospyros วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีดําคลํ้า เช่น ตะโกสวน (D. malabarica Kostel.) ผลคล้ายมะพลับ ตะโกนา (D. rhodocalyx Kurz) ผลเล็ก ผล เปลือก และเนื้อไม้ใช้ทํายาได้.ตะโก ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Diospyros วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีดําคลํ้า เช่น ตะโกสวน (D. malabarica Kostel.) ผลคล้ายมะพลับ ตะโกนา (D. rhodocalyx Kurz) ผลเล็ก ผล เปลือก และเนื้อไม้ใช้ทํายาได้.
ตะโก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสือ เช่น ทับตะโก ว่า ถิ่นของเสือ. (กะเหรี่ยง).ตะโก ๒ น. เสือ เช่น ทับตะโก ว่า ถิ่นของเสือ. (กะเหรี่ยง).
ตะโก้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าหรือแป้งเท้ายายม่อมกวนเข้ากับนํ้าตาล ใส่แห้วหรือข้าวโพดเป็นต้นก็ได้ หยอดหน้าด้วยกะทิกวนกับแป้ง.ตะโก้ ๑ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าหรือแป้งเท้ายายม่อมกวนเข้ากับนํ้าตาล ใส่แห้วหรือข้าวโพดเป็นต้นก็ได้ หยอดหน้าด้วยกะทิกวนกับแป้ง.
ตะโก้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลมทะเลพัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มักมีในปลายฤดูฝน, ลมพัดหลวง ก็เรียก.ตะโก้ ๒ น. ชื่อลมทะเลพัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มักมีในปลายฤดูฝน, ลมพัดหลวง ก็เรียก.
ตะโกก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดขนาดกลางบางชนิดและบางสกุล ในวงศ์ Cyprinidae หัวเสี้ยม ลําตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย ครีบหลังมีก้านครีบตอนหน้าแข็ง ยาวคล้ายเงี่ยง พื้นลําตัวด้านหลังและครีบสีเทาอมฟ้า ส่วนอื่นสีเงิน ที่สําคัญได้แก่ชนิดในสกุล Cyclocheilichthys เช่น ชนิด C. enoplos, C. dumerilii สกุลอื่น ๆ เช่น ชนิด Cosmochilus harmandi, Albulichthys alburoides.ตะโกก ๑ น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดกลางบางชนิดและบางสกุล ในวงศ์ Cyprinidae หัวเสี้ยม ลําตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย ครีบหลังมีก้านครีบตอนหน้าแข็ง ยาวคล้ายเงี่ยง พื้นลําตัวด้านหลังและครีบสีเทาอมฟ้า ส่วนอื่นสีเงิน ที่สําคัญได้แก่ชนิดในสกุล Cyclocheilichthys เช่น ชนิด C. enoplos, C. dumerilii สกุลอื่น ๆ เช่น ชนิด Cosmochilus harmandi, Albulichthys alburoides.
ตะโกก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก คอม หรือ ตะโหงก ก็เรียก.ตะโกก ๒ น. ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก คอม หรือ ตะโหงก ก็เรียก.
ตะโกขาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู ล้อมปรวด เขียนว่า ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก.ตะโกขาว ดู ล้อมปรวด.
ตะโกดำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.ตะโกดำ ดู กระดูกค่าง.
ตะโกน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกเสียงดังกว่าปรกติเพื่อให้ได้ยิน.ตะโกน ก. ออกเสียงดังกว่าปรกติเพื่อให้ได้ยิน.
ตะโกรง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู[–โกฺรง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทะเยอทะยาน, อยากได้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการวิ่งโทง ๆ; เต็มไปด้วยความอยาก, ตะกลาม, เช่น ลูกเมียแปรไปเป็นอื่นตื่นตะโกรง. ในวงเล็บ มาจาก สุภาษิตสอนเด็ก ในสุภาษิต ๓ อย่าง ราชบัณฑิตยสภาสอบทาน พ.ศ. ๒๔๗๒.ตะโกรง [–โกฺรง] ก. ทะเยอทะยาน, อยากได้. ว. อาการวิ่งโทง ๆ; เต็มไปด้วยความอยาก, ตะกลาม, เช่น ลูกเมียแปรไปเป็นอื่นตื่นตะโกรง. (สุ. สอนเด็ก).
ตะโกรม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[–โกฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Crassostrea วงศ์ Ostreidae ลักษณะเหมือนหอยนางรม แต่มีขนาดใหญ่ มีหลายชนิด เช่น ชนิด Crassostrea iredalei, C. belcheri, นางรมใหญ่ ก็เรียก.ตะโกรม [–โกฺรม] น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Crassostrea วงศ์ Ostreidae ลักษณะเหมือนหอยนางรม แต่มีขนาดใหญ่ มีหลายชนิด เช่น ชนิด Crassostrea iredalei, C. belcheri, นางรมใหญ่ ก็เรียก.
ตะโกส้ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้าดู กระทุ่ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.ตะโกส้ม ดู กระทุ่ม ๑.
ตะไกร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [–ไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับตัดโดยใช้หนีบ มี ๒ ขา, ลักษณนามว่า เล่ม, เขียนเป็น กรรไกร หรือ กรรไตร ก็มี.ตะไกร ๑ [–ไกฺร] น. เครื่องมือสําหรับตัดโดยใช้หนีบ มี ๒ ขา, ลักษณนามว่า เล่ม, เขียนเป็น กรรไกร หรือ กรรไตร ก็มี.
ตะไกร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [–ไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกเหยี่ยวชนิดหนึ่งว่า เหยี่ยวตะไกร. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตะไกร ๒ [–ไกฺร] น. คําเรียกเหยี่ยวชนิดหนึ่งว่า เหยี่ยวตะไกร. (พจน. ๒๔๙๓).
ตะขบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Flacourtia วงศ์ Flacourtiaceae เช่น ตะขบไทย (F. rukam Zoll. et Moritzi) ต้นมีหนาม ผลกลม สุกสีม่วงแดงหรือแดงเข้ม รสหวาน รากใช้ทํายาได้. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Muntingia calabura L. ในวงศ์ Tiliaceae ต้นไม่มีหนาม ผลกลมเล็กกว่าตะขบไทย สุกสีม่วงแดง รสหวาน, ตะขบฝรั่ง ก็เรียก.ตะขบ น. (๑) ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Flacourtia วงศ์ Flacourtiaceae เช่น ตะขบไทย (F. rukam Zoll. et Moritzi) ต้นมีหนาม ผลกลม สุกสีม่วงแดงหรือแดงเข้ม รสหวาน รากใช้ทํายาได้. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Muntingia calabura L. ในวงศ์ Tiliaceae ต้นไม่มีหนาม ผลกลมเล็กกว่าตะขบไทย สุกสีม่วงแดง รสหวาน, ตะขบฝรั่ง ก็เรียก.
ตะขบฝรั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งูดู ตะขบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้ (๒).ตะขบฝรั่ง ดู ตะขบ (๒).
ตะขอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-ออ-อ่างดู ตาขอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง ที่ ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตะขอ ดู ตาขอ ที่ ตา ๒.
ตะขาบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ที่มีลําตัวและขาเป็นปล้อง มีหลายวงศ์ หัวและลําตัวยาวแบนหรือค่อนข้างแบน มีจํานวนปล้อง ๑๕–๒๓ ปล้อง แต่ละปล้องมีขา ๑ คู่ไปจนถึงปล้องสุดท้ายหรือเกือบสุดท้าย ขามี ๕–๗ ปล้อง ทอดออกไป ด้านข้างของลําตัวทั้ง ๒ ข้าง มีเขี้ยวซึ่งเป็นขาคู่แรก บางชนิดมีนํ้าพิษ ทําให้ผู้ถูกกัดเจ็บปวด เช่น ตะขาบไฟ (Scolopendra morsitans) ในวงศ์ Scolopendridae, กระแอบ หรือ จะขาบ ก็เรียก.ตะขาบ ๑ น. ชื่อสัตว์ที่มีลําตัวและขาเป็นปล้อง มีหลายวงศ์ หัวและลําตัวยาวแบนหรือค่อนข้างแบน มีจํานวนปล้อง ๑๕–๒๓ ปล้อง แต่ละปล้องมีขา ๑ คู่ไปจนถึงปล้องสุดท้ายหรือเกือบสุดท้าย ขามี ๕–๗ ปล้อง ทอดออกไป ด้านข้างของลําตัวทั้ง ๒ ข้าง มีเขี้ยวซึ่งเป็นขาคู่แรก บางชนิดมีนํ้าพิษ ทําให้ผู้ถูกกัดเจ็บปวด เช่น ตะขาบไฟ (Scolopendra morsitans) ในวงศ์ Scolopendridae, กระแอบ หรือ จะขาบ ก็เรียก.
ตะขาบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Coraciidae ตัวป้อม หัวใหญ่ ปากใหญ่สั้นโค้ง เกาะอยู่ตามสายไฟและกิ่งไม้แห้งเพื่อคอยจ้องโฉบแมลงหรือสัตว์เล็ก ๆ ตามพื้นดิน อยู่ตามลําพัง ทํารังในโพรงไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ ตะขาบทุ่ง (Coracias benghalensis) ตัวสีนํ้าตาล หัวและปีกสีฟ้า ปากสีดํา และตะขาบดง (Eurystomus orientalis) ตัวสีนํ้าเงินเข้มหรือเขียวอมน้ำเงินโดยตลอด ปากสีแดง.ตะขาบ ๒ น. ชื่อนกในวงศ์ Coraciidae ตัวป้อม หัวใหญ่ ปากใหญ่สั้นโค้ง เกาะอยู่ตามสายไฟและกิ่งไม้แห้งเพื่อคอยจ้องโฉบแมลงหรือสัตว์เล็ก ๆ ตามพื้นดิน อยู่ตามลําพัง ทํารังในโพรงไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ ตะขาบทุ่ง (Coracias benghalensis) ตัวสีนํ้าตาล หัวและปีกสีฟ้า ปากสีดํา และตะขาบดง (Eurystomus orientalis) ตัวสีนํ้าเงินเข้มหรือเขียวอมน้ำเงินโดยตลอด ปากสีแดง.
ตะขาบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตีบอกจังหวะ; ไม้ไผ่ที่ผ่าขังปล้องแขวนไว้ตามยอดไม้สําหรับชักให้มีเสียงดังเพื่อไล่ค้างคาวเป็นต้น และที่พวกตลกลิเกละครเป็นต้นใช้ตีกันเล่น, จะขาบ ก็เรียก; ธงชนิดหนึ่งทําด้วยแผ่นผ้าเป็นชิ้น ๆ เย็บติดกันไปเป็นพืด มีไม้สอดระหว่างชิ้นทําให้มีลักษณะคล้ายตัวตะขาบ ขนาดกว้างยาวตามต้องการ มักแขวนไว้ยอดเสาหงส์ตามหน้าวัดเป็นพุทธบูชา.ตะขาบ ๓ น. เครื่องตีบอกจังหวะ; ไม้ไผ่ที่ผ่าขังปล้องแขวนไว้ตามยอดไม้สําหรับชักให้มีเสียงดังเพื่อไล่ค้างคาวเป็นต้น และที่พวกตลกลิเกละครเป็นต้นใช้ตีกันเล่น, จะขาบ ก็เรียก; ธงชนิดหนึ่งทําด้วยแผ่นผ้าเป็นชิ้น ๆ เย็บติดกันไปเป็นพืด มีไม้สอดระหว่างชิ้นทําให้มีลักษณะคล้ายตัวตะขาบ ขนาดกว้างยาวตามต้องการ มักแขวนไว้ยอดเสาหงส์ตามหน้าวัดเป็นพุทธบูชา.
ตะขิดตะขวง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ทําโดยไม่สนิทใจหรือไม่สะดวกใจเพราะกระดากอายเป็นต้น.ตะขิดตะขวง ก. อาการที่ทําโดยไม่สนิทใจหรือไม่สะดวกใจเพราะกระดากอายเป็นต้น.
ตะเข้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง จระเข้.ตะเข้ ๑ (ปาก) น. จระเข้.
ตะเข้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้จากกลางจั่วบ้านตรงมายังชายคา พาดเป็นมุม ๔ มุม มีเฉพาะบ้านทรงปั้นหยาหรือทรงมนิลา; ไม้ยึดเสาเรือนหรือเสาเขื่อน.ตะเข้ ๒ น. ตัวไม้จากกลางจั่วบ้านตรงมายังชายคา พาดเป็นมุม ๔ มุม มีเฉพาะบ้านทรงปั้นหยาหรือทรงมนิลา; ไม้ยึดเสาเรือนหรือเสาเขื่อน.
ตะเข้ขบฟัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกข้อไม้ตะพดที่ซ้อนกันและมีตาขบกัน.ตะเข้ขบฟัน น. เรียกข้อไม้ตะพดที่ซ้อนกันและมีตาขบกัน.
ตะเข็บ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์พวกเดียวกับตะขาบ แต่เรียกแยกโดยถือเอาพวกที่มีขนาดเล็ก เช่น ยาวตํ่ากว่า ๕–๖ เซนติเมตรลงไป ลําตัวเล็ก มีจำนวนปล้อง ๓๑–๑๗๓ ปล้อง แต่ละปล้องมีขา ๑ คู่ และขายาวกว่าปล้องลําตัวมาก ที่แพร่หลาย เช่น สกุล Geophilus ในวงศ์ Geophilidae, จะเข็บ หรือ ขี้เข็บ ก็เรียก.ตะเข็บ ๑ น. ชื่อสัตว์พวกเดียวกับตะขาบ แต่เรียกแยกโดยถือเอาพวกที่มีขนาดเล็ก เช่น ยาวตํ่ากว่า ๕–๖ เซนติเมตรลงไป ลําตัวเล็ก มีจำนวนปล้อง ๓๑–๑๗๓ ปล้อง แต่ละปล้องมีขา ๑ คู่ และขายาวกว่าปล้องลําตัวมาก ที่แพร่หลาย เช่น สกุล Geophilus ในวงศ์ Geophilidae, จะเข็บ หรือ ขี้เข็บ ก็เรียก.
ตะเข็บ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งทะเลขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Metapenaeus วงศ์ Penaeidae ตัวแบน.ตะเข็บ ๒ น. ชื่อกุ้งทะเลขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Metapenaeus วงศ์ Penaeidae ตัวแบน.
ตะเข็บ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Pothos scandens L. ในวงศ์ Araceae เกาะติดกับต้นไม้ใหญ่, หวายตะมอย ก็เรียก.ตะเข็บ ๓ น. ชื่อไม้เถาชนิด Pothos scandens L. ในวงศ์ Araceae เกาะติดกับต้นไม้ใหญ่, หวายตะมอย ก็เรียก.
ตะเข็บ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แนวผ้าหรือสิ่งอื่นตอนที่เย็บติดกัน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตะเข็บรอยต่อจังหวัด.ตะเข็บ ๔ น. แนวผ้าหรือสิ่งอื่นตอนที่เย็บติดกัน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตะเข็บรอยต่อจังหวัด.
ตะเข็บไต่ขอน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.ตะเข็บไต่ขอน น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
ตะเขิง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก เงาะป่า พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับโรงพิมพ์อักษรบริการ พ.ศ. ๒๕๑๑.ตะเขิง น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (เงาะป่า).
ตะโขง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจระเข้ชนิด Tomistoma schlegelii ในวงศ์ Crocodylidae มีขนาดใหญ่มาก ขนาดยาวได้ถึง ๔.๕ เมตร ตัวสีนํ้าตาลแดงมีลายสีนํ้าตาลเข้ม ปากเรียวยาวคล้ายปากปลาเข็ม หางแบนใหญ่ใช้ว่ายนํ้า อาศัยตามป่าเลนชายนํ้ากร่อย ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้น, จระเข้ปากกระทุงเหว ก็เรียก.ตะโขง น. ชื่อจระเข้ชนิด Tomistoma schlegelii ในวงศ์ Crocodylidae มีขนาดใหญ่มาก ขนาดยาวได้ถึง ๔.๕ เมตร ตัวสีนํ้าตาลแดงมีลายสีนํ้าตาลเข้ม ปากเรียวยาวคล้ายปากปลาเข็ม หางแบนใหญ่ใช้ว่ายนํ้า อาศัยตามป่าเลนชายนํ้ากร่อย ในประเทศไทยพบเฉพาะทางภาคใต้เท่านั้น, จระเข้ปากกระทุงเหว ก็เรียก.
ตะคร้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Schleichera oleosa (Lour.) Oken ในวงศ์ Sapindaceae ผลรสเปรี้ยวอมหวาน, สะคร้อ ก็เรียก.ตะคร้อ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Schleichera oleosa (Lour.) Oken ในวงศ์ Sapindaceae ผลรสเปรี้ยวอมหวาน, สะคร้อ ก็เรียก.
ตะครอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู[–คฺรอง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Ziziphus cambodiana Pierre ในวงศ์ Rhamnaceae กิ่งมีหนาม ผลกลม รสฝาด.ตะครอง [–คฺรอง] น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Ziziphus cambodiana Pierre ในวงศ์ Rhamnaceae กิ่งมีหนาม ผลกลม รสฝาด.
ตะครั่นตะครอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการครั่นเนื้อครั่นตัวสะบัดร้อนสะบัดหนาวเวลาเริ่มจะเป็นไข้หรือคล้ายจะเป็นไข้.ตะครั่นตะครอ ว. อาการครั่นเนื้อครั่นตัวสะบัดร้อนสะบัดหนาวเวลาเริ่มจะเป็นไข้หรือคล้ายจะเป็นไข้.
ตะคร้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Garuga pinnata Roxb. ในวงศ์ Burseraceae ดอกออกเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง ผลเล็ก เป็นร่องตามยาว.ตะคร้ำ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Garuga pinnata Roxb. ในวงศ์ Burseraceae ดอกออกเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง ผลเล็ก เป็นร่องตามยาว.
ตะคริว, ตะคิว ตะคริว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ตะคิว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง อาการหดตัวของกล้ามเนื้อและค้างอยู่ ทําให้เกิดการเจ็บปวด.ตะคริว, ตะคิว น. อาการหดตัวของกล้ามเนื้อและค้างอยู่ ทําให้เกิดการเจ็บปวด.
ตะครุบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือตะปบลงจับโดยเร็ว.ตะครุบ ก. เอามือตะปบลงจับโดยเร็ว.
ตะครุบกบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง หกล้มเอามือเท้าพื้น.ตะครุบกบ ก. หกล้มเอามือเท้าพื้น.
ตะคลับตะคล้าย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง คลับคล้าย. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมบทละครดึกดำบรรพ์ ฉบับหลวง พ.ศ. ๒๔๖๗.ตะคลับตะคล้าย ก. คลับคล้าย. (ดึกดําบรรพ์).
ตะคอก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตวาด, ขู่เสียงดัง.ตะคอก ก. ตวาด, ขู่เสียงดัง.
ตะคัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สําหรับวางเทียนอบ หรือเผากํายานเมื่อเวลาอบนํ้าทํานํ้าอบไทยเป็นต้น หรือใช้ใส่นํ้ามันตามไฟต่างตะเกียง.(รูปภาพ ตะคัน).ตะคัน น. เครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สําหรับวางเทียนอบ หรือเผากํายานเมื่อเวลาอบนํ้าทํานํ้าอบไทยเป็นต้น หรือใช้ใส่นํ้ามันตามไฟต่างตะเกียง.(รูปภาพ ตะคัน).
ตะค้า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหวายชนิด Calamus tigrinus Kurz ในวงศ์ Palmae ผิวเป็นมัน เนื้อเหนียว ใช้ผูกสิ่งของ.ตะค้า น. ชื่อหวายชนิด Calamus tigrinus Kurz ในวงศ์ Palmae ผิวเป็นมัน เนื้อเหนียว ใช้ผูกสิ่งของ.
ตะค้าทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหวายชนิด Calamus caesius Blume ในวงศ์ Palmae ผิวเป็นมัน ใช้จักสานทําภาชนะและเครื่องเรือนชั้นดี.ตะค้าทอง น. ชื่อหวายชนิด Calamus caesius Blume ในวงศ์ Palmae ผิวเป็นมัน ใช้จักสานทําภาชนะและเครื่องเรือนชั้นดี.
ตะคาก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง แง่กระดูกเชิงกรานที่อยู่ใต้บั้นเอว, หัวตะคาก ก็เรียก.ตะคาก น. แง่กระดูกเชิงกรานที่อยู่ใต้บั้นเอว, หัวตะคาก ก็เรียก.
ตะคาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ระคาง ก็ว่า.ตะคาง น. เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ระคาง ก็ว่า.
ตะค้าน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู สะค้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ตะค้าน ดู สะค้าน.
ตะคุ่ม, ตะคุ่ม ๆ ตะคุ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ตะคุ่ม ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เห็นเป็นเงาดํา ๆ เพราะอยู่ในที่หรือในระยะที่เห็นไม่ถนัด.ตะคุ่ม, ตะคุ่ม ๆ ว. ที่เห็นเป็นเงาดํา ๆ เพราะอยู่ในที่หรือในระยะที่เห็นไม่ถนัด.
ตะเครียว, ตะเคียว ตะเครียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ตะเคียว ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน [–เคฺรียว] เป็นคำนาม หมายถึง ถุงที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูด.ตะเครียว, ตะเคียว ๑ [–เคฺรียว] น. ถุงที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นตาโปร่งมีหูรูด.
ตะเคียน, ตะเคียนทอง ตะเคียน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ตะเคียนทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Hopea odorata Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้แข็ง ใช้เลื่อยเป็นกระดาน และขุดทําเรือ.ตะเคียน, ตะเคียนทอง น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Hopea odorata Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้แข็ง ใช้เลื่อยเป็นกระดาน และขุดทําเรือ.
ตะเคียนเผือก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Homalium grandiflorum Benth. var. grandiflorum ในวงศ์ Flacourtiaceae มักขึ้นริมนํ้าและที่ชุ่มชื้น ดอกคล้ายดอกพิกุล, ไก๊ หรือ พิกุลป่า ก็เรียก.ตะเคียนเผือก น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Homalium grandiflorum Benth. var. grandiflorum ในวงศ์ Flacourtiaceae มักขึ้นริมนํ้าและที่ชุ่มชื้น ดอกคล้ายดอกพิกุล, ไก๊ หรือ พิกุลป่า ก็เรียก.
ตะเคียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่ลูกบาศก์หรือลูกเต๋าเป็นต้นพิงตะแคงไม่ลงหน้าเรียบ.ตะเคียว ๒ น. อาการที่ลูกบาศก์หรือลูกเต๋าเป็นต้นพิงตะแคงไม่ลงหน้าเรียบ.
ตะแคง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาข้างลง เช่น นอนตะแคง, หันข้างเข้า เช่น ตะแคงตัวเข้าไป.ตะแคง ก. เอาข้างลง เช่น นอนตะแคง, หันข้างเข้า เช่น ตะแคงตัวเข้าไป.
ตะไคร่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก[–ไคฺร่] เป็นคำนาม หมายถึง พืชสีเขียวที่เกิดติดอยู่ตามต้นไม้ บางทีก็เกิดในนํ้าและตามพื้นดินหรือกําแพงที่ชุ่มชื้น.ตะไคร่ [–ไคฺร่] น. พืชสีเขียวที่เกิดติดอยู่ตามต้นไม้ บางทีก็เกิดในนํ้าและตามพื้นดินหรือกําแพงที่ชุ่มชื้น.
ตะไคร้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท[–ไคฺร้] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ในวงศ์ Gramineae ขึ้นเป็นกอ กลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหารได้.ตะไคร้ [–ไคฺร้] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ในวงศ์ Gramineae ขึ้นเป็นกอ กลิ่นหอม ใช้ปรุงอาหารได้.
ตะไคร้แดง, ตะไคร้หอม ตะไคร้แดง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ตะไคร้หอม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cymbopogon nardus (L.) Rendle ในวงศ์ Gramineae ต้นใหญ่กว่าตะไคร้ กาบและขอบใบสีแดง กลิ่นหอม.ตะไคร้แดง, ตะไคร้หอม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cymbopogon nardus (L.) Rendle ในวงศ์ Gramineae ต้นใหญ่กว่าตะไคร้ กาบและขอบใบสีแดง กลิ่นหอม.
ตะไคร้น้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Homonoia riparia Lour. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบเรียวเล็ก มักขึ้นตามซอกหินในลําธารและริมนํ้า.ตะไคร้น้ำ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Homonoia riparia Lour. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบเรียวเล็ก มักขึ้นตามซอกหินในลําธารและริมนํ้า.
ตะไคร้บก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ดู สนุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.ตะไคร้บก ดู สนุ่น ๑.
ตะไคร้หางนาค เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Rotula aquatica Lour. ในวงศ์ Ehretiaceae ขึ้นเป็นกอตามซอกหินริมลําธาร กิ่งเรียวกลมเหนียวมาก.ตะไคร้หางนาค น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Rotula aquatica Lour. ในวงศ์ Ehretiaceae ขึ้นเป็นกอตามซอกหินริมลําธาร กิ่งเรียวกลมเหนียวมาก.
ตะเฆ่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ระ-คัง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องลากเข็นของหนัก รูปเตี้ย ๆ มีล้อ.ตะเฆ่ น. เครื่องลากเข็นของหนัก รูปเตี้ย ๆ มีล้อ.
ตะแง้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าว ว่า ตะแง้หมาก ตะแง้ข้าว, ระแง้ ก็เรียก.ตะแง้ น. เรียกแขนงของทะลายหมากหรือแขนงของรวงข้าว ว่า ตะแง้หมาก ตะแง้ข้าว, ระแง้ ก็เรียก.
ตะติน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เตาะแตะ, ต้อย ๆ, บอกอาการเดิน เช่น แล่นตะตินยงงท่า. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ตะติน (กลอน) ว. เตาะแตะ, ต้อย ๆ, บอกอาการเดิน เช่น แล่นตะตินยงงท่า. (ม. คำหลวง ชูชก).
ตะนอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมดหลายสกุลในวงศ์ Formicidae เช่น สกุล Diacamma, Leptogenys, Lobopelta ทุกชนิดมีอวัยวะสําหรับต่อยปล่อยนํ้าพิษทําให้เจ็บปวดได้ ที่พบทั่วไป คือ ชนิด D. rugosum ซึ่งมีลําตัวยาว ๑–๑.๒ เซนติเมตร สีดํา ทํารังอยู่เป็นฝูงตามกอหญ้า ใต้ก้อนหิน หรือใต้ดินที่ชื้นต่าง ๆ.ตะนอย น. ชื่อมดหลายสกุลในวงศ์ Formicidae เช่น สกุล Diacamma, Leptogenys, Lobopelta ทุกชนิดมีอวัยวะสําหรับต่อยปล่อยนํ้าพิษทําให้เจ็บปวดได้ ที่พบทั่วไป คือ ชนิด D. rugosum ซึ่งมีลําตัวยาว ๑–๑.๒ เซนติเมตร สีดํา ทํารังอยู่เป็นฝูงตามกอหญ้า ใต้ก้อนหิน หรือใต้ดินที่ชื้นต่าง ๆ.
ตะนาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระแจะเครื่องหอมชนิดหนึ่ง.ตะนาว ๑ น. ชื่อกระแจะเครื่องหอมชนิดหนึ่ง.
ตะนาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ตะนาว เช่น ตะนาวแปลง.ตะนาว ๒ น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ตะนาว เช่น ตะนาวแปลง.
ตะบม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น เที่ยวตะบม.ตะบม ว. รํ่าไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น เที่ยวตะบม.
ตะบอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับถือ ใช้ตี โดยมากมีรูปกลม, ที่มีขนาดยาวประมาณ ๔ ศอก เรียกว่า ตะบองยาว ที่มีขนาดยาวประมาณ ๑ ศอก เรียกว่า ตะบองสั้น, กระบอง หรือ ตระบอง ก็ว่า.ตะบอง น. ไม้สําหรับถือ ใช้ตี โดยมากมีรูปกลม, ที่มีขนาดยาวประมาณ ๔ ศอก เรียกว่า ตะบองยาว ที่มีขนาดยาวประมาณ ๑ ศอก เรียกว่า ตะบองสั้น, กระบอง หรือ ตระบอง ก็ว่า.
ตะบองแดง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตะบองอาญาสิทธิ์ สำหรับถือไปเก็บสมุนไพรเพื่อทํายาของหลวง.ตะบองแดง (โบ) น. ตะบองอาญาสิทธิ์ สำหรับถือไปเก็บสมุนไพรเพื่อทํายาของหลวง.
ตะบองกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงกลองชนิดหนึ่ง, กระบองกัน ก็ว่า.ตะบองกัน น. ชื่อเพลงกลองชนิดหนึ่ง, กระบองกัน ก็ว่า.
ตะบองเพชร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ใบตาลที่ขมวดปลายลงอักขระ สำหรับใช้ในพิธีตรุษและโกนจุก, กระบองเพชร ก็เรียก.ตะบองเพชร ๑ น. ใบตาลที่ขมวดปลายลงอักขระ สำหรับใช้ในพิธีตรุษและโกนจุก, กระบองเพชร ก็เรียก.
ตะบองเพชร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ ความหมายที่ ดู กระบองเพชร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.ตะบองเพชร ๒ ดู กระบองเพชร ๒.
ตะบอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทําอย่างชักช้ารํ่าไร.ตะบอย ว. อาการที่ทําอย่างชักช้ารํ่าไร.
ตะบัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตําหมากของคนแก่ มีรูปคล้ายกระบอก โดยมากทําด้วยทองเหลือง มีลูกตะบันสําหรับตํา และมีดากอุดก้น. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ตฺบาล่ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก. เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ่มหรือแทงกดลงไป, กระทุ้ง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ดึงดัน เช่น ตะบันเถียง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน. ในวงเล็บ รูปภาพ ตะบัน.ตะบัน ๑ น. เครื่องตําหมากของคนแก่ มีรูปคล้ายกระบอก โดยมากทําด้วยทองเหลือง มีลูกตะบันสําหรับตํา และมีดากอุดก้น. (เทียบ ข. ตฺบาล่). ก. ทิ่มหรือแทงกดลงไป, กระทุ้ง; (ปาก) ดึงดัน เช่น ตะบันเถียง. ว. คําประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน. (รูปภาพ ตะบัน).
ตะบันน้ำกิน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แก่มากจนเคี้ยวของกินไม่ไหว.ตะบันน้ำกิน (สำ) ว. แก่มากจนเคี้ยวของกินไม่ไหว.
ตะบันไฟ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายตะบัน ทําด้วยเขาควายเป็นต้น มีลูกตะบันสําหรับตบลงไปในกระบอกโดยเร็วเพื่อให้เกิดไฟติดเชื้อที่ปลายลูกตะบันนั้น. ในวงเล็บ รูปภาพ ตะบันไฟ.ตะบันไฟ น. ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายตะบัน ทําด้วยเขาควายเป็นต้น มีลูกตะบันสําหรับตบลงไปในกระบอกโดยเร็วเพื่อให้เกิดไฟติดเชื้อที่ปลายลูกตะบันนั้น. (รูปภาพ ตะบันไฟ).
ตะบัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Xylocarpus rumphii (Kostel.) Mabb. ในวงศ์ Meliaceae ขึ้นตามโขดหินชายทะเล.ตะบัน ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Xylocarpus rumphii (Kostel.) Mabb. ในวงศ์ Meliaceae ขึ้นตามโขดหินชายทะเล.
ตะบิ้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง นาที่เป็นกระทงเล็ก ๆ, กระบิ้ง ก็เรียก.ตะบิ้ง น. นาที่เป็นกระทงเล็ก ๆ, กระบิ้ง ก็เรียก.
ตะบิด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง บิด เช่น โพกผ้าพันตะบิดถือกริชกราย. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ตะบิด ก. บิด เช่น โพกผ้าพันตะบิดถือกริชกราย. (อิเหนา).
ตะบิดตะบอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แกล้งให้ชักช้า, ชักช้ารํ่าไร.ตะบิดตะบอย ว. แกล้งให้ชักช้า, ชักช้ารํ่าไร.
ตะบี้ตะบัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซํ้า ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, ไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน.ตะบี้ตะบัน (ปาก) ว. ซํ้า ๆ ซาก ๆ, ไม่รู้จักจบจักสิ้น, ไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เถียงตะบี้ตะบัน.
ตะบึง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รีบเร่งไปไม่หยุดหย่อน เช่น ควบม้าตะบึงไป.ตะบึง ว. รีบเร่งไปไม่หยุดหย่อน เช่น ควบม้าตะบึงไป.
ตะบุ้ย, ตะบุ้ย ๆ ตะบุ้ย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก ตะบุ้ย ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่บอกส่ง ๆ ไปหรือทําให้พ้น ๆ ไป.ตะบุ้ย, ตะบุ้ย ๆ (ปาก) ว. อาการที่บอกส่ง ๆ ไปหรือทําให้พ้น ๆ ไป.
ตะบูน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Xylocarpus วงศ์ Meliaceae ขึ้นตามป่าชายเลนและริมแม่นํ้าที่นํ้าเค็มขึ้นถึง มี ๒ ชนิด คือ ตะบูนขาว หรือ กระบูน (X. granatum Koenig) เปลือกสีนํ้าตาลแกมแดง ผลขนาดส้มโอ และ ตะบูนดํา [X. moluccensis (Lam.) M. Roem.] เปลือกสีนํ้าตาลแกมดํา ผลขนาดส้มเกลี้ยง.ตะบูน น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Xylocarpus วงศ์ Meliaceae ขึ้นตามป่าชายเลนและริมแม่นํ้าที่นํ้าเค็มขึ้นถึง มี ๒ ชนิด คือ ตะบูนขาว หรือ กระบูน (X. granatum Koenig) เปลือกสีนํ้าตาลแกมแดง ผลขนาดส้มโอ และ ตะบูนดํา [X. moluccensis (Lam.) M. Roem.] เปลือกสีนํ้าตาลแกมดํา ผลขนาดส้มเกลี้ยง.
ตะเบ็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เบ่งเสียงออกให้ดังเกินสมควร.ตะเบ็ง ก. เบ่งเสียงออกให้ดังเกินสมควร.
ตะเบ็งมาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วิธีห่มผ้าแถบแบบหนึ่ง โดยคาดผ้าอ้อมตัวแล้วเอาชายทั้ง ๒ ไขว้ไปผูกที่ต้นคอ, ตะแบงมาน ก็ว่า.ตะเบ็งมาน ว. วิธีห่มผ้าแถบแบบหนึ่ง โดยคาดผ้าอ้อมตัวแล้วเอาชายทั้ง ๒ ไขว้ไปผูกที่ต้นคอ, ตะแบงมาน ก็ว่า.
ตะเบ๊ะ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ทำความเคารพอย่างคนในเครื่องแบบ คือ ทำวันทยหัตถ์.ตะเบ๊ะ (ปาก) ก. ทำความเคารพอย่างคนในเครื่องแบบ คือ ทำวันทยหัตถ์.
ตะแบก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Lagerstroemia วงศ์ Lythraceae ผิวเปลือกเรียบล่อนเป็นสะเก็ด ดอกสีม่วง เช่น ตะแบกนา (L. floribunda Jack).ตะแบก น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Lagerstroemia วงศ์ Lythraceae ผิวเปลือกเรียบล่อนเป็นสะเก็ด ดอกสีม่วง เช่น ตะแบกนา (L. floribunda Jack).
ตะแบง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดหรือเถียงเฉไฉหรือดันไปข้าง ๆ คู ๆ.ตะแบง ๑ ว. อาการที่พูดหรือเถียงเฉไฉหรือดันไปข้าง ๆ คู ๆ.
ตะแบงมาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วิธีห่มผ้าแถบแบบหนึ่ง โดยคาดผ้าอ้อมตัวแล้วเอาชายทั้ง ๒ ไขว้ไปผูกที่ต้นคอ, ตะเบ็งมาน ก็ว่า.ตะแบงมาน ว. วิธีห่มผ้าแถบแบบหนึ่ง โดยคาดผ้าอ้อมตัวแล้วเอาชายทั้ง ๒ ไขว้ไปผูกที่ต้นคอ, ตะเบ็งมาน ก็ว่า.
ตะแบง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ ดู กราด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๔.ตะแบง ๒ ดู กราด ๔.
ตะโบม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เล้าโลม, โอบกอด.ตะโบม ก. เล้าโลม, โอบกอด.
ตะไบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กเครื่องมือใช้ถูไม้หรือโลหะอื่น ๆ ให้เกลี้ยงเกลาเป็นต้น มีหลายชนิด เช่น ตะไบท้องปลิง ตะไบหางหนู. เป็นคำกริยา หมายถึง ถูด้วยตะไบ เช่น ตะไบเล็บ.ตะไบ น. เหล็กเครื่องมือใช้ถูไม้หรือโลหะอื่น ๆ ให้เกลี้ยงเกลาเป็นต้น มีหลายชนิด เช่น ตะไบท้องปลิง ตะไบหางหนู. ก. ถูด้วยตะไบ เช่น ตะไบเล็บ.
ตะไบเล็บ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์แต่งเล็บมักทำด้วยโลหะ มีลักษณะแบนยาว ที่ผิวหน้าทั้ง ๒ ด้านบั้งเป็นรอยหยาบ ๆ สำหรับถูเล็บ.ตะไบเล็บ น. อุปกรณ์แต่งเล็บมักทำด้วยโลหะ มีลักษณะแบนยาว ที่ผิวหน้าทั้ง ๒ ด้านบั้งเป็นรอยหยาบ ๆ สำหรับถูเล็บ.
ตะปบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ตบด้วยอุ้งมือหรืออุ้งเท้าหน้า เช่น เสือตะปบ, ปบ ก็ว่า.ตะปบ ก. ตบด้วยอุ้งมือหรืออุ้งเท้าหน้า เช่น เสือตะปบ, ปบ ก็ว่า.
ตะปลิง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กที่ทำเป็นหมุดแหลมโค้งสำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท เช่น ตะปูตะปลิงยิงตรึงกระชับชิด. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร, เขี้ยวตะขาบ ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก.ตะปลิง น. เหล็กที่ทำเป็นหมุดแหลมโค้งสำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท เช่น ตะปูตะปลิงยิงตรึงกระชับชิด. (ม. ร่ายยาว กุมาร), เขี้ยวตะขาบ ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก.
ตะปัดตะป่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะบัดสะบิ้ง, แสนงอน, กระตุ้งกระติ้ง, ตุปัดตุป่อง ก็ใช้.ตะปัดตะป่อง ว. สะบัดสะบิ้ง, แสนงอน, กระตุ้งกระติ้ง, ตุปัดตุป่อง ก็ใช้.
ตะปิ้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทําด้วยเงิน ทอง หรือนาก เป็นต้น, กระจับปิ้ง จะปิ้ง จับปิ้ง หรือ ตับปิ้ง ก็เรียก.ตะปิ้ง น. เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทําด้วยเงิน ทอง หรือนาก เป็นต้น, กระจับปิ้ง จะปิ้ง จับปิ้ง หรือ ตับปิ้ง ก็เรียก.
ตะปุ่มตะป่ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นูนขึ้นเป็นปม ๆ, เป็นปุ่มเป็นปมขรุขระอย่างผิวมะกรูด, ปุ่มป่ำ ก็ว่า.ตะปุ่มตะป่ำ ว. นูนขึ้นเป็นปม ๆ, เป็นปุ่มเป็นปมขรุขระอย่างผิวมะกรูด, ปุ่มป่ำ ก็ว่า.
ตะปู เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งทําด้วยโลหะ มีปลายแหลม หัวมนแบน ขนาดต่าง ๆ กัน สําหรับตรึงสิ่งอื่นให้แน่น โดยใช้ค้อนเป็นต้นตอกลงไป, ตาปู ก็เรียก.ตะปู น. สิ่งทําด้วยโลหะ มีปลายแหลม หัวมนแบน ขนาดต่าง ๆ กัน สําหรับตรึงสิ่งอื่นให้แน่น โดยใช้ค้อนเป็นต้นตอกลงไป, ตาปู ก็เรียก.
ตะปูเข็ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ตะปูที่มีขนาดเล็กมาก.ตะปูเข็ม น. ตะปูที่มีขนาดเล็กมาก.
ตะปูควง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตะปูที่มีเกลียว หัวเป็นร่องหรือเป็น ๔ แฉก ใช้ไขควงไข.ตะปูควง น. ตะปูที่มีเกลียว หัวเป็นร่องหรือเป็น ๔ แฉก ใช้ไขควงไข.
ตะปูหัวเห็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตะปูที่มีหัวบานเหมือนดอกเห็ด สําหรับตอกสังกะสีเป็นต้น.ตะปูหัวเห็ด น. ตะปูที่มีหัวบานเหมือนดอกเห็ด สําหรับตอกสังกะสีเป็นต้น.
ตะพง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตะโพง เช่น แล้วตะพงพายรีบกลับไป. ในวงเล็บ มาจาก นิราศเมืองเทศ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๒.ตะพง (แบบ) ว. ตะโพง เช่น แล้วตะพงพายรีบกลับไป. (นิ. เมืองเทศ).
ตะพด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ถืออย่างหนึ่งทําด้วยไม้รวกเป็นต้น ยาวประมาณ ๑ เมตร.ตะพด น. ไม้ถืออย่างหนึ่งทําด้วยไม้รวกเป็นต้น ยาวประมาณ ๑ เมตร.
ตะพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, กระพอง กะพอง หรือ ตระพอง ก็ว่า.ตะพอง น. ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, กระพอง กะพอง หรือ ตระพอง ก็ว่า.
ตะพัก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ราบใต้น้ำข้างตลิ่ง มีลักษณะเป็นขั้น ๆ แคบ ๆ ลดต่ำลง เกิดจากแผ่นดินสูงขึ้นหรือต่ำลงเป็นครั้งคราว หรือเกิดจากถูกคลื่นเซาะ อาจสูงหลายเมตรก็ได้; ตะกอนที่ทับถมในทะเลเป็นรูปขั้นบันได, ผาชันในทะเลที่ถูกคลื่นกัดเซาะขยายตัวออกไปจนเป็นลาน ซึ่งเรียกว่า ลานตะพักคลื่นเซาะ; โขดหินหรือไหล่เขาที่เป็นขั้น ๆ พอพักได้, ใช้ว่า กระพัก ก็มี, เช่น บ้างก็เป็นกระพักกระเพิงกระพังพุ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร.ตะพัก น. ที่ราบใต้น้ำข้างตลิ่ง มีลักษณะเป็นขั้น ๆ แคบ ๆ ลดต่ำลง เกิดจากแผ่นดินสูงขึ้นหรือต่ำลงเป็นครั้งคราว หรือเกิดจากถูกคลื่นเซาะ อาจสูงหลายเมตรก็ได้; ตะกอนที่ทับถมในทะเลเป็นรูปขั้นบันได, ผาชันในทะเลที่ถูกคลื่นกัดเซาะขยายตัวออกไปจนเป็นลาน ซึ่งเรียกว่า ลานตะพักคลื่นเซาะ; โขดหินหรือไหล่เขาที่เป็นขั้น ๆ พอพักได้, ใช้ว่า กระพัก ก็มี, เช่น บ้างก็เป็นกระพักกระเพิงกระพังพุ. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
ตะพัง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แอ่ง, บ่อ, หนอง, กระพัง ตระพัง หรือ สะพัง ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ตฺรพำง เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อำ-งอ-งู ว่า บ่อที่เกิดเอง .ตะพัง น. แอ่ง, บ่อ, หนอง, กระพัง ตระพัง หรือ สะพัง ก็เรียก. (เทียบ ข. ตฺรพำง ว่า บ่อที่เกิดเอง).
ตะพัด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล, สะพัด ก็ว่า.ตะพัด ๑ ว. อาการที่เคลื่อนไหวเรื่อยไปอย่างรวดเร็วดุจกระแสนํ้าไหล, สะพัด ก็ว่า.
ตะพัด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Scleropages formosus ในวงศ์ Osteoglossidae หรือชนิดอื่นในสกุลเดียวกันที่พบในประเทศข้างเคียง เป็นปลาโบราณที่ยังมีพืชพันธุ์สืบมาจนถึงปัจจุบัน ลําตัวยาว แบนข้างตลอด แนวด้านข้างของสันหลังตรงโดยตลอด แนวสันท้องโค้ง ปากเชิดขึ้น ครีบหลังและครีบก้นอยู่ใกล้ครีบหางมาก ขอบหางกลม เกล็ดใหญ่ เส้นข้างตัวอยู่ใกล้แนวสันท้อง พื้นลําตัวเป็นสีเงินอมเทาหรือสีฟ้า พบเฉพาะบริเวณแหล่งนํ้าเขตภูเขาในจังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง รวมทั้งบางจังหวัดในเขตภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี ขนาดยาวได้ถึง ๙๐ เซนติเมตร.ตะพัด ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Scleropages formosus ในวงศ์ Osteoglossidae หรือชนิดอื่นในสกุลเดียวกันที่พบในประเทศข้างเคียง เป็นปลาโบราณที่ยังมีพืชพันธุ์สืบมาจนถึงปัจจุบัน ลําตัวยาว แบนข้างตลอด แนวด้านข้างของสันหลังตรงโดยตลอด แนวสันท้องโค้ง ปากเชิดขึ้น ครีบหลังและครีบก้นอยู่ใกล้ครีบหางมาก ขอบหางกลม เกล็ดใหญ่ เส้นข้างตัวอยู่ใกล้แนวสันท้อง พื้นลําตัวเป็นสีเงินอมเทาหรือสีฟ้า พบเฉพาะบริเวณแหล่งนํ้าเขตภูเขาในจังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง รวมทั้งบางจังหวัดในเขตภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี ขนาดยาวได้ถึง ๙๐ เซนติเมตร.
ตะพั้น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มักเกิดแก่เด็กอ่อนหรือเด็กเล็ก ๆ มีอาการชัก มือเท้ากํา ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า มักเกิดเพราะผิดอากาศเป็นต้น, สะพั้น ก็ว่า.ตะพั้น น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มักเกิดแก่เด็กอ่อนหรือเด็กเล็ก ๆ มีอาการชัก มือเท้ากํา ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า มักเกิดเพราะผิดอากาศเป็นต้น, สะพั้น ก็ว่า.
ตะพาก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาตะเพียนขนาดกลางชนิด Puntius daruphani ในวงศ์ Cyprinidae เกล็ดใหญ่สีเหลือง พบตามแม่นํ้าสายใหญ่ ๆ, กระพาก ก็เรียก.ตะพาก น. ชื่อปลาตะเพียนขนาดกลางชนิด Puntius daruphani ในวงศ์ Cyprinidae เกล็ดใหญ่สีเหลือง พบตามแม่นํ้าสายใหญ่ ๆ, กระพาก ก็เรียก.
ตะพาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างที่ทําสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น บางทีทํายื่นลงไปในนํ้าสําหรับขึ้นลง, โดยปริยายหมายความว่า สื่อเชื่อมโยง, สะพาน ก็ว่า.ตะพาน น. สิ่งปลูกสร้างที่ทําสําหรับข้ามแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น บางทีทํายื่นลงไปในนํ้าสําหรับขึ้นลง, โดยปริยายหมายความว่า สื่อเชื่อมโยง, สะพาน ก็ว่า.
ตะพานช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานที่ทําแข็งแรงสําหรับให้ช้างข้ามในสมัยโบราณ.ตะพานช้าง น. สะพานที่ทําแข็งแรงสําหรับให้ช้างข้ามในสมัยโบราณ.
ตะพานหนู เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง สะพานหนู.ตะพานหนู น. สะพานหนู.
ตะพาบ, ตะพาบน้ำ ตะพาบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ตะพาบน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเต่านํ้าจืดกระดองอ่อนหลายสกุลในวงศ์ Trionychidae กระดองอ่อนนิ่มมีเชิงแผ่กว้าง ตีนเป็นแผ่นแบนคล้ายพาย หลายชนิดมีจมูกยื่นยาว ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น ตะพาบ (Amyda cartilageneus) ม่านลาย (Chitra chitra), กริว กราว จราว จมูกหลอด หรือ ปลาฝา ก็เรียก.ตะพาบ, ตะพาบน้ำ น. ชื่อเต่านํ้าจืดกระดองอ่อนหลายสกุลในวงศ์ Trionychidae กระดองอ่อนนิ่มมีเชิงแผ่กว้าง ตีนเป็นแผ่นแบนคล้ายพาย หลายชนิดมีจมูกยื่นยาว ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น ตะพาบ (Amyda cartilageneus) ม่านลาย (Chitra chitra), กริว กราว จราว จมูกหลอด หรือ ปลาฝา ก็เรียก.
ตะพาย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง แขวนบ่า, ห้อยเฉียงบ่า, เช่น ตะพายย่าม, สะพาย ก็ว่า; เรียกกิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะว่า สนตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทำตามด้วยความจำใจ ความหลง หรือความโง่เขลาเบาปัญญา; เรียกเชือกที่ร้อยจมูกวัวควายว่า สายตะพาย. เป็นคำนาม หมายถึง ช่องจมูกวัวควายที่เจาะสําหรับร้อยเชือก; เรียกลายที่เป็นทางแต่จมูกขึ้นไปทั้ง ๒ ข้างแห่งนกกระทา.ตะพาย ก. แขวนบ่า, ห้อยเฉียงบ่า, เช่น ตะพายย่าม, สะพาย ก็ว่า; เรียกกิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะว่า สนตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทำตามด้วยความจำใจ ความหลง หรือความโง่เขลาเบาปัญญา; เรียกเชือกที่ร้อยจมูกวัวควายว่า สายตะพาย. น. ช่องจมูกวัวควายที่เจาะสําหรับร้อยเชือก; เรียกลายที่เป็นทางแต่จมูกขึ้นไปทั้ง ๒ ข้างแห่งนกกระทา.
ตะพายแล่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ถูกฟันขาดเฉียงบ่า เรียกว่า ขาดตะพายแล่ง, สะพายแล่ง ก็ว่า.ตะพายแล่ง ว. ลักษณะที่ถูกฟันขาดเฉียงบ่า เรียกว่า ขาดตะพายแล่ง, สะพายแล่ง ก็ว่า.
ตะพึด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตะบึงไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น ขอตะพึด.ตะพึด ว. ตะบึงไป, ไม่หยุดหย่อน, เช่น ขอตะพึด.
ตะพึดตะพือ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รํ่าไป, เรื่อยไป, ดึงดันทําเรื่อยไป.ตะพึดตะพือ ว. รํ่าไป, เรื่อยไป, ดึงดันทําเรื่อยไป.
ตะพุ่น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พวกคนหลวงที่ถูกเกณฑ์ให้เกี่ยวหญ้าเลี้ยงช้าง.ตะพุ่น ๑ (โบ) น. พวกคนหลวงที่ถูกเกณฑ์ให้เกี่ยวหญ้าเลี้ยงช้าง.
ตะพุ่นหญ้าช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โทษอาญาหลวงสมัยโบราณ; คนที่ถูกลงโทษให้เกี่ยวหญ้าเลี้ยงช้าง.ตะพุ่นหญ้าช้าง (โบ) น. โทษอาญาหลวงสมัยโบราณ; คนที่ถูกลงโทษให้เกี่ยวหญ้าเลี้ยงช้าง.
ตะพุ่น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีชนิดหนึ่งคล้ายสีครามจาง เรียกว่า สีตะพุ่น.ตะพุ่น ๒ ว. สีชนิดหนึ่งคล้ายสีครามจาง เรียกว่า สีตะพุ่น.
ตะเพรา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–เพฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ขอสําหรับเกี่ยวให้เรือเข้าหรือคํ้าไม่ให้เรือชนกัน เรียกว่า ขอตะเพรา; ลูกกลม ๆ ที่ถักด้วยหวายแล้วยัดด้วยกาบมะพร้าวเป็นต้น แขวนไว้ข้างเรือเพื่อกันกระแทก เรียกว่า ลูกตะเพรา.ตะเพรา [–เพฺรา] น. ไม้ขอสําหรับเกี่ยวให้เรือเข้าหรือคํ้าไม่ให้เรือชนกัน เรียกว่า ขอตะเพรา; ลูกกลม ๆ ที่ถักด้วยหวายแล้วยัดด้วยกาบมะพร้าวเป็นต้น แขวนไว้ข้างเรือเพื่อกันกระแทก เรียกว่า ลูกตะเพรา.
ตะเพิง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เงื้อมเขาที่งอกงุ้มลงมา.ตะเพิง น. เงื้อมเขาที่งอกงุ้มลงมา.
ตะเพิด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ตวาดให้หนีไป, ร้องให้ตกใจหนีไป, ไล่ส่งไป, โบราณเขียนเป็น กระเพลิด ก็มี.ตะเพิด ก. ตวาดให้หนีไป, ร้องให้ตกใจหนีไป, ไล่ส่งไป, โบราณเขียนเป็น กระเพลิด ก็มี.
ตะเพิ่น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พล่านไป, เจิ่นไป.ตะเพิ่น ว. พล่านไป, เจิ่นไป.
ตะเพียน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดของบางสกุลในวงศ์ Cyprinidae ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล Puntius และ Cyclocheilichthys หนวดสั้น เกล็ดสีขาวเงินขอบเรียบ ที่มีลําตัวสั้นป้อม แบนข้าง เช่น ตะเพียนขาว (P. gonionotus) ตะเพียนทอง (P. altus) ตะเพียนหางแดง หรือ กระแห (P. schwanenfeldi) ส่วนที่มีลําตัวเรียวกว่า เช่น ตะเพียนทราย (P. leiacanthus, C. apogon).ตะเพียน น. ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดของบางสกุลในวงศ์ Cyprinidae ส่วนใหญ่อยู่ในสกุล Puntius และ Cyclocheilichthys หนวดสั้น เกล็ดสีขาวเงินขอบเรียบ ที่มีลําตัวสั้นป้อม แบนข้าง เช่น ตะเพียนขาว (P. gonionotus) ตะเพียนทอง (P. altus) ตะเพียนหางแดง หรือ กระแห (P. schwanenfeldi) ส่วนที่มีลําตัวเรียวกว่า เช่น ตะเพียนทราย (P. leiacanthus, C. apogon).
ตะเพียนทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งูดู พิมพา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา.ตะเพียนทอง ดู พิมพา.
ตะเพียนน้ำเค็ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้าดู โคก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.ตะเพียนน้ำเค็ม ดู โคก ๒.
ตะเพียนหางแดง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งูดู กระแห, กระแหทอง กระแห เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ กระแหทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู .ตะเพียนหางแดง ดู กระแห, กระแหทอง.
ตะโพก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, สะโพก ก็ว่า.ตะโพก น. ส่วนของร่างกายเบื้องหลังถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กล้ามเนื้อส่วนบนที่นูนขึ้นของโคนขาสัตว์สองเท้าหรือโคนขาหลังของสัตว์สี่เท้า, สะโพก ก็ว่า.
ตะโพกสุดเสียงสังข์ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตะโพกหญิงที่ผายออกมาก.ตะโพกสุดเสียงสังข์ (สำ) น. เรียกตะโพกหญิงที่ผายออกมาก.
ตะโพง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการวิ่งก้าวยาว ๆ หรือวิ่งอย่างกระโดด; โทง ๆ, โหย่ง ๆ, เช่น ก็จะทําคลุมโปงตะโพงดัน. ในวงเล็บ มาจาก ปกีรณำพจนาดถ์ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โรงพิมพ์หลวง ในพระบรมมหาราชวัง จ.ศ. ๑๒๔๑, วิ่งตะโพงกอดบาท. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตะพง ก็ว่า.ตะโพง ว. อาการวิ่งก้าวยาว ๆ หรือวิ่งอย่างกระโดด; โทง ๆ, โหย่ง ๆ, เช่น ก็จะทําคลุมโปงตะโพงดัน. (ปกีรณําพจนาดถ์), วิ่งตะโพงกอดบาท. (นิทราชาคริต), ตะพง ก็ว่า.
ตะโพน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กลองสองหน้า รูปหัวสอบท้ายสอบกลางป่อง ขึงด้วยหนังทั้ง ๒ หน้า มีขารอง ตีด้วยฝ่ามือ.ตะโพน น. กลองสองหน้า รูปหัวสอบท้ายสอบกลางป่อง ขึงด้วยหนังทั้ง ๒ หน้า มีขารอง ตีด้วยฝ่ามือ.
ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน ใช้แล่นด้วยใบ, สะเภา หรือ สําเภา ก็เรียก; เรียกลมชนิดหนึ่งพัดมาจากทิศใต้ไปทางทิศเหนือในกลางฤดูร้อนว่า ลมตะเภา.ตะเภา ๑ น. ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน ใช้แล่นด้วยใบ, สะเภา หรือ สําเภา ก็เรียก; เรียกลมชนิดหนึ่งพัดมาจากทิศใต้ไปทางทิศเหนือในกลางฤดูร้อนว่า ลมตะเภา.
ตะเภาเดียวกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง พวกเดียวกัน, อย่างเดียวกัน.ตะเภาเดียวกัน (สำ) น. พวกเดียวกัน, อย่างเดียวกัน.
ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิดเดียวกับไก่บ้าน ตัวอ้วนป้อม เหนียงสั้นและกลม มีขนมากทั้งขนแข็งและขนอุยหลายสี มีหางสั้นและแผ่กว้างที่ฐาน เป็นไก่ที่บรรทุกมากับเรือสำเภาหรือเรือตะเภาจากประเทศจีน จึงเรียก ไก่ตะเภา.ตะเภา ๒ น. ชื่อไก่ชนิดเดียวกับไก่บ้าน ตัวอ้วนป้อม เหนียงสั้นและกลม มีขนมากทั้งขนแข็งและขนอุยหลายสี มีหางสั้นและแผ่กว้างที่ฐาน เป็นไก่ที่บรรทุกมากับเรือสำเภาหรือเรือตะเภาจากประเทศจีน จึงเรียก ไก่ตะเภา.
ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนูชนิด Cavia porcellus ในวงศ์ Caviidae ลำตัวอ้วนป้อม ขนปุย หางสั้น มีหลายสี เช่น ขาว นํ้าตาล ดํา มีถิ่นกําเนิดในประเทศเปรู มักใช้ในการทดลองทางการแพทย์.ตะเภา ๓ น. ชื่อหนูชนิด Cavia porcellus ในวงศ์ Caviidae ลำตัวอ้วนป้อม ขนปุย หางสั้น มีหลายสี เช่น ขาว นํ้าตาล ดํา มีถิ่นกําเนิดในประเทศเปรู มักใช้ในการทดลองทางการแพทย์.
ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) เรียกอ้อยพันธุ์ที่ลําโต ปล้องสั้น สีขาว เปราะ ว่า อ้อยตะเภา, อ้อยสําลี ก็เรียก. (๒) ชื่อหมากพันธุ์ต้นเตี้ย.ตะเภา ๔ น. (๑) เรียกอ้อยพันธุ์ที่ลําโต ปล้องสั้น สีขาว เปราะ ว่า อ้อยตะเภา, อ้อยสําลี ก็เรียก. (๒) ชื่อหมากพันธุ์ต้นเตี้ย.
ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขันนํ้าชนิดหนึ่ง.ตะเภา ๕ น. ชื่อขันนํ้าชนิดหนึ่ง.
ตะใภ้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-พอ-สำ-เพา-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง สะใภ้.ตะใภ้ (ปาก) น. สะใภ้.
ตะม่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ตอม่อ.ตะม่อ (ปาก) น. ตอม่อ.
ตะมอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่งขึ้นที่ปลายนิ้ว เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียก่อหนอง.ตะมอย ๑ น. ชื่อฝีชนิดหนึ่งขึ้นที่ปลายนิ้ว เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียก่อหนอง.
ตะมอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหวายชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตะมอย ๒ น. ชื่อหวายชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
ตะยองสะลา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง งูบ้องตะลา.ตะยองสะลา น. งูบ้องตะลา.
ตะรัง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดั้นไป, เดาไป, ตะบึงไป, เช่น แล้วดําเนินเดินดุ่มสุ่มตะรัง. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.ตะรัง ก. ดั้นไป, เดาไป, ตะบึงไป, เช่น แล้วดําเนินเดินดุ่มสุ่มตะรัง. (คาวี).
ตะรังกะนู เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกของบางอย่างที่มาจากเมืองตะรังกะนู เช่น ส้มตะรังกะนู พิมเสนตะรังกะนู. (ปัจจุบัน คือ รัฐตรังกานูในประเทศมาเลเซีย).ตะรังกะนู น. เรียกของบางอย่างที่มาจากเมืองตะรังกะนู เช่น ส้มตะรังกะนู พิมเสนตะรังกะนู. (ปัจจุบัน คือ รัฐตรังกานูในประเทศมาเลเซีย).
ตะรังตังกวาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Cnesmone javanica Blume. ในวงศ์ Euphorbiaceae มีขนหยาบคลุมทั่วทั้งต้น ถูกเข้าจะคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง.ตะรังตังกวาง น. ชื่อไม้เถาชนิด Cnesmone javanica Blume. ในวงศ์ Euphorbiaceae มีขนหยาบคลุมทั่วทั้งต้น ถูกเข้าจะคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง.
ตะรังตังช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Dendrocnide sinuata (Blume) Chew ในวงศ์ Urticaceae ใบใหญ่ ขอบจัก ถูกเข้าจะปวดคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง.ตะรังตังช้าง น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Dendrocnide sinuata (Blume) Chew ในวงศ์ Urticaceae ใบใหญ่ ขอบจัก ถูกเข้าจะปวดคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง.
ตะราง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ที่คุมขังนักโทษ.ตะราง น. ที่คุมขังนักโทษ.
ตะลอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ กระชุก, และ ๔ ตะลอง เป็น ๑ เกวียน.ตะลอง น. อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ กระชุก, และ ๔ ตะลอง เป็น ๑ เกวียน.
ตะลอน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปเรื่อย ๆ.ตะลอน (ปาก) ก. เที่ยวไปเรื่อย ๆ.
ตะล่อม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้รวมกันเข้ามาเป็นกอง, ทําให้กลมเข้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม.ตะล่อม ๑ ก. ทําให้รวมกันเข้ามาเป็นกอง, ทําให้กลมเข้า. ว. ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม.
ตะล่อมข้าว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น ใช้ไม้ไผ่ซีกเล็ก ๆ มาขัดแตะทําเป็นวงล้อมรอบ แล้วยาด้วยขี้ควาย ขนาดเล็กกว่ายุ้ง.ตะล่อมข้าว น. ที่สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น ใช้ไม้ไผ่ซีกเล็ก ๆ มาขัดแตะทําเป็นวงล้อมรอบ แล้วยาด้วยขี้ควาย ขนาดเล็กกว่ายุ้ง.
ตะล่อม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ เกวียน, และ ๕ ตะล่อม เป็น ๑ ยุ้ง.ตะล่อม ๒ น. อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๔ เกวียน, และ ๕ ตะล่อม เป็น ๑ ยุ้ง.
ตะล่อมป้อม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลม ๆ ป้อม ๆ.ตะล่อมป้อม ว. กลม ๆ ป้อม ๆ.
ตะละ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุจ, เหมือน, เช่น ลําต้นตะละคันฉัตร; แต่ละ เช่น ตะละคน.ตะละ (กลอน) ว. ดุจ, เหมือน, เช่น ลําต้นตะละคันฉัตร; แต่ละ เช่น ตะละคน.
ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูชนิด Ptyas korros ในวงศ์ Colubridae ตัวยาวประมาณ ๑ เมตร ตาโต เลื้อยเร็ว ออกหากินเวลากลางวัน ส่วนมากจะหากินตามพื้นดิน ไม่มีพิษ, สิงตาโต หรือ ตาลาน ก็เรียก.ตะลาน ๑ น. ชื่องูชนิด Ptyas korros ในวงศ์ Colubridae ตัวยาวประมาณ ๑ เมตร ตาโต เลื้อยเร็ว ออกหากินเวลากลางวัน ส่วนมากจะหากินตามพื้นดิน ไม่มีพิษ, สิงตาโต หรือ ตาลาน ก็เรียก.
ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมดหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ตัวสีนํ้าตาลแดงคล้ายมดแดง ยาว ๔–๕ มิลลิเมตร ขายาว วิ่งเร็ว ไม่มีพิษ ส่วนใหญ่เป็นชนิด Anoplolepsis longipes, ตาลาน หรือ ตะลีตะลาน ก็เรียก.ตะลาน ๒ น. ชื่อมดหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ตัวสีนํ้าตาลแดงคล้ายมดแดง ยาว ๔–๕ มิลลิเมตร ขายาว วิ่งเร็ว ไม่มีพิษ ส่วนใหญ่เป็นชนิด Anoplolepsis longipes, ตาลาน หรือ ตะลีตะลาน ก็เรียก.
ตะลิงปลิง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[–ปฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Averrhoa bilimbi L. ในวงศ์ Oxalidaceae ใบคล้ายใบมะยม ผลยาวคล้ายมะดันแต่มีร่องตื้น ๆ รสเปรี้ยว.ตะลิงปลิง [–ปฺลิง] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Averrhoa bilimbi L. ในวงศ์ Oxalidaceae ใบคล้ายใบมะยม ผลยาวคล้ายมะดันแต่มีร่องตื้น ๆ รสเปรี้ยว.
ตะลิบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลิบ, ไกล, เช่น ตะลิบหายไปไม่เห็นตัว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำกาพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๙ กัณฑ์กุมารบรรพ.ตะลิบ ว. ลิบ, ไกล, เช่น ตะลิบหายไปไม่เห็นตัว. (ม. กาพย์ กุมารบรรพ).
ตะลีตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รีบร้อนลนลาน, ลุกลน.ตะลีตะลาน ๑ ว. รีบร้อนลนลาน, ลุกลน.
ตะลีตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ดู ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.ตะลีตะลาน ๒ ดู ตะลาน ๒.
ตะลึง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง.ตะลึง ก. อาการที่ชะงักงันนิ่งอึ้งไปชั่วขณะหนึ่งเพราะคาดไม่ถึง.
ตะลึงพรึงเพริด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ตะลึงจนลืมตัว.ตะลึงพรึงเพริด ก. ตะลึงจนลืมตัว.
ตะลุง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมหรสพอย่างหนึ่ง ใช้หนังสลักเป็นรูปภาพขนาดเล็ก คีบด้วยไม้ตับอันเดียว เชิดภายในโรงให้แสงไฟส่องผ่านตัวหนังสร้างเงาให้ปรากฏบนจอผ้าขาวหน้าโรง ใช้ปี่ กลอง และฆ้องคู่บรรเลงประกอบ ผู้เชิดเป็นผู้พากย์ เรียกว่า หนังตะลุง; จังหวัดพัทลุง เช่น ชาตรีมีแต่ล้วนชาวตะลุง. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ตะลุง ๑ น. ชื่อมหรสพอย่างหนึ่ง ใช้หนังสลักเป็นรูปภาพขนาดเล็ก คีบด้วยไม้ตับอันเดียว เชิดภายในโรงให้แสงไฟส่องผ่านตัวหนังสร้างเงาให้ปรากฏบนจอผ้าขาวหน้าโรง ใช้ปี่ กลอง และฆ้องคู่บรรเลงประกอบ ผู้เชิดเป็นผู้พากย์ เรียกว่า หนังตะลุง; จังหวัดพัทลุง เช่น ชาตรีมีแต่ล้วนชาวตะลุง. (อิเหนา).
ตะลุง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น ว่า เสาตะลุง.ตะลุง ๒ น. เรียกไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น ว่า เสาตะลุง.
ตะลุ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะมีเชิงคล้ายพาน แต่ปากคลุ่ม สําหรับใส่ของ.ตะลุ่ม น. ภาชนะมีเชิงคล้ายพาน แต่ปากคลุ่ม สําหรับใส่ของ.
ตะลุ่มนก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-นอ-หนู-กอ-ไก่ดู กําแพงเจ็ดชั้น เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ (๒).ตะลุ่มนก ดู กําแพงเจ็ดชั้น ๒ (๒).
ตะลุมบอน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รบประจัญบาน, ต่อสู้กันด้วยอาวุธอย่างชุลมุน, ต่อสู้กันอย่างชุลมุน.ตะลุมบอน ก. รบประจัญบาน, ต่อสู้กันด้วยอาวุธอย่างชุลมุน, ต่อสู้กันอย่างชุลมุน.
ตะลุ่มโปง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.ตะลุ่มโปง น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
ตะลุมพอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ออ-อ่างดู หลุมพอ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ออ-อ่าง.ตะลุมพอ ดู หลุมพอ.
ตะลุมพุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ท่อนกลม ๆ มีด้ามคล้ายค้อน แต่ใหญ่กว่ามาก สําหรับตําข้าว; ไม้ท่อนขนาดเล็กที่มีด้ามสั้น ตัวสั้น สําหรับทุบผ้าให้เรียบ, กระลุมพุก ก็ใช้.ตะลุมพุก ๑ น. ไม้ท่อนกลม ๆ มีด้ามคล้ายค้อน แต่ใหญ่กว่ามาก สําหรับตําข้าว; ไม้ท่อนขนาดเล็กที่มีด้ามสั้น ตัวสั้น สําหรับทุบผ้าให้เรียบ, กระลุมพุก ก็ใช้.
ตะลุมพุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Tenualosa toli ในวงศ์ Clupeidae ที่ว่ายเข้านํ้าจืดเพื่อสืบพันธุ์ ลําตัวยาวรี แบนข้างมาก ครีบหางเป็นแฉกลึก ท้องเป็นสันแหลม เกล็ดใหญ่ ขอบเรียบ เกล็ดที่สันท้องเป็นเหลี่ยมคม เรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย พื้นลําตัวสีเงิน หลังสีนํ้าเงินอมเทา ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, กระลุมพุก ก็เรียก.ตะลุมพุก ๒ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Tenualosa toli ในวงศ์ Clupeidae ที่ว่ายเข้านํ้าจืดเพื่อสืบพันธุ์ ลําตัวยาวรี แบนข้างมาก ครีบหางเป็นแฉกลึก ท้องเป็นสันแหลม เกล็ดใหญ่ ขอบเรียบ เกล็ดที่สันท้องเป็นเหลี่ยมคม เรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย พื้นลําตัวสีเงิน หลังสีนํ้าเงินอมเทา ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, กระลุมพุก ก็เรียก.
ตะลุมพุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นกึ่งไม้พุ่มชนิด Thamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. et Sastre ในวงศ์ Rubiaceae, กระลําพุก หรือ กระลุมพุก ก็เรียก.ตะลุมพุก ๓ น. ชื่อไม้ต้นกึ่งไม้พุ่มชนิด Thamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. et Sastre ในวงศ์ Rubiaceae, กระลําพุก หรือ กระลุมพุก ก็เรียก.
ตะลุ่มอิด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็กดู ไก่ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท (๑).ตะลุ่มอิด ดู ไก่ไห้ (๑).
ตะลุย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตีหรือบุกดะเข้าไปไม่รั้งรอ, อาการที่อ่านเรื่อยไปโดยไม่พินิจพิจารณา.ตะลุย ว. อาการที่ตีหรือบุกดะเข้าไปไม่รั้งรอ, อาการที่อ่านเรื่อยไปโดยไม่พินิจพิจารณา.
ตะเลง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง มอญ.ตะเลง น. มอญ.
ตะแลงแกง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ทางสี่แพร่ง, ต่อมาเลือนไปหมายถึงที่สําหรับฆ่านักโทษในสมัยโบราณ.ตะแลงแกง น. ทางสี่แพร่ง, ต่อมาเลือนไปหมายถึงที่สําหรับฆ่านักโทษในสมัยโบราณ.
ตะโล้ดโป๊ด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลองสองหน้าชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๗๘ เซนติเมตร ใช้ตีประกอบการฟ้อนและการเล่นพื้นเมืองทางภาคเหนือ, คู่กับ กลองแอว.ตะโล้ดโป๊ด น. ชื่อกลองสองหน้าชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๗๘ เซนติเมตร ใช้ตีประกอบการฟ้อนและการเล่นพื้นเมืองทางภาคเหนือ, คู่กับ กลองแอว.
ตะไล เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง มีปีกเป็นวงกลม ทําด้วยกระบอกไม้ไผ่บรรจุดินปืนที่ทําด้วยดินประสิวกับถ่านไม้ และตอกให้แน่น มีรูชนวนสําหรับจุด.ตะไล ๑ น. ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง มีปีกเป็นวงกลม ทําด้วยกระบอกไม้ไผ่บรรจุดินปืนที่ทําด้วยดินประสิวกับถ่านไม้ และตอกให้แน่น มีรูชนวนสําหรับจุด.
ตะไล เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ถ้วยกระเบื้องเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง สําหรับใส่ขนมแล้วนึ่งเป็นต้น เรียกว่า ถ้วยตะไล.ตะไล ๒ น. ถ้วยกระเบื้องเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง สําหรับใส่ขนมแล้วนึ่งเป็นต้น เรียกว่า ถ้วยตะไล.
ตะไล เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นราชบุรี เป็นคำนาม หมายถึง ต้นคงคาเดือด. ในวงเล็บ ดู คงคาเดือด เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก.ตะไล ๓ (ถิ่น–ราชบุรี) น. ต้นคงคาเดือด. (ดู คงคาเดือด).
ตะวัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดวงอาทิตย์.ตะวัน น. ดวงอาทิตย์.
ตะวันขึ้น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้า, ตรงข้ามกับ ตะวันตก.ตะวันขึ้น ก. ดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้า, ตรงข้ามกับ ตะวันตก.
ตะวันตก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า, ตรงข้ามกับ ตะวันขึ้น, ตะวันตกดิน ก็เรียก; เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าว่า ทิศตะวันตก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันออก; เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกในกลางฤดูฝนว่า ลมตะวันตก; เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น.ตะวันตก ก. ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า, ตรงข้ามกับ ตะวันขึ้น, ตะวันตกดิน ก็เรียก; เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าว่า ทิศตะวันตก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันออก; เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกในกลางฤดูฝนว่า ลมตะวันตก; เรียกประเทศที่อยู่ในทวีปยุโรปและอเมริกาว่า ประเทศตะวันตก, เรียกประชาชนโดยเฉพาะพวกผิวขาว ตลอดจนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ ในทวีปยุโรปและอเมริกา ว่า ชาวตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก เป็นต้น.
ตะวันยอแสง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า แต่ยังเห็นแสงตะวันจับขอบฟ้าเป็นสีแดงเข้ม.ตะวันยอแสง ก. ลักษณะที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า แต่ยังเห็นแสงตะวันจับขอบฟ้าเป็นสีแดงเข้ม.
ตะวันออก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้าว่า ทิศตะวันออก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันตก; เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกในปลายฤดูฝนว่า ลมตะวันออก; เรียกประชาชนที่อยู่ในทวีปเอเชีย ส่วนมากเป็นพวกผิวเหลือง ว่า ชาวตะวันออก.ตะวันออก ว. เรียกทิศที่ดวงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้าว่า ทิศตะวันออก, ตรงข้ามกับ ทิศตะวันตก; เรียกลมที่พัดมาจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกในปลายฤดูฝนว่า ลมตะวันออก; เรียกประชาชนที่อยู่ในทวีปเอเชีย ส่วนมากเป็นพวกผิวเหลือง ว่า ชาวตะวันออก.
ตะวันออกกลาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดียและปากีสถาน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา, เดิมหมายรวมถึงประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย และพม่า ด้วย.ตะวันออกกลาง น. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศอินเดียและปากีสถาน และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา, เดิมหมายรวมถึงประเทศอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย และพม่า ด้วย.
ตะวันออกใกล้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มประเทศในคาบสมุทรบอลข่านของทวีปยุโรปและในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ได้แก่ กรีซ ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย แอลเบเนีย ตุรกี เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย และประเทศอื่น ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ บางทีก็หมายรวมถึงอียิปต์และซูดานด้วย.ตะวันออกใกล้ น. กลุ่มประเทศในคาบสมุทรบอลข่านของทวีปยุโรปและในภูมิภาคตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ได้แก่ กรีซ ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย แอลเบเนีย ตุรกี เลบานอน ซีเรีย อิสราเอล จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย และประเทศอื่น ๆ ในคาบสมุทรอาหรับ บางทีก็หมายรวมถึงอียิปต์และซูดานด้วย.
ตะวันออกไกล เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ห่างไกลจากทวีปยุโรปมาก คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี มองโกเลีย และไซบีเรีย บางทีก็รวมถึงประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และอินโดนีเซียด้วย.ตะวันออกไกล น. กลุ่มประเทศในภูมิภาคตะวันออกของทวีปเอเชีย ซึ่งอยู่ห่างไกลจากทวีปยุโรปมาก คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี มองโกเลีย และไซบีเรีย บางทีก็รวมถึงประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และอินโดนีเซียด้วย.
ตะวันอ้อมข้าว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นจากขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ โคจรอ้อมลงสู่ขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในฤดูหนาว ซึ่งเป็นฤดูเก็บเกี่ยวข้าว.ตะวันอ้อมข้าว ก. ลักษณะที่ดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นจากขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ โคจรอ้อมลงสู่ขอบฟ้าทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ในฤดูหนาว ซึ่งเป็นฤดูเก็บเกี่ยวข้าว.
ตะวาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งคล้ายต้นแขม ขึ้นตามทุ่งนา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตะวาง น. ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งคล้ายต้นแขม ขึ้นตามทุ่งนา. (พจน. ๒๔๙๓).
ตะเวน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ตระเวน.ตะเวน (ปาก) ก. ตระเวน.
ตะหนึ่งรัด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ตะหนึ่งรัด ว. เป็นใหญ่. (ช.).
ตะหลิว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือทําด้วยเหล็ก ใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผัดในกระทะ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาจีน เตี้ยะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ว่า กระทะ + หลิว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ว่า เครื่องแซะ, เครื่องตัก .ตะหลิว น. เครื่องมือทําด้วยเหล็ก ใช้แซะหรือตักของที่ทอดหรือผัดในกระทะ. (เทียบ จ. เตี้ยะ ว่า กระทะ + หลิว ว่า เครื่องแซะ, เครื่องตัก).
ตะหลุง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้แก่นเจาะเป็นรูสําหรับฝังหัวดุมท้ายดุมสอดเพลาเพื่อไม่ให้เพลาแกว่ง.ตะหลุง น. ไม้แก่นเจาะเป็นรูสําหรับฝังหัวดุมท้ายดุมสอดเพลาเพื่อไม่ให้เพลาแกว่ง.
ตะเหลนเป๋น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคํา สูง หรือ ยาว หมายความว่า สูงผิดส่วน ยาวผิดส่วน.ตะเหลนเป๋น ว. ใช้ประกอบคํา สูง หรือ ยาว หมายความว่า สูงผิดส่วน ยาวผิดส่วน.
ตะเหลาะเปาะ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลมน่าดู, กะเหลาะเปาะ ก็ว่า.ตะเหลาะเปาะ ว. กลมน่าดู, กะเหลาะเปาะ ก็ว่า.
ตะแหง่ว, ตะแหง่ว ๆ ตะแหง่ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-วอ-แหวน ตะแหง่ว ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รบเร้าออดอ้อนเรื่อยไปจนน่ารําคาญ.ตะแหง่ว, ตะแหง่ว ๆ ว. รบเร้าออดอ้อนเรื่อยไปจนน่ารําคาญ.
ตะแหมะแขะ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ[–แหฺมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคํา เตี้ย หมายความว่า เตี้ยผิดส่วน.ตะแหมะแขะ [–แหฺมะ–] ว. ใช้ประกอบคํา เตี้ย หมายความว่า เตี้ยผิดส่วน.
ตะแหลนแป๋น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู[–แหฺลน–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคํา แบน หมายความว่า แบนผิดส่วน.ตะแหลนแป๋น [–แหฺลน–] ว. ใช้ประกอบคํา แบน หมายความว่า แบนผิดส่วน.
ตะโหงก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู-กอ-ไก่ ความหมายที่ [–โหฺงก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจองจําอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๒ อันหนีบคออย่างคา.ตะโหงก ๑ [–โหฺงก] น. เครื่องจองจําอย่างหนึ่ง ใช้ไม้ ๒ อันหนีบคออย่างคา.
ตะโหงก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู-กอ-ไก่ ความหมายที่ [–โหฺงก] เป็นคำนาม หมายถึง โคนทางมะพร้าวแห้ง; สิ่งที่นูนโหนกขึ้นจากพื้นราบ เช่น หัวตะโหงกตอไม้; ก้อนเนื้อที่ต้นคอของสัตว์บางชนิดเช่นวัว, หนอก ก็ว่า.ตะโหงก ๒ [–โหฺงก] น. โคนทางมะพร้าวแห้ง; สิ่งที่นูนโหนกขึ้นจากพื้นราบ เช่น หัวตะโหงกตอไม้; ก้อนเนื้อที่ต้นคอของสัตว์บางชนิดเช่นวัว, หนอก ก็ว่า.
ตะโหงก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู-กอ-ไก่ ความหมายที่ [–โหฺงก] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก คอม หรือ ตะโกก ก็เรียก.ตะโหงก ๓ [–โหฺงก] น. ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก คอม หรือ ตะโกก ก็เรียก.
ตัก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หน้าขาตอนเข่าถึงโคนขาในเวลานั่ง.ตัก ๑ น. หน้าขาตอนเข่าถึงโคนขาในเวลานั่ง.
ตัก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาภาชนะช้อนสิ่งของขึ้นจากที่เดิม เช่น ตักนํ้า ตักแกง ตักดิน.ตัก ๒ ก. เอาภาชนะช้อนสิ่งของขึ้นจากที่เดิม เช่น ตักนํ้า ตักแกง ตักดิน.
ตักตวง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง หาประโยชน์ใส่ตัว, กอบโกยมาเป็นของตนเมื่อมีโอกาส.ตักตวง ก. หาประโยชน์ใส่ตัว, กอบโกยมาเป็นของตนเมื่อมีโอกาส.
ตักน้ำรดหัวตอ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง แนะนําพรํ่าสอนเท่าไรก็ไม่ได้ผล, ตักนํ้ารดหัวสาก ก็ว่า.ตักน้ำรดหัวตอ (สำ) ก. แนะนําพรํ่าสอนเท่าไรก็ไม่ได้ผล, ตักนํ้ารดหัวสาก ก็ว่า.
ตักน้ำรดหัวสาก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง แนะนําพรํ่าสอนเท่าไรก็ไม่ได้ผล เช่น นํ้ารดหัวสาก สอนเด็กปากมาก เลี้ยงลูกใจแข็ง. (สุบิน กลอนสวด), ตักนํ้ารดหัวตอ ก็ว่า.ตักน้ำรดหัวสาก (สำ) ก. แนะนําพรํ่าสอนเท่าไรก็ไม่ได้ผล เช่น นํ้ารดหัวสาก สอนเด็กปากมาก เลี้ยงลูกใจแข็ง. (สุบิน กลอนสวด), ตักนํ้ารดหัวตอ ก็ว่า.
ตักน้ำใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-งอ-งู-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว.ตักน้ำใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา (สำ) ก. ให้รู้จักฐานะของตนและเจียมตัว.
ตักบาตร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของใส่บาตรพระ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ฎาก่ เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-เอก ว่า วางลง .ตักบาตร ก. เอาของใส่บาตรพระ. (เทียบ ข. ฎาก่ ว่า วางลง).
ตักบาตรอย่าถามพระ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง จะให้อะไรแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่แล้ว ไม่ควรถาม.ตักบาตรอย่าถามพระ (สำ) ก. จะให้อะไรแก่ผู้ที่เต็มใจรับอยู่แล้ว ไม่ควรถาม.
ตักกะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตรรก, ความตรึก, ความคิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตกฺก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.ตักกะ (แบบ) น. ตรรก, ความตรึก, ความคิด. (ป. ตกฺก).
ตักเตือน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สั่งสอนให้รู้สํานึกตัว.ตักเตือน ก. สั่งสอนให้รู้สํานึกตัว.
ตั๊กแตน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู[ตั๊กกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงหลายชนิดในหลายวงศ์ ลําตัวยาว มีขนาดต่าง ๆ กัน อาจมีปีกหรือไม่มีก็ได้ พวกที่มีปีกจะมี ๒ คู่ คู่แรกค่อนข้างหนา ยาวและแคบ คู่หลังบางและกว้างใหญ่ พับไปอยู่ใต้ปีกคู่แรกได้ ปากเป็นชนิดกัดกิน อกมีลักษณะต่างกันมาก อาจกว้างใหญ่ แคบ ยาว หรือสั้นก็มี ขาอาจเหมือนกันหมด หรือมีขาหน้าหรือขาหลังใหญ่กว่าคู่อื่น ๆ เช่น ตั๊กแตนผี (Aularchis miliaris) ในวงศ์ Acrididae ตั๊กแตนตําข้าว (เช่น ชนิด Hierodula membranaceus) ในวงศ์ Mantidae ตั๊กแตนใบไม้ (เช่น ชนิด Phyllium pulcherifolium) ในวงศ์ Phasmidae.ตั๊กแตน [ตั๊กกะ–] น. ชื่อแมลงหลายชนิดในหลายวงศ์ ลําตัวยาว มีขนาดต่าง ๆ กัน อาจมีปีกหรือไม่มีก็ได้ พวกที่มีปีกจะมี ๒ คู่ คู่แรกค่อนข้างหนา ยาวและแคบ คู่หลังบางและกว้างใหญ่ พับไปอยู่ใต้ปีกคู่แรกได้ ปากเป็นชนิดกัดกิน อกมีลักษณะต่างกันมาก อาจกว้างใหญ่ แคบ ยาว หรือสั้นก็มี ขาอาจเหมือนกันหมด หรือมีขาหน้าหรือขาหลังใหญ่กว่าคู่อื่น ๆ เช่น ตั๊กแตนผี (Aularchis miliaris) ในวงศ์ Acrididae ตั๊กแตนตําข้าว (เช่น ชนิด Hierodula membranaceus) ในวงศ์ Mantidae ตั๊กแตนใบไม้ (เช่น ชนิด Phyllium pulcherifolium) ในวงศ์ Phasmidae.
ตักษณะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตัดและกรางสิ่งของ เช่น มีด พร้า บุ้ง ตะไบ; การตัด, การปอก, การทอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตักษณะ (แบบ) น. เครื่องตัดและกรางสิ่งของ เช่น มีด พร้า บุ้ง ตะไบ; การตัด, การปอก, การทอน. (ส.).
ตักษณี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผึ่ง, ขวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตจฺฉนี เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.ตักษณี น. ผึ่ง, ขวาน. (ส.; ป. ตจฺฉนี).
ตักษัย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง ตัดมาจากคำว่า ชีวิตักษัย เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นชีวิต, ตาย.ตักษัย (กลอน; ตัดมาจาก ชีวิตักษัย) ก. สิ้นชีวิต, ตาย.
ตัง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ยางไม้ที่ประสมกับสิ่งอื่น แล้วทําให้เหนียวสําหรับดักนกเป็นต้น.ตัง ๑ น. ยางไม้ที่ประสมกับสิ่งอื่น แล้วทําให้เหนียวสําหรับดักนกเป็นต้น.
ตัง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างของหนัก ๆ ตกกระทบพื้นแข็ง.ตัง ๒ ว. เสียงดังอย่างของหนัก ๆ ตกกระทบพื้นแข็ง.
ตั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับนั่ง ไม่มีพนัก อาจมีขาหรือไม่มีขาก็ได้.ตั่ง น. ที่สําหรับนั่ง ไม่มีพนัก อาจมีขาหรือไม่มีขาก็ได้.
ตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าวเอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้งเปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. เป็นคำบุรพบท หมายถึง คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง.ตั้ง ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าวเอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้งเปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง.
ตั้งกรม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม.ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม.
ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ตั้งเข็ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ตั้งเป้าหมาย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย.ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย.
ตั้งไข่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง สอนยืน (ใช้แก่เด็ก).ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก).
ตั้งเค้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า.ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า.
ตั้งแง่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด.ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด.
ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ตั้งใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ตั้งอกตั้งใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจจดใจจ่อ.ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ.
ตั้งต้น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มทํา, ขึ้นต้น.ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น.
ตั้งตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้งตัวเป็นใหญ่.ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้งตัวเป็นใหญ่.
ตั้งตาคอย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าคอย.ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย.
ตั้งแต่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เป็นคำบุรพบท หมายถึง นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จนกระทั่ง).ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จนกระทั่ง).
ตั้งแต่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ยกขึ้น, สถาปนา.ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา.
ตั้งโต๊ะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา.ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา.
ตั้งท้อง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง.ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง.
ตั้งท่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่.ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่.
ตั้งธาตุ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ.ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ.
ตั้งนาฬิกา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา.ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา.
ตั้งนาฬิกาปลุก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ.ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ.
ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ตั้งหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ตั้งหน้าตั้งตา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น.ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น.
ตั้งหัวเรือ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา.ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา.
ตั้งอกตั้งใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
ตังเก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สําหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสําหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สําหรับโรยอวน และด้านหัวเรือมีที่สําหรับกว้านอวน.ตังเก น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง ใช้จับปลาตามชายฝั่งทะเล ทางด้านค่อนมาทางหัวเรือมีเก๋ง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นที่ติดตั้งเครื่องยนต์ ชั้นบนเป็นที่สําหรับผู้ควบคุมเรือใช้ดูทิศทาง มีเสากระโดง บนเสากระโดงมีแป้นกลมสําหรับคนขึ้นไปยืนสังเกตการณ์ เรียกว่า รังกา ด้านท้ายเรือมีที่สําหรับโรยอวน และด้านหัวเรือมีที่สําหรับกว้านอวน.
ตังฉ่าย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ผักดองแห้งแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้ปรุงอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตังฉ่าย น. ผักดองแห้งแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้ปรุงอาหาร. (จ.).
ตังติด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็กดู มวก เขียนว่า มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่.ตังติด ดู มวก.
ตังเม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตาลหรือนํ้าอ้อยที่เคี่ยวจนเหนียว, แตงเม ก็ว่า; โดยปริยายหมายความว่า ตระหนี่.ตังเม น. นํ้าตาลหรือนํ้าอ้อยที่เคี่ยวจนเหนียว, แตงเม ก็ว่า; โดยปริยายหมายความว่า ตระหนี่.
ตังวาย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ถวาย เป็นคำกริยา หมายถึง ให้, ถวาย. เป็นคำนาม หมายถึง ของถวาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ตังวาย (กลอน; แผลงมาจาก ถวาย) ก. ให้, ถวาย. น. ของถวาย. (ข.).
ตังโอ๋ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chrysanthemum coronarium L. ในวงศ์ Compositae ใบเล็กหนา กลิ่นหอม กินได้ เป็นพรรณไม้ต่างประเทศ, งาไซ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตังโอ๋ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chrysanthemum coronarium L. ในวงศ์ Compositae ใบเล็กหนา กลิ่นหอม กินได้ เป็นพรรณไม้ต่างประเทศ, งาไซ ก็เรียก. (จ.).
ตัจฉก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่[–ฉก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่.ตัจฉก [–ฉก] (แบบ) น. ช่างไม้. (ป.; ส. ตกฺษก).
ตัจฉนี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี[–ฉะนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผึ่ง, ขวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษณี เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.ตัจฉนี [–ฉะนี] (แบบ) น. ผึ่ง, ขวาน. (ป.; ส. ตกฺษณี).
ตัณฑุละ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[ตันดุละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตัณฑุละ [ตันดุละ] (แบบ) น. ข้าวสาร. (ป., ส.).
ตัณหักษัย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้สิ้นตัณหา เช่น แด่ท้าวผู้ตัณหักษัย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตณฺหา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา + ภาษาสันสกฤต กฺษย เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก .ตัณหักษัย (แบบ) ว. ผู้สิ้นตัณหา เช่น แด่ท้าวผู้ตัณหักษัย. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). (ป. ตณฺหา + ส. กฺษย).
ตัณหา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา[ตันหา] เป็นคำนาม หมายถึง ความทะยานอยาก, โดยทั่วไปใช้หมายถึงความใคร่ในกาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตฺฤษฺณา เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา.ตัณหา [ตันหา] น. ความทะยานอยาก, โดยทั่วไปใช้หมายถึงความใคร่ในกาม. (ป.; ส. ตฺฤษฺณา).
ตัด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ขาดด้วยของมีคม เช่น ตัดกระดาษ ตัดผ้า; ทอน เช่น ตัดเงินเดือน, ลัด เช่น เดินตัดทาง; ตัดสิ่งใดสิ่งหนึ่งทําให้เป็นสิ่งสําเร็จรูป เช่น ตัดเสื้อ ตัดรองเท้า; โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตัดญาติ ตัดกิเลส.ตัด ก. ทําให้ขาดด้วยของมีคม เช่น ตัดกระดาษ ตัดผ้า; ทอน เช่น ตัดเงินเดือน, ลัด เช่น เดินตัดทาง; ตัดสิ่งใดสิ่งหนึ่งทําให้เป็นสิ่งสําเร็จรูป เช่น ตัดเสื้อ ตัดรองเท้า; โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตัดญาติ ตัดกิเลส.
ตัดกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดกัน, ไม่กินกัน, ไม่กลมกลืนกัน, (ใช้แก่สี); ตัดผ่านขวางกัน เช่น ถนนตัดกัน.ตัดกัน ก. ขัดกัน, ไม่กินกัน, ไม่กลมกลืนกัน, (ใช้แก่สี); ตัดผ่านขวางกัน เช่น ถนนตัดกัน.
ตัดขาด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกติดต่อคบหากัน.ตัดขาด ก. เลิกติดต่อคบหากัน.
ตัดใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ห้ามใจไม่ให้คิดในเหตุที่เกิดขึ้น.ตัดใจ ก. ห้ามใจไม่ให้คิดในเหตุที่เกิดขึ้น.
ตัดช่องน้อยแต่พอตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-พอ-พาน-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาตัวรอดแต่ผู้เดียว.ตัดช่องน้อยแต่พอตัว (สำ) ก. เอาตัวรอดแต่ผู้เดียว.
ตัดช่องย่องเบา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ลักลอบเข้าไปในบ้านเรือนของผู้อื่นเพื่อขโมยของ.ตัดช่องย่องเบา (ปาก) ก. ลักลอบเข้าไปในบ้านเรือนของผู้อื่นเพื่อขโมยของ.
ตัดเชือก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดความสัมพันธ์ ไม่ยอมให้ความช่วยเหลืออีกต่อไป.ตัดเชือก (สำ) ก. ตัดความสัมพันธ์ ไม่ยอมให้ความช่วยเหลืออีกต่อไป.
ตัดญาติขาดมิตร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาดจากกัน.ตัดญาติขาดมิตร (สำ) ก. ตัดขาดจากกัน.
ตัดต้นไฟ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดสิ่งที่เป็นเหตุไม่ให้ลุกลามต่อเนื่องไป.ตัดต้นไฟ ก. ตัดสิ่งที่เป็นเหตุไม่ให้ลุกลามต่อเนื่องไป.
ตัดตอน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แบ่งหรือตัดเอามาบางส่วน.ตัดตอน ก. แบ่งหรือตัดเอามาบางส่วน.
ตัดถนน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สร้างถนน.ตัดถนน ก. สร้างถนน.
ตัดทอน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ลดลงหรือทำให้สั้นลง เช่น ตัดทอนอำนาจ.ตัดทอน ก. ทำให้ลดลงหรือทำให้สั้นลง เช่น ตัดทอนอำนาจ.
ตัดทาง, ตัดหนทาง ตัดทาง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ตัดหนทาง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หมดช่องทาง เช่น ตัดทางทํามาหากิน; ทําให้มีทาง เช่น ตัดทางพอให้ผ่านไปได้.ตัดทาง, ตัดหนทาง ก. ทําให้หมดช่องทาง เช่น ตัดทางทํามาหากิน; ทําให้มีทาง เช่น ตัดทางพอให้ผ่านไปได้.
ตัดบท เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง พูดให้ยุติเรื่องกัน; แยกคําออก.ตัดบท ก. พูดให้ยุติเรื่องกัน; แยกคําออก.
ตัดประเด็น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดข้อความสําคัญของเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออกเสียบ้าง.ตัดประเด็น ก. ตัดข้อความสําคัญของเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออกเสียบ้าง.
ตัดเป็นตัดตาย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาดจากกันอย่างเด็ดขาด.ตัดเป็นตัดตาย (สำ) ก. ตัดขาดจากกันอย่างเด็ดขาด.
ตัดพ้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง พูดต่อว่าด้วยความน้อยใจ, พ้อ หรือ ตัดพ้อต่อว่า ก็ใช้.ตัดพ้อ ก. พูดต่อว่าด้วยความน้อยใจ, พ้อ หรือ ตัดพ้อต่อว่า ก็ใช้.
ตัดไพ่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง บ่งไพ่ที่สับไพ่ไว้แล้วออกเป็นกอง ๆ.ตัดไพ่ ก. บ่งไพ่ที่สับไพ่ไว้แล้วออกเป็นกอง ๆ.
ตัดไฟต้นลม, ตัดไฟแต่ต้นลม, ตัดไฟหัวลม ตัดไฟต้นลม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า ตัดไฟแต่ต้นลม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า ตัดไฟหัวลม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดต้นเหตุเพื่อไม่ให้เหตุการณ์ลุกลามต่อไป.ตัดไฟต้นลม, ตัดไฟแต่ต้นลม, ตัดไฟหัวลม (สำ) ก. ตัดต้นเหตุเพื่อไม่ให้เหตุการณ์ลุกลามต่อไป.
ตัดไม้ข่มนาม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีทางไสยศาสตร์ก่อนออกสงคราม โดยหาไม้ที่มีชื่อเหมือนหรือสําเนียงคล้ายชื่อข้าศึกมาตัดให้ขาดเพื่อเอาชัย. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพิธีกรรมอย่างนั้นหรือที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า พิธีตัดไม้ข่มนาม.ตัดไม้ข่มนาม ก. ทําพิธีทางไสยศาสตร์ก่อนออกสงคราม โดยหาไม้ที่มีชื่อเหมือนหรือสําเนียงคล้ายชื่อข้าศึกมาตัดให้ขาดเพื่อเอาชัย. น. เรียกพิธีกรรมอย่างนั้นหรือที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า พิธีตัดไม้ข่มนาม.
ตัดรอน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาด, ตัดไมตรี.ตัดรอน ก. ตัดขาด, ตัดไมตรี.
ตัดราคา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ลดราคาให้ตํ่ากว่าคู่แข่งขัน.ตัดราคา ก. ลดราคาให้ตํ่ากว่าคู่แข่งขัน.
ตัดรำคาญ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเคี่ยวเข็ญให้ซื้อของอยู่นานจนต้องซื้อเพื่อตัดรำคาญ, เสียรำคาญ ก็ว่า.ตัดรำคาญ ก. ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเคี่ยวเข็ญให้ซื้อของอยู่นานจนต้องซื้อเพื่อตัดรำคาญ, เสียรำคาญ ก็ว่า.
ตัดสิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ลงความเห็นชี้ขาด.ตัดสิน ก. ลงความเห็นชี้ขาด.
ตัดสินใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลงใจ.ตัดสินใจ ก. ตกลงใจ.
ตัดเส้น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งเส้นริมภาพทําให้ดูเด่นชัดและเรียบร้อยขึ้น.ตัดเส้น ก. แต่งเส้นริมภาพทําให้ดูเด่นชัดและเรียบร้อยขึ้น.
ตัดหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ชิงทําเสียก่อน; ผ่านหน้าในระยะกระชั้นชิด เช่น วิ่งตัดหน้ารถ.ตัดหน้า ก. ชิงทําเสียก่อน; ผ่านหน้าในระยะกระชั้นชิด เช่น วิ่งตัดหน้ารถ.
ตัดหน้าฉาน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เดินผ่านหน้าที่ประทับ.ตัดหน้าฉาน ก. เดินผ่านหน้าที่ประทับ.
ตัดหนามอย่าไว้หน่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําลายให้ถึงต้นตอ.ตัดหนามอย่าไว้หน่อ (สำ) ก. ทําลายให้ถึงต้นตอ.
ตัดหัวคั่วแห้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่าให้ตายเพื่อให้หายแค้น.ตัดหัวคั่วแห้ง (สำ) ก. ฆ่าให้ตายเพื่อให้หายแค้น.
ตัดหางปล่อยวัด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป.ตัดหางปล่อยวัด (สำ) ก. ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป.
ตัตว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน[ตัดตะวะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นอย่างนั้น, ความเป็นจริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตตฺตฺว เขียนว่า ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-วอ-แหวน.ตัตว– [ตัดตะวะ–] (แบบ) น. ความเป็นอย่างนั้น, ความเป็นจริง. (ส. ตตฺตฺว).
ตัตวศาสตร์ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยความจริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตตฺตฺว เขียนว่า ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-วอ-แหวน + ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .ตัตวศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยความจริง. (ส. ตตฺตฺว + ศาสฺตฺร).
ตัถย์ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[ตัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นอย่างนั้น, ความจริง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นอย่างนั้นจริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตัถย์ [ตัด] (แบบ) น. ความเป็นอย่างนั้น, ความจริง. ว. เป็นอย่างนั้นจริง. (ส.).
ตัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่กลวง, ไม่ทะลุตลอด, เช่น คลองตัน ตรอกตัน ท่อตัน; โดยปริยายหมายความว่า ติดขัด, ไม่มีทางออก, เช่น ตําแหน่งตัน, ไม่ปลอดโปร่ง เช่น สมองตัน.ตัน ๑ ว. ไม่กลวง, ไม่ทะลุตลอด, เช่น คลองตัน ตรอกตัน ท่อตัน; โดยปริยายหมายความว่า ติดขัด, ไม่มีทางออก, เช่น ตําแหน่งตัน, ไม่ปลอดโปร่ง เช่น สมองตัน.
ตันคอหอย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดไม่ออกด้วยความดีใจหรือเสียใจ.ตันคอหอย (ปาก) ก. พูดไม่ออกด้วยความดีใจหรือเสียใจ.
ตันปัญญา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง จนปัญญา, คิดอะไรไม่ออก.ตันปัญญา ก. จนปัญญา, คิดอะไรไม่ออก.
ตันอกตันใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง อึดอัดใจ, ตัดสินใจไม่ถูก.ตันอกตันใจ ก. อึดอัดใจ, ตัดสินใจไม่ถูก.
ตัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑,๐๐๐ กิโลกรัม หรือ ๑๖ (เศษ ๒ ส่วน ๓) หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒. ตันระวางเรือ ถ้าคํานวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคํานวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคํานวณนํ้าหนักทั้งลําเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑,๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ton เขียนว่า ที-โอ-เอ็น.ตัน ๒ น. มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑,๐๐๐ กิโลกรัม หรือ ๑๖ (เศษ ๒ ส่วน ๓) หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒. ตันระวางเรือ ถ้าคํานวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคํานวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคํานวณนํ้าหนักทั้งลําเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑,๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. (อ. ton).
ตันตระ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [–ตฺระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญ, หัวข้อ, คําสอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตันตระ ๑ [–ตฺระ] (แบบ) น. ส่วนสําคัญ, หัวข้อ, คําสอน. (ส.).
ตันตระ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [–ตฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิฮินดูยุคหลัง ว่าด้วยพิธีกรรมเพื่อบูชาพระศิวะและศักติของพระองค์; ชื่อคัมภีร์หนึ่งในลัทธิตันตระ.ตันตระ ๒ [–ตฺระ] น. ลัทธิฮินดูยุคหลัง ว่าด้วยพิธีกรรมเพื่อบูชาพระศิวะและศักติของพระองค์; ชื่อคัมภีร์หนึ่งในลัทธิตันตระ.
ตันติ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แบบแผน; เชือก, เส้นด้าย, สายเชือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตันติ (แบบ) น. แบบแผน; เชือก, เส้นด้าย, สายเชือก. (ป., ส.).
ตันติภาษา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาที่มีแบบแผน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตนฺติภาสา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา.ตันติภาษา น. ภาษาที่มีแบบแผน. (ส.; ป. ตนฺติภาสา).
ตันหยง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ดอกพิกุล. ในวงเล็บ มาจาก จินดามณี เล่ม ๑ - ๒ กับบันทึกเรื่องหนังสือจินดามณีและจินดามณี ฉบับพระเจ้าบรมโกศ ของ พระโหราธิบดี ฉบับโรงพิมพ์ รุ่งวัฒนา พ.ศ. ๒๕๑๒. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Caesalpinia coriaria (Jacq.) Willd. ในวงศ์ Leguminosae ดอกเล็ก สีขาว กลิ่นหอม.ตันหยง น. (๑) ดอกพิกุล. (จินดามณี). (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Caesalpinia coriaria (Jacq.) Willd. ในวงศ์ Leguminosae ดอกเล็ก สีขาว กลิ่นหอม.
ตันเหิม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง รื่นเริง, บันเทิงใจ.ตันเหิม (โบ; กลอน) ก. รื่นเริง, บันเทิงใจ.
ตับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะประเภทต่อมของระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้อง ทําหน้าที่ทําลายพิษ สร้างนํ้าดีและโปรตีนบางชนิด เป็นต้น.ตับ ๑ น. อวัยวะประเภทต่อมของระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้อง ทําหน้าที่ทําลายพิษ สร้างนํ้าดีและโปรตีนบางชนิด เป็นต้น.
ตับแข็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคเรื้อรังที่เกิดแก่ตับ ทําให้เนื้อเยื่อของตับหดตัวและมีจํานวนน้อยลง ส่วนเนื้อเยื่อยึดต่อมีจํานวนมากขึ้นผิดปรกติ มักทําให้เกิดอาการบวมที่ท้อง ตาเหลือง ซึม หมดสติ และอาเจียนเป็นโลหิต.ตับแข็ง น. ชื่อโรคเรื้อรังที่เกิดแก่ตับ ทําให้เนื้อเยื่อของตับหดตัวและมีจํานวนน้อยลง ส่วนเนื้อเยื่อยึดต่อมีจํานวนมากขึ้นผิดปรกติ มักทําให้เกิดอาการบวมที่ท้อง ตาเหลือง ซึม หมดสติ และอาเจียนเป็นโลหิต.
ตับแลบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการเหนื่อยมาก เช่น วิ่งเสียจนตับแลบ.ตับแลบ (ปาก) ว. มีอาการเหนื่อยมาก เช่น วิ่งเสียจนตับแลบ.
ตับเหล็ก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ม้ามของหมู.ตับเหล็ก น. ม้ามของหมู.
ตับอ่อน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะประเภทต่อมของระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้อง ทําหน้าที่สร้างและขับนํ้าย่อยอาหาร สร้างฮอร์โมน เช่น อินซูลิน.ตับอ่อน น. อวัยวะประเภทต่อมของระบบทางเดินอาหารของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้อง ทําหน้าที่สร้างและขับนํ้าย่อยอาหาร สร้างฮอร์โมน เช่น อินซูลิน.
ตับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับหนีบปลาหรือไก่เป็นต้นปิ้งไฟ; เรียกของที่ผูก ตั้ง หรือวางเรียงกันเป็นแถว เช่น ตับจาก ตับพลุ ตับลูกปืน; ลักษณนามเรียกของที่เรียงกันเป็นแถว เช่น ปลาย่างตับหนึ่ง ปลาย่าง ๒ ตับ.ตับ ๒ น. ไม้สําหรับหนีบปลาหรือไก่เป็นต้นปิ้งไฟ; เรียกของที่ผูก ตั้ง หรือวางเรียงกันเป็นแถว เช่น ตับจาก ตับพลุ ตับลูกปืน; ลักษณนามเรียกของที่เรียงกันเป็นแถว เช่น ปลาย่างตับหนึ่ง ปลาย่าง ๒ ตับ.
ตับเพลง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เพลงที่นำมารวมขับร้องและบรรเลงติดต่อกัน ซึ่งเป็นเพลงที่อยู่ในอัตราเดียวกัน ชุดหนึ่งบรรเลงประมาณ ๓–๑๐ เพลง เช่น ตับลาวเจริญศรี.ตับเพลง น. เพลงที่นำมารวมขับร้องและบรรเลงติดต่อกัน ซึ่งเป็นเพลงที่อยู่ในอัตราเดียวกัน ชุดหนึ่งบรรเลงประมาณ ๓–๑๐ เพลง เช่น ตับลาวเจริญศรี.
ตับเรื่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เพลงที่นำมารวมขับร้องและบรรเลงติดต่อกัน มีบทร้องที่เป็นเรื่องเดียวกันและดำเนินไปโดยลำดับ แต่อาจเป็นทำนองเพลงคนละอัตราก็ได้ เช่น ตับนางลอย ตับนาคบาศ.ตับเรื่อง น. เพลงที่นำมารวมขับร้องและบรรเลงติดต่อกัน มีบทร้องที่เป็นเรื่องเดียวกันและดำเนินไปโดยลำดับ แต่อาจเป็นทำนองเพลงคนละอัตราก็ได้ เช่น ตับนางลอย ตับนาคบาศ.
ตับเต่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้นํ้าชนิด Mimulus orbicularis Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae ใบกลม ดอกสีม่วงอ่อน ใบใช้เป็นผัก, ผักอีแปะ ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้นํ้าชนิด Hydrocharis dubia (Blume) Backer ในวงศ์ Hydrocharitaceae ลําต้นกลม ดอกสีขาว ใบกินได้. (๓) ชื่อเห็ดหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Boletaceae ขึ้นตามพื้นดินใต้พุ่มไม้ยืนต้นหลายชนิด ดอกเห็ดใหญ่ สีนํ้าตาลเข้ม ด้านล่างมีรูสีเหลืองอมเขียวหม่นไปจนถึงสีนํ้าตาลอมเขียวหม่น โคนก้านใหญ่ กินได้.ตับเต่า น. (๑) ชื่อไม้นํ้าชนิด Mimulus orbicularis Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae ใบกลม ดอกสีม่วงอ่อน ใบใช้เป็นผัก, ผักอีแปะ ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้นํ้าชนิด Hydrocharis dubia (Blume) Backer ในวงศ์ Hydrocharitaceae ลําต้นกลม ดอกสีขาว ใบกินได้. (๓) ชื่อเห็ดหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Boletaceae ขึ้นตามพื้นดินใต้พุ่มไม้ยืนต้นหลายชนิด ดอกเห็ดใหญ่ สีนํ้าตาลเข้ม ด้านล่างมีรูสีเหลืองอมเขียวหม่นไปจนถึงสีนํ้าตาลอมเขียวหม่น โคนก้านใหญ่ กินได้.
ตับเต่าขาว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เห็ดตับเต่าขาว. ในวงเล็บ ดู จั่น เขียนว่า จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๕ (๒).ตับเต่าขาว น. เห็ดตับเต่าขาว. [ดู จั่น ๕ (๒)].
ตับปิ้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทําด้วยเงิน ทอง หรือนาก เป็นต้น, กระจับปิ้ง จะปิ้ง จับปิ้ง หรือ ตะปิ้ง ก็เรียก.ตับปิ้ง น. เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทําด้วยเงิน ทอง หรือนาก เป็นต้น, กระจับปิ้ง จะปิ้ง จับปิ้ง หรือ ตะปิ้ง ก็เรียก.
ตับเป็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหินชนิดหนึ่งสีดํา เนื้อแข็ง, เรียกสีดําเจือแดงว่า สีตับเป็ด หรือ ดําตับเป็ด.ตับเป็ด ๑ น. ชื่อหินชนิดหนึ่งสีดํา เนื้อแข็ง, เรียกสีดําเจือแดงว่า สีตับเป็ด หรือ ดําตับเป็ด.
ตับเป็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลค่อนข้างแบน เนื้อแน่น.ตับเป็ด ๒ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลค่อนข้างแบน เนื้อแน่น.
ตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง รูป, ตน, ตนเอง, คําใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ; ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า ๕ ตัว ตะปู ๓ ตัว เสื้อ ๒ ตัว; ใช้เรียกผู้ที่ตนพูดด้วยในฐานะคนเสมอกันที่สนิทกัน เช่น ตัวจะไปไหม.ตัว ๑ น. รูป, ตน, ตนเอง, คําใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ; ลักษณนามใช้เรียกสัตว์และสิ่งของบางอย่าง เช่น ม้า ๕ ตัว ตะปู ๓ ตัว เสื้อ ๒ ตัว; ใช้เรียกผู้ที่ตนพูดด้วยในฐานะคนเสมอกันที่สนิทกัน เช่น ตัวจะไปไหม.
ตัวกลั่น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่เลือกสรรแล้ว.ตัวกลั่น น. ผู้ที่เลือกสรรแล้ว.
ตัวกลาง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่แสงหรือเสียงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องเคลื่อนที่ผ่าน.ตัวกลาง (วิทยา) น. สิ่งที่แสงหรือเสียงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องเคลื่อนที่ผ่าน.
ตัวการ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ก่อเหตุ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ตามกฎหมายอาญา ตัวการหมายความถึงบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ซึ่งร่วมกระทำความผิดด้วยกัน; ตามกฎหมายแพ่ง ตัวการหมายความถึงบุคคลซึ่งมอบอำนาจโดยตรงหรือโดยปริยายให้บุคคลอีกคนหนึ่งทำการแทนตน.ตัวการ น. ผู้ก่อเหตุ; (กฎ) ตามกฎหมายอาญา ตัวการหมายความถึงบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ซึ่งร่วมกระทำความผิดด้วยกัน; ตามกฎหมายแพ่ง ตัวการหมายความถึงบุคคลซึ่งมอบอำนาจโดยตรงหรือโดยปริยายให้บุคคลอีกคนหนึ่งทำการแทนตน.
ตัวเก็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ ตัว หรือสิ่งที่คาดหมายไว้อย่างมั่นใจ.ตัวเก็ง น. ผู้ ตัว หรือสิ่งที่คาดหมายไว้อย่างมั่นใจ.
ตัวโค เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อารทรา มี ๑ ดวง, ดาวตาสําเภา ดาวอทระ หรือ ดาวอัททา ก็เรียก.ตัวโค น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อารทรา มี ๑ ดวง, ดาวตาสําเภา ดาวอทระ หรือ ดาวอัททา ก็เรียก.
ตัวใครตัวมัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างคนต่างเอาตัวรอดแต่ลําพัง.ตัวใครตัวมัน ว. ต่างคนต่างเอาตัวรอดแต่ลําพัง.
ตัวเงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เงินสด.ตัวเงิน น. เงินสด.
ตัวเงินตัวทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เหี้ย.ตัวเงินตัวทอง (ปาก) น. เหี้ย.
ตัวจักรใหญ่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลซึ่งเป็นสมองหรือเป็นหัวหน้าในการดําเนินกิจการ.ตัวจักรใหญ่ (สำ) น. บุคคลซึ่งเป็นสมองหรือเป็นหัวหน้าในการดําเนินกิจการ.
ตัวจำนำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ตัวแทนที่ให้อยู่เป็นประกันในความซื่อตรงมั่นคงของผู้เป็นหัวหน้าหรือประมุข.ตัวจำนำ น. ตัวแทนที่ให้อยู่เป็นประกันในความซื่อตรงมั่นคงของผู้เป็นหัวหน้าหรือประมุข.
ตัวเชิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ถูกใช้ให้ออกหน้าแทน.ตัวเชิด น. ผู้ที่ถูกใช้ให้ออกหน้าแทน.
ตัวดี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ตัวสําคัญ, ตัวต้นเหตุ, (มักใช้ในเชิงประชด).ตัวดี น. ตัวสําคัญ, ตัวต้นเหตุ, (มักใช้ในเชิงประชด).
ตัวต่อตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง หนึ่งต่อหนึ่ง (มักใช้ในการต่อสู้).ตัวต่อตัว น. หนึ่งต่อหนึ่ง (มักใช้ในการต่อสู้).
ตัวตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คําตั้ง.ตัวตั้ง ๑ (ปาก) น. คําตั้ง.
ตัวตั้งตัวตี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทํากิจกรรมต่าง ๆ, ผู้ที่ตั้งตัวเป็นหัวหน้าในการทํางานอย่างออกหน้าออกตา.ตัวตั้งตัวตี น. ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการทํากิจกรรมต่าง ๆ, ผู้ที่ตั้งตัวเป็นหัวหน้าในการทํางานอย่างออกหน้าออกตา.
ตัวตายตัวแทน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่รับช่วงทํางานติดต่อกันไปไม่ขาดตอน.ตัวตายตัวแทน (สำ) น. ผู้ที่รับช่วงทํางานติดต่อกันไปไม่ขาดตอน.
ตัวเต็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตัวที่มีนํ้าหนักในการคาดหมายว่าจะชนะมากกว่าตัวอื่น ๆ.ตัวเต็ง น. ตัวที่มีนํ้าหนักในการคาดหมายว่าจะชนะมากกว่าตัวอื่น ๆ.
ตัวถัง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของรถยนต์ที่ใช้รับน้ำหนักบรรทุก มี ๒ ประเภท คือ ตัวถังแบบมีโครงแชสซี และตัวถังแบบไม่มีโครงแชสซี.ตัวถัง น. ส่วนของรถยนต์ที่ใช้รับน้ำหนักบรรทุก มี ๒ ประเภท คือ ตัวถังแบบมีโครงแชสซี และตัวถังแบบไม่มีโครงแชสซี.
ตัวแทน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลผู้มีอํานาจทําการแทนบุคคลอื่น; ชื่อสัญญาซึ่งให้บุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวแทน มีอํานาจทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวการ และตัวแทนตกลงจะทําการนั้น.ตัวแทน (กฎ) น. บุคคลผู้มีอํานาจทําการแทนบุคคลอื่น; ชื่อสัญญาซึ่งให้บุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวแทน มีอํานาจทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ตัวการ และตัวแทนตกลงจะทําการนั้น.
ตัวแทนค้าต่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลซึ่งในทางค้าขาย ทําการซื้อ หรือขายทรัพย์สิน หรือรับจัดทํากิจการค้าอย่างอื่นในนามของตนเองต่างตัวการ.ตัวแทนค้าต่าง (กฎ) น. บุคคลซึ่งในทางค้าขาย ทําการซื้อ หรือขายทรัพย์สิน หรือรับจัดทํากิจการค้าอย่างอื่นในนามของตนเองต่างตัวการ.
ตัวแทนช่วง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งจากตัวแทนอีกต่อหนึ่งให้กระทําการแทนตัวการ.ตัวแทนช่วง (กฎ) น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งจากตัวแทนอีกต่อหนึ่งให้กระทําการแทนตัวการ.
ตัวแทนเชิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตัวแทนที่ไม่ได้รับแต่งตั้งจากตัวการโดยตรง แต่ถูกตัวการเชิดให้เป็นตัวแทนของตน หรือตัวการรู้แล้วยอมให้ตัวแทนเชิดตัวเองออกแสดงเป็นตัวแทน.ตัวแทนเชิด (กฎ) น. ตัวแทนที่ไม่ได้รับแต่งตั้งจากตัวการโดยตรง แต่ถูกตัวการเชิดให้เป็นตัวแทนของตน หรือตัวการรู้แล้วยอมให้ตัวแทนเชิดตัวเองออกแสดงเป็นตัวแทน.
ตัวนาง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แสดงละครรําหรือระบํา เข้าเครื่องละครรํา ใช้ลีลาท่ารําแบบหญิง, นางเอกในเรื่องลิเก ละคร.ตัวนาง น. ผู้แสดงละครรําหรือระบํา เข้าเครื่องละครรํา ใช้ลีลาท่ารําแบบหญิง, นางเอกในเรื่องลิเก ละคร.
ตัวนำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง สารที่กระแสไฟฟ้าหรือความร้อนผ่านไปได้ง่าย.ตัวนำ (ฟิสิกส์) น. สารที่กระแสไฟฟ้าหรือความร้อนผ่านไปได้ง่าย.
ตัวประกอบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แสดงบทบาทไม่สําคัญในภาพยนตร์ ละคร เป็นต้น เพียงประกอบบทบาทของตัวเอกเท่านั้น.ตัวประกอบ ๑ น. ผู้แสดงบทบาทไม่สําคัญในภาพยนตร์ ละคร เป็นต้น เพียงประกอบบทบาทของตัวเอกเท่านั้น.
ตัวประกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่ถูกยึดหน่วงตัวไว้เพื่อใช้ต่อรอง.ตัวประกัน น. บุคคลที่ถูกยึดหน่วงตัวไว้เพื่อใช้ต่อรอง.
ตัวปลิง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กที่ทำเป็นหมุดแหลมโค้งสำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, เขี้ยวตะขาบ ตะปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก.ตัวปลิง น. เหล็กที่ทำเป็นหมุดแหลมโค้งสำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, เขี้ยวตะขาบ ตะปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก.
ตัวเป็นเกลียว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทำงานอย่างขยันขันแข็งมากจนไม่มีเวลาได้พักผ่อน; แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไกรทอง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พ.ศ. ๒๔๕๖.ตัวเป็นเกลียว (สำ) ว. อาการที่ทำงานอย่างขยันขันแข็งมากจนไม่มีเวลาได้พักผ่อน; แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว. (ไกรทอง).
ตัวเปล่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่มีครอบครัว เช่น ฉันยังตัวเปล่าอยู่, ตัวเปล่าเล่าเปลือย ก็ว่า, ลําพังตัวไม่ได้มีอะไรมาด้วย เช่น มาตัวเปล่า เดินตัวเปล่า.ตัวเปล่า ว. ยังไม่มีครอบครัว เช่น ฉันยังตัวเปล่าอยู่, ตัวเปล่าเล่าเปลือย ก็ว่า, ลําพังตัวไม่ได้มีอะไรมาด้วย เช่น มาตัวเปล่า เดินตัวเปล่า.
ตัวเปล่าเล่าเปลือย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่มีครอบครัว เช่น เธอไม่ใช่คนตัวเปล่าเล่าเปลือยนะ, ตัวเปล่า ก็ว่า, ไร้ญาติขาดมิตร เช่น เขาเป็นคนตัวเปล่าเล่าเปลือย.ตัวเปล่าเล่าเปลือย ว. ยังไม่มีครอบครัว เช่น เธอไม่ใช่คนตัวเปล่าเล่าเปลือยนะ, ตัวเปล่า ก็ว่า, ไร้ญาติขาดมิตร เช่น เขาเป็นคนตัวเปล่าเล่าเปลือย.
ตัวผู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เพศผู้ (ใช้เฉพาะสัตว์และพืชบางชนิด) เช่น แมวตัวผู้; เรียกสิ่งของบางอย่างที่มีรูปแหลมยาว เช่น เกลือตัวผู้, เรียกสิ่งที่มีเดือยสําหรับสอด เช่น กระเบื้องตัวผู้ นอตตัวผู้, เรียกต้นไม้ที่ไม่มีผลตลอดไป เช่น มะละกอตัวผู้.ตัวผู้ น. เพศผู้ (ใช้เฉพาะสัตว์และพืชบางชนิด) เช่น แมวตัวผู้; เรียกสิ่งของบางอย่างที่มีรูปแหลมยาว เช่น เกลือตัวผู้, เรียกสิ่งที่มีเดือยสําหรับสอด เช่น กระเบื้องตัวผู้ นอตตัวผู้, เรียกต้นไม้ที่ไม่มีผลตลอดไป เช่น มะละกอตัวผู้.
ตัวพระ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แสดงละครรําหรือระบํา เข้าเครื่องละครรํา ใช้ลีลาท่ารําแบบชาย, พระเอกในเรื่องลิเก ละคร.ตัวพระ น. ผู้แสดงละครรําหรือระบํา เข้าเครื่องละครรํา ใช้ลีลาท่ารําแบบชาย, พระเอกในเรื่องลิเก ละคร.
ตัวพิมพ์ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ตัวอักษรที่หล่อด้วยตะกั่วใช้เรียงพิมพ์ มีหลายชนิด เช่น ตัวโป้ง ตัวฝรั่งเศส; เรียกตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ.ตัวพิมพ์ น. ตัวอักษรที่หล่อด้วยตะกั่วใช้เรียงพิมพ์ มีหลายชนิด เช่น ตัวโป้ง ตัวฝรั่งเศส; เรียกตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ.
ตัวเมีย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เพศเมีย (ใช้เฉพาะสัตว์และพืชบางชนิด) เช่น แมวตัวเมีย; เรียกสิ่งของบางอย่างที่มีรูหรือขอรับให้สิ่งอื่นเกาะหรือสอดเข้าได้ เช่น กระเบื้องตัวเมีย นอตตัวเมีย.ตัวเมีย น. เพศเมีย (ใช้เฉพาะสัตว์และพืชบางชนิด) เช่น แมวตัวเมีย; เรียกสิ่งของบางอย่างที่มีรูหรือขอรับให้สิ่งอื่นเกาะหรือสอดเข้าได้ เช่น กระเบื้องตัวเมีย นอตตัวเมีย.
ตัวเมือง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ย่านใจกลางเมือง มักมีแม่นํ้าหรือกําแพงล้อมรอบ.ตัวเมือง น. ย่านใจกลางเมือง มักมีแม่นํ้าหรือกําแพงล้อมรอบ.
ตัวไม้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่แต่งไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือนเป็นต้น.ตัวไม้ น. ไม้ที่แต่งไว้เพื่อคุมกันเข้าเป็นเรือนเป็นต้น.
ตัวยืน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ถูกกําหนดให้เป็นตัวหลัก สําหรับให้คนอื่นมาเป็นคู่ชิงตําแหน่ง (ใช้แก่กีฬา); ผู้ที่เป็นหลักในการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตัวยืนโรง หรือ ตัวยืนพื้น ก็ว่า.ตัวยืน น. ผู้ที่ถูกกําหนดให้เป็นตัวหลัก สําหรับให้คนอื่นมาเป็นคู่ชิงตําแหน่ง (ใช้แก่กีฬา); ผู้ที่เป็นหลักในการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตัวยืนโรง หรือ ตัวยืนพื้น ก็ว่า.
ตัวร้อน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อาการของร่างกายที่มีอุณหภูมิสูงกว่าปรกติ.ตัวร้อน น. อาการของร่างกายที่มีอุณหภูมิสูงกว่าปรกติ.
ตัวละคร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีบทบาทในวรรณกรรมประเภทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น และเรื่องแต่งประเภทต่าง ๆ.ตัวละคร (วรรณ) น. ผู้มีบทบาทในวรรณกรรมประเภทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น และเรื่องแต่งประเภทต่าง ๆ.
ตัวสะกด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง พยัญชนะท้ายคําหรือพยางค์ที่ทําหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ เช่น น เป็นตัวสะกดในมาตรากน.ตัวสะกด น. พยัญชนะท้ายคําหรือพยางค์ที่ทําหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ เช่น น เป็นตัวสะกดในมาตรากน.
ตัวสำคัญ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ตัวร้าย เช่น เด็กคนนี้แหละตัวสำคัญนัก ชอบรังแกเพื่อน.ตัวสำคัญ (ปาก) น. ตัวร้าย เช่น เด็กคนนี้แหละตัวสำคัญนัก ชอบรังแกเพื่อน.
ตัวหนังสือ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคําพูด.ตัวหนังสือ น. สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคําพูด.
ตัวอย่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่นํามาอ้างเพื่อแสดงให้เห็นลักษณะที่เป็นส่วนรวมทั้งหมด เช่น ยกตัวอย่าง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่แสดงแบบอย่างหรือคุณภาพเป็นต้นแทนส่วนทั้งหมดของสิ่งนั้น ๆ เช่น ของตัวอย่าง, ที่ทําให้เห็นเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ครูตัวอย่าง นาตัวอย่าง.ตัวอย่าง น. สิ่งที่นํามาอ้างเพื่อแสดงให้เห็นลักษณะที่เป็นส่วนรวมทั้งหมด เช่น ยกตัวอย่าง. ว. ที่แสดงแบบอย่างหรือคุณภาพเป็นต้นแทนส่วนทั้งหมดของสิ่งนั้น ๆ เช่น ของตัวอย่าง, ที่ทําให้เห็นเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น ครูตัวอย่าง นาตัวอย่าง.
ตัวเอ้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง หัวโจก.ตัวเอ้ น. หัวโจก.
ตัวเอก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มีบทบาทเด่นในเรื่องลิเก ละคร เป็นต้น.ตัวเอก น. ผู้ที่มีบทบาทเด่นในเรื่องลิเก ละคร เป็นต้น.
ตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเลขในวิธีทําว่า ตัว เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร.ตัว ๒ (คณิต) น. เรียกเลขในวิธีทําว่า ตัว เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร.
ตัวคูณร่วมน้อย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-นอ-เนน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดซึ่งนําไปหารด้วยจํานวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จํานวนขึ้นไป แล้วจะได้ผลลัพธ์ลงตัวพอดี เช่น ๗๐ เป็นตัวคูณร่วมน้อยของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ค.ร.น.ตัวคูณร่วมน้อย น. จํานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดซึ่งนําไปหารด้วยจํานวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จํานวนขึ้นไป แล้วจะได้ผลลัพธ์ลงตัวพอดี เช่น ๗๐ เป็นตัวคูณร่วมน้อยของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ค.ร.น.
ตัวตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเลขที่ตั้งไว้ก่อนสําหรับบวกลบคูณหาร.ตัวตั้ง ๒ น. จํานวนเลขที่ตั้งไว้ก่อนสําหรับบวกลบคูณหาร.
ตัวประกอบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนที่เมื่อคูณกันแล้วทําให้เกิดอีกจํานวนหนึ่ง เช่น ๒ x ๓ = ๖ ๒ และ ๓ ต่างเป็นตัวประกอบของ ๖.ตัวประกอบ ๒ น. จํานวนที่เมื่อคูณกันแล้วทําให้เกิดอีกจํานวนหนึ่ง เช่น ๒ x ๓ = ๖ ๒ และ ๓ ต่างเป็นตัวประกอบของ ๖.
ตัวแปร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้อนที่มีค่าได้หลาย ๆ ค่าในช่วงหรือเซตที่กําหนดให้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ variable เขียนว่า วี-เอ-อา-ไอ-เอ-บี-แอล-อี.ตัวแปร น. จํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้อนที่มีค่าได้หลาย ๆ ค่าในช่วงหรือเซตที่กําหนดให้. (อ. variable).
ตัวเลข เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจํานวนจริง เช่น ๑๒ 53 VIII. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ numeral เขียนว่า เอ็น-ยู-เอ็ม-อี-อา-เอ-แอล.ตัวเลข น. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจํานวนจริง เช่น ๑๒ 53 VIII. (อ. numeral).
ตัวหารร่วมมาก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดซึ่งนําไปหารจํานวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จํานวนขึ้นไปได้ลงตัวพอดี เช่น ๗ เป็นตัวหารร่วมมากของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ห.ร.ม.ตัวหารร่วมมาก น. จํานวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดซึ่งนําไปหารจํานวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จํานวนขึ้นไปได้ลงตัวพอดี เช่น ๗ เป็นตัวหารร่วมมากของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ห.ร.ม.
ตั๋ว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง บัตรบางอย่างที่แสดงสิทธิของผู้ใช้ เช่น ตั๋วรถ ตั๋วหนัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตั๋ว น. บัตรบางอย่างที่แสดงสิทธิของผู้ใช้ เช่น ตั๋วรถ ตั๋วหนัง. (จ.).
ตั๋วเงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งสั่งให้จ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงินตามกฎหมาย มี ๓ ประเภท คือ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และเช็ค.ตั๋วเงิน (กฎ) น. หนังสือตราสารซึ่งสั่งให้จ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงินตามกฎหมาย มี ๓ ประเภท คือ ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และเช็ค.
ตั๋วเงินคลัง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตั๋วเงินซึ่งออกโดยกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นหลักฐานการกู้เงินระยะสั้นของรัฐบาล.ตั๋วเงินคลัง น. ตั๋วเงินซึ่งออกโดยกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นหลักฐานการกู้เงินระยะสั้นของรัฐบาล.
ตั๋วเงินจ่าย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในการบัญชี เป็นคำนาม หมายถึง ตั๋วแลกเงินของฝ่ายลูกหนี้ที่ต้องใช้เงินตามสัญญา ลงบัญชีในช่องหนี้สิน.ตั๋วเงินจ่าย (บัญชี) น. ตั๋วแลกเงินของฝ่ายลูกหนี้ที่ต้องใช้เงินตามสัญญา ลงบัญชีในช่องหนี้สิน.
ตั๋วเงินรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในการบัญชี เป็นคำนาม หมายถึง ตั๋วแลกเงินของฝ่ายเจ้าหนี้ที่จะได้รับเงินตามสัญญา ลงบัญชีในช่องทรัพย์สิน.ตั๋วเงินรับ (บัญชี) น. ตั๋วแลกเงินของฝ่ายเจ้าหนี้ที่จะได้รับเงินตามสัญญา ลงบัญชีในช่องทรัพย์สิน.
ตั๋วรูปพรรณ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารแสดงตำหนิรูปพรรณสัตว์พาหนะ.ตั๋วรูปพรรณ (กฎ) น. เอกสารแสดงตำหนิรูปพรรณสัตว์พาหนะ.
ตั๋วแลกเงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จ่าย ให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคําสั่งของบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน.ตั๋วแลกเงิน (กฎ) น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้จ่าย ให้ใช้เงินจํานวนหนึ่งแก่บุคคลคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคําสั่งของบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน.
ตั๋วสัญญาใช้เงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้คํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจํานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ให้ตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน.ตั๋วสัญญาใช้เงิน (กฎ) น. หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า ผู้ออกตั๋ว ให้คํามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจํานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใช้ให้ตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับเงิน.
ตัวจี๊ด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิชนิด Gnathostoma spinigerum ในวงศ์ Gnathostomatidae ลําตัวสีแดง ยาว ๑๐–๕๐ มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยพบในกระเพาะของสุนัข แมว และเสือ ตัวอ่อนพบในปลา ไก่ กบ หรือสัตว์เลื้อยคลาน ติดต่อถึงคนได้เมื่อกินสัตว์เหล่านี้ที่ยังดิบซึ่งมีตัวอ่อนของพยาธิชนิดนี้อยู่ ตัวอ่อนเมื่ออยู่ในคนสามารถเคลื่อนตัวไปตามเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ได้อาจเป็นตุ่มนูนขึ้นมาตามผิวหนังและปวดบวม, หนอนด้น ก็เรียก.ตัวจี๊ด น. ชื่อพยาธิชนิด Gnathostoma spinigerum ในวงศ์ Gnathostomatidae ลําตัวสีแดง ยาว ๑๐–๕๐ มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยพบในกระเพาะของสุนัข แมว และเสือ ตัวอ่อนพบในปลา ไก่ กบ หรือสัตว์เลื้อยคลาน ติดต่อถึงคนได้เมื่อกินสัตว์เหล่านี้ที่ยังดิบซึ่งมีตัวอ่อนของพยาธิชนิดนี้อยู่ ตัวอ่อนเมื่ออยู่ในคนสามารถเคลื่อนตัวไปตามเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ได้อาจเป็นตุ่มนูนขึ้นมาตามผิวหนังและปวดบวม, หนอนด้น ก็เรียก.
ตัวตืด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิในชั้น Cestoda ตัวแบนเป็นปล้องเรียงต่อกันเป็นแถบยาว หัวมีอวัยวะใช้เกาะยึด ถัดจากหัวเป็นคอซึ่งเป็นส่วนที่สร้างปล้องออกมาเรื่อย ๆ บางชนิดมีเพียง ๒–๓ ปล้อง บางชนิดมีถึง ๑,๐๐๐ ปล้อง ปล้องท้ายสุดเกิดก่อน ปล้องถัดจากคอเกิดหลังสุด แต่ละปล้องมีอวัยวะทั้งเพศผู้และเพศเมียรวมอยู่ด้วยกัน มักอาศัยดูดอาหารในลําไส้ของมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทําให้เป็นโรคโลหิตจาง ถ้ามีจํานวนมากจะไปกั้นทางเดินอาหาร ทําให้มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง มีหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น ชนิด Taenia solium ซึ่งตัวอ่อน เรียก เม็ดสาคู อยู่ในเนื้อหมู ชนิด T. saginata ซึ่งตัวอ่อนอยู่ในเนื้อวัว, ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Taeniidae และเป็นพยาธิในลําไส้เล็กของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด.ตัวตืด น. ชื่อพยาธิในชั้น Cestoda ตัวแบนเป็นปล้องเรียงต่อกันเป็นแถบยาว หัวมีอวัยวะใช้เกาะยึด ถัดจากหัวเป็นคอซึ่งเป็นส่วนที่สร้างปล้องออกมาเรื่อย ๆ บางชนิดมีเพียง ๒–๓ ปล้อง บางชนิดมีถึง ๑,๐๐๐ ปล้อง ปล้องท้ายสุดเกิดก่อน ปล้องถัดจากคอเกิดหลังสุด แต่ละปล้องมีอวัยวะทั้งเพศผู้และเพศเมียรวมอยู่ด้วยกัน มักอาศัยดูดอาหารในลําไส้ของมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทําให้เป็นโรคโลหิตจาง ถ้ามีจํานวนมากจะไปกั้นทางเดินอาหาร ทําให้มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง มีหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น ชนิด Taenia solium ซึ่งตัวอ่อน เรียก เม็ดสาคู อยู่ในเนื้อหมู ชนิด T. saginata ซึ่งตัวอ่อนอยู่ในเนื้อวัว, ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Taeniidae และเป็นพยาธิในลําไส้เล็กของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด.
ตั้วโผ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ผอ-ผึ้ง เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, โต้โผ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตั้วโผ น. หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, โต้โผ ก็เรียก. (จ.).
ตั้วสิว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อมแซม เช่น ต้องตั้วสิวสําเภาเอาเข้าอู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตั้วสิว ก. ซ่อมแซม เช่น ต้องตั้วสิวสําเภาเอาเข้าอู่. (จ.).
ตั้วเหี่ย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งหัวหน้าอั้งยี่, อั้งยี่. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ตั้วเหี่ย น. ตําแหน่งหัวหน้าอั้งยี่, อั้งยี่. (จ.).
ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง พ่อของแม่, ผัวของยาย, ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ เช่น ตาเถร ตาแก่ หรือเรียกชายรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง เช่น ตาเกิ้น ตาโย่ง หรือเรียกเด็กชายที่ตนเอ็นดูรักใคร่ เช่น ตาหนู.ตา ๑ น. พ่อของแม่, ผัวของยาย, ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา, (ปาก) คําเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ เช่น ตาเถร ตาแก่ หรือเรียกชายรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง เช่น ตาเกิ้น ตาโย่ง หรือเรียกเด็กชายที่ตนเอ็นดูรักใคร่ เช่น ตาหนู.
ตาทวด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง พ่อของตาหรือของยาย.ตาทวด น. พ่อของตาหรือของยาย.
ตามีตามา, ตาสีตาสา ตามีตามา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ตาสีตาสา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ชาวบ้านทั่ว ๆ ไป.ตามีตามา, ตาสีตาสา (สำ) น. ชาวบ้านทั่ว ๆ ไป.
ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทําหน้าที่เป็นเครื่องดูรูป; ส่วนหนึ่งของต้นไม้ตรงที่แตกกิ่ง, รอยของต้นไม้ตรงที่เคยแตกกิ่ง; ช่องที่เกิดจากการถัก สาน หรือลากเส้นผ่านกัน เช่น ตาร่างแห ตาตะแกรง ตาตาราง; คราว เช่น ตานี้ ถึงตาฉันบ้างละนะ; เรียกลายที่เป็นตาตามรูปต่าง ๆ ตามลักษณะของสิ่งของ เช่น ตาสมุก ตาราชวัติ ตาเมล็ดงา ตาเม็ดบัว ตาหมากรุก.ตา ๒ น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทําหน้าที่เป็นเครื่องดูรูป; ส่วนหนึ่งของต้นไม้ตรงที่แตกกิ่ง, รอยของต้นไม้ตรงที่เคยแตกกิ่ง; ช่องที่เกิดจากการถัก สาน หรือลากเส้นผ่านกัน เช่น ตาร่างแห ตาตะแกรง ตาตาราง; คราว เช่น ตานี้ ถึงตาฉันบ้างละนะ; เรียกลายที่เป็นตาตามรูปต่าง ๆ ตามลักษณะของสิ่งของ เช่น ตาสมุก ตาราชวัติ ตาเมล็ดงา ตาเม็ดบัว ตาหมากรุก.
ตากบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะคล้ายตากบ ใช้เปรียบข้าวที่หุงดิบ ๆ สุก ๆ, ตากบตาเขียด ก็เรียก.ตากบ ๑ ว. มีลักษณะคล้ายตากบ ใช้เปรียบข้าวที่หุงดิบ ๆ สุก ๆ, ตากบตาเขียด ก็เรียก.
ตากบตาเขียด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะคล้ายตากบ ใช้เปรียบข้าวที่หุงดิบ ๆ สุก ๆ, ตากบ ก็เรียก.ตากบตาเขียด ว. มีลักษณะคล้ายตากบ ใช้เปรียบข้าวที่หุงดิบ ๆ สุก ๆ, ตากบ ก็เรียก.
ตากล้อง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําหน้าที่ถ่ายภาพ.ตากล้อง (ปาก) น. ผู้ทําหน้าที่ถ่ายภาพ.
ตากลับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ตาเหลือกขึ้นจนไม่แลเห็นตาดํา; ลักษณะที่สายตาคนมีอายุกลับเห็นชัดเจนขึ้น.ตากลับ ว. ลักษณะที่ตาเหลือกขึ้นจนไม่แลเห็นตาดํา; ลักษณะที่สายตาคนมีอายุกลับเห็นชัดเจนขึ้น.
ตากล้า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พื้นดินที่ยกเป็นคันแบ่งเป็นช่อง ๆ สําหรับตกกล้า, ตาตกกล้า ก็ว่า.ตากล้า น. พื้นดินที่ยกเป็นคันแบ่งเป็นช่อง ๆ สําหรับตกกล้า, ตาตกกล้า ก็ว่า.
ตากุ้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเหมือนตาของกุ้ง, สีม่วงอมเทา.ตากุ้ง ว. สีเหมือนตาของกุ้ง, สีม่วงอมเทา.
ตาโก้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผ้าชนิดหนึ่งที่ทอเป็นตาโต ๆ.ตาโก้ง น. ชื่อผ้าชนิดหนึ่งที่ทอเป็นตาโต ๆ.
ตาไก่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปคล้ายตาไก่ ดังนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สําหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ฟองมัน ก็เรียก; โลหะที่ทําเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดใหญ่ เรียกว่า ตางัว.ตาไก่ น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปคล้ายตาไก่ ดังนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สําหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ฟองมัน ก็เรียก; โลหะที่ทําเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดใหญ่ เรียกว่า ตางัว.
ตาขวาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เริ่มแสดงอาการคลั่ง; ขุ่นเคือง, ไม่พอใจ.ตาขวาง ว. เริ่มแสดงอาการคลั่ง; ขุ่นเคือง, ไม่พอใจ.
ตาขอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือเหล็กที่งอ ๆ สําหรับชัก เกี่ยว แขวน หรือสับ, ขอ หรือ ตะขอ ก็ว่า.ตาขอ น. ไม้หรือเหล็กที่งอ ๆ สําหรับชัก เกี่ยว แขวน หรือสับ, ขอ หรือ ตะขอ ก็ว่า.
ตาข่าย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักสัตว์มีนกหรือกระต่ายเป็นต้น ถักเป็นตาร่างแห, เรียกลวดหรือด้ายที่ถักเป็นตา ๆ อย่างข่ายว่า ลวดตาข่าย ฯลฯ.ตาข่าย น. เครื่องดักสัตว์มีนกหรือกระต่ายเป็นต้น ถักเป็นตาร่างแห, เรียกลวดหรือด้ายที่ถักเป็นตา ๆ อย่างข่ายว่า ลวดตาข่าย ฯลฯ.
ตาขาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสดงอาการขลาดกลัว.ตาขาว ว. แสดงอาการขลาดกลัว.
ตาขุ่นตาเขียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสดงอาการโกรธจัด, ตาเขียว ก็ว่า.ตาขุ่นตาเขียว ว. แสดงอาการโกรธจัด, ตาเขียว ก็ว่า.
ตาเข เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาเหล่น้อย.ตาเข น. ตาเหล่น้อย.
ตาเขียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสดงอาการโกรธจัด, ตาขุ่นตาเขียว ก็ว่า.ตาเขียว ว. แสดงอาการโกรธจัด, ตาขุ่นตาเขียว ก็ว่า.
ตาแข็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ง่วง, ไม่กะพริบง่าย.ตาแข็ง ว. ไม่ง่วง, ไม่กะพริบง่าย.
ตาคม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีลักษณะอย่างของมีคม อาจบาดหรือแทงใจได้.ตาคม น. ตาที่มีลักษณะอย่างของมีคม อาจบาดหรือแทงใจได้.
ตาค้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาเหลือกขึ้นและไม่กลับลงมาตามเดิม, อาการที่นอนหลับหรือตายลืมตา, อาการที่ตาไม่กะพริบ.ตาค้าง ว. อาการที่ตาเหลือกขึ้นและไม่กลับลงมาตามเดิม, อาการที่นอนหลับหรือตายลืมตา, อาการที่ตาไม่กะพริบ.
ตางัว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโคมชนิดหนึ่ง; โลหะที่ทําเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดเล็ก เรียกว่า ตาไก่.ตางัว ๑ น. ชื่อโคมชนิดหนึ่ง; โลหะที่ทําเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดเล็ก เรียกว่า ตาไก่.
ตาจระเข้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวไต้ไฟ ดาวเสือ หรือ ดาวต่อมนํ้า ก็เรียก; ตาคนที่มีรูปยาวเหมือนตาของจระเข้.ตาจระเข้ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวไต้ไฟ ดาวเสือ หรือ ดาวต่อมนํ้า ก็เรียก; ตาคนที่มีรูปยาวเหมือนตาของจระเข้.
ตาเจ้าชู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่แสดงอาการกรุ้มกริ่มเป็นเชิงทอดไมตรีในทางชู้สาว.ตาเจ้าชู้ (สำ) น. ตาที่แสดงอาการกรุ้มกริ่มเป็นเชิงทอดไมตรีในทางชู้สาว.
ตาชั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องชั่งสําหรับชั่งสิ่งของต่าง ๆ มีหลายชนิด เช่น ตราชู ชั่งจีน ชั่งสปริง.ตาชั่ง น. เครื่องชั่งสําหรับชั่งสิ่งของต่าง ๆ มีหลายชนิด เช่น ตราชู ชั่งจีน ชั่งสปริง.
ตาแดง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรคเยื่อหุ้มลูกตาอักเสบ.ตาแดง น. โรคเยื่อหุ้มลูกตาอักเสบ.
ตาตกกล้า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ตากล้า.ตาตกกล้า น. ตากล้า.
ตาตั๊กแตน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะที่ใสแจ๋ว.ตาตั๊กแตน ๑ ว. มีลักษณะที่ใสแจ๋ว.
ตาตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาแข็งและเหลือกในเวลาชัก.ตาตั้ง ว. อาการที่ตาแข็งและเหลือกในเวลาชัก.
ตาตาราง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากเส้นขนานในแนวยืนกับแนวนอนตัดกัน, ตาราง ก็ว่า.ตาตาราง น. ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากเส้นขนานในแนวยืนกับแนวนอนตัดกัน, ตาราง ก็ว่า.
ตาตี่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่หนังตาบนตกลงมาจนเกือบปิด ทําให้เบิกตากว้างไม่ได้.ตาตี่ น. ตาที่หนังตาบนตกลงมาจนเกือบปิด ทําให้เบิกตากว้างไม่ได้.
ตาตุ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะส่วนที่เป็นปุ่มกลม ๆ ที่ข้อเท้าทั้ง ๒ ข้าง.ตาตุ่ม ๑ น. อวัยวะส่วนที่เป็นปุ่มกลม ๆ ที่ข้อเท้าทั้ง ๒ ข้าง.
ตาเต็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องชั่งหรือตาชั่งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีถาดห้อยอยู่ทางหัวคันที่เป็นไม้หรืองาช้าง มีตุ้มถ่วงห้อยเลื่อนไปมาตามคันได้ เดิมใช้สําหรับชั่งทอง เงิน เพชร และพลอย, เต็ง ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาจีน เต็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู.ตาเต็ง น. เครื่องชั่งหรือตาชั่งขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีถาดห้อยอยู่ทางหัวคันที่เป็นไม้หรืองาช้าง มีตุ้มถ่วงห้อยเลื่อนไปมาตามคันได้ เดิมใช้สําหรับชั่งทอง เงิน เพชร และพลอย, เต็ง ก็เรียก. (เทียบ จ. เต็ง).
ตาโต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาพอง ตาลุก หรือ ตาลุกตาชัน ก็ว่า.ตาโต ๑ (สำ) ว. อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาพอง ตาลุก หรือ ตาลุกตาชัน ก็ว่า.
ตาถั่ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีจุดขาวมัว ๆ อยู่กลางตาดํา ทําให้มองไม่ค่อยเห็น, โดยปริยายหมายความว่า เซ่อ เช่น ของวางอยู่ตรงหน้า ไม่เห็นก็ตาถั่วแล้ว.ตาถั่ว น. ตาที่มีจุดขาวมัว ๆ อยู่กลางตาดํา ทําให้มองไม่ค่อยเห็น, โดยปริยายหมายความว่า เซ่อ เช่น ของวางอยู่ตรงหน้า ไม่เห็นก็ตาถั่วแล้ว.
ตาทัพ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ทางที่กองทัพเดิน ซึ่งเปรียบด้วยตาหรือแต้มหมากรุก.ตาทัพ น. ทางที่กองทัพเดิน ซึ่งเปรียบด้วยตาหรือแต้มหมากรุก.
ตาทิพย์ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่สามารถดูอะไรเห็นได้หมด.ตาทิพย์ น. ตาที่สามารถดูอะไรเห็นได้หมด.
ตานกแก้ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะส่วนที่เป็นปุ่มกลมที่ข้อมือทั้ง ๒ ข้าง.ตานกแก้ว น. อวัยวะส่วนที่เป็นปุ่มกลมที่ข้อมือทั้ง ๒ ข้าง.
ตาน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ทางนํ้าใต้ดินที่มีนํ้าไหลไม่ขาดสาย.ตาน้ำ น. ทางนํ้าใต้ดินที่มีนํ้าไหลไม่ขาดสาย.
ตาบอด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตามืด, ตามองไม่เห็น, โดยปริยายหมายถึงหลงผิดไปชั่วคราวไม่รู้ว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เพราะความรักเลยทำให้เขาตาบอดไปชั่วระยะหนึ่ง.ตาบอด น. ตามืด, ตามองไม่เห็น, โดยปริยายหมายถึงหลงผิดไปชั่วคราวไม่รู้ว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เพราะความรักเลยทำให้เขาตาบอดไปชั่วระยะหนึ่ง.
ตาบอดคลำช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่รู้อะไรด้านเดียวหรือนัยเดียวแล้วเข้าใจว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างนั้น.ตาบอดคลำช้าง (สำ) น. คนที่รู้อะไรด้านเดียวหรือนัยเดียวแล้วเข้าใจว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างนั้น.
ตาบอดได้แว่น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ได้สิ่งซึ่งไม่เป็นประโยชน์แก่ตน มักพูดเข้าคู่กับ หัวล้านได้หวี เป็น หัวล้านได้หวี ตาบอดได้แว่น.ตาบอดได้แว่น (สำ) น. ผู้ที่ได้สิ่งซึ่งไม่เป็นประโยชน์แก่ตน มักพูดเข้าคู่กับ หัวล้านได้หวี เป็น หัวล้านได้หวี ตาบอดได้แว่น.
ตาบอดตาใส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ตาบอดอย่างที่ตาดูเหมือนเป็นปรกติ แต่มองไม่เห็น.ตาบอดตาใส น. ตาบอดอย่างที่ตาดูเหมือนเป็นปรกติ แต่มองไม่เห็น.
ตาบอดสอดตาเห็น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง อวดรู้ในเรื่องที่ตนไม่รู้.ตาบอดสอดตาเห็น (สำ) อวดรู้ในเรื่องที่ตนไม่รู้.
ตาบอดสี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มองเห็นสีผิดไปจากสีที่เป็นจริง เนื่องจากประสาทตาที่รับรู้สีพิการหรือเจริญไม่เต็มที่.ตาบอดสี น. ตาที่มองเห็นสีผิดไปจากสีที่เป็นจริง เนื่องจากประสาทตาที่รับรู้สีพิการหรือเจริญไม่เต็มที่.
ตาปลา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อซึ่งด้านเป็นไตแข็งคล้ายตาของปลา มักเป็นที่ฝ่าเท้าหรือนิ้วเท้า.ตาปลา น. เนื้อซึ่งด้านเป็นไตแข็งคล้ายตาของปลา มักเป็นที่ฝ่าเท้าหรือนิ้วเท้า.
ตาปลาดุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีลักษณะเล็กเรียว.ตาปลาดุก น. ตาที่มีลักษณะเล็กเรียว.
ตาปู เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ตะปู.ตาปู น. ตะปู.
ตาเป็นมัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่จับตามองจ้องดูสิ่งที่ต้องใจอย่างจดจ่อ.ตาเป็นมัน (สำ) ว. อาการที่จับตามองจ้องดูสิ่งที่ต้องใจอย่างจดจ่อ.
ตาเป็นสับปะรด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีพรรคพวกที่คอยสอดส่องเหตุการณ์ให้อยู่รอบข้าง.ตาเป็นสับปะรด (สำ) ว. มีพรรคพวกที่คอยสอดส่องเหตุการณ์ให้อยู่รอบข้าง.
ตาโป่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตาหมากรุกที่เดินผิดกติกา โดยเดินทแยง ๔๕ องศาไป ๓ ตาตาราง (มักใช้แก่การเดินหมากม้าในหมากรุกไทย).ตาโป่ง น. ตาหมากรุกที่เดินผิดกติกา โดยเดินทแยง ๔๕ องศาไป ๓ ตาตาราง (มักใช้แก่การเดินหมากม้าในหมากรุกไทย).
ตาฝาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เห็นผิดพลาดไป, เห็นคลาดเคลื่อนไปจากของเดิม.ตาฝาด ว. เห็นผิดพลาดไป, เห็นคลาดเคลื่อนไปจากของเดิม.
ตาพร่า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เห็นไม่ชัดเจน.ตาพร่า ว. อาการที่เห็นไม่ชัดเจน.
ตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีลักษณะโป่งโตขึ้นมา. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาโต ตาลุก หรือ ตาลุกตาชัน ก็ว่า.ตาพอง ๑ น. ตาที่มีลักษณะโป่งโตขึ้นมา. (สำ) ว. อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาโต ตาลุก หรือ ตาลุกตาชัน ก็ว่า.
ตาโพลง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบิกตากว้าง เช่น ตกใจลืมตาโพลง.ตาโพลง ว. เบิกตากว้าง เช่น ตกใจลืมตาโพลง.
ตาฟาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มองอะไรเห็นไม่ชัดเจน.ตาฟาง น. ตาที่มองอะไรเห็นไม่ชัดเจน.
ตาฟางไก่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มองเห็นเฉพาะในเวลากลางวัน ในเวลากลางคืนมองอะไรไม่เห็น.ตาฟางไก่ น. ตาที่มองเห็นเฉพาะในเวลากลางวัน ในเวลากลางคืนมองอะไรไม่เห็น.
ตาเฟื้องตาสลึง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว (มักใช้แก่หญิงสาว).ตาเฟื้องตาสลึง (สำ) น. ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว (มักใช้แก่หญิงสาว).
ตามด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง รูเล็ก ๆ ที่นํ้าซึมออกได้อย่างรูรั่วตามก้นหม้อเป็นต้น.ตามด น. รูเล็ก ๆ ที่นํ้าซึมออกได้อย่างรูรั่วตามก้นหม้อเป็นต้น.
ตาแมว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชันชนิดหนึ่ง เรียกว่า ชันตาแมว; คดที่ได้จากตาแมว; แก้วมีค่าชนิดหนึ่ง เรียกว่า เพชรตาแมว; แก้วสะท้อนแสงชนิดหนึ่งที่ฝังไว้กลางถนนเป็นระยะ ๆ.ตาแมว น. ชื่อชันชนิดหนึ่ง เรียกว่า ชันตาแมว; คดที่ได้จากตาแมว; แก้วมีค่าชนิดหนึ่ง เรียกว่า เพชรตาแมว; แก้วสะท้อนแสงชนิดหนึ่งที่ฝังไว้กลางถนนเป็นระยะ ๆ.
ตาไม่มีแวว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่รู้จักของดี เช่น เขาเป็นคนตาไม่มีแวว มีของดีมาให้เลือกยังไม่ยอมเลือก.ตาไม่มีแวว (สำ) ว. ไม่รู้จักของดี เช่น เขาเป็นคนตาไม่มีแวว มีของดีมาให้เลือกยังไม่ยอมเลือก.
ตาราง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากเส้นขนานในแนวยืนกับแนวนอนตัดกัน, ตาตาราง ก็ว่า; ใช้เป็นคํานําหน้าคํามาตราวัดที่เป็นหน่วยมาตรฐาน หมายความว่า สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ตารางวา หมายความว่า วาสี่เหลี่ยมจัตุรัส.ตาราง น. ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากเส้นขนานในแนวยืนกับแนวนอนตัดกัน, ตาตาราง ก็ว่า; ใช้เป็นคํานําหน้าคํามาตราวัดที่เป็นหน่วยมาตรฐาน หมายความว่า สี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ตารางวา หมายความว่า วาสี่เหลี่ยมจัตุรัส.
ตารางสอน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตารางที่บรรจุรายการสอนว่า วันใด เวลาใด สอนวิชาใด.ตารางสอน น. ตารางที่บรรจุรายการสอนว่า วันใด เวลาใด สอนวิชาใด.
ตารางเหลี่ยม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดพื้นผิวที่เป็นหน่วยมาตรฐาน คือพื้นที่กําหนดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ๑ เมตรตารางเหลี่ยม เท่ากับ กว้าง ๑ เมตร ยาว ๑ เมตร หรือ ๑ ตารางเมตร.ตารางเหลี่ยม (เลิก) น. ชื่อมาตราวัดพื้นผิวที่เป็นหน่วยมาตรฐาน คือพื้นที่กําหนดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เช่น ๑ เมตรตารางเหลี่ยม เท่ากับ กว้าง ๑ เมตร ยาว ๑ เมตร หรือ ๑ ตารางเมตร.
ตาร้าย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้ที่มองดูคนอื่นแล้วถือว่าให้โทษแก่คนนั้น, ดูร้าย ก็ว่า; ที่เดือดร้อน ในคําว่า เข้าตาร้าย.ตาร้าย น. เรียกผู้ที่มองดูคนอื่นแล้วถือว่าให้โทษแก่คนนั้น, ดูร้าย ก็ว่า; ที่เดือดร้อน ในคําว่า เข้าตาร้าย.
ตาริ้ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แถวซึ่งตั้งเป็น ๒ แถวหรือ ๔ แถวขนานกัน เช่นแถวกระบวนแห่เป็นต้น.ตาริ้ว น. แถวซึ่งตั้งเป็น ๒ แถวหรือ ๔ แถวขนานกัน เช่นแถวกระบวนแห่เป็นต้น.
ตาเริด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นอนตาค้างหรือนอนไม่หลับ.ตาเริด ว. อาการที่นอนตาค้างหรือนอนไม่หลับ.
ตาลม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง โรคตาชนิดหนึ่ง.ตาลม น. โรคตาชนิดหนึ่ง.
ตาลอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ตาถั่ว.ตาลอ น. ตาถั่ว.
ตาลอย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาเหม่อ.ตาลอย ว. อาการที่ตาเหม่อ.
ตาลาย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่มองเห็นอะไรไม่ชัดพร่าลายไปหมด.ตาลาย ว. อาการที่มองเห็นอะไรไม่ชัดพร่าลายไปหมด.
ตาลีตาเหลือก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการรีบร้อนลนลาน, ตื่นกลัว, ตาเหลือก ก็ว่า.ตาลีตาเหลือก ว. อาการรีบร้อนลนลาน, ตื่นกลัว, ตาเหลือก ก็ว่า.
ตาลุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลืมตาโพลงด้วยความสนใจ.ตาลุก ๑ ก. ลืมตาโพลงด้วยความสนใจ.
ตาลุก ๒, ตาลุกตาชัน ตาลุก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ตาลุกตาชัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาโต หรือ ตาพอง ก็ว่า.ตาลุก ๒, ตาลุกตาชัน (สำ) ว. อาการที่ตาเบิกกว้างเพราะอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, แสดงอาการอยากได้เมื่อเห็นเงินเป็นต้น, ตาโต หรือ ตาพอง ก็ว่า.
ตาเล็กตาน้อย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว (มักใช้แก่หญิงสาว), ตาที่แสดงอาการประจบประแจง (มักใช้แก่เด็ก).ตาเล็กตาน้อย (สำ) น. ตาที่แสดงอาการว่าชอบพอรักใคร่ เป็นการทอดไมตรีในทางชู้สาว (มักใช้แก่หญิงสาว), ตาที่แสดงอาการประจบประแจง (มักใช้แก่เด็ก).
ตาวาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่จ้องมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยความอยากได้ เช่น พอเห็นเงินก็ตาวาว เด็ก ๆ พอเห็นขนมก็ตาวาว.ตาวาว ว. อาการที่จ้องมองดูสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยความอยากได้ เช่น พอเห็นเงินก็ตาวาว เด็ก ๆ พอเห็นขนมก็ตาวาว.
ตาแวว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของตาที่มีความไวในการเห็นภัยอันตราย, หวาดระแวง, เช่น กาตาแววเห็นธนู.ตาแวว ว. ลักษณะของตาที่มีความไวในการเห็นภัยอันตราย, หวาดระแวง, เช่น กาตาแววเห็นธนู.
ตาไว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของตาที่เห็นอะไรได้รวดเร็ว เช่น ตาไวเห็นคนรู้จักนั่งรถผ่านไป.ตาไว ว. ลักษณะของตาที่เห็นอะไรได้รวดเร็ว เช่น ตาไวเห็นคนรู้จักนั่งรถผ่านไป.
ตาโศก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตามีลักษณะเศร้า ชวนให้เอ็นดู.ตาโศก น. ตามีลักษณะเศร้า ชวนให้เอ็นดู.
ตาสว่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตามองเห็นชัดเจน เช่น พอหยอดยา ก็รู้สึกว่าตาสว่างขึ้น; ไม่ง่วงงัวเงีย, นอนต่อไม่หลับ, เช่น ตื่นขึ้นมากลางดึก เลยตาสว่าง นอนไม่หลับอีก; โดยปริยายหมายความว่า เข้าใจแล้วว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เดี๋ยวนี้เขาตาสว่างแล้วหลังจากที่หลงผิดมานาน.ตาสว่าง น. ตามองเห็นชัดเจน เช่น พอหยอดยา ก็รู้สึกว่าตาสว่างขึ้น; ไม่ง่วงงัวเงีย, นอนต่อไม่หลับ, เช่น ตื่นขึ้นมากลางดึก เลยตาสว่าง นอนไม่หลับอีก; โดยปริยายหมายความว่า เข้าใจแล้วว่าอะไรผิดอะไรถูก เช่น เดี๋ยวนี้เขาตาสว่างแล้วหลังจากที่หลงผิดมานาน.
ตาส่อน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่ตามปรกติ.ตาส่อน น. ตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่ตามปรกติ.
ตาสำเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อารทรา มี ๑ ดวง, ดาวตัวโค ดาวอทระ หรือ ดาวอัททา ก็เรียก.ตาสำเภา น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อารทรา มี ๑ ดวง, ดาวตัวโค ดาวอทระ หรือ ดาวอัททา ก็เรียก.
ตาหมากรุก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าที่มีลายเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบกระดานหมากรุกมีสีสลับกันว่า ผ้าตาหมากรุก.ตาหมากรุก น. เรียกผ้าที่มีลายเป็นตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบกระดานหมากรุกมีสีสลับกันว่า ผ้าตาหมากรุก.
ตาหยี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ตาหรี่, ตาที่แคบเรียวเล็ก.ตาหยี น. ตาหรี่, ตาที่แคบเรียวเล็ก.
ตาหวาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีแววน่ารักน่าเอ็นดู, ตาแสดงอาการน่ารักน่าเอ็นดู.ตาหวาน ๑ น. ตาที่มีแววน่ารักน่าเอ็นดู, ตาแสดงอาการน่ารักน่าเอ็นดู.
ตาเหล่ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ตาเขมาก.ตาเหล่ น. ตาเขมาก.
ตาเหลือก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่เบิกกว้าง, ตาที่กลอกขึ้น, ตาที่ตาดําอยู่ข้างบน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการรีบร้อนลนลาน, ตื่นกลัว, ตาลีตาเหลือก ก็ว่า.ตาเหลือก ๑ น. ตาที่เบิกกว้าง, ตาที่กลอกขึ้น, ตาที่ตาดําอยู่ข้างบน. ว. อาการรีบร้อนลนลาน, ตื่นกลัว, ตาลีตาเหลือก ก็ว่า.
ตาเหลือกตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แสดงความตกใจกลัว.ตาเหลือกตาพอง ว. อาการที่แสดงความตกใจกลัว.
ตาแหลม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสายตาคมพอมองเห็นก็รู้ทันทีว่าอะไรดีมีคุณค่า เช่น ผู้หญิงคนนี้ตาแหลม พอมองเห็นหัวแหวนก็รู้ว่าเป็นเพชรแท้หรือเพชรเทียม.ตาแหลม ว. มีสายตาคมพอมองเห็นก็รู้ทันทีว่าอะไรดีมีคุณค่า เช่น ผู้หญิงคนนี้ตาแหลม พอมองเห็นหัวแหวนก็รู้ว่าเป็นเพชรแท้หรือเพชรเทียม.
ตาแหวน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีเส้นสีขาวหรือสีงาช้างเวียนรอบขอบตาดํา (มักใช้แก่ม้า วัว ควาย).ตาแหวน น. ตาที่มีเส้นสีขาวหรือสีงาช้างเวียนรอบขอบตาดํา (มักใช้แก่ม้า วัว ควาย).
ตาอ้อย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่ง.ตาอ้อย น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง.
ตาเอก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่.ตาเอก น. ตาที่มีตาดําอยู่ไม่ตรงที่.
ตาก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ผึ่งให้แห้ง เช่น ตากผ้า, ปล่อยทิ้งไว้กลางแจ้ง เช่น ตากแดด ตากฝน; ตรํา, สู้ทน, เช่น เดินตากฝน นอนตากยุง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ห่าง, แบะออก, เช่น ควายเขาตาก คือ ปลายเขาไม่รวมเข้าหากัน; ที่ผึ่งแดดจนแห้ง เช่น ข้าวตาก กล้วยตาก; เรียกหลังคาเรือนที่ชันน้อยว่า หลังคาตาก.ตาก ก. ผึ่งให้แห้ง เช่น ตากผ้า, ปล่อยทิ้งไว้กลางแจ้ง เช่น ตากแดด ตากฝน; ตรํา, สู้ทน, เช่น เดินตากฝน นอนตากยุง. ว. ห่าง, แบะออก, เช่น ควายเขาตาก คือ ปลายเขาไม่รวมเข้าหากัน; ที่ผึ่งแดดจนแห้ง เช่น ข้าวตาก กล้วยตาก; เรียกหลังคาเรือนที่ชันน้อยว่า หลังคาตาก.
ตากตน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นอนแผ่, นอนหงาย, เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.ตากตน ก. นอนแผ่, นอนหงาย, เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล. (ม. คำหลวง กุมาร).
ตากสมอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พักผ่อนเพื่อคลายความเคร่งเครียดโดยไปอยู่ในที่สงบหรือที่มีอากาศปลอดโปร่ง.ตากสมอง ก. พักผ่อนเพื่อคลายความเคร่งเครียดโดยไปอยู่ในที่สงบหรือที่มีอากาศปลอดโปร่ง.
ตากหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สู้ทนอาย.ตากหน้า ก. สู้ทนอาย.
ตากอากาศ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง ไปพักผ่อนในที่ที่มีอากาศดี.ตากอากาศ ก. ไปพักผ่อนในที่ที่มีอากาศดี.
ตากบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตากบ ๑ ดูใน ตา ๒.
ตากบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เทียนตากบ. ในวงเล็บ ดู เทียนตากบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.ตากบ ๒ น. เทียนตากบ. (ดู เทียนตากบ ที่ เทียน ๓).
ตากวาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู[ตา–กฺวาง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไผ่ชนิด Gigantochloa kurzii Gamble และชนิด G. apus (Roem. et Schult.) Kurz ในวงศ์ Gramineae.ตากวาง [ตา–กฺวาง] น. ชื่อไผ่ชนิด Gigantochloa kurzii Gamble และชนิด G. apus (Roem. et Schult.) Kurz ในวงศ์ Gramineae.
ตาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น ทุกทั่วสัตวตื่นตาง แตกเต้า. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, ต่าง ก็ว่า.ตาง (โบ; กลอน) ส. คําใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น ทุกทั่วสัตวตื่นตาง แตกเต้า. (ตะเลงพ่าย), ต่าง ก็ว่า.
ต่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับบรรทุกสิ่งของมีคานพาดไว้บนหลังสัตว์พาหนะมีวัวและลาเป็นต้น ให้ห้อยลงมาทั้ง ๒ ข้าง, เรียกโค ลา ที่ใช้บรรทุกสิ่งของในลักษณะเช่นนั้นว่า โคต่าง ลาต่าง. เป็นคำกริยา หมายถึง บรรทุก เช่น ต่างข้าวเข้ามาส่ง, ใช้อย่างมาตราตวงก็ได้ เช่น ได้ข้าวไม่ถึง ๕ ต่าง.ต่าง ๑ น. ภาชนะสําหรับบรรทุกสิ่งของมีคานพาดไว้บนหลังสัตว์พาหนะมีวัวและลาเป็นต้น ให้ห้อยลงมาทั้ง ๒ ข้าง, เรียกโค ลา ที่ใช้บรรทุกสิ่งของในลักษณะเช่นนั้นว่า โคต่าง ลาต่าง. ก. บรรทุก เช่น ต่างข้าวเข้ามาส่ง, ใช้อย่างมาตราตวงก็ได้ เช่น ได้ข้าวไม่ถึง ๕ ต่าง.
ต่างหู เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ตุ้มหู.ต่างหู น. ตุ้มหู.
ต่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น คนทั้งหลายต่างก็ทําหน้าที่ของตน, ในบทกลอนใช้ว่า ตาง ก็มี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผิดแผก, ไม่เหมือนเดิม, เช่น สีต่างไป; แทน, เหมือน, เช่น ว่าต่าง แก้ต่าง ดูต่างหน้า; อื่น เช่น ต่างประเทศ; คนละ เช่น ต่างพ่อ ต่างแม่.ต่าง ๒ ส. คําใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น คนทั้งหลายต่างก็ทําหน้าที่ของตน, ในบทกลอนใช้ว่า ตาง ก็มี. ว. ผิดแผก, ไม่เหมือนเดิม, เช่น สีต่างไป; แทน, เหมือน, เช่น ว่าต่าง แก้ต่าง ดูต่างหน้า; อื่น เช่น ต่างประเทศ; คนละ เช่น ต่างพ่อ ต่างแม่.
ต่าง ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลายอย่างซึ่งผิดกัน.ต่าง ๆ ว. หลายอย่างซึ่งผิดกัน.
ต่างจิตต่างใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างคนก็ต่างความคิด.ต่างจิตต่างใจ ว. ต่างคนก็ต่างความคิด.
ต่างด้าว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกชาวต่างประเทศที่มีถิ่นฐานอยู่ในอีกประเทศหนึ่งว่า คนต่างด้าว.ต่างด้าว ว. เรียกชาวต่างประเทศที่มีถิ่นฐานอยู่ในอีกประเทศหนึ่งว่า คนต่างด้าว.
ต่างว่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำสันธาน หมายถึง เหมือนว่า, เปรียบว่า, สมมุติว่า.ต่างว่า สัน. เหมือนว่า, เปรียบว่า, สมมุติว่า.
ต่างหาก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อีกส่วนหนึ่ง, อีกแผนกหนึ่ง.ต่างหาก ว. อีกส่วนหนึ่ง, อีกแผนกหนึ่ง.
ตางัว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตางัว ๑ ดูใน ตา ๒.
ตางัว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในสกุล Turbo วงศ์ Turbinidae เช่น ชนิด T. marmoratus, T. bruneus เปลือกรูปทรงอ้วนป้อม แผ่นปิดกลมหนา ด้านนอกโค้ง ใช้แผ่นปิดเป็นเบี้ยตางัวสําหรับเล่นหมากรุก.ตางัว ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิดในสกุล Turbo วงศ์ Turbinidae เช่น ชนิด T. marmoratus, T. bruneus เปลือกรูปทรงอ้วนป้อม แผ่นปิดกลมหนา ด้านนอกโค้ง ใช้แผ่นปิดเป็นเบี้ยตางัวสําหรับเล่นหมากรุก.
ตางัว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ดอกชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตางัว ๓ น. ชื่อไม้ดอกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
ตาช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง มะกลํ่าตาช้าง. ในวงเล็บ ดู มะกลํ่า เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นิก-คะ-หิด-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา.ตาช้าง น. มะกลํ่าตาช้าง. (ดู มะกลํ่า).
ตาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผ้าชนิดหนึ่ง ทอด้วยไหมควบกับเงินแล่งหรือทองแล่งจํานวนเท่ากัน, เรียกชื่อตามลักษณะของลาย เช่น ตาดลายคดกริช ตาดตาตั๊กแตน, ถ้ามีไหมปักทับลงไปอีกเป็นดอก ๆ เรียกว่า ตาดระกําไหม.ตาด ๑ น. ชื่อผ้าชนิดหนึ่ง ทอด้วยไหมควบกับเงินแล่งหรือทองแล่งจํานวนเท่ากัน, เรียกชื่อตามลักษณะของลาย เช่น ตาดลายคดกริช ตาดตาตั๊กแตน, ถ้ามีไหมปักทับลงไปอีกเป็นดอก ๆ เรียกว่า ตาดระกําไหม.
ตาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ที่มีนํ้าตก.ตาด ๒ น. ที่ที่มีนํ้าตก.
ตาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ต้นมะตาด.ตาด ๓ (กลอน) น. ต้นมะตาด.
ตาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก.ตาด ๔ น. ชื่อมองโกลเผ่าหนึ่งที่ชอบรบราฆ่าฟันและอพยพเร่ร่อนอยู่เสมอ บางทีก็เรียกว่า ตาดมองโกล, ชื่อภาษาของพวกตาด ใช้พูดกันในดินแดนตั้งแต่ทิวเขาอูราลทางตะวันตกไปจนถึงทิวเขาอัลไตทางตะวันออก.
ตาเดียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาในอันดับ Pleuronectiformes พบทั้งในทะเล นํ้ากร่อย และนํ้าจืด เมื่อเกิดใหม่ตาจะอยู่คนละข้างกันเหมือนลูกปลาทั่วไป แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นกะโหลกจะบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กล้ามเนื้อข้างหนึ่งบิดตามไปด้วย จึงทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างอยู่ด้านเดียวกัน มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ลิ้นหมา ใบขนุน ซีกเดียว ลิ้นเสือ จักรผาน ยอดม่วง ลิ้นหมาหงอนยาว ลิ้นควาย.ตาเดียว ๑ น. ชื่อปลาในอันดับ Pleuronectiformes พบทั้งในทะเล นํ้ากร่อย และนํ้าจืด เมื่อเกิดใหม่ตาจะอยู่คนละข้างกันเหมือนลูกปลาทั่วไป แต่เมื่อเจริญเติบโตขึ้นกะโหลกจะบิดไปข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กล้ามเนื้อข้างหนึ่งบิดตามไปด้วย จึงทำให้ตาทั้ง ๒ ข้างอยู่ด้านเดียวกัน มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ลิ้นหมา ใบขนุน ซีกเดียว ลิ้นเสือ จักรผาน ยอดม่วง ลิ้นหมาหงอนยาว ลิ้นควาย.
ตาเดียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Brachypleura novaezeelandiae, Cynoglossus lingua, Psettodes erumei, Solea ovata ตัวแบนใหญ่ ด้านบนมีสีดำ ด้านล่างมีสีขาว ตาทั้ง ๒ ข้างอยู่ด้านบนด้วยกัน ขนาดตัวยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร กว้างถึง ๒๐ เซนติเมตร เนื้อนุ่ม หากินตามพื้นท้องน้ำ.ตาเดียว ๒ น. ชื่อปลาทะเลหลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Brachypleura novaezeelandiae, Cynoglossus lingua, Psettodes erumei, Solea ovata ตัวแบนใหญ่ ด้านบนมีสีดำ ด้านล่างมีสีขาว ตาทั้ง ๒ ข้างอยู่ด้านบนด้วยกัน ขนาดตัวยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร กว้างถึง ๒๐ เซนติเมตร เนื้อนุ่ม หากินตามพื้นท้องน้ำ.
ตาตั๊กแตน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตาตั๊กแตน ๑ ดูใน ตา ๒.
ตาตั๊กแตน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เทียนตาตั๊กแตน. ในวงเล็บ ดู เทียนตาตั๊กแตน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.ตาตั๊กแตน ๒ น. เทียนตาตั๊กแตน. (ดู เทียนตาตั๊กแตน ที่ เทียน ๓).
ตาตุ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตาตุ่ม ๑ ดูใน ตา ๒.
ตาตุ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Excoecaria agallocha L. ในวงศ์ Euphorbiaceae ยางมีพิษ กินทําให้ท้องเดิน เข้าตาทําให้ตาบอด.ตาตุ่ม ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Excoecaria agallocha L. ในวงศ์ Euphorbiaceae ยางมีพิษ กินทําให้ท้องเดิน เข้าตาทําให้ตาบอด.
ตาโต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตาโต ๑ ดูใน ตา ๒.
ตาโต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ดู ตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๓.ตาโต ๒ ดู ตาพอง ๓.
ตาโต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ดู ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.ตาโต ๓ ดู ตะลาน ๑.
ตาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่งมักเป็นแก่เด็ก ๆ.ตาน ๑ น. ชื่อโรคชนิดหนึ่งมักเป็นแก่เด็ก ๆ.
ตานขโมย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคพยาธิลําไส้อย่างหนึ่ง มักเป็นแก่เด็กอายุประมาณ ๕ ขวบขึ้นไป มีลักษณะผอม ท้องป่อง ก้นปอด แต่กินอาหารได้มาก มีอาการปวดท้องและซึม.ตานขโมย ๑ น. ชื่อโรคพยาธิลําไส้อย่างหนึ่ง มักเป็นแก่เด็กอายุประมาณ ๕ ขวบขึ้นไป มีลักษณะผอม ท้องป่อง ก้นปอด แต่กินอาหารได้มาก มีอาการปวดท้องและซึม.
ตาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xyris complanata R. Br. ในวงศ์ Xyridaceae ใบแคบขึ้นเป็นกอ ดอกสีเหลือง ก้านช่อดอกยาว กาบดอกซ้อนกันแน่น.ตาน ๒ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xyris complanata R. Br. ในวงศ์ Xyridaceae ใบแคบขึ้นเป็นกอ ดอกสีเหลือง ก้านช่อดอกยาว กาบดอกซ้อนกันแน่น.
ต่าน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชิดทางนอก (บอกควายเวลาไถนา).ต่าน ว. ชิดทางนอก (บอกควายเวลาไถนา).
ต้าน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ยันหรือรับไว้เพื่อไม่ให้ลํ้าแนวเข้ามา เช่น ต้านข้าศึก, ปะทะ เช่น เรือต้านลม.ต้าน ก. ยันหรือรับไว้เพื่อไม่ให้ลํ้าแนวเข้ามา เช่น ต้านข้าศึก, ปะทะ เช่น เรือต้านลม.
ต้านทาน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดขวาง, ยับยั้ง, ต่อสู้ยันไว้.ต้านทาน ก. ขัดขวาง, ยับยั้ง, ต่อสู้ยันไว้.
ตานขโมย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก ความหมายที่ ดูใน ตาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.ตานขโมย ๑ ดูใน ตาน ๑.
ตานขโมย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Tournefortia intonsa Kerr ในวงศ์ Boraginaceae เป็นไม้มีพิษ. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Vatica philastreana Pierre ในวงศ์ Dipterocarpaceae ต้นสีดํา ผลใช้ทํายาได้.ตานขโมย ๒ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Tournefortia intonsa Kerr ในวงศ์ Boraginaceae เป็นไม้มีพิษ. (๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Vatica philastreana Pierre ในวงศ์ Dipterocarpaceae ต้นสีดํา ผลใช้ทํายาได้.
ตานจอมทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-จอ-จาน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งูดู ทอง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ตานจอมทอง ดู ทอง ๒.
ตานนกกด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ดอ-เด็กดู ตานเหลือง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู.ตานนกกด ดู ตานเหลือง.
ตานเสี้ยน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Xantolis วงศ์ Sapotaceae คือ ชนิด X. siamensis (H.R. Fletch.) P. Royen และชนิด X. burmanica (Collett et Hemsl.) P. Royen ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ผลกลมรี ปลายมีติ่งแหลม ชนิดหลังก้านใบและก้านดอกยาวกว่าชนิดแรก.ตานเสี้ยน น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Xantolis วงศ์ Sapotaceae คือ ชนิด X. siamensis (H.R. Fletch.) P. Royen และชนิด X. burmanica (Collett et Hemsl.) P. Royen ดอกสีขาว ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ผลกลมรี ปลายมีติ่งแหลม ชนิดหลังก้านใบและก้านดอกยาวกว่าชนิดแรก.
ตานหก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Litsea pierrei Lec. ในวงศ์ Lauraceae.ตานหก น. ชื่อไม้ต้นชนิด Litsea pierrei Lec. ในวงศ์ Lauraceae.
ตานหม่อน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Vernonia elliptica DC. ในวงศ์ Compositae ช่อดอกเป็นกระจุกสีขาวปนม่วง ใช้ทํายาได้.ตานหม่อน น. ชื่อไม้เถาชนิด Vernonia elliptica DC. ในวงศ์ Compositae ช่อดอกเป็นกระจุกสีขาวปนม่วง ใช้ทํายาได้.
ตานเหลือง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นชนิด Ochna integerrima (Lour.) Merr. ในวงศ์ Ochnaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้ง เปลือกสีนํ้าตาลแก่ ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อสั้น ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ผลัดใบขณะมีดอก, กําลังช้างสาร ช้างน้าว หรือ ตานนกกด ก็เรียก.ตานเหลือง น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นชนิด Ochna integerrima (Lour.) Merr. ในวงศ์ Ochnaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณแล้ง เปลือกสีนํ้าตาลแก่ ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อสั้น ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ผลัดใบขณะมีดอก, กําลังช้างสาร ช้างน้าว หรือ ตานนกกด ก็เรียก.
ตานี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยชนิด Musa balbisiana Colla ในวงศ์ Musaceae ใบเหนียวกว่ากล้วยชนิดอื่น มีเมล็ดทั่วทั้งผล, เรียกผีผู้หญิงที่กำลังตั้งท้องสิงอยู่ในต้นกล้วยตานีว่า พรายตานี.ตานี ๑ น. ชื่อกล้วยชนิด Musa balbisiana Colla ในวงศ์ Musaceae ใบเหนียวกว่ากล้วยชนิดอื่น มีเมล็ดทั่วทั้งผล, เรียกผีผู้หญิงที่กำลังตั้งท้องสิงอยู่ในต้นกล้วยตานีว่า พรายตานี.
ตานี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนํ้ามันชนิดหนึ่งข้น ๆ ใช้ใส่ผม, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า มีลักษณะเป็นนํ้ามันตานี เช่นนํ้าตาลเยิ้มในขนมอาลัว หรือไข่ที่ต้มเป็นยางมะตูม.ตานี ๒ น. ชื่อนํ้ามันชนิดหนึ่งข้น ๆ ใช้ใส่ผม, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า มีลักษณะเป็นนํ้ามันตานี เช่นนํ้าตาลเยิ้มในขนมอาลัว หรือไข่ที่ต้มเป็นยางมะตูม.
ตาบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับคอหรืออกเป็นแผ่น ๆ ถ้าเป็นตาบสําหรับม้าประดับที่หน้าผาก.(รูปภาพ ตาบ).ตาบ น. เครื่องประดับคอหรืออกเป็นแผ่น ๆ ถ้าเป็นตาบสําหรับม้าประดับที่หน้าผาก.(รูปภาพ ตาบ).
ตาบทับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ทับทรวง, ตาบหน้า ก็ว่า.ตาบทับ น. ทับทรวง, ตาบหน้า ก็ว่า.
ตาบทิศ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ตาบที่ติดกับสังวาลอยู่ที่สะเอวและข้างหลัง.ตาบทิศ น. ตาบที่ติดกับสังวาลอยู่ที่สะเอวและข้างหลัง.
ตาปี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตลอดปี, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วนา เป็น ชั่วนาตาปี.ตาปี ว. ตลอดปี, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วนา เป็น ชั่วนาตาปี.
ตาปีตาชาติ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอไป, เรื่อยไป.ตาปีตาชาติ ว. เสมอไป, เรื่อยไป.
ตาฝั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ท่าที่ฝั่ง เช่น เขาก็ไปชุมนุมกันในตาฝั่ง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ตาฝั่ง (โบ; กลอน) น. ท่าที่ฝั่ง เช่น เขาก็ไปชุมนุมกันในตาฝั่ง. (ม. คำหลวง ชูชก).
ตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ตาพอง ๑ ดูใน ตา ๒.
ตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ดู เจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ.ตาพอง ๒ ดู เจ้าฟ้าหญิงสิรินธร.
ตาพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลทุกชนิดในสกุล Priacanthus วงศ์ Priacanthidae ลําตัวป้อม แบนข้าง ปากเชิดขึ้น คางยื่น ตาโตคลุมด้วยเยื่อใส เกล็ดเล็กสากมือ ลําตัวและครีบสีแดงสด อาศัยอยู่ใกล้พื้นท้องนํ้าหรือในระดับนํ้าลึก ที่ชุกชุมได้แก่ชนิด P. tayenus ขนาดโตได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร, ตาโต หรือ ตาหวาน ก็เรียก.ตาพอง ๓ น. ชื่อปลาทะเลทุกชนิดในสกุล Priacanthus วงศ์ Priacanthidae ลําตัวป้อม แบนข้าง ปากเชิดขึ้น คางยื่น ตาโตคลุมด้วยเยื่อใส เกล็ดเล็กสากมือ ลําตัวและครีบสีแดงสด อาศัยอยู่ใกล้พื้นท้องนํ้าหรือในระดับนํ้าลึก ที่ชุกชุมได้แก่ชนิด P. tayenus ขนาดโตได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร, ตาโต หรือ ตาหวาน ก็เรียก.
ตาม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ไปหรือมาข้างหลังหรือภายหลังโดยลําดับของสิ่งหรือเหตุการณ์ที่มีมาก่อน เช่น ตามเขาไป แล้วจึงค่อยตามมา ตามเหตุการณ์; เรียกตัวมา เช่น ไปตามนาย ก มา, เชิญมา เช่น ไปตามหมอ; เที่ยวค้นหาสิ่งที่หายไป เช่น ตามเรื่อง ตามวัว; จุดให้ไฟติดไว้ เช่น ตามไฟ ตามตะเกียง ตามประทีป. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เลียนแบบหรือเอาอย่าง เช่น ทําตาม คล้อยตาม; ควรแก่, เหมาะแก่, เช่น ตามกําลังความสามารถ; เหมือน, อย่าง, ดัง, เช่น ตามเคย ตามปรกติ ตามธรรมดา; แล้วแต่, สุดแต่, เช่น ตามใจ ตามอัธยาศัย ตามกรรม; ไม่ทวนกระแส (ใช้แก่กระแสนํ้าหรือกระแสลม) ในคําว่า ตามนํ้า ตามลม; ไม่ขัด, ไม่ฝ่าฝืน, ไม่ฝืน, เช่น ทําตามคําสั่ง ปฏิบัติตามกฎหมาย ตามสมัยนิยม. เป็นคำบุรพบท หมายถึง แถว, แนว, ถิ่น, ที่, เช่น มีอยู่ตามป่า ปิดไว้ตามกําแพง; โดย เช่น ตามที่ปรากฏว่า.ตาม ก. ไปหรือมาข้างหลังหรือภายหลังโดยลําดับของสิ่งหรือเหตุการณ์ที่มีมาก่อน เช่น ตามเขาไป แล้วจึงค่อยตามมา ตามเหตุการณ์; เรียกตัวมา เช่น ไปตามนาย ก มา, เชิญมา เช่น ไปตามหมอ; เที่ยวค้นหาสิ่งที่หายไป เช่น ตามเรื่อง ตามวัว; จุดให้ไฟติดไว้ เช่น ตามไฟ ตามตะเกียง ตามประทีป. ว. อาการที่เลียนแบบหรือเอาอย่าง เช่น ทําตาม คล้อยตาม; ควรแก่, เหมาะแก่, เช่น ตามกําลังความสามารถ; เหมือน, อย่าง, ดัง, เช่น ตามเคย ตามปรกติ ตามธรรมดา; แล้วแต่, สุดแต่, เช่น ตามใจ ตามอัธยาศัย ตามกรรม; ไม่ทวนกระแส (ใช้แก่กระแสนํ้าหรือกระแสลม) ในคําว่า ตามนํ้า ตามลม; ไม่ขัด, ไม่ฝ่าฝืน, ไม่ฝืน, เช่น ทําตามคําสั่ง ปฏิบัติตามกฎหมาย ตามสมัยนิยม. บ. แถว, แนว, ถิ่น, ที่, เช่น มีอยู่ตามป่า ปิดไว้ตามกําแพง; โดย เช่น ตามที่ปรากฏว่า.