เขียนว่า ตอ-เต่าพยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต. พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
ตก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ลดลงสู่ระดับตํ่าในอาการอย่างพลัดลง หล่นลง เช่น ตกบันได ตกต้นตาล เครื่องบินตก; ไหลลง, หยดลงมา, เช่น นํ้าตก ฝนตก เหงื่อตก; ลดลง เช่น ฝีมือตก มือตก เสียงตก; เพาะข้าวลงในตากล้า เรียกว่า ตกกล้า; เอาเบ็ดเกี่ยวเหยื่อหย่อนลงไปให้ปลาหรือกุ้งกินแล้ววัดหรือสาวขึ้นมา เช่น ตกปลา ตกกุ้ง; ย่างเข้า เช่น ตกเย็น ตกคํ่า ตกฤดูหนาว; เรียกสีที่ละลายออกหรือจางไปในเวลาซักหรือถูกแดดเป็นต้นว่า สีตก; ได้, ถึง, เช่น ตกทุกข์ ตกระกําลําบาก; มาถึง เช่น คําสั่งยังไม่ตก ของที่สั่งตกมาแล้ว; ขาดหายไป เช่น เขียนหนังสือตก; เขียนคําที่ขาดเติมลง เช่น ตกหนังสือ; ไม่ได้ขึ้นยานพาหนะเพราะไปไม่ทันหรือไม่มีค่าโดยสาร เช่น ตกรถ ตกเรือ; เอาเงินหรือสิ่งของให้ไปก่อนแล้วคิดเอาเป็นพืชผลภายหลังตามแต่จะตกลงกัน เช่น ตกข้าว คือ เอาเงินให้ไปก่อนแล้วคิดเอาข้าวทีหลัง; โดยปริยายหมายความว่า ลดลงตํ่า เป็นอาการแสดงว่า กลัว ยอมแพ้ หรือหมดกําลัง เป็นต้น เช่น คอตก หัวตก หางตก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําเร็จ เช่น แก้ตก ปลงตก คิดตก.ตก ก. กิริยาที่ลดลงสู่ระดับตํ่าในอาการอย่างพลัดลง หล่นลง เช่น ตกบันได ตกต้นตาล เครื่องบินตก; ไหลลง, หยดลงมา, เช่น นํ้าตก ฝนตก เหงื่อตก; ลดลง เช่น ฝีมือตก มือตก เสียงตก; เพาะข้าวลงในตากล้า เรียกว่า ตกกล้า; เอาเบ็ดเกี่ยวเหยื่อหย่อนลงไปให้ปลาหรือกุ้งกินแล้ววัดหรือสาวขึ้นมา เช่น ตกปลา ตกกุ้ง; ย่างเข้า เช่น ตกเย็น ตกคํ่า ตกฤดูหนาว; เรียกสีที่ละลายออกหรือจางไปในเวลาซักหรือถูกแดดเป็นต้นว่า สีตก; ได้, ถึง, เช่น ตกทุกข์ ตกระกําลําบาก; มาถึง เช่น คําสั่งยังไม่ตก ของที่สั่งตกมาแล้ว; ขาดหายไป เช่น เขียนหนังสือตก; เขียนคําที่ขาดเติมลง เช่น ตกหนังสือ; ไม่ได้ขึ้นยานพาหนะเพราะไปไม่ทันหรือไม่มีค่าโดยสาร เช่น ตกรถ ตกเรือ; เอาเงินหรือสิ่งของให้ไปก่อนแล้วคิดเอาเป็นพืชผลภายหลังตามแต่จะตกลงกัน เช่น ตกข้าว คือ เอาเงินให้ไปก่อนแล้วคิดเอาข้าวทีหลัง; โดยปริยายหมายความว่า ลดลงตํ่า เป็นอาการแสดงว่า กลัว ยอมแพ้ หรือหมดกําลัง เป็นต้น เช่น คอตก หัวตก หางตก. ว. สําเร็จ เช่น แก้ตก ปลงตก คิดตก.
ตกกระ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะเป็นจุดดํา ๆ เล็กบ้างโตบ้างที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ.ตกกระ ว. มีลักษณะเป็นจุดดํา ๆ เล็กบ้างโตบ้างที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ.
ตกกระไดพลอยโจน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง จําเป็นที่จะต้องยอมเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่มีทางเลี่ยง.ตกกระไดพลอยโจน (สำ) จําเป็นที่จะต้องยอมเข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่มีทางเลี่ยง.
ตกขอบ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สุดข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ขวาตกขอบ, เต็มที่ เช่น ฮาตกขอบ.ตกขอบ ว. ที่สุดข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ขวาตกขอบ, เต็มที่ เช่น ฮาตกขอบ.
ตกขาว เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง โรคระดูขาว, มุตกิด ก็เรียก.ตกขาว น. โรคระดูขาว, มุตกิด ก็เรียก.
ตกข่าว เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่รู้ข่าวที่คนอื่น ๆ รู้.ตกข่าว ก. ไม่รู้ข่าวที่คนอื่น ๆ รู้.
ตกข้าว เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการที่นายทุนให้เงินชาวนากู้ก่อนที่จะลงมือทำนา โดยตกลงกันว่าชาวนาจะให้ข้าวเปลือกแก่นายทุนแทนเงินหลังจากนวดข้าวเสร็จแล้ว.ตกข้าว น. วิธีการที่นายทุนให้เงินชาวนากู้ก่อนที่จะลงมือทำนา โดยตกลงกันว่าชาวนาจะให้ข้าวเปลือกแก่นายทุนแทนเงินหลังจากนวดข้าวเสร็จแล้ว.
ตกขุย เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ออกดอกเป็นเมล็ด (ใช้แก่ไม้ไผ่).ตกขุย ก. ออกดอกเป็นเมล็ด (ใช้แก่ไม้ไผ่).
ตกเขียว เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการที่นายทุนให้เงินแก่ชาวนาหรือชาวไร่กู้เมื่อข้าวในนาลัดใบหรือลำไยมีลูกขนาดหัวแมลงวันแล้ว โดยตกลงกันว่าชาวนาชาวไร่จะให้ข้าวเปลือกหรือลำไยแก่นายทุนแทนเงินหลังจากนวดข้าวแล้วหรือหลังจากเก็บลำไยได้แล้ว, โดยปริยายหมายถึงการที่พ่อแม่รับเงินจากนายทุนซึ่งจ่ายให้เป็นค่าตัวเด็กผู้หญิงซึ่งยังเรียนหนังสือไม่จบไว้ล่วงหน้า เมื่อเรียนจบแล้วนายทุนจะมารับตัวเด็กไปเพื่อค้าประเวณีเป็นการใช้หนี้คืนให้แก่นายทุน.ตกเขียว น. วิธีการที่นายทุนให้เงินแก่ชาวนาหรือชาวไร่กู้เมื่อข้าวในนาลัดใบหรือลำไยมีลูกขนาดหัวแมลงวันแล้ว โดยตกลงกันว่าชาวนาชาวไร่จะให้ข้าวเปลือกหรือลำไยแก่นายทุนแทนเงินหลังจากนวดข้าวแล้วหรือหลังจากเก็บลำไยได้แล้ว, โดยปริยายหมายถึงการที่พ่อแม่รับเงินจากนายทุนซึ่งจ่ายให้เป็นค่าตัวเด็กผู้หญิงซึ่งยังเรียนหนังสือไม่จบไว้ล่วงหน้า เมื่อเรียนจบแล้วนายทุนจะมารับตัวเด็กไปเพื่อค้าประเวณีเป็นการใช้หนี้คืนให้แก่นายทุน.
ตกคลัก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ปลาเป็นต้นมารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่นํ้างวด, ตกปลัก ก็ว่า; ในการเล่นดวดหมายถึงลักษณะที่หมาก ๓ ตัวเดินไปถึงที่สุด มารวมกันอยู่ในตาที่จะสุกจวนจะออกแล้ว แต่ทอดแต้มออกไม่ได้; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คนมารวมกันมาก ๆ ไปไหนไม่ได้.ตกคลัก ก. อาการที่ปลาเป็นต้นมารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่นํ้างวด, ตกปลัก ก็ว่า; ในการเล่นดวดหมายถึงลักษณะที่หมาก ๓ ตัวเดินไปถึงที่สุด มารวมกันอยู่ในตาที่จะสุกจวนจะออกแล้ว แต่ทอดแต้มออกไม่ได้; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คนมารวมกันมาก ๆ ไปไหนไม่ได้.
ตกค้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลงเหลืออยู่.ตกค้าง ว. หลงเหลืออยู่.
ตกเครือ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ออกเครือ (ใช้แก่กล้วย).ตกเครือ ก. ออกเครือ (ใช้แก่กล้วย).
ตกงาน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ว่างงาน, ไม่มีงานทํา.ตกงาน ก. ว่างงาน, ไม่มีงานทํา.
ตกจั่น เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกดอก (ใช้แก่หมากและมะพร้าว).ตกจั่น ก. ออกดอก (ใช้แก่หมากและมะพร้าว).
ตกใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง สะดุ้งขึ้นโดยไม่รู้ตัวเมื่อได้ยินเสียงดัง ๆ หรือมีใครมาถูกต้องตัว, ใจหาย.ตกใจ ก. สะดุ้งขึ้นโดยไม่รู้ตัวเมื่อได้ยินเสียงดัง ๆ หรือมีใครมาถูกต้องตัว, ใจหาย.
ตกดิน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป.ตกดิน ก. อาการที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าไป.
ตกตะกอน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มีตะกอนนอนก้น.ตกตะกอน ก. มีตะกอนนอนก้น.
ตกตะลึง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตกใจจนพูดไม่ออก, แสดงอาการงงงัน.ตกตะลึง ก. ตกใจจนพูดไม่ออก, แสดงอาการงงงัน.
ตกต่ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง มีฐานะหรือค่าลดลงกว่าเดิม.ตกต่ำ ก. มีฐานะหรือค่าลดลงกว่าเดิม.
ตกแต่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ประดับ, ปรุงจัดให้ดี, ทําให้งาม.ตกแต่ง ก. ประดับ, ปรุงจัดให้ดี, ทําให้งาม.
ตกใต้เถรเทวทัต เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตกนรกขุมตํ่าสุด.ตกใต้เถรเทวทัต (สำ) ก. ตกนรกขุมตํ่าสุด.
ตกถังข้าวสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือดู หนูตกถังข้าวสาร เขียนว่า หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.ตกถังข้าวสาร ดู หนูตกถังข้าวสาร.
ตกทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการหลอกลวงด้วยการใช้ทองปลอมที่มีน้ำหนักมากกว่าไปแลกเป็นทองแท้ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า.ตกทอง น. วิธีการหลอกลวงด้วยการใช้ทองปลอมที่มีน้ำหนักมากกว่าไปแลกเป็นทองแท้ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า.
ตกท้องช้าง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะที่สายป่านว่าวเป็นต้นมีนํ้าหนักมากถ่วงลงเกินควร.ตกท้องช้าง ก. ลักษณะที่สายป่านว่าวเป็นต้นมีนํ้าหนักมากถ่วงลงเกินควร.
ตกทอด เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ตกสืบกันมาเป็นทอด ๆ, สืบจากผู้หนึ่งไปยังอีกผู้หนึ่ง, เช่น มรดกตกทอด; เรียกบําเหน็จบํานาญที่ตกแก่ทายาทของผู้รับบําเหน็จบํานาญว่า บําเหน็จตกทอด หรือ บํานาญตกทอด.ตกทอด ก. ตกสืบกันมาเป็นทอด ๆ, สืบจากผู้หนึ่งไปยังอีกผู้หนึ่ง, เช่น มรดกตกทอด; เรียกบําเหน็จบํานาญที่ตกแก่ทายาทของผู้รับบําเหน็จบํานาญว่า บําเหน็จตกทอด หรือ บํานาญตกทอด.
ตกที่นั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตกอยู่ในฐานะ, ตกอยู่ในภาวะ, เช่น ตกที่นั่งลําบาก ตกที่นั่งเสียเงิน.ตกที่นั่ง ก. ตกอยู่ในฐานะ, ตกอยู่ในภาวะ, เช่น ตกที่นั่งลําบาก ตกที่นั่งเสียเงิน.
ตกนรกทั้งเป็น เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-นอ-หนู-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ได้รับความลําบากแสนสาหัสเช่นคนที่ได้รับโทษทัณฑ์ในเรือนจํา.ตกนรกทั้งเป็น (สำ) ก. ได้รับความลําบากแสนสาหัสเช่นคนที่ได้รับโทษทัณฑ์ในเรือนจํา.
ตกน้ำมัน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเสาหรือประตูเรือนที่มีนํ้ามันซึมออกมาว่า เสาตกนํ้ามัน หรือ ประตูตกนํ้ามัน.ตกน้ำมัน ว. เรียกเสาหรือประตูเรือนที่มีนํ้ามันซึมออกมาว่า เสาตกนํ้ามัน หรือ ประตูตกนํ้ามัน.
ตกน้ำไม่ว่าย เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ช่วยตัวเอง.ตกน้ำไม่ว่าย (สำ) ก. ไม่ช่วยตัวเอง.
ตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย, เป็นคําเปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ที่ใดก็ไม่สูญหาย เช่น ของหลวงตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้.ตกน้ำไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ (สำ) ก. ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย, เป็นคําเปรียบเทียบ หมายความว่า ตกอยู่ที่ใดก็ไม่สูญหาย เช่น ของหลวงตกนํ้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้.
ตกใน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เลือดไม่ไหลออกข้างนอก ตกลงภายในเมื่อถูกแทงหรือฟันเป็นต้น เรียกว่า เลือดตกใน; โดยปริยายใช้เรียกอาการที่ต้องกลํ้ากลืนความทุกข์ไว้ ไม่แสดงออกมาว่า นํ้าตาตกใน.ตกใน ก. อาการที่เลือดไม่ไหลออกข้างนอก ตกลงภายในเมื่อถูกแทงหรือฟันเป็นต้น เรียกว่า เลือดตกใน; โดยปริยายใช้เรียกอาการที่ต้องกลํ้ากลืนความทุกข์ไว้ ไม่แสดงออกมาว่า นํ้าตาตกใน.
ตกเบ็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หย่อนเบ็ดล่อปลา, โดยปริยายหมายความว่า ล่อให้หลงโดยมีเครื่องล่อ. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง.ตกเบ็ด ก. หย่อนเบ็ดล่อปลา, โดยปริยายหมายความว่า ล่อให้หลงโดยมีเครื่องล่อ. น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง.
ตกเบิก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ได้รับเงินที่ค้างจ่ายย้อนหลัง.ตกเบิก ก. ได้รับเงินที่ค้างจ่ายย้อนหลัง.
ตกประหม่า เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกสะทกสะท้านพรั่นใจ.ตกประหม่า ก. รู้สึกสะทกสะท้านพรั่นใจ.
ตกปลอก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง สวมปลอกที่ตีนคู่หน้าของช้าง เพื่อไม่ให้ไปหากินไกลหลังจากที่ใช้งานแล้ว.ตกปลอก ก. สวมปลอกที่ตีนคู่หน้าของช้าง เพื่อไม่ให้ไปหากินไกลหลังจากที่ใช้งานแล้ว.
ตกปลัก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ปลาเป็นต้นมารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่นํ้างวด, ตกคลัก ก็ว่า.ตกปลัก ก. อาการที่ปลาเป็นต้นมารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่นํ้างวด, ตกคลัก ก็ว่า.
ตกปากตกคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลง, รับรอง, ตกปากลงคํา ก็ว่า.ตกปากตกคำ ก. ตกลง, รับรอง, ตกปากลงคํา ก็ว่า.
ตกเป็น เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็น เช่น ตกเป็นของเขา ตกเป็นข่าว ตกเป็นจําเลย.ตกเป็น ก. กลายเป็น เช่น ตกเป็นของเขา ตกเป็นข่าว ตกเป็นจําเลย.
ตกเป็นเบี้ยล่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตกเป็นรองเขา, เสียเปรียบเขา.ตกเป็นเบี้ยล่าง (สำ) ก. ตกเป็นรองเขา, เสียเปรียบเขา.
ตกเป็นพับ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง นับเป็นสูญ.ตกเป็นพับ ก. นับเป็นสูญ.
ตกผลึก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็นผลึก (ใช้แก่สารละลาย).ตกผลึก ก. กลายเป็นผลึก (ใช้แก่สารละลาย).
ตกพุ่มม่าย เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ในฐานะที่เป็นม่าย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกชายหรือหญิงที่หย่าขาดจากความเป็นผัวเมียกันหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตายจากไป, เป็นม่าย ก็ว่า.ตกพุ่มม่าย ก. อยู่ในฐานะที่เป็นม่าย. ว. เรียกชายหรือหญิงที่หย่าขาดจากความเป็นผัวเมียกันหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตายจากไป, เป็นม่าย ก็ว่า.
ตกฟอง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกไข่ เช่น ไก่ตกฟอง.ตกฟอง ก. ออกไข่ เช่น ไก่ตกฟอง.
ตกฟาก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด, เรียกเวลาที่เด็กออกพ้นครรภ์มารดาว่า เวลาตกฟาก (พื้นเรือนโบราณโดยมากเป็นฟาก); โดยปริยายใช้ในลักษณะที่พูดคําเถียงคําไม่หยุดปากว่า เถียงคําไม่ตกฟาก.ตกฟาก ก. เกิด, เรียกเวลาที่เด็กออกพ้นครรภ์มารดาว่า เวลาตกฟาก (พื้นเรือนโบราณโดยมากเป็นฟาก); โดยปริยายใช้ในลักษณะที่พูดคําเถียงคําไม่หยุดปากว่า เถียงคําไม่ตกฟาก.
ตกมัน เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ต่อมน้ำมันที่ขมับของช้างบวมโตและมีน้ำมันใส ๆ ไหลออกมา ช้างตัวผู้จะมีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว ดุร้าย มีกลิ่นสาบฉุน, เรียกช้างที่มีอาการเช่นนั้นว่า ช้างตกมัน.ตกมัน ว. ลักษณะที่ต่อมน้ำมันที่ขมับของช้างบวมโตและมีน้ำมันใส ๆ ไหลออกมา ช้างตัวผู้จะมีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว ดุร้าย มีกลิ่นสาบฉุน, เรียกช้างที่มีอาการเช่นนั้นว่า ช้างตกมัน.
ตกม้าตาย เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, เรียกเต็มว่า สามเพลงตกม้าตาย.ตกม้าตาย (สำ) ว. แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, เรียกเต็มว่า สามเพลงตกม้าตาย.
ตกมูก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นํ้าเมือกไหลออกทางทวารหนัก.ตกมูก ก. อาการที่นํ้าเมือกไหลออกทางทวารหนัก.
ตกยาก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลําบาก, ยากจน, ขัดสน.ตกยาก ก. ลําบาก, ยากจน, ขัดสน.
ตกรางวัล เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ให้รางวัล.ตกรางวัล ก. ให้รางวัล.
ตกลง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ยินยอมพร้อมใจ, ปลงใจ.ตกลง ก. ยินยอมพร้อมใจ, ปลงใจ.
ตกล่องปล่องชิ้น เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดสินใจที่จะร่วมมือหรือร่วมชีวิตด้วย.ตกล่องปล่องชิ้น (สำ) ก. ตัดสินใจที่จะร่วมมือหรือร่วมชีวิตด้วย.
ตกลูก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ออกลูก (ใช้แก่สัตว์สี่เท้า).ตกลูก ก. ออกลูก (ใช้แก่สัตว์สี่เท้า).
ตกเลือด เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง แท้งลูก, อาการที่เลือดออกผิดธรรมดาเนื่องจากแท้งลูกเป็นต้น, ราชาศัพท์ว่า ตกพระโลหิต.ตกเลือด ก. แท้งลูก, อาการที่เลือดออกผิดธรรมดาเนื่องจากแท้งลูกเป็นต้น, ราชาศัพท์ว่า ตกพระโลหิต.
ตกว่า เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คือ, คือว่า, รวมความว่า, ลงความว่า, ถือเอาว่า, บางทีใช้ว่า ตก ก็มี เช่น ตกมีฤทธิไกรกว่าพี่ยา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ตกว่า ว. คือ, คือว่า, รวมความว่า, ลงความว่า, ถือเอาว่า, บางทีใช้ว่า ตก ก็มี เช่น ตกมีฤทธิไกรกว่าพี่ยา. (อิเหนา).
ตกสนับ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หญ้าโทรมทับหญ้าที่ขึ้นใหม่อีก.ตกสนับ ก. อาการที่หญ้าโทรมทับหญ้าที่ขึ้นใหม่อีก.
ตกสะเก็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เลือดและนํ้าเหลืองแห้งติดกรังอยู่ที่ปากแผล.ตกสะเก็ด ก. อาการที่เลือดและนํ้าเหลืองแห้งติดกรังอยู่ที่ปากแผล.
ตกแสก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่หวีแหวกกลางศีรษะ (ใช้แก่ผม).ตกแสก ว. ที่หวีแหวกกลางศีรษะ (ใช้แก่ผม).
ตกหนัก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง รับทุกข์, รับเคราะห์, รับภาระหรือหน้าที่หนัก.ตกหนัก ก. รับทุกข์, รับเคราะห์, รับภาระหรือหน้าที่หนัก.
ตกหมก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เลือดระดูเสียที่หมักหมมอยู่ข้างในไหลออกมา.ตกหมก ก. อาการที่เลือดระดูเสียที่หมักหมมอยู่ข้างในไหลออกมา.
ตกหล่น เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดตกไปโดยไม่ตั้งใจ.ตกหล่น ก. ขาดตกไปโดยไม่ตั้งใจ.
ตกหลุม, ตกหลุมพราง ตกหลุม เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ตกหลุมพราง เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกลวงด้วยเล่ห์กลหรืออุบาย, เสียรู้, หลงกล.ตกหลุม, ตกหลุมพราง (สำ) ก. ถูกลวงด้วยเล่ห์กลหรืออุบาย, เสียรู้, หลงกล.
ตกอับ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงที่อับจน, ถึงคราวชะตาตก.ตกอับ ก. ถึงที่อับจน, ถึงคราวชะตาตก.
ต๊กโต เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ตุ๊กแก. ในวงเล็บ ดู ตุ๊กแก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.ต๊กโต (ถิ่น–พายัพ) น. ตุ๊กแก. (ดู ตุ๊กแก ๑).
ตง เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เครื่องเรือนที่วางบนรอดหรือคานสําหรับรองพื้นกระดานหรือฟาก.ตง ๑ น. ไม้เครื่องเรือนที่วางบนรอดหรือคานสําหรับรองพื้นกระดานหรือฟาก.
ตง เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไผ่ชนิด Dendrocalamus asper (Schult. f.) Heyne ในวงศ์ Gramineae ลําต้นใหญ่ ไม่มีหนาม หน่อกินได้.ตง ๒ น. ชื่อไผ่ชนิด Dendrocalamus asper (Schult. f.) Heyne ในวงศ์ Gramineae ลําต้นใหญ่ ไม่มีหนาม หน่อกินได้.
ต๋ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชักเอาเงินไว้จากขาไพ่ที่เป็นผู้กินหรือลูกค้าที่แทงถูกในการพนันบางชนิดเช่นถั่ว โป, เรียกเงินที่ได้โดยวิธีนี้ว่า เงินค่าต๋ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ต๋งจุ้ย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก.ต๋ง ๑ ก. ชักเอาเงินไว้จากขาไพ่ที่เป็นผู้กินหรือลูกค้าที่แทงถูกในการพนันบางชนิดเช่นถั่ว โป, เรียกเงินที่ได้โดยวิธีนี้ว่า เงินค่าต๋ง. (จ. ต๋งจุ้ย).
ต๋ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เอาเชือกผูกของหนัก ๆ เช่นเรือนแพ แพซุง ยึดหรือพันไว้กับหลักเป็นต้นแล้วค่อย ๆ ผ่อนไป, เอาเชือกเป็นต้นผูกของหนัก ๆ เช่นเสาไว้แล้วค่อย ๆ พยุงให้ตั้งขึ้นแล้วผ่อนลงหลุม, ขัดไว้ไม่ให้เลื่อนหลุดออกอย่างขัดไม้ขันชะเนาะ.ต๋ง ๒ ก. อาการที่เอาเชือกผูกของหนัก ๆ เช่นเรือนแพ แพซุง ยึดหรือพันไว้กับหลักเป็นต้นแล้วค่อย ๆ ผ่อนไป, เอาเชือกเป็นต้นผูกของหนัก ๆ เช่นเสาไว้แล้วค่อย ๆ พยุงให้ตั้งขึ้นแล้วผ่อนลงหลุม, ขัดไว้ไม่ให้เลื่อนหลุดออกอย่างขัดไม้ขันชะเนาะ.
ตงฉิน เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซื่อตรง, ซื่อสัตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ตงฉิน เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ว่า อํามาตย์ซื่อสัตย์ .ตงฉิน ว. ซื่อตรง, ซื่อสัตย์. (จ. ตงฉิน ว่า อํามาตย์ซื่อสัตย์).
ตงิด เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[ตะหฺงิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กน้อย, ทีละน้อย ๆ, (ใช้แก่อาการเกี่ยวกับความรู้สึก) เช่น โกรธตงิด ๆ หิวตงิด ๆ.ตงิด [ตะหฺงิด] ว. เล็กน้อย, ทีละน้อย ๆ, (ใช้แก่อาการเกี่ยวกับความรู้สึก) เช่น โกรธตงิด ๆ หิวตงิด ๆ.
ตงุ่น เขียนว่า ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู[ตะหฺงุ่น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกนํ้าตาลที่เคี่ยวจนเป็นยางอย่างนํ้าผึ้งว่า นํ้าตาลตงุ่น.ตงุ่น [ตะหฺงุ่น] ว. เรียกนํ้าตาลที่เคี่ยวจนเป็นยางอย่างนํ้าผึ้งว่า นํ้าตาลตงุ่น.
ตจ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน[ตะจะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หนัง, เปลือกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ตจ– [ตะจะ–] น. หนัง, เปลือกไม้. (ป.).
ตจปัญจกกรรมฐาน เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[ตะจะปันจะกะกำมะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง กรรมฐานอันบัณฑิตกําหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตั้งแต่ผม ขน เล็บ ฟัน ไปถึงหนังเป็น ๕ อย่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ตจปัญจกกรรมฐาน [ตะจะปันจะกะกำมะถาน] น. กรรมฐานอันบัณฑิตกําหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตั้งแต่ผม ขน เล็บ ฟัน ไปถึงหนังเป็น ๕ อย่าง. (ป.).
ตจสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ตะจะสาน] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้มีผิวเปลือกแข็งเช่นต้นไผ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตจสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ว่า ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น .ตจสาร [ตะจะสาน] น. ต้นไม้มีผิวเปลือกแข็งเช่นต้นไผ่. (ป. ตจสาร ว่า ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น).
ตด เขียนว่า ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมระบายออกทางทวารหนัก, ผายลม. เป็นคำนาม หมายถึง ลมที่ออกจากทวารหนัก เช่น เหม็นตด.ตด ๑ ก. อาการที่ลมระบายออกทางทวารหนัก, ผายลม. น. ลมที่ออกจากทวารหนัก เช่น เหม็นตด.
ตด เขียนว่า ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกด้วงปีกแข็งหลายชนิดหลายสกุล เช่น สกุล Pherosophus, Brachinus ในวงศ์ Carabidae หัวและอกเล็ก แคบ ท้องโต ปีกแข็งคลุมส่วนท้องไม่หมด ลําตัวยาว ๒–๓ เซนติเมตร ท้องกว้าง ๕–๘ มิลลิเมตร สีนํ้าตาลอมเหลืองหรือนํ้าตาลแก่ มีลายสีเข้มตามหัว อก และท้อง เมื่อถูกรบกวนสามารถปล่อยสารพิษประเภทควินอลออกมาทางก้นได้ ที่สําคัญได้แก่ ชนิด P. siamensis, P. occipitalis และ P. javanus, พายัพเรียก ขี้ตด.ตด ๒ น. ชื่อแมลงพวกด้วงปีกแข็งหลายชนิดหลายสกุล เช่น สกุล Pherosophus, Brachinus ในวงศ์ Carabidae หัวและอกเล็ก แคบ ท้องโต ปีกแข็งคลุมส่วนท้องไม่หมด ลําตัวยาว ๒–๓ เซนติเมตร ท้องกว้าง ๕–๘ มิลลิเมตร สีนํ้าตาลอมเหลืองหรือนํ้าตาลแก่ มีลายสีเข้มตามหัว อก และท้อง เมื่อถูกรบกวนสามารถปล่อยสารพิษประเภทควินอลออกมาทางก้นได้ ที่สําคัญได้แก่ ชนิด P. siamensis, P. occipitalis และ P. javanus, พายัพเรียก ขี้ตด.
ตดหมูตดหมา เขียนว่า ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อาดู ย่านพาโหม เขียนว่า ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า.ตดหมูตดหมา ดู ย่านพาโหม.
ตติย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก[ตะติยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๓, คํารบ ๓, มักใช้ประกอบหน้าคําอื่น เช่น ตติยวาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ตติย– [ตะติยะ–] ว. ที่ ๓, คํารบ ๓, มักใช้ประกอบหน้าคําอื่น เช่น ตติยวาร. (ป.).
ตถาคต เขียนว่า ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า[ตะถาคด] เป็นคำนาม หมายถึง พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตถาคต เขียนว่า ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า ว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น เป็นคําที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกพระองค์เอง .ตถาคต [ตะถาคด] น. พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. ตถาคต ว่า พระผู้ไปแล้วอย่างนั้น เป็นคําที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกพระองค์เอง).
ตน เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตัว (ตัวคน) เช่น ตนเป็นที่พึ่งของตน; ลักษณนามใช้เรียกเทวดา ยักษ์ หรือพวกกายสิทธิ์ เป็นต้น เช่น ยักษ์ตนหนึ่ง เทวดา ๒ ตน.ตน น. ตัว (ตัวคน) เช่น ตนเป็นที่พึ่งของตน; ลักษณนามใช้เรียกเทวดา ยักษ์ หรือพวกกายสิทธิ์ เป็นต้น เช่น ยักษ์ตนหนึ่ง เทวดา ๒ ตน.
ต้น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลําของต้นไม้, เป็นชื่อรวมทั่วไปของต้นไม้และพืชผักต่าง ๆ เช่น ต้นมะขาม ต้นสัก ต้นหญ้า ต้นผักชี ต้นข้าว, ลักษณนามว่า ต้น เช่น มะม่วงต้นหนึ่ง ผักชี ๒ ต้น; เรียกผู้ที่นับกันว่าเป็นผู้เริ่มต้นวงศ์สกุลว่า ต้นวงศ์ ต้นสกุล; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ หมายถึง คํานําหน้าชื่อพระภิกษุสามัญ; เบื้องต้นของสิ่งที่มีลักษณะกลมยาว เช่น ต้นขา ต้นแขน; ตอนแรก ๆ เช่น ต้นสัปดาห์ ต้นเดือน ต้นปี; ใช้ประกอบหน้าคําอื่น แปลว่า ผู้ที่ได้รับความไว้วางใจให้มีหน้าที่รักษาสิ่งของหรือทํากิจการประจํา เช่น ต้นกุญแจ ต้นห้อง; ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า ต้น เช่น ต้นเพลงฉิ่ง ต้นเพลงยาว ต้นเพลงรํา. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมบทละครดึกดำบรรพ์ ฉบับหลวง พ.ศ. ๒๔๖๗. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แรก เช่น หน้าต้น; แรกเริ่ม เช่น แต่ต้น; เนื่องในพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ประพาสต้น กฐินต้น ช้างต้น ม้าต้น.ต้น น. ลําของต้นไม้, เป็นชื่อรวมทั่วไปของต้นไม้และพืชผักต่าง ๆ เช่น ต้นมะขาม ต้นสัก ต้นหญ้า ต้นผักชี ต้นข้าว, ลักษณนามว่า ต้น เช่น มะม่วงต้นหนึ่ง ผักชี ๒ ต้น; เรียกผู้ที่นับกันว่าเป็นผู้เริ่มต้นวงศ์สกุลว่า ต้นวงศ์ ต้นสกุล; (ถิ่น–ปักษ์ใต้) คํานําหน้าชื่อพระภิกษุสามัญ; เบื้องต้นของสิ่งที่มีลักษณะกลมยาว เช่น ต้นขา ต้นแขน; ตอนแรก ๆ เช่น ต้นสัปดาห์ ต้นเดือน ต้นปี; ใช้ประกอบหน้าคําอื่น แปลว่า ผู้ที่ได้รับความไว้วางใจให้มีหน้าที่รักษาสิ่งของหรือทํากิจการประจํา เช่น ต้นกุญแจ ต้นห้อง; ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคําว่า ต้น เช่น ต้นเพลงฉิ่ง ต้นเพลงยาว ต้นเพลงรํา. (ดึกดําบรรพ์). ว. แรก เช่น หน้าต้น; แรกเริ่ม เช่น แต่ต้น; เนื่องในพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ประพาสต้น กฐินต้น ช้างต้น ม้าต้น.
ต้นกล เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าช่างกลในเรือเดินทะเล เรือรบ เป็นต้น.ต้นกล น. หัวหน้าช่างกลในเรือเดินทะเล เรือรบ เป็นต้น.
ต้นขั้ว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนต้นของใบเสร็จ เช็ค สลากกินแบ่ง เป็นต้น ที่ติดอยู่ในเล่ม เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน, หัวขั้ว ก็ว่า.ต้นขั้ว น. ส่วนต้นของใบเสร็จ เช็ค สลากกินแบ่ง เป็นต้น ที่ติดอยู่ในเล่ม เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน, หัวขั้ว ก็ว่า.
ต้นคอ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของคอที่ถัดไหล่ขึ้นไปถึงบริเวณก้านคอ.ต้นคอ น. ส่วนของคอที่ถัดไหล่ขึ้นไปถึงบริเวณก้านคอ.
ต้นคิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประดิษฐ์แบบขึ้นใหม่, ผู้ริเริ่ม.ต้นคิด น. ผู้ประดิษฐ์แบบขึ้นใหม่, ผู้ริเริ่ม.
ต้นเงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ให้กู้ยืมโดยไม่รวมดอกเบี้ย, เงินต้น ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า ต้น เช่น ต้นชนดอก.ต้นเงิน น. เงินที่ให้กู้ยืมโดยไม่รวมดอกเบี้ย, เงินต้น ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า ต้น เช่น ต้นชนดอก.
ต้นฉบับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์ไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์, ต้นสําเนา.ต้นฉบับ น. ฉบับจริงของเรื่องที่ประพันธ์ไว้เดิม, ฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ไว้เดิมก่อนตีพิมพ์, ต้นสําเนา.
ต้นชนดอก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ดอกชนต้น ก็ว่า.ต้นชนดอก น. ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ดอกชนต้น ก็ว่า.
ต้นเชือก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งมหาดเล็กชั้นหุ้มแพร.ต้นเชือก น. ตําแหน่งมหาดเล็กชั้นหุ้มแพร.
ต้นตระกูล เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง บรรพบุรุษดั้งเดิม.ต้นตระกูล น. บรรพบุรุษดั้งเดิม.
ต้นตอ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องเดิม, เหตุเดิม, ที่เกิด.ต้นตอ น. เรื่องเดิม, เหตุเดิม, ที่เกิด.
ต้นตำรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นต้นคิดในการประดิษฐ์หรือสร้างแบบแผนขึ้น.ต้นตำรับ น. ผู้เป็นต้นคิดในการประดิษฐ์หรือสร้างแบบแผนขึ้น.
ต้นทาง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ปากทางเข้าออกอย่างทางเข้าบ่อนการพนันเป็นต้น เช่น ดูต้นทาง.ต้นทาง น. ปากทางเข้าออกอย่างทางเข้าบ่อนการพนันเป็นต้น เช่น ดูต้นทาง.
ต้นทุน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทุนเดิมสําหรับทํากิจการค้าเป็นต้น.ต้นทุน น. ทุนเดิมสําหรับทํากิจการค้าเป็นต้น.
ต้นเทียม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า(ถิ่น—ปักษ์ใต้) น. ต้นกระเทียม. ในวงเล็บ ดู กระเทียม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า.ต้นเทียม (ถิ่น—ปักษ์ใต้) น. ต้นกระเทียม. (ดู กระเทียม).
ต้นน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง แหล่งที่เกิดของลํานํ้า, ยอดนํ้า ก็เรียก.ต้นน้ำ น. แหล่งที่เกิดของลํานํ้า, ยอดนํ้า ก็เรียก.
ต้นบท เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง คนบอกบทให้คนรํารู้ว่าจะรําอย่างไร หรือให้คนร้องรู้ว่าจะร้องอย่างไร.ต้นบท น. คนบอกบทให้คนรํารู้ว่าจะรําอย่างไร หรือให้คนร้องรู้ว่าจะร้องอย่างไร.
ต้นแบบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แบบดั้งเดิม, แบบที่มีมาแต่แรก, แบบที่ทําขึ้นไว้แต่แรก, สิ่งที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับ ใช้เป็นต้นเค้าสําหรับสร้างสิ่งอื่นให้มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน.ต้นแบบ น. แบบดั้งเดิม, แบบที่มีมาแต่แรก, แบบที่ทําขึ้นไว้แต่แรก, สิ่งที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับ ใช้เป็นต้นเค้าสําหรับสร้างสิ่งอื่นให้มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน.
ต้นเพลิง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คนหรือสิ่งที่เป็นเหตุทําให้เกิดไฟไหม้; ผู้ที่จุดไฟเผาศพคนแรก.ต้นเพลิง น. คนหรือสิ่งที่เป็นเหตุทําให้เกิดไฟไหม้; ผู้ที่จุดไฟเผาศพคนแรก.
ต้นมือ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ตอนแรก ๆ.ต้นมือ น. ตอนแรก ๆ.
ต้นไม้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง คํารวมเรียกพืชทั่วไปโดยปรกติชนิดมีลําต้น, ใช้ในความหมายที่แคบกว่า คําว่า ต้น หมายถึง พืชชนิดที่มีลําต้นใหญ่มีกิ่งแยกออกไป.ต้นไม้ น. คํารวมเรียกพืชทั่วไปโดยปรกติชนิดมีลําต้น, ใช้ในความหมายที่แคบกว่า คําว่า ต้น หมายถึง พืชชนิดที่มีลําต้นใหญ่มีกิ่งแยกออกไป.
ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องราชบรรณาการที่ทำเป็นต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นคู่ ซึ่งเมืองขึ้นส่งมาถวายแก่พระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ ๓ ปี; เครื่องสักการะที่เจ้านายหรือขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์ตั้งแต่เจ้าพระยาขึ้นไปถวายพระเจ้าแผ่นดิน เมื่อได้รับสถาปนาให้ทรงกรมหรือเลื่อนกรมให้สูงขึ้น หรือเมื่อได้รับพระราชทานตั้งยศ.ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง น. เครื่องราชบรรณาการที่ทำเป็นต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นคู่ ซึ่งเมืองขึ้นส่งมาถวายแก่พระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ ๓ ปี; เครื่องสักการะที่เจ้านายหรือขุนนางที่มีบรรดาศักดิ์ตั้งแต่เจ้าพระยาขึ้นไปถวายพระเจ้าแผ่นดิน เมื่อได้รับสถาปนาให้ทรงกรมหรือเลื่อนกรมให้สูงขึ้น หรือเมื่อได้รับพระราชทานตั้งยศ.
ต้นร่าง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฉบับที่ร่างไว้เดิม.ต้นร่าง น. ฉบับที่ร่างไว้เดิม.
ต้นร้ายปลายดี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตอนแรกประพฤติตัวไม่ดี แต่ภายหลังกลับสํานึกตัวได้แล้วประพฤติดีตลอดไป, ตอนต้นไม่ดีไปดีเอาตอนหลัง.ต้นร้ายปลายดี (สำ) น. ตอนแรกประพฤติตัวไม่ดี แต่ภายหลังกลับสํานึกตัวได้แล้วประพฤติดีตลอดไป, ตอนต้นไม่ดีไปดีเอาตอนหลัง.
ต้นเรือ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง รองผู้บังคับการเรือ.ต้นเรือ น. รองผู้บังคับการเรือ.
ต้นเรื่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง มูลเหตุที่ทําให้เกิดเรื่องนั้น ๆ, เรื่องเดิม.ต้นเรื่อง น. มูลเหตุที่ทําให้เกิดเรื่องนั้น ๆ, เรื่องเดิม.
ต้นวายปลายดก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตอนต้นไม่ดีไปดีเอาตอนหลัง.ต้นวายปลายดก (สำ) น. ตอนต้นไม่ดีไปดีเอาตอนหลัง.
ต้นสังกัด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการระดับสูงที่ข้าราชการนั้น ๆ สังกัดอยู่ เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้นสังกัดของข้าราชการตำรวจทุกคน.ต้นสังกัด น. ส่วนราชการระดับสูงที่ข้าราชการนั้น ๆ สังกัดอยู่ เช่น สำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้นสังกัดของข้าราชการตำรวจทุกคน.
ต้นสายปลายเหตุ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นมาของเรื่อง.ต้นสายปลายเหตุ น. ความเป็นมาของเรื่อง.
ต้นเสียง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คนร้องนํา.ต้นเสียง น. คนร้องนํา.
ต้นหน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่ชี้ทิศทางเดินเรือทะเลหรือเดินอากาศยาน, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง คนนําทาง เช่น ต้นหนบอกตําบล. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ต้นหน น. เจ้าหน้าที่ชี้ทิศทางเดินเรือทะเลหรือเดินอากาศยาน, (โบ) คนนําทาง เช่น ต้นหนบอกตําบล. (ลอ).
ต้นเหตุ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง คนหรือสัตว์เป็นต้นที่ทําให้เกิดเหตุเกิดเรื่อง.ต้นเหตุ น. คนหรือสัตว์เป็นต้นที่ทําให้เกิดเหตุเกิดเรื่อง.
ต้นตายใบเป็น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Kalanchoe pinnata Pers. ในวงศ์ Crassulaceae, คว่ำตายหงายเป็น โคนตายปลายเป็น หรือ ส้มเช้า ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก กะเร.ต้นตายใบเป็น น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Kalanchoe pinnata Pers. ในวงศ์ Crassulaceae, คว่ำตายหงายเป็น โคนตายปลายเป็น หรือ ส้มเช้า ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก กะเร.
ตนัย เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[ตะไน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตนัย [ตะไน] (แบบ) น. ลูกชาย. (ป., ส.).
ตนุ เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ [ตะนุ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตัว, ตน. เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ฉัน, ข้าพเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตนุ ๑ [ตะนุ] (แบบ) น. ตัว, ตน. ส. ฉัน, ข้าพเจ้า. (ป., ส.).
ตนุมัธยมา, ตนุมัธยา ตนุมัธยมา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ตนุมัธยา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา [–มัดทะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตนุมชฺฌา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา.ตนุมัธยมา, ตนุมัธยา [–มัดทะยะ–] น. ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง. (ส.; ป. ตนุมชฺฌา).
ตนุ เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ [ตะหฺนุ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเต่าทะเลชนิด Chelonia mydas ในวงศ์ Cheloniidae ตีนแบนเป็นพาย ตีนหน้าใหญ่ยาวใช้เป็นหลักในการว่ายนํ้า เกล็ดบนหลังแต่ละเกล็ดมีลายเป็นทางคล้ายแสงอาทิตย์ จึงมีผู้เรียกว่า เต่าแสงอาทิตย์ ปรกติอาศัยอยู่ในทะเล จะขึ้นมาตามชายหาดเฉพาะเมื่อจะวางไข่เท่านั้น.ตนุ ๒ [ตะหฺนุ] น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Chelonia mydas ในวงศ์ Cheloniidae ตีนแบนเป็นพาย ตีนหน้าใหญ่ยาวใช้เป็นหลักในการว่ายนํ้า เกล็ดบนหลังแต่ละเกล็ดมีลายเป็นทางคล้ายแสงอาทิตย์ จึงมีผู้เรียกว่า เต่าแสงอาทิตย์ ปรกติอาศัยอยู่ในทะเล จะขึ้นมาตามชายหาดเฉพาะเมื่อจะวางไข่เท่านั้น.
ตบ เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าในวงศ์ Pontederiaceae มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Monochoria hastata (L.) Solms ขึ้นตามท้องนาที่แฉะและนํ้านิ่ง ดอกสีนํ้าเงิน ยอดอ่อนและดอกกินได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักสามหาว, และชนิด Eichhornia crassipes (C. Martius) Solms—Laub. ขึ้นตามลํานํ้าทั่วไป ดอกสีม่วงอ่อน เรียกว่า ผักตบชวา.ตบ ๑ น. ชื่อไม้นํ้าในวงศ์ Pontederiaceae มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Monochoria hastata (L.) Solms ขึ้นตามท้องนาที่แฉะและนํ้านิ่ง ดอกสีนํ้าเงิน ยอดอ่อนและดอกกินได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักสามหาว, และชนิด Eichhornia crassipes (C. Martius) Solms—Laub. ขึ้นตามลํานํ้าทั่วไป ดอกสีม่วงอ่อน เรียกว่า ผักตบชวา.
ตบ เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฝ่ามือหรือของแบน ๆ เป็นต้นตีอย่างแรง เช่น ตบหน้า ตบลูกเทนนิส, เอาฝ่ามือแตะเบา ๆ ด้วยความเอ็นดู เช่น ตบหัวเด็ก.ตบ ๒ ก. เอาฝ่ามือหรือของแบน ๆ เป็นต้นตีอย่างแรง เช่น ตบหน้า ตบลูกเทนนิส, เอาฝ่ามือแตะเบา ๆ ด้วยความเอ็นดู เช่น ตบหัวเด็ก.
ตบตา เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หลอกหรือลวงให้เข้าใจผิด.ตบตา (สำ) ก. หลอกหรือลวงให้เข้าใจผิด.
ตบแต่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้งาม; จัดให้ลูกสาวมีเรือนตามประเพณี เช่น ตบแต่งลูกสาวให้เป็นฝั่งเป็นฝา.ตบแต่ง ก. ทําให้งาม; จัดให้ลูกสาวมีเรือนตามประเพณี เช่น ตบแต่งลูกสาวให้เป็นฝั่งเป็นฝา.
ตบเท้า เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง อาการเดินกระแทกตีนกับพื้นแรง ๆ ของทหารหรือตํารวจเป็นต้น เรียกว่า เดินตบเท้า.ตบเท้า ก. อาการเดินกระแทกตีนกับพื้นแรง ๆ ของทหารหรือตํารวจเป็นต้น เรียกว่า เดินตบเท้า.
ตบแผละ เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[–แผฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง มีคนเล่น ๒ คน หันหน้าเข้าหากัน แต่ละฝ่ายตบเข่าและตบมือของตัวเองก่อน จึงใช้มือซ้ายตบมือซ้ายและมือขวาตบมือขวาของอีกฝ่ายหนึ่งสลับกันกับตบมือและตบเข่า.ตบแผละ [–แผฺละ] น. การเล่นชนิดหนึ่ง มีคนเล่น ๒ คน หันหน้าเข้าหากัน แต่ละฝ่ายตบเข่าและตบมือของตัวเองก่อน จึงใช้มือซ้ายตบมือซ้ายและมือขวาตบมือขวาของอีกฝ่ายหนึ่งสลับกันกับตบมือและตบเข่า.
ตบมือ เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฝ่ามือตีกันให้เกิดเสียงเพื่อแสดงความยินดีเป็นต้น, ปรบมือ ก็ว่า.ตบมือ ก. เอาฝ่ามือตีกันให้เกิดเสียงเพื่อแสดงความยินดีเป็นต้น, ปรบมือ ก็ว่า.
ตบมือข้างเดียวไม่ดัง เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําอะไรฝ่ายเดียวไม่เกิดผล.ตบมือข้างเดียวไม่ดัง (สำ) ก. ทําอะไรฝ่ายเดียวไม่เกิดผล.
ตบหัวกลางศาลา ขอขมาที่บ้าน เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมรับผิดไม่สมกับความผิดที่ทําไว้, ใช้เพี้ยนว่า ตบหัวที่ศาลา ขอขมาที่บ้าน ก็มี.ตบหัวกลางศาลา ขอขมาที่บ้าน (สำ) ก. ยอมรับผิดไม่สมกับความผิดที่ทําไว้, ใช้เพี้ยนว่า ตบหัวที่ศาลา ขอขมาที่บ้าน ก็มี.
ตบหัวลูบหลัง เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําหรือพูดให้กระทบกระเทือนใจในตอนแรกแล้วกลับทําหรือพูดเป็นการปลอบใจในตอนหลัง.ตบหัวลูบหลัง (สำ) ก. ทําหรือพูดให้กระทบกระเทือนใจในตอนแรกแล้วกลับทําหรือพูดเป็นการปลอบใจในตอนหลัง.
ตบยุง เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Caprimulgidae ขนนุ่มสีนํ้าตาลเทา ลายกระขาว วางไข่บนพื้นดิน หากินแมลงตามลําพังในเวลากลางคืน กลางวันจะพรางตัวซ่อนอยู่ตามพื้นดิน มีหลายชนิด เช่น ตบยุงหางยาว (Caprimulgus macrurus) ตบยุงเล็ก (C. asiaticus), กระบ่า หรือ กระบ้า ก็เรียก.ตบยุง น. ชื่อนกในวงศ์ Caprimulgidae ขนนุ่มสีนํ้าตาลเทา ลายกระขาว วางไข่บนพื้นดิน หากินแมลงตามลําพังในเวลากลางคืน กลางวันจะพรางตัวซ่อนอยู่ตามพื้นดิน มีหลายชนิด เช่น ตบยุงหางยาว (Caprimulgus macrurus) ตบยุงเล็ก (C. asiaticus), กระบ่า หรือ กระบ้า ก็เรียก.
ตบะ เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง พิธีข่มกิเลสโดยทรมานตัว; การบําเพ็ญเพื่อให้กิเลสเบาบาง, การข่มกิเลส, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. ในวงเล็บ ดู ทศพิธราชธรรม เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตป เขียนว่า ตอ-เต่า-ปอ-ปลา ว่า ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลส .ตบะ น. พิธีข่มกิเลสโดยทรมานตัว; การบําเพ็ญเพื่อให้กิเลสเบาบาง, การข่มกิเลส, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. (ดู ทศพิธราชธรรม). (ป., ส. ตป ว่า ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลส).
ตบะแตก เขียนว่า ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง บำเพ็ญตบะต่อไปไม่ได้เพราะทนต่อสิ่งเย้ายวนไม่ไหว, หมดความอดกลั้น, สิ้นความอดทน.ตบะแตก ก. บำเพ็ญตบะต่อไปไม่ได้เพราะทนต่อสิ่งเย้ายวนไม่ไหว, หมดความอดกลั้น, สิ้นความอดทน.
ตปนียะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ทองคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตปนียะ น. ทองคํา. (ป., ส.).
ตม– ๑, ตโม– ตม– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า ตโม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า [ตะมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความมืด, ความเศร้าหมอง, ความเขลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตมสฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สอ-เสือ-พิน-ทุ.ตม– ๑, ตโม– [ตะมะ–] น. ความมืด, ความเศร้าหมอง, ความเขลา. (ป.; ส. ตมสฺ).
ตโมนุท เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์, พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตโมนุท เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน ว่า ผู้ขจัดความมืด .ตโมนุท น. พระอาทิตย์, พระจันทร์. (ส. ตโมนุท ว่า ผู้ขจัดความมืด).
ตโมไพรี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตโมไพรี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ว่า ศัตรูของความมืด .ตโมไพรี น. ไฟ. (ส. ตโมไพรี ว่า ศัตรูของความมืด).
ตโมหร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตโมหร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-รอ-เรือ ว่า ผู้คลายความมืด .ตโมหร น. พระจันทร์. (ส. ตโมหร ว่า ผู้คลายความมืด).
ตม เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ดินเปียกที่เหนียวกว่าเลน.ตม ๒ น. ดินเปียกที่เหนียวกว่าเลน.
ต้ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาของเหลวเช่นนํ้าใส่ภาชนะแล้วทําให้ร้อนให้เดือดหรือให้สุก เช่น ต้มนํ้า ต้มข้าว ต้มมัน; ทําให้สะอาดและสุกปลั่ง เช่น ต้มผ้า ต้มทอง ต้มเงิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งที่ต้มแล้ว เช่น นํ้าต้ม ข้าวต้ม มันต้ม; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายใช้ว่าล่อลวงให้หลง, ผู้ถูกล่อลวงให้หลง เรียกว่า ผู้ถูกต้ม.ต้ม ๑ ก. กิริยาที่เอาของเหลวเช่นนํ้าใส่ภาชนะแล้วทําให้ร้อนให้เดือดหรือให้สุก เช่น ต้มนํ้า ต้มข้าว ต้มมัน; ทําให้สะอาดและสุกปลั่ง เช่น ต้มผ้า ต้มทอง ต้มเงิน. ว. เรียกสิ่งที่ต้มแล้ว เช่น นํ้าต้ม ข้าวต้ม มันต้ม; (ปาก) โดยปริยายใช้ว่าล่อลวงให้หลง, ผู้ถูกล่อลวงให้หลง เรียกว่า ผู้ถูกต้ม.
ต้มจนสุก, ต้มเสียสุก ต้มจนสุก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-จอ-จาน-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ต้มเสียสุก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ล่อลวงให้หลงได้สำเร็จ.ต้มจนสุก, ต้มเสียสุก (ปาก) ก. ล่อลวงให้หลงได้สำเร็จ.
ต้ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นลูกกลม ๆ ถ้าใส่ไส้นํ้าตาลปึกตัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมหรือไส้หน้ากระฉีกแล้วคลุกมะพร้าวข้างนอก เรียกว่า ขนมต้มขาว, ถ้าต้มเคี่ยวกับนํ้าตาลปึกและมะพร้าวอย่างหน้ากระฉีก เรียกว่า ขนมต้มแดง.ต้ม ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นลูกกลม ๆ ถ้าใส่ไส้นํ้าตาลปึกตัดเป็นก้อนสี่เหลี่ยมหรือไส้หน้ากระฉีกแล้วคลุกมะพร้าวข้างนอก เรียกว่า ขนมต้มขาว, ถ้าต้มเคี่ยวกับนํ้าตาลปึกและมะพร้าวอย่างหน้ากระฉีก เรียกว่า ขนมต้มแดง.
ต้มกะทิ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อเค็ม หรือปลาแห้ง หรือปลาสลิด เป็นต้น ต้มในนํ้ากะทิ ใส่หัวหอมกับส้มมะขาม มี ๓ รส เปรี้ยว เค็ม หวาน; เรียกผักชนิดต่าง ๆ ที่ต้มกับกะทิ สำหรับกินกับน้ำพริกกะปิ ว่า ผักต้มกะทิ.ต้มกะทิ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อเค็ม หรือปลาแห้ง หรือปลาสลิด เป็นต้น ต้มในนํ้ากะทิ ใส่หัวหอมกับส้มมะขาม มี ๓ รส เปรี้ยว เค็ม หวาน; เรียกผักชนิดต่าง ๆ ที่ต้มกับกะทิ สำหรับกินกับน้ำพริกกะปิ ว่า ผักต้มกะทิ.
ต้มกะปิ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ปรุงด้วยหัวหอม กะปิ พริกไทย อย่างแกงเลียง.ต้มกะปิ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ปรุงด้วยหัวหอม กะปิ พริกไทย อย่างแกงเลียง.
ต้มข่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง มีลักษณะคล้ายต้มยํากะทิ แต่มักใช้เนื้อไก่ ใส่ข่าอ่อน ปรุงรสด้วยนํ้าพริกเผา นํ้าปลา มะนาว พริกขี้หนู.ต้มข่า น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง มีลักษณะคล้ายต้มยํากะทิ แต่มักใช้เนื้อไก่ ใส่ข่าอ่อน ปรุงรสด้วยนํ้าพริกเผา นํ้าปลา มะนาว พริกขี้หนู.
ต้มเค็ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารคาวอย่างหนึ่ง ใช้ปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นมีหมูเป็นต้นเคี่ยวให้เข้าไส้หรือให้เปื่อย, ถ้าต้มตามแบบจีนมีรสเค็ม แต่ถ้าต้มตามแบบไทยมีรสหวานเค็ม.ต้มเค็ม น. ชื่ออาหารคาวอย่างหนึ่ง ใช้ปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นมีหมูเป็นต้นเคี่ยวให้เข้าไส้หรือให้เปื่อย, ถ้าต้มตามแบบจีนมีรสเค็ม แต่ถ้าต้มตามแบบไทยมีรสหวานเค็ม.
ต้มโคล้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู[–โคฺล้ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือ ให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, โฮกอือ ก็เรียก.ต้มโคล้ง [–โคฺล้ง] น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือ ให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, โฮกอือ ก็เรียก.
ต้มปลาร้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้หัวตาลหรือหน่อไม้เป็นต้นเป็นผัก มีลักษณะคล้ายแกงเลียง แต่ใส่ปลาร้า.ต้มปลาร้า น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้หัวตาลหรือหน่อไม้เป็นต้นเป็นผัก มีลักษณะคล้ายแกงเลียง แต่ใส่ปลาร้า.
ต้มเปรต เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ทําคล้ายต้มยํา แต่ใช้ปลาไหลทั้งตัวโดยมาก.ต้มเปรต น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ทําคล้ายต้มยํา แต่ใช้ปลาไหลทั้งตัวโดยมาก.
ต้มเปอะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้หัวตาลหรือหน่อไม้หรือใบขี้เหล็กเป็นต้น คล้ายแกงขี้เหล็ก แต่ไม่ใส่กะทิ ใส่ข้าวคั่วกับปลาร้าผสมด้วย.ต้มเปอะ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้หัวตาลหรือหน่อไม้หรือใบขี้เหล็กเป็นต้น คล้ายแกงขี้เหล็ก แต่ไม่ใส่กะทิ ใส่ข้าวคั่วกับปลาร้าผสมด้วย.
ต้มยำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นต้มในนํ้าเปล่าหรือในกะทิ ใส่ตะไคร้ ใบมะกรูด และปรุงรสเปรี้ยวเค็มด้วยนํ้าพริกเผาหรือนํ้าพริก.ต้มยำ น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อปลาหรือเนื้อสัตว์อื่นต้มในนํ้าเปล่าหรือในกะทิ ใส่ตะไคร้ ใบมะกรูด และปรุงรสเปรี้ยวเค็มด้วยนํ้าพริกเผาหรือนํ้าพริก.
ต้มยำกะทิ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงต้มยําที่ใส่กะทิแทนนํ้าเปล่า.ต้มยำกะทิ น. ชื่อแกงต้มยําที่ใส่กะทิแทนนํ้าเปล่า.
ต้มส้ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อปลาต้มในนํ้าแกงที่ปรุงด้วยกะปิ ขิง หัวหอม พริกไทย ส้มมะขาม และนํ้าตาล มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน.ต้มส้ม น. ชื่อแกงอย่างหนึ่ง ใช้เนื้อปลาต้มในนํ้าแกงที่ปรุงด้วยกะปิ ขิง หัวหอม พริกไทย ส้มมะขาม และนํ้าตาล มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน.
ตมูก เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่[ตะหฺมูก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง จมูก.ตมูก [ตะหฺมูก] (ปาก) น. จมูก.
ตยาค เขียนว่า ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย[ตะยาก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การสละ, การให้ปัน, เช่น อันมีใจตยาคนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตยาค [ตะยาก] (แบบ) น. การสละ, การให้ปัน, เช่น อันมีใจตยาคนั้น. (ม. คำหลวง กุมาร). (ส.).
ตยาคี เขียนว่า ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี[ตะยา–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้บริจาค, วีรบุรุษ, นักพรต, เช่น พระศรีศรีสรศาสดา มีพระมหิมา นุภาพพ้นตยาคี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตยาคี [ตะยา–] น. ผู้บริจาค, วีรบุรุษ, นักพรต, เช่น พระศรีศรีสรศาสดา มีพระมหิมา นุภาพพ้นตยาคี. (สมุทรโฆษ). (ส.).
ตยุติ เขียนว่า ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[ตะยุติ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อน, ตาย, (โดยมากใช้แก่เทวดา) เช่น ก็จะจยรตยุติลงเกอด. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี จุติ เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.ตยุติ [ตะยุติ] (แบบ) ก. เคลื่อน, ตาย, (โดยมากใช้แก่เทวดา) เช่น ก็จะจยรตยุติลงเกอด. (ม. คำหลวง ทศพร). (ส.; ป. จุติ).
ตรง, ตรง ๆ ตรง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู ตรง ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู ไม้-ยะ-มก [ตฺรง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่คดโค้ง เช่น ทางตรง, ไม่งอ เช่น นั่งตัวตรง, ไม่เอียง เช่น ตั้งเสาให้ตรง ยืนตรง ๆ; ซื่อ, ไม่โกง, เช่น เขาเป็นคนตรง; เที่ยงตามกําหนด เช่น เวลา ๓ โมงตรง นาฬิกาเดินตรงเวลา; เปิดเผยไม่มีลับลมคมใน, ไม่ปิดบังอําพราง, ไม่อ้อมค้อม, เช่น พูดตรงไปตรงมา บอกมาตรง ๆ; รี่, ปรี่, เช่น ตรงเข้าใส่; ถูกต้องตาม เช่น ตรงเป้าหมาย. เป็นคำบุรพบท หมายถึง ที่แห่งใดแห่งหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ตรงนี้ ตรงนั้น.ตรง, ตรง ๆ [ตฺรง] ว. ไม่คดโค้ง เช่น ทางตรง, ไม่งอ เช่น นั่งตัวตรง, ไม่เอียง เช่น ตั้งเสาให้ตรง ยืนตรง ๆ; ซื่อ, ไม่โกง, เช่น เขาเป็นคนตรง; เที่ยงตามกําหนด เช่น เวลา ๓ โมงตรง นาฬิกาเดินตรงเวลา; เปิดเผยไม่มีลับลมคมใน, ไม่ปิดบังอําพราง, ไม่อ้อมค้อม, เช่น พูดตรงไปตรงมา บอกมาตรง ๆ; รี่, ปรี่, เช่น ตรงเข้าใส่; ถูกต้องตาม เช่น ตรงเป้าหมาย. บ. ที่แห่งใดแห่งหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ตรงนี้ ตรงนั้น.
ตรงกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนกัน เช่น ความคิดตรงกัน, เป็นแนวเดียวกัน เช่น เข้าแถวให้ตรงกัน.ตรงกัน ว. เหมือนกัน เช่น ความคิดตรงกัน, เป็นแนวเดียวกัน เช่น เข้าแถวให้ตรงกัน.
ตรงกันข้าม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คนละฝ่ายคนละพวก; มีความหมายต่างกันอย่างขาวกับดํา ดีกับชั่ว.ตรงกันข้าม ว. คนละฝ่ายคนละพวก; มีความหมายต่างกันอย่างขาวกับดํา ดีกับชั่ว.
ตรณี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[ตะระนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรณี [ตะระนี] (แบบ) น. เรือ. (ป., ส.).
ตรม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า[ตฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น ตรมใจ; กลัด เช่น ตรมหนอง, กรม ก็ว่า.ตรม [ตฺรม] ก. ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น ตรมใจ; กลัด เช่น ตรมหนอง, กรม ก็ว่า.
ตรมตรอม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[–ตฺรอม] เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, กรมกรอม ก็ว่า.ตรมตรอม [–ตฺรอม] ก. ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, กรมกรอม ก็ว่า.
ตรมเตรียม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[–เตฺรียม] เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เกรียมกรม หรือ เตรียมตรม ก็ได้.ตรมเตรียม [–เตฺรียม] ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เกรียมกรม หรือ เตรียมตรม ก็ได้.
ตรมวล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ลอ-ลิง[ตฺรม–วน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตําบล เช่น เขาแก้วว่าวงกาจล ตรมวลใดท้าวธบอก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์.ตรมวล [ตฺรม–วน] (โบ) น. ตําบล เช่น เขาแก้วว่าวงกาจล ตรมวลใดท้าวธบอก. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
ตรรก–, ตรรกะ ตรรก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ตรรกะ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ [ตักกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความตรึก, ความคิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตรฺก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี ตกฺก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.ตรรก–, ตรรกะ [ตักกะ] (แบบ) น. ความตรึก, ความคิด. (ส. ตรฺก; ป. ตกฺก).
ตรรกวิทยา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ตรรกศาสตร์.ตรรกวิทยา น. ตรรกศาสตร์.
ตรรกศาสตร์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ logic เขียนว่า แอล-โอ-จี-ไอ-ซี.ตรรกศาสตร์ น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่, ใช้ว่า ตรรกวิทยา ก็มี. (อ. logic).
ตรลบ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[ตฺระหฺลบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตลบ, เอาข่ายครอบนก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หกหลังมา; กลับย้อนหลัง; ฟุ้ง.ตรลบ [ตฺระหฺลบ] (กลอน) ก. ตลบ, เอาข่ายครอบนก. ว. หกหลังมา; กลับย้อนหลัง; ฟุ้ง.
ตรลอด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก[ตฺระหฺลอด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำบุรพบท หมายถึง ตลอด, สิ้น, ทั่ว, แต่ต้นจนปลาย.ตรลอด [ตฺระหฺลอด] (กลอน) บ. ตลอด, สิ้น, ทั่ว, แต่ต้นจนปลาย.
ตรละ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตะระละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวต้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรละ ๑ [ตะระละ] (แบบ) น. ข้าวต้ม. (ป., ส.).
ตรละ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตะระละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พลอยเม็ดกลางของเครื่องสร้อยคอ, สร้อยคอ; เพชร, เหล็ก; พื้นล่าง, พื้นราบ; ส่วนลึก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลับกลอก; หวั่นไหว, สั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรละ ๒ [ตะระละ] (แบบ) น. พลอยเม็ดกลางของเครื่องสร้อยคอ, สร้อยคอ; เพชร, เหล็ก; พื้นล่าง, พื้นราบ; ส่วนลึก. ว. กลับกลอก; หวั่นไหว, สั่น. (ป., ส.).
ตรลา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[ตะระลา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวต้ม; นํ้าผึ้ง; เหล้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง.ตรลา [ตะระลา] (แบบ) น. ข้าวต้ม; นํ้าผึ้ง; เหล้า. (ป., ส. ตรล).
ตรลาด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[ตฺระหฺลาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ตลาด, ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ.ตรลาด [ตฺระหฺลาด] (กลอน) น. ตลาด, ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ.
ตรเลิด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[ตฺระเหฺลิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เตลิด, กระเจิดกระเจิง, กระจัดกระจาย.ตรเลิด [ตฺระเหฺลิด] (กลอน) ก. เตลิด, กระเจิดกระเจิง, กระจัดกระจาย.
ตรวจ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน[ตฺรวด] เป็นคำกริยา หมายถึง พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ, พิจารณาดูว่าถูกหรือผิด ดีหรือร้าย เป็นต้น เช่น ตรวจบัญชี ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจดวงชะตา, พิจารณาหาสมุฏฐาน เช่น ตรวจโรค, สํารวจ เช่น ตรวจพื้นที่. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือชนิดหนึ่ง.ตรวจ [ตฺรวด] ก. พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ, พิจารณาดูว่าถูกหรือผิด ดีหรือร้าย เป็นต้น เช่น ตรวจบัญชี ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจดวงชะตา, พิจารณาหาสมุฏฐาน เช่น ตรวจโรค, สํารวจ เช่น ตรวจพื้นที่. น. ชื่อเรือชนิดหนึ่ง.
ตรวจการ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ชุดตรวจการ, ตรวจราชการ ก็ว่า.ตรวจการ ก. ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ชุดตรวจการ, ตรวจราชการ ก็ว่า.
ตรวจการณ์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจค้นด้วยสายตาหรือใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าช่วย เพื่อรวบรวมข่าวสารหรือประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในเขตพื้นที่รับผิดชอบ.ตรวจการณ์ ก. ตรวจค้นด้วยสายตาหรือใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เข้าช่วย เพื่อรวบรวมข่าวสารหรือประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งในเขตพื้นที่รับผิดชอบ.
ตรวจข่าว เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง พิจารณาข่าวว่าควรอนุญาตให้พิมพ์ได้หรือไม่, พิจารณาข่าวที่ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์แล้ว.ตรวจข่าว ก. พิจารณาข่าวว่าควรอนุญาตให้พิมพ์ได้หรือไม่, พิจารณาข่าวที่ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์แล้ว.
ตรวจตรา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พิจารณาดูให้รอบคอบถี่ถ้วน.ตรวจตรา ก. พิจารณาดูให้รอบคอบถี่ถ้วน.
ตรวจราชการ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ผู้ตรวจราชการภาค, ตรวจการ ก็ว่า.ตรวจราชการ ก. ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ผู้ตรวจราชการภาค, ตรวจการ ก็ว่า.
ตรวจเลือด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจดูว่าเลือดอยู่ในกลุ่มไหน หรือมีเชื้อโรคอยู่ในเลือดหรือไม่ หรือเพื่อทราบโรคบางอย่าง เป็นต้น.ตรวจเลือด ก. ตรวจดูว่าเลือดอยู่ในกลุ่มไหน หรือมีเชื้อโรคอยู่ในเลือดหรือไม่ หรือเพื่อทราบโรคบางอย่าง เป็นต้น.
ตรวด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก[ตฺรวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กรวด, สูงชัน, เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.ตรวด [ตฺรวด] (กลอน) ว. กรวด, สูงชัน, เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ตรวน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู[ตฺรวน] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจองจํานักโทษชนิดหนึ่ง เป็นห่วงเหล็ก ใช้สวมขานักโทษ มีโซ่ล่ามถึงกัน.ตรวน [ตฺรวน] น. เครื่องจองจํานักโทษชนิดหนึ่ง เป็นห่วงเหล็ก ใช้สวมขานักโทษ มีโซ่ล่ามถึงกัน.
ตรวย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก[ตฺรวย] เป็นคำกริยา หมายถึง พุ่งตรงมา เช่น บ้างเป็นเสาตรวยตรงลงถึงดิน. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ตรวย [ตฺรวย] ก. พุ่งตรงมา เช่น บ้างเป็นเสาตรวยตรงลงถึงดิน. (อิเหนา).
ตรอก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[ตฺรอก] เป็นคำนาม หมายถึง ทางที่แยกจากถนนใหญ่และมีขนาดเล็กกว่าถนน.ตรอก [ตฺรอก] น. ทางที่แยกจากถนนใหญ่และมีขนาดเล็กกว่าถนน.
ตรอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทบทวน.ตรอง [ตฺรอง] ก. คิดทบทวน.
ตรอมใจ, ตรอมตรม ตรอมใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ตรอมตรม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า [ตฺรอม–, –ตฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, กรอมใจ หรือ กรอมกรม ก็ว่า.ตรอมใจ, ตรอมตรม [ตฺรอม–, –ตฺรม] ก. ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, กรอมใจ หรือ กรอมกรม ก็ว่า.
ตระ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.ตระ ๑ [ตฺระ] น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
ตระเชิญ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้อัญเชิญเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า เพลงตระเชิญ.ตระเชิญ น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่ใช้อัญเชิญเทพเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า เพลงตระเชิญ.
ตระ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).ตระ ๒ [ตฺระ] น. แถบ, แปลง, (ใช้แก่ที่).
ตระกล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง[ตฺระกน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีมาก; งาม.ตระกล [ตฺระกน] ว. มีมาก; งาม.
ตระกวน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-นอ-หนู[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผักบุ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรกวน เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-นอ-หนู.ตระกวน [ตฺระ–] น. ผักบุ้ง. (ข. ตฺรกวน).
ตระกอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺระ–] เป็นคำกริยา หมายถึง กอด, เกี่ยวพัน, กระกอง ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรกง เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-งอ-งู.ตระกอง [ตฺระ–] ก. กอด, เกี่ยวพัน, กระกอง ก็ว่า. (ข. ตฺรกง).
ตระกัด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น พ่อเอ๋ย ใช่ตั้งใจแก่ความกําหนัด ในความตระกัดกรีธา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร, กระกัด ก็ว่า.ตระกัด [ตฺระ–] (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น พ่อเอ๋ย ใช่ตั้งใจแก่ความกําหนัด ในความตระกัดกรีธา. (ม. คำหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.
ตระการ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ตฺระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม; ประหลาด, แปลก ๆ; หลาก, มีต่าง ๆ.ตระการ [ตฺระ–] ว. งาม; ประหลาด, แปลก ๆ; หลาก, มีต่าง ๆ.
ตระกูล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง สกุล, วงศ์, เชื้อสาย, เผ่าพันธุ์.ตระกูล [ตฺระ–] น. สกุล, วงศ์, เชื้อสาย, เผ่าพันธุ์.
ตระกูลมูลชาติ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–มูนชาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ตระกูลผู้ดี เช่น หญิงมีตระกูลมูลชาติ ถ้าแม้ขาดขันหมากก็ขายหน้า. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง ท้าวแสนปม ในหนังสือศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับโรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์ พ.ศ. ๒๕๑๓, สกุลรุนชาติ ก็ว่า.ตระกูลมูลชาติ [–มูนชาด] (สำ) น. ตระกูลผู้ดี เช่น หญิงมีตระกูลมูลชาติ ถ้าแม้ขาดขันหมากก็ขายหน้า. (ท้าวแสนปม), สกุลรุนชาติ ก็ว่า.
ตระคัร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-รอ-เรือ[ตฺระคัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กฤษณา เช่น กฤษณาขาวและตระคัร ก็มี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตคร เขียนว่า ตอ-เต่า-คอ-ควาย-รอ-เรือ.ตระคัร [ตฺระคัน] (แบบ) น. ไม้กฤษณา เช่น กฤษณาขาวและตระคัร ก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน). (ป.; ส. ตคร).
ตระง่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺระ–] เป็นคำกริยา หมายถึง จ้อง, คอยดู, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.ตระง่อง [ตฺระ–] ก. จ้อง, คอยดู, (โบ) ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่อง ตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.
ตระจัก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[ตฺระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตระชัก, เย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตรฺชาก่ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-เอก.ตระจัก [ตฺระ–] ว. ตระชัก, เย็น. (ข. ตรฺชาก่).
ตระชัก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[ตฺระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เย็น, บางทีใช้ ตระจัก ตามเสียงเขมร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรชาก่ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-เอก.ตระชัก [ตฺระ–] ว. เย็น, บางทีใช้ ตระจัก ตามเสียงเขมร. (ข. ตฺรชาก่).
ตระดก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ.ตระดก [ตฺระ–] (กลอน) ก. หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ.
ตระดาษ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขาว, เผือก, เช่น อนนขาวตระดาษดุจสังข์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.ตระดาษ [ตฺระ–] (กลอน) ว. ขาว, เผือก, เช่น อนนขาวตระดาษดุจสังข์. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ตระเตรียม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[ตฺระเตฺรียม] เป็นคำกริยา หมายถึง จัดแจงไว้ให้เรียบร้อย, โบราณใช้ว่า กระเกรียม.ตระเตรียม [ตฺระเตฺรียม] ก. จัดแจงไว้ให้เรียบร้อย, โบราณใช้ว่า กระเกรียม.
ตระแตร้น, ตะแตร้น ตระแตร้น เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู ตะแตร้น เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู [ตฺระแตฺร้น, –แตฺร้น] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงช้างร้อง.ตระแตร้น, ตะแตร้น [ตฺระแตฺร้น, –แตฺร้น] (กลอน) ว. เสียงช้างร้อง.
ตระทรวง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู[ตฺระซวง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระทรวง. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.ตระทรวง [ตฺระซวง] (โบ) น. กระทรวง. (สามดวง).
ตระนาว เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกระแจะชนิดหนึ่ง.ตระนาว [ตฺระ–] น. เรียกกระแจะชนิดหนึ่ง.
ตระไน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นกกระไน เช่น เขาคุ่มกระตรุมกระไตร ตระไนนี่สนั่นเสียง. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. ในวงเล็บ ดู กระไน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู.ตระไน [ตฺระ–] (กลอน) น. นกกระไน เช่น เขาคุ่มกระตรุมกระไตร ตระไนนี่สนั่นเสียง. (สรรพสิทธิ์). (ดู กระไน).
ตระบก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[ตฺระ–]ดู กระบก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่.ตระบก [ตฺระ–] ดู กระบก.
ตระบอก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้, กลีบดอกไม้, เช่น ตระบอกบววศรีไส กลีบกล้ยง. (กำสรวล). (ข. ตฺรบก).ตระบอก [ตฺระ–] (กลอน) น. ดอกไม้, กลีบดอกไม้, เช่น ตระบอกบววศรีไส กลีบกล้ยง. (กำสรวล). (ข. ตฺรบก).
ตระบอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตะบอง เช่น ครั้นพ้นขึ้นมาเปนเปรตถือตระบองเหลกลุกเปนเปลวเพลิง. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง, กระบอง ก็ว่า.ตระบอง [ตฺระ–] น. ตะบอง เช่น ครั้นพ้นขึ้นมาเปนเปรตถือตระบองเหลกลุกเปนเปลวเพลิง. (สามดวง), กระบอง ก็ว่า.
ตระบัด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [ตฺระ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, กระบัด ก็ใช้. เป็นคำกริยา หมายถึง พลันไป.ตระบัด ๑ [ตฺระ–] ว. ประเดี๋ยว, บัดใจ, ทันใด, กระบัด ก็ใช้. ก. พลันไป.
ตระบัด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ฉ้อโกง เช่น บ่อยู่ในสัตย์ ตระบัดอาธรรม์. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕, กระบัด ประบัด หรือ สะบัด ก็ใช้, ยืมหรือกู้เอาทรัพย์เขาไปแล้วโกงเอาเสีย, ยักยอก, ใช้อย่าง สะบัด ก็มี.ตระบัด ๒ [ตฺระ–] (โบ) ก. ฉ้อโกง เช่น บ่อยู่ในสัตย์ ตระบัดอาธรรม์. (เสือโค), กระบัด ประบัด หรือ สะบัด ก็ใช้, ยืมหรือกู้เอาทรัพย์เขาไปแล้วโกงเอาเสีย, ยักยอก, ใช้อย่าง สะบัด ก็มี.
ตระบัดสัตย์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่รักษาคํามั่นสัญญา.ตระบัดสัตย์ ก. ไม่รักษาคํามั่นสัญญา.
ตระบัน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กลีบซ้อน.ตระบัน [ตฺระ–] (กลอน) น. กลีบซ้อน.
ตระเบ็ง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กลั้นใจดันเบ่งเสียงออกให้ดัง, อัดใจให้ท้องป่องขึ้น, กระเบง.ตระเบ็ง [ตฺระ–] (กลอน) ก. กลั้นใจดันเบ่งเสียงออกให้ดัง, อัดใจให้ท้องป่องขึ้น, กระเบง.
ตระแบ่ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แผ่. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔.ตระแบ่ [ตฺระ–] (โบ) ก. แผ่. (อนันตวิภาค).
ตระแบก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ต้นตะแบก, กระแบก ก็เรียก.ตระแบก [ตฺระ–] (กลอน) น. ต้นตะแบก, กระแบก ก็เรียก.
ตระแบง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ [ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สะแบง, สะพาย, เช่น ตาวตระแบง.ตระแบง ๑ [ตฺระ–] (กลอน) ก. สะแบง, สะพาย, เช่น ตาวตระแบง.
ตระแบง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ความหมายที่ [ตฺระ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกไขว้, ผูกบิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรแบง เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู ว่า ผูกไขว้ด้วยไม้ขันชะเนาะ .ตระแบง ๒ [ตฺระ–] ก. ผูกไขว้, ผูกบิด. (ข. ตฺรแบง ว่า ผูกไขว้ด้วยไม้ขันชะเนาะ).
ตระแบน, ตระแบ่น ตระแบน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู ตระแบ่น เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-นอ-หนู [ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ้งลง, ตกลง, โผลง, เช่น ตระแบนไว้กลางดิน. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง แผ่น. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔.ตระแบน, ตระแบ่น [ตฺระ–] (กลอน) ก. ทิ้งลง, ตกลง, โผลง, เช่น ตระแบนไว้กลางดิน. (โบ) น. แผ่น. (อนันตวิภาค).
ตระโบม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง โลมเล้า, กอด, กระโบม ก็ว่า.ตระโบม [ตฺระ–] (กลอน) ก. โลมเล้า, กอด, กระโบม ก็ว่า.
ตระพอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, กะพอง กระพอง หรือ ตะพอง ก็ว่า.ตระพอง [ตฺระ–] น. ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างศีรษะช้าง, กะพอง กระพอง หรือ ตะพอง ก็ว่า.
ตระพัง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[ตฺระ–] เป็นคำนาม หมายถึง แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตะพัง กระพัง หรือ สะพัง ก็ว่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ตฺรพําง เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-พอ-พาน-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-งอ-งู ว่า บ่อที่เกิดเอง .ตระพัง [ตฺระ–] น. แอ่ง, บ่อ, หนอง, ตะพัง กระพัง หรือ สะพัง ก็ว่า. (เทียบ ข. ตฺรพําง ว่า บ่อที่เกิดเอง).
ตระมื่น เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงใหญ่, ทะมื่น ก็ใช้.ตระมื่น [ตฺระ–] (กลอน) ว. สูงใหญ่, ทะมื่น ก็ใช้.
ตระโมจ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-จอ-จาน[ตฺระโหฺมด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว้าเหว่, เปลี่ยวใจ, โดดเดี่ยว. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรโมจ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-จอ-จาน.ตระโมจ [ตฺระโหฺมด] ว. ว้าเหว่, เปลี่ยวใจ, โดดเดี่ยว. (ข. สฺรโมจ).
ตระลาการ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งพนักงานศาลผู้มีหน้าที่ชําระเอาความเท็จจริง.ตระลาการ [ตฺระ–] (โบ) น. ตําแหน่งพนักงานศาลผู้มีหน้าที่ชําระเอาความเท็จจริง.
ตระวัน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ตะวัน, ดวงอาทิตย์.ตระวัน [ตฺระ–] (กลอน) น. ตะวัน, ดวงอาทิตย์.
ตระเว็ด เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก[ตฺระเหฺว็ด] เป็นคำนาม หมายถึง รูปเทพารักษ์ที่ประดิษฐานไว้ในศาลพระภูมิหรือศาลเจ้า, ใช้ว่า เจว็ด หรือ เตว็ด ก็มี.ตระเว็ด [ตฺระเหฺว็ด] น. รูปเทพารักษ์ที่ประดิษฐานไว้ในศาลพระภูมิหรือศาลเจ้า, ใช้ว่า เจว็ด หรือ เตว็ด ก็มี.
ตระเวน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู[ตฺระ–] เป็นคำกริยา หมายถึง ไปทั่ว ๆ รอบบริเวณ เช่น ตระเวนป่า พาตระเวนไปทั้งวัน, เที่ยวตรวจตรา เช่น พลตระเวน, พาไปทั่ว ๆ เพื่อประจาน ในความว่า นํานักโทษตระเวนไปทั่วเมือง, ใช้ว่า กระเวน ตะเวน หรือ ทะเวน ก็มี.ตระเวน [ตฺระ–] ก. ไปทั่ว ๆ รอบบริเวณ เช่น ตระเวนป่า พาตระเวนไปทั้งวัน, เที่ยวตรวจตรา เช่น พลตระเวน, พาไปทั่ว ๆ เพื่อประจาน ในความว่า นํานักโทษตระเวนไปทั่วเมือง, ใช้ว่า กระเวน ตะเวน หรือ ทะเวน ก็มี.
ตระเวนเวหา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วิธีรำละครท่าหนึ่ง อยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา. ในวงเล็บ มาจาก ตำราฟ้อนรำ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๗๑.ตระเวนเวหา น. วิธีรำละครท่าหนึ่ง อยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา. (ฟ้อน).
ตระเวนไพร, ตระเวนวัน ตระเวนไพร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ ตระเวนวัน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ดู ระวังไพร, ระวังวัน ระวังไพร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ ระวังวัน เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู .ตระเวนไพร, ตระเวนวัน ดู ระวังไพร, ระวังวัน.
ตระสัก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามสง่า; ไพเราะ.ตระสัก [ตฺระ–] (กลอน) ว. งามสง่า; ไพเราะ.
ตระหง่อง, ตระหน่อง ตระหง่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ตระหน่อง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู [ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร, กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.ตระหง่อง, ตระหน่อง [ตฺระ–] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา. (ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คำหลวง กุมาร), กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.
ตระหง่าน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[ตฺระหฺง่าน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงเด่นเป็นสง่า.ตระหง่าน [ตฺระหฺง่าน] ว. สูงเด่นเป็นสง่า.
ตระหนก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-กอ-ไก่[ตฺระหฺนก] เป็นคำกริยา หมายถึง หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ.ตระหนก [ตฺระหฺนก] ก. หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ.
ตระหนัก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[ตฺระหฺนัก] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ประจักษ์ชัด, รู้ชัดแจ้ง.ตระหนัก [ตฺระหฺนัก] ก. รู้ประจักษ์ชัด, รู้ชัดแจ้ง.
ตระหน่ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ[ตฺระหฺนํ่า] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระหนํ่า.ตระหน่ำ [ตฺระหฺนํ่า] (กลอน) ก. กระหนํ่า.
ตระหนี่ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก[ตฺระหฺนี่] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวงไม่อยากให้ง่าย ๆ เช่น ตระหนี่ทรัพย์ ตระหนี่ความรู้.ตระหนี่ [ตฺระหฺนี่] ว. หวงไม่อยากให้ง่าย ๆ เช่น ตระหนี่ทรัพย์ ตระหนี่ความรู้.
ตระหนี่ตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง หวงตัว ไม่ยอมให้ใครอุ้ม (ใช้แก่เด็ก).ตระหนี่ตัว ก. หวงตัว ไม่ยอมให้ใครอุ้ม (ใช้แก่เด็ก).
ตระอร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ[ตฺระออน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ชอบใจ; ประคับประคอง เช่น เกื้อกามตระอร. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์.ตระอร [ตฺระออน] ก. ทําให้ชอบใจ; ประคับประคอง เช่น เกื้อกามตระอร. (กฤษณา).
ตระอาล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[ตฺระอาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวั่นไหว เช่น พยงแผ่นดินบตระอาล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตรฺอาล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ว่า ยินดี, สบายใจ .ตระอาล [ตฺระอาน] (กลอน) ว. หวั่นไหว เช่น พยงแผ่นดินบตระอาล. (ม. คำหลวง กุมาร). (ข. ตรฺอาล ว่า ยินดี, สบายใจ).
ตระโอม เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[ตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง โอบกอด.ตระโอม [ตฺระ–] (กลอน) ก. โอบกอด.
ตรัง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[ตฺรัง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ติดอยู่ เช่น สิ่งสินตรังตรา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช, ต้องกวางทรายตายเหลือตรัง. ในวงเล็บ มาจาก อนิรุทธ์คำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.ตรัง [ตฺรัง] (โบ) ก. ติดอยู่ เช่น สิ่งสินตรังตรา. (ม. คำหลวง มหาราช), ต้องกวางทรายตายเหลือตรัง. (อนิรุทธ์).
ตรังค–, ตรังค์ ตรังค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย ตรังค์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด [ตะรังคะ–, ตะรัง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกคลื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรังค–, ตรังค์ [ตะรังคะ–, ตะรัง] (แบบ) น. ลูกคลื่น. (ป., ส.).
ตรังคนที, ตรังควชิราวดี ตรังคนที เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ตรังควชิราวดี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง, คู่กับ มหาตรังคนที.ตรังคนที, ตรังควชิราวดี น. ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง, คู่กับ มหาตรังคนที.
ตรับ, ตรับฟัง ตรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ตรับฟัง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู [ตฺรับ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่คอยฟังข่าวคราวทุกข์สุขหรือความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นต้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สดับ เป็น สดับตรับฟัง.ตรับ, ตรับฟัง [ตฺรับ] ก. เอาใจใส่คอยฟังข่าวคราวทุกข์สุขหรือความคิดเห็นของผู้อื่นเป็นต้น, มักใช้เข้าคู่กับคำ สดับ เป็น สดับตรับฟัง.
ตรัย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[ไตฺร] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาม, หมวด ๓, ใช้ในคําสมาส เช่น ตรัยตรึงศ์ รัตนตรัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตรัย [ไตฺร] ว. สาม, หมวด ๓, ใช้ในคําสมาส เช่น ตรัยตรึงศ์ รัตนตรัย. (ส.).
ตรัยตรึงศ์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด[ไตฺรตฺรึง] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้นที่พระอินทร์ครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺรยสฺตฺรึศตฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี เตตฺตึส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-สอ-เสือ ว่า สามสิบสาม .ตรัยตรึงศ์ [ไตฺรตฺรึง] น. ดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้นที่พระอินทร์ครอง. (ส. ตฺรยสฺตฺรึศตฺ; ป. เตตฺตึส ว่า สามสิบสาม).
ตรัส เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง พูด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แจ้ง, สว่าง, ชัดเจน.ตรัส (ราชา) ก. พูด. ว. แจ้ง, สว่าง, ชัดเจน.
ตรัสรู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท[ตฺรัดสะ–] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้แจ้ง (ใช้เฉพาะพระพุทธเจ้า); โดยปริยายหมายความว่า รู้เอาเองว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้.ตรัสรู้ [ตฺรัดสะ–] ก. รู้แจ้ง (ใช้เฉพาะพระพุทธเจ้า); โดยปริยายหมายความว่า รู้เอาเองว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้.
ตรัสสา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา[ตฺรัดสา] เป็นคำนาม หมายถึง คํายกย่องเรียกเจ้านายฝ่ายในชั้นเจ้าฟ้า. ในวงเล็บ มาจาก พระราชวิจารณ์ พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๕.ตรัสสา [ตฺรัดสา] น. คํายกย่องเรียกเจ้านายฝ่ายในชั้นเจ้าฟ้า. (พระราชวิจารณ์).
ตรา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[ตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายที่มีลวดลายและทําเป็นรูปต่าง ๆ สําหรับประทับเป็นสําคัญ เช่น ตราพระราชสีห์ ตราพระคชสีห์ ตราบัวแก้ว, สําหรับเป็นเครื่องประดับในจําพวกราชอิสริยาภรณ์ เช่น ตราช้างเผือก, สําหรับเป็นเครื่องหมาย เช่น ผ้าตรานกอินทรี. เป็นคำกริยา หมายถึง ประทับเป็นสําคัญ เช่น ตราไว้; กําหนดไว้, จดจําไว้, เช่น ตราเอาไว้ที; ตั้งไว้ เช่น ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้.ตรา [ตฺรา] น. เครื่องหมายที่มีลวดลายและทําเป็นรูปต่าง ๆ สําหรับประทับเป็นสําคัญ เช่น ตราพระราชสีห์ ตราพระคชสีห์ ตราบัวแก้ว, สําหรับเป็นเครื่องประดับในจําพวกราชอิสริยาภรณ์ เช่น ตราช้างเผือก, สําหรับเป็นเครื่องหมาย เช่น ผ้าตรานกอินทรี. ก. ประทับเป็นสําคัญ เช่น ตราไว้; กําหนดไว้, จดจําไว้, เช่น ตราเอาไว้ที; ตั้งไว้ เช่น ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้.
ตราขุนพล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ลายที่ขีดเป็นกากบาทที่ก้นหม้อตาลสําหรับปักไว้กันผี.ตราขุนพล น. ลายที่ขีดเป็นกากบาทที่ก้นหม้อตาลสําหรับปักไว้กันผี.
ตราจอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ใบอนุญาตให้จับจองที่ดิน ซึ่งกําหนดให้ผู้รับอนุญาตต้องทําประโยชน์ในที่ดินให้แล้วภายใน ๓ ปี.ตราจอง (กฎ; เลิก) น. ใบอนุญาตให้จับจองที่ดิน ซึ่งกําหนดให้ผู้รับอนุญาตต้องทําประโยชน์ในที่ดินให้แล้วภายใน ๓ ปี.
ตราแดง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสําคัญซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อนุญาตให้จับจองที่นา ใช้ในบางจังหวัด แทนตราจอง แต่ไม่กําหนดเวลา ๓ ปี ออกให้ในสมัยหนึ่ง แล้วงดไม่ออกอีก เพื่อเก็บอากรค่านาเป็นนาคู่โค แทนที่เคยเป็นนาฟางลอย.ตราแดง (โบ) น. หนังสือสําคัญซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อนุญาตให้จับจองที่นา ใช้ในบางจังหวัด แทนตราจอง แต่ไม่กําหนดเวลา ๓ ปี ออกให้ในสมัยหนึ่ง แล้วงดไม่ออกอีก เพื่อเก็บอากรค่านาเป็นนาคู่โค แทนที่เคยเป็นนาฟางลอย.
ตราตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารแต่งตั้ง เช่น ตราตั้งพระอุปัชฌายะ ตราตั้งที่พระราชทานให้แก่ธนาคารหรือบริษัทห้างร้านเป็นต้นที่ทําประโยชน์ในราชการส่วนพระองค์หรือประเทศชาติ มีสิทธิที่จะใช้ตราครุฑเพื่อแสดงว่าได้รับพระบรมราชานุญาต.ตราตั้ง น. เอกสารแต่งตั้ง เช่น ตราตั้งพระอุปัชฌายะ ตราตั้งที่พระราชทานให้แก่ธนาคารหรือบริษัทห้างร้านเป็นต้นที่ทําประโยชน์ในราชการส่วนพระองค์หรือประเทศชาติ มีสิทธิที่จะใช้ตราครุฑเพื่อแสดงว่าได้รับพระบรมราชานุญาต.
ตราบาป เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง บาปติดตัว, ความรู้สึกว่าเป็นบาปซึ่งมีฝังอยู่ในจิตใจตลอดไป.ตราบาป น. บาปติดตัว, ความรู้สึกว่าเป็นบาปซึ่งมีฝังอยู่ในจิตใจตลอดไป.
ตราไปรษณียากร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง แสตมป์, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง บัตรตราใด ๆ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อใช้เป็นค่าไปรษณียากร หรือค่าธรรมเนียมอื่น หรือจํานวนเงินที่จะต้องเสียในการส่งไปรษณียภัณฑ์ รวมทั้งตราไปรษณียากรสําหรับผนึก หรือตราไปรษณียากรที่พิมพ์ ดุน หรือแสดงไว้โดยวิธีอื่นบนซอง กระดาษห่อ ไปรษณียบัตร หรือสิ่งอื่น ๆ.ตราไปรษณียากร น. แสตมป์, (กฎ) บัตรตราใด ๆ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อใช้เป็นค่าไปรษณียากร หรือค่าธรรมเนียมอื่น หรือจํานวนเงินที่จะต้องเสียในการส่งไปรษณียภัณฑ์ รวมทั้งตราไปรษณียากรสําหรับผนึก หรือตราไปรษณียากรที่พิมพ์ ดุน หรือแสดงไว้โดยวิธีอื่นบนซอง กระดาษห่อ ไปรษณียบัตร หรือสิ่งอื่น ๆ.
ตราภูมิ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือประจำตัวสำหรับคุ้มค่าน้ำค่าตลาดสมพัตสรได้เพียงราคา ๑ ตำลึง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. ๒๕๐๕, มักใช้เข้าคู่กับคำ คุ้มห้าม เป็น ตราภูมิคุ้มห้าม.ตราภูมิ (โบ) น. หนังสือประจำตัวสำหรับคุ้มค่าน้ำค่าตลาดสมพัตสรได้เพียงราคา ๑ ตำลึง. (ประกาศ ร. ๔), มักใช้เข้าคู่กับคำ คุ้มห้าม เป็น ตราภูมิคุ้มห้าม.
ตรายาง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตราที่ทําด้วยยางสําหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น.ตรายาง น. ตราที่ทําด้วยยางสําหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น.
ตราสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสําคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น โฉนดที่ดิน ตั๋วเงิน.ตราสาร (กฎ) น. หนังสือสําคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น โฉนดที่ดิน ตั๋วเงิน.
ตราสารจัดตั้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสำคัญก่อตั้งนิติบุคคลที่กำหนดขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น.ตราสารจัดตั้ง (กฎ) น. หนังสือสำคัญก่อตั้งนิติบุคคลที่กำหนดขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลนั้น.
ตราสิน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แจ้งความไว้เพื่อเป็นหลักฐาน, จดทะเบียน, เช่น ตราสินหนังสือพิมพ์ ตราสินชื่อย่อโทรเลข.ตราสิน ก. แจ้งความไว้เพื่อเป็นหลักฐาน, จดทะเบียน, เช่น ตราสินหนังสือพิมพ์ ตราสินชื่อย่อโทรเลข.
ตราหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หมายหน้าไว้; หยามหน้า, สบประมาท.ตราหน้า ก. หมายหน้าไว้; หยามหน้า, สบประมาท.
ตรากตรำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ[ตฺรากตฺรํา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทนทําอย่างไม่คิดถึงความยากลําบาก เช่น ทํางานอย่างตรากตรํา; อย่างสมบุกสมบัน, อย่างไม่ปรานีปราศรัย, เช่น ใช้อย่างตรากตรํา.ตรากตรำ [ตฺรากตฺรํา] ว. ทนทําอย่างไม่คิดถึงความยากลําบาก เช่น ทํางานอย่างตรากตรํา; อย่างสมบุกสมบัน, อย่างไม่ปรานีปราศรัย, เช่น ใช้อย่างตรากตรํา.
ตราชู เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู[ตฺรา–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องชั่งชนิดที่มีถาดชั่งห้อยอยู่ ๒ ข้างคันชั่ง มีตุ้มน้ำหนักบอกนํ้าหนักของของที่ชั่ง.ตราชู [ตฺรา–] น. เครื่องชั่งชนิดที่มีถาดชั่งห้อยอยู่ ๒ ข้างคันชั่ง มีตุ้มน้ำหนักบอกนํ้าหนักของของที่ชั่ง.
ตราบ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้[ตฺราบ] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าง, ฟาก, ริม. เป็นคำสันธาน หมายถึง จนถึง, เมื่อ, เช่น ยังมีลมหายใจอยู่ตราบใด ก็ถือว่ายังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น.ตราบ [ตฺราบ] น. ข้าง, ฟาก, ริม. สัน. จนถึง, เมื่อ, เช่น ยังมีลมหายใจอยู่ตราบใด ก็ถือว่ายังมีชีวิตอยู่ตราบนั้น.
ตราบเท่า เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำบุรพบท หมายถึง ตลอด, ถึง, จวบจวน, เช่น รักษาเอกราชมาได้จนตราบเท่าทุกวันนี้. เป็นคำสันธาน หมายถึง ตลอด, ถึง, จวบจวน, เช่น เราจะจงรักภักดีต่อประเทศชาติตราบเท่าชีวิตจะหาไม่, ตราบท้าว ก็ว่า.ตราบเท่า บ. ตลอด, ถึง, จวบจวน, เช่น รักษาเอกราชมาได้จนตราบเท่าทุกวันนี้. สัน. ตลอด, ถึง, จวบจวน, เช่น เราจะจงรักภักดีต่อประเทศชาติตราบเท่าชีวิตจะหาไม่, ตราบท้าว ก็ว่า.
ตราสัง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง มัดศพ, ผูกศพให้เป็นเปลาะ ๆ ด้วยด้ายดิบเป็นต้น.ตราสัง ก. มัดศพ, ผูกศพให้เป็นเปลาะ ๆ ด้วยด้ายดิบเป็นต้น.
ตรำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ[ตฺรํา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปล่อยทิ้งตากแดดตากฝนไว้นาน ๆ เช่น ตัดไม้ทิ้งตรําแดดตรําฝนไว้, สู้ทนลําบาก เช่น ทํางานตรําแดดตรําฝน ตรํางาน, กรํา ก็ว่า.ตรำ [ตฺรํา] ว. ปล่อยทิ้งตากแดดตากฝนไว้นาน ๆ เช่น ตัดไม้ทิ้งตรําแดดตรําฝนไว้, สู้ทนลําบาก เช่น ทํางานตรําแดดตรําฝน ตรํางาน, กรํา ก็ว่า.
ตร่ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ[ตฺรํ่า] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาพร้าหวดตัดตอหญ้าที่เหลืออยู่ให้เตียน, กรํ่า ก็ว่า.ตร่ำ [ตฺรํ่า] ก. เอาพร้าหวดตัดตอหญ้าที่เหลืออยู่ให้เตียน, กรํ่า ก็ว่า.
ตริ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [ตฺริ] เป็นคำกริยา หมายถึง คิด, ตรึกตรอง.ตริ ๑ [ตฺริ] ก. คิด, ตรึกตรอง.
ตริตรอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู[–ตฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, ตรึกตรอง.ตริตรอง [–ตฺรอง] ก. ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, ตรึกตรอง.
ตริ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ [ตฺริ]ใช้ประกอบหน้าศัพท์ แปลว่า สาม เช่น ตริโกณ คือ รูปสามเหลี่ยม. ในวงเล็บ ดู ตรี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๓.ตริ ๒ [ตฺริ] ใช้ประกอบหน้าศัพท์ แปลว่า สาม เช่น ตริโกณ คือ รูปสามเหลี่ยม. (ดู ตรี ๓).
ตริว เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน[ตฺริว] เป็นคำนาม หมายถึง เต่า, กริว หรือ จริว ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตริว [ตฺริว] น. เต่า, กริว หรือ จริว ก็ว่า. (พจน. ๒๔๙๓).
ตรี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง ปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ตรี ๑ [ตฺรี] น. ปลา. (ข.).
ตรี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง คําตัดมาจาก ตรีศูล.ตรี ๒ [ตฺรี] น. คําตัดมาจาก ตรีศูล.
ตรี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ตฺรี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาม เช่น ตรีเนตร, ชั้นที่ ๓ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้นหรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่า โท สูงกว่า จัตวา) เช่น ร้อยตรี ข้าราชการชั้นตรี ปริญญาตรี; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้  ๊ ว่า ไม้ตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.ตรี ๓ [ตฺรี] ว. สาม เช่น ตรีเนตร, ชั้นที่ ๓ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้นหรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่า โท สูงกว่า จัตวา) เช่น ร้อยตรี ข้าราชการชั้นตรี ปริญญาตรี; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้  ๊ ว่า ไม้ตรี. (ส. ตฺริ).
ตรีกฏุก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ของเผ็ดร้อน ๓ ชนิด คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง.ตรีกฏุก น. ของเผ็ดร้อน ๓ ชนิด คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง.
ตรีกันสวาต เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[–สะหฺวาด] เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลเร่วใหญ่ ผลจันทน์เทศ กานพลู.ตรีกันสวาต [–สะหฺวาด] น. กลิ่นแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลเร่วใหญ่ ผลจันทน์เทศ กานพลู.
ตรีกาย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง พระกายทั้ง ๓ ของพระพุทธเจ้าตามคติพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน ได้แก่ ๑. ธรรมกาย (พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า) ๒. สัมโภคกาย (กายทิพย์หรือกายละเอียดของพระพุทธเจ้า) และ ๓. นิรมาณกาย (กายที่เป็นขันธ์ ๕ และปรากฏแก่มนุษย์ทั่วไป ซึ่งบางทีเรียกว่า รูปกาย).ตรีกาย น. พระกายทั้ง ๓ ของพระพุทธเจ้าตามคติพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน ได้แก่ ๑. ธรรมกาย (พระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า) ๒. สัมโภคกาย (กายทิพย์หรือกายละเอียดของพระพุทธเจ้า) และ ๓. นิรมาณกาย (กายที่เป็นขันธ์ ๕ และปรากฏแก่มนุษย์ทั่วไป ซึ่งบางทีเรียกว่า รูปกาย).
ตรีกาล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กาลทั้ง ๓ คือ อดีต ปัจจุบัน อนาคต, เวลาทั้ง ๓ คือ เช้า กลางวัน เย็น.ตรีกาล น. กาลทั้ง ๓ คือ อดีต ปัจจุบัน อนาคต, เวลาทั้ง ๓ คือ เช้า กลางวัน เย็น.
ตรีกาฬพิษ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี[–กาละพิด, –กานละพิด] เป็นคำนาม หมายถึง พิษกาฬ ๓ อย่าง คือ กระชาย รากข่า รากกะเพรา.ตรีกาฬพิษ [–กาละพิด, –กานละพิด] น. พิษกาฬ ๓ อย่าง คือ กระชาย รากข่า รากกะเพรา.
ตรีกูฏ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ตอ-ปะ-ตัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเขา ๓ ยอดในไตรภูมิ, โบราณเรียกว่า ผาสามเส้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริกูฏ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ตอ-ปะ-ตัก ว่า มี ๓ ยอด .ตรีกูฏ น. ชื่อเขา ๓ ยอดในไตรภูมิ, โบราณเรียกว่า ผาสามเส้า. (ส. ตฺริกูฏ ว่า มี ๓ ยอด).
ตรีเกสรมาศ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง เกสรทอง ๓ อย่าง คือ ผลมะตูมอ่อน เปลือกฝิ่น เกสรบัวหลวง.ตรีเกสรมาศ น. เกสรทอง ๓ อย่าง คือ ผลมะตูมอ่อน เปลือกฝิ่น เกสรบัวหลวง.
ตรีโกณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโกณ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-เนน.ตรีโกณ น. รูปสามเหลี่ยม. (ส. ตฺริโกณ).
ตรีโกณมิติ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[ตฺรีโกน–] เป็นคำนาม หมายถึง คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมใด ๆ, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trigonometry เขียนว่า ที-อา-ไอ-จี-โอ-เอ็น-โอ-เอ็ม-อี-ที-อา-วาย.ตรีโกณมิติ [ตฺรีโกน–] น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมใด ๆ, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้. (อ. trigonometry).
ตรีคูณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง ๓ เท่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริคุณ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน.ตรีคูณ น. ๓ เท่า. (ส. ตฺริคุณ).
ตรีจีวร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า ๓ ผืน หมายถึง ผ้าของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), แต่โดยมากใช้ไตรจีวร เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริจีวร เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ติจีวร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ.ตรีจีวร น. ผ้า ๓ ผืน หมายถึง ผ้าของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), แต่โดยมากใช้ไตรจีวร เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร. (ส. ตฺริจีวร; ป. ติจีวร).
ตรีฉินทลามกา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[–ฉินทะลามะกา] เป็นคำนาม หมายถึง ของแก้ลามกให้ขาดไป ๓ อย่าง คือ โกฐนํ้าเต้า สมอไทย รงทอง.ตรีฉินทลามกา [–ฉินทะลามะกา] น. ของแก้ลามกให้ขาดไป ๓ อย่าง คือ โกฐนํ้าเต้า สมอไทย รงทอง.
ตรีชาต เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุ ๓ คือ ดอกจันทน์ กระวาน อบเชย.ตรีชาต น. วัตถุ ๓ คือ ดอกจันทน์ กระวาน อบเชย.
ตรีญาณรส เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–ยานนะรด] เป็นคำนาม หมายถึง รสสําหรับรู้ ๓ อย่าง คือ ไส้หมาก รากสะเดา เถาบอระเพ็ด.ตรีญาณรส [–ยานนะรด] น. รสสําหรับรู้ ๓ อย่าง คือ ไส้หมาก รากสะเดา เถาบอระเพ็ด.
ตรีทศ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา ๓๓ องค์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มิได้แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึง พระอินทร์และบริวารพระอินทร์ ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริทศ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ว่า สามสิบ .ตรีทศ น. เทวดา ๓๓ องค์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มิได้แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึง พระอินทร์และบริวารพระอินทร์ ๓๒ องค์, ไตรทศ ก็เรียก. (ส. ตฺริทศ ว่า สามสิบ).
ตรีทิพ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ หรือชั้นวิเศษสุด, สวรรค์ทั่วไป, เรียก ไตรทิพ หรือ ไตรทิพย์ ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริทิว เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน.ตรีทิพ น. สวรรค์ชั้นดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ หรือชั้นวิเศษสุด, สวรรค์ทั่วไป, เรียก ไตรทิพ หรือ ไตรทิพย์ ก็ได้. (ส. ตฺริทิว).
ตรีทิพยรส เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–ทิบพะยะรด] เป็นคำนาม หมายถึง รสทิพย์ ๓ อย่าง คือ โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย.ตรีทิพยรส [–ทิบพะยะรด] น. รสทิพย์ ๓ อย่าง คือ โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย.
ตรีทุรวสา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ของแก้มันเหลวเสีย ๓ อย่าง คือ เมล็ดโหระพา ผลกระวาน ผลราชดัด.ตรีทุรวสา น. ของแก้มันเหลวเสีย ๓ อย่าง คือ เมล็ดโหระพา ผลกระวาน ผลราชดัด.
ตรีทูต เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แทนคนที่ ๓; ลักษณะบอกอาการของคนเจ็บหนักใกล้จะตาย.ตรีทูต น. ผู้แทนคนที่ ๓; ลักษณะบอกอาการของคนเจ็บหนักใกล้จะตาย.
ตรีเทวตรีคันธา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา[–ทะเวตฺรี–] เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นสามสองสาม คือ แก่น ดอก ราก แห่งมะซางและบุนนาค. (ศัพท์คัมภีร์แพทย์).ตรีเทวตรีคันธา [–ทะเวตฺรี–] น. กลิ่นสามสองสาม คือ แก่น ดอก ราก แห่งมะซางและบุนนาค. (ศัพท์คัมภีร์แพทย์).
ตรีโทษ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง อาการไข้ที่ลม เสมหะ เลือด ประชุมกัน ๓ อย่างให้โทษ, ไข้หนักจวนจะตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ + โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี .ตรีโทษ น. อาการไข้ที่ลม เสมหะ เลือด ประชุมกัน ๓ อย่างให้โทษ, ไข้หนักจวนจะตาย. (ส. ตฺริ + โทษ).
ตรีธารทิพย์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ของทิพย์ที่ทน ๓ อย่าง คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ.ตรีธารทิพย์ น. ของทิพย์ที่ทน ๓ อย่าง คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ.
ตรีนิศก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตรีศก.ตรีนิศก (โบ) น. ตรีศก.
ตรีเนตร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระอิศวร แปลว่า ผู้มีนัยน์ตา ๓ ตา โบราณมักเรียกว่า พระอินสวน และเขียนเป็น พระอินศวร ต่อมาจึงใช้เพี้ยนไป หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริเนตฺร เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ.ตรีเนตร น. ชื่อหนึ่งของพระอิศวร แปลว่า ผู้มีนัยน์ตา ๓ ตา โบราณมักเรียกว่า พระอินสวน และเขียนเป็น พระอินศวร ต่อมาจึงใช้เพี้ยนไป หมายถึง พระอินทร์. (ส. ตฺริเนตฺร).
ตรีบถ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งทางทั้ง ๓ มาจดกัน, ทางสามแพร่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริปถ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง.ตรีบถ น. ที่ซึ่งทางทั้ง ๓ มาจดกัน, ทางสามแพร่ง. (ส. ตฺริปถ).
ตรีบูร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เมืองอันมีป้อมค่าย ๓ ชั้น, ๓ ชั้น เช่น เมืองสุโขทัยนี้ตรีบูรได้สามพันสี่ร้อยวา. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, อยุธยาไพโรจน์ใต้ ตรีบูร. ในวงเล็บ มาจาก กำสรวลศรีปราชญ์ ฉบับโรงพิมพ์ ไท ถนนรองเมือง พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริปุร เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ว่า ป้อม ๓ ชั้น .ตรีบูร น. เมืองอันมีป้อมค่าย ๓ ชั้น, ๓ ชั้น เช่น เมืองสุโขทัยนี้ตรีบูรได้สามพันสี่ร้อยวา. (จารึกสยาม), อยุธยาไพโรจน์ใต้ ตรีบูร. (กําสรวล). (ส. ตฺริปุร ว่า ป้อม ๓ ชั้น).
ตรีปิฎก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งมี ๓ หมวดใหญ่ หมวดหนึ่งเรียกว่า ปิฎกหนึ่ง คือ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมซึ่งโดยมากเรียกว่า ปรมัตถ์, ใช้ว่า ไตรปิฎก ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริปิฏก เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี ติปิฏก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ ว่า ตะกร้า ๓ .ตรีปิฎก น. พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งมี ๓ หมวดใหญ่ หมวดหนึ่งเรียกว่า ปิฎกหนึ่ง คือ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรมซึ่งโดยมากเรียกว่า ปรมัตถ์, ใช้ว่า ไตรปิฎก ก็ได้. (ส. ตฺริปิฏก; ป. ติปิฏก ว่า ตะกร้า ๓).
ตรีปิตผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง[–ปิตะผน] เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้ดี ๓ อย่าง คือ เจตมูลเพลิงเทศ ผักแพวแดง รากกะเพรา.ตรีปิตผล [–ปิตะผน] น. ผลแก้ดี ๓ อย่าง คือ เจตมูลเพลิงเทศ ผักแพวแดง รากกะเพรา.
ตรีผลธาตุ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้ธาตุ ๓ อย่าง คือ กะทือ ไพล รากตะไคร้.ตรีผลธาตุ น. ผลแก้ธาตุ ๓ อย่าง คือ กะทือ ไพล รากตะไคร้.
ตรีผลสมุตถาน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–สะหฺมุดถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่เกิดแห่งผล ๓ อย่าง คือ ผลมะตูม ผลยอ ผลผักชีลา.ตรีผลสมุตถาน [–สะหฺมุดถาน] น. ที่เกิดแห่งผล ๓ อย่าง คือ ผลมะตูม ผลยอ ผลผักชีลา.
ตรีผลา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–ผะลา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผลไม้ ๓ อย่างประกอบขึ้นใช้ในตํารายาไทย หมายเอา สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริผลา เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา.ตรีผลา [–ผะลา] น. ชื่อผลไม้ ๓ อย่างประกอบขึ้นใช้ในตํารายาไทย หมายเอา สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม. (ส. ตฺริผลา).
ตรีพิษจักร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–พิดสะจัก] เป็นคำนาม หมายถึง จักรพิษ ๓ อย่าง คือ กานพลู ผักชีล้อม ผลจันทน์เทศ.ตรีพิษจักร [–พิดสะจัก] น. จักรพิษ ๓ อย่าง คือ กานพลู ผักชีล้อม ผลจันทน์เทศ.
ตรีเพชรสมคุณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน[–เพ็ดสะมะคุน] เป็นคำนาม หมายถึง คุณเสมอเพชร ๓ อย่าง คือ ว่านหางจระเข้ ฝักราชพฤกษ์ รงทอง.ตรีเพชรสมคุณ [–เพ็ดสะมะคุน] น. คุณเสมอเพชร ๓ อย่าง คือ ว่านหางจระเข้ ฝักราชพฤกษ์ รงทอง.
ตรีภพ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่าได้แก่ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ไตรภพ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริภว เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน.ตรีภพ น. ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่าได้แก่ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ไตรภพ ก็ใช้. (ส. ตฺริภว).
ตรีภพนาถ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ที่พึ่งแห่งภพ ๓, พระพุทธเจ้า, พระอินทร์, ใช้ทั่วไปถึงผู้อื่นด้วย เช่น กษัตริย์ ก็มี.ตรีภพนาถ น. ที่พึ่งแห่งภพ ๓, พระพุทธเจ้า, พระอินทร์, ใช้ทั่วไปถึงผู้อื่นด้วย เช่น กษัตริย์ ก็มี.
ตรีภูมิ, ไตรภูมิ ตรีภูมิ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ไตรภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ตรีภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริภูมิ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ.ตรีภูมิ, ไตรภูมิ น. ตรีภพ. (ส. ตฺริภูมิ).
ตรีภูวะ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[–พูวะ] เป็นคำนาม หมายถึง ตรีภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริภูว เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน.ตรีภูวะ [–พูวะ] น. ตรีภพ. (ส. ตฺริภูว).
ตรีมธุระ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[–มะทุระ] เป็นคำนาม หมายถึง ของมีรสดี ๓ อย่าง คือ นํ้าตาล นํ้าผึ้ง นํ้ามันเนย.ตรีมธุระ [–มะทุระ] น. ของมีรสดี ๓ อย่าง คือ นํ้าตาล นํ้าผึ้ง นํ้ามันเนย.
ตรีมูรติ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรูป ๓ คือ รูปพระพรหม รูปพระวิษณุ รูปพระศิวะ. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ มี ๓ องค์ คือ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุหรือพระนารายณ์ (พระผู้รักษา) และพระศิวะหรือพระอิศวร (พระผู้ทําลาย). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริมูรฺติ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.ตรีมูรติ ว. มีรูป ๓ คือ รูปพระพรหม รูปพระวิษณุ รูปพระศิวะ. น. ชื่อเรียกเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ มี ๓ องค์ คือ พระพรหม (พระผู้สร้าง) พระวิษณุหรือพระนารายณ์ (พระผู้รักษา) และพระศิวะหรือพระอิศวร (พระผู้ทําลาย). (ส. ตฺริมูรฺติ).
ตรีรัตน์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง แก้วทั้ง ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์, โดยมากใช้ ไตรรัตน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริรตน เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู.ตรีรัตน์ น. แก้วทั้ง ๓ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์, โดยมากใช้ ไตรรัตน์. (ส. ตฺริรตน).
ตรีโลก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ตรีภพ, ไตรโลก ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลก เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่.ตรีโลก น. ตรีภพ, ไตรโลก ก็ใช้. (ส. ตฺริโลก).
ตรีโลกนาถ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง[–โลกกะนาด] เป็นคำนาม หมายถึง พระพุทธเจ้า, พระอินทร์, พระศิวะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลกนาถ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง.ตรีโลกนาถ [–โลกกะนาด] น. พระพุทธเจ้า, พระอินทร์, พระศิวะ. (ส. ตฺริโลกนาถ).
ตรีโลเกศ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง พระวิษณุ, พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลเกศ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา.ตรีโลเกศ น. พระวิษณุ, พระอาทิตย์. (ส. ตฺริโลเกศ).
ตรีโลจน์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระศิวะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลจน เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-จอ-จาน-นอ-หนู ว่า มี ๓ ตา .ตรีโลจน์ น. พระศิวะ. (ส. ตฺริโลจน ว่า มี ๓ ตา).
ตรีโลหก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-กอ-ไก่[–หก] เป็นคำนาม หมายถึง แร่ทั้ง ๓ คือ ทองคํา เงิน ทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลหก เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-กอ-ไก่.ตรีโลหก [–หก] น. แร่ทั้ง ๓ คือ ทองคํา เงิน ทองแดง. (ส. ตฺริโลหก).
ตรีโลหะ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง แร่ทั้ง ๓ คือ ทองแดง ทองเหลือง ทองหล่อระฆัง, หรืออีกตําราหนึ่งว่า ทองคํา เงิน ทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺริโลห เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ.ตรีโลหะ น. แร่ทั้ง ๓ คือ ทองแดง ทองเหลือง ทองหล่อระฆัง, หรืออีกตําราหนึ่งว่า ทองคํา เงิน ทองแดง. (ส. ตฺริโลห).
ตรีวาตผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง[–วาตะผน] เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลสะค้าน รากพริกไทย ข่า.ตรีวาตผล [–วาตะผน] น. ผลแก้ลม ๓ อย่าง คือ ผลสะค้าน รากพริกไทย ข่า.
ตรีศก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓.ตรีศก น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๓ เช่น ปีระกาตรีศก จุลศักราช ๑๓๔๓.
ตรีศูล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง หลาวสามง่ามเป็นศัสตราประจําหัตถ์พระอิศวร.ตรีศูล น. หลาวสามง่ามเป็นศัสตราประจําหัตถ์พระอิศวร.
ตรีสมอ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง สมอ ๓ อย่าง คือ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ.ตรีสมอ น. สมอ ๓ อย่าง คือ สมอไทย สมอพิเภก สมอเทศ.
ตรีสมุตถาน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–สะหฺมุดถาน] เป็นคำนาม หมายถึง สมุตถาน ๓ อย่าง คือ ดี เสมหะ ลม.ตรีสมุตถาน [–สะหฺมุดถาน] น. สมุตถาน ๓ อย่าง คือ ดี เสมหะ ลม.
ตรีสัตกุลา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–สัดตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตระกูลอันสามารถ ๓ อย่าง คือ เทียนดํา ผักชีลา ขิงสด.ตรีสัตกุลา [–สัดตะ–] น. ตระกูลอันสามารถ ๓ อย่าง คือ เทียนดํา ผักชีลา ขิงสด.
ตรีสันนิบาตผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้สันนิบาต ๓ อย่าง คือ ผลดีปลี รากกะเพรา รากพริกไทย.ตรีสันนิบาตผล น. ผลแก้สันนิบาต ๓ อย่าง คือ ผลดีปลี รากกะเพรา รากพริกไทย.
ตรีสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง แก่น ๓ อย่าง คือ แสมสาร แสมทะเล ขี้เหล็ก, หรืออีกอย่างหนึ่ง รส ๓ อย่าง เป็นคําแพทย์ใช้ในตํารายาไทย ประสงค์เอา เจตมูลเพลิง สะค้าน ช้าพลู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตรีสาร น. แก่น ๓ อย่าง คือ แสมสาร แสมทะเล ขี้เหล็ก, หรืออีกอย่างหนึ่ง รส ๓ อย่าง เป็นคําแพทย์ใช้ในตํารายาไทย ประสงค์เอา เจตมูลเพลิง สะค้าน ช้าพลู. (ส.).
ตรีสินธุรส เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง รสนํ้า ๓ อย่าง คือ รากมะตูม เทียนขาว นํ้าตาลกรวด.ตรีสินธุรส น. รสนํ้า ๓ อย่าง คือ รากมะตูม เทียนขาว นํ้าตาลกรวด.
ตรีสุคนธ์ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม ๓ อย่าง คือ ใบกระวาน อบเชยเทศ รากพิมเสน.ตรีสุคนธ์ น. กลิ่นหอม ๓ อย่าง คือ ใบกระวาน อบเชยเทศ รากพิมเสน.
ตรีสุรผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ยามีผลกล้า ๓ อย่าง คือ สมุลแว้ง เนื้อไม้ เทพทาโร.ตรีสุรผล น. ยามีผลกล้า ๓ อย่าง คือ สมุลแว้ง เนื้อไม้ เทพทาโร.
ตรีเสมหผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้เสมหะ ๓ อย่าง คือ ผลช้าพลู รากดีปลี รากมะกลํ่า.ตรีเสมหผล น. ผลแก้เสมหะ ๓ อย่าง คือ ผลช้าพลู รากดีปลี รากมะกลํ่า.
ตรีอมฤต เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า[–อะมะริด, –อะมะรึด] เป็นคำนาม หมายถึง ของไม่ตาย ๓ อย่าง คือ รากกล้วยตีบ รากกระดอม มะกอก.ตรีอมฤต [–อะมะริด, –อะมะรึด] น. ของไม่ตาย ๓ อย่าง คือ รากกล้วยตีบ รากกระดอม มะกอก.
ตรีอากาศผล เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ผลแก้อากาศธาตุ ๓ อย่าง คือ ขิง กระลําพัก อบเชยเทศ.ตรีอากาศผล น. ผลแก้อากาศธาตุ ๓ อย่าง คือ ขิง กระลําพัก อบเชยเทศ.
ตรีเอกภาพ, ตรีเอกานุภาพ ตรีเอกภาพ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน ตรีเอกานุภาพ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง คติความเชื่อในศาสนาคริสต์ที่ว่าพระบิดา พระบุตร และพระจิต (คาทอลิก) หรือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (โปรเตสแตนต์) เป็น ๓ บุคคลที่รวมเป็นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็คือพระเป็นเจ้าองค์เดียวกันนั่นเอง.ตรีเอกภาพ, ตรีเอกานุภาพ น. คติความเชื่อในศาสนาคริสต์ที่ว่าพระบิดา พระบุตร และพระจิต (คาทอลิก) หรือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (โปรเตสแตนต์) เป็น ๓ บุคคลที่รวมเป็นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็คือพระเป็นเจ้าองค์เดียวกันนั่นเอง.
ตรีประดับ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.ตรีประดับ น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
ตรีปวาย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[ตฺรีปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พิธีพราหมณ์กระทํารับพระนารายณ์ ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีแห่พระนารายณ์ ซึ่งกระทําในวันแรมคํ่า ๑ ถึงแรม ๕ คํ่า เดือนยี่. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาทมิฬ ติรุปปาไว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน.ตรีปวาย [ตฺรีปะ–] น. พิธีพราหมณ์กระทํารับพระนารายณ์ ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีแห่พระนารายณ์ ซึ่งกระทําในวันแรมคํ่า ๑ ถึงแรม ๕ คํ่า เดือนยี่. (เทียบทมิฬ ติรุปปาไว).
ตรีพิธพรรณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน[ตฺรีพิดทะพัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง; ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่ง.ตรีพิธพรรณ [ตฺรีพิดทะพัน] น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง; ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่ง.
ตรีเพชรทัณฑี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อี[ตฺรีเพ็ดทันที] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโคลงชนิดหนึ่ง.ตรีเพชรทัณฑี [ตฺรีเพ็ดทันที] น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่ง.
ตรีเพชรพวง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-พอ-พาน-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.ตรีเพชรพวง น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
ตรียมก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-กอ-ไก่[ตฺรียะมก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.ตรียมก [ตฺรียะมก] น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
ตรียัมปวาย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[ตฺรียําปะ–] เป็นคำนาม หมายถึง พิธีพราหมณ์ฝ่ายใต้กระทํารับพระอิศวร ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีโล้ชิงช้า ซึ่งกระทําในวันขึ้น ๗ คํ่าตอนเช้า ขึ้น ๙ คํ่าตอนเย็น เดือนยี่. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาทมิฬ ติรุเวมปาไว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน.ตรียัมปวาย [ตฺรียําปะ–] น. พิธีพราหมณ์ฝ่ายใต้กระทํารับพระอิศวร ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีโล้ชิงช้า ซึ่งกระทําในวันขึ้น ๗ คํ่าตอนเช้า ขึ้น ๙ คํ่าตอนเย็น เดือนยี่. (เทียบทมิฬ ติรุเวมปาไว).
ตรึก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [ตฺรึก] เป็นคำกริยา หมายถึง นึก, คิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตรฺก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี ตกฺก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่.ตรึก ๑ [ตฺรึก] ก. นึก, คิด. (ส. ตรฺก; ป. ตกฺก).
ตรึกตรอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺรึกตฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, ตริตรอง.ตรึกตรอง [ตฺรึกตฺรอง] ก. ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, ตริตรอง.
ตรึก เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [ตฺรึก] เป็นคำกริยา หมายถึง หมด, สิ้น, เปลือง, น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึก, มิตรึก, เช่น จึงองค์มิสาระปันหยี จึงตอบว่าข้าจะให้ไก่ดีดี ของเรามีไม่ตรึกอย่าร้อนใจ. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, ท่านก็ไม่ขัดสนจนพราย มากมายตามพรูอยู่มิตรึก แรกรักจะรําพันให้ครั่นครึก. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, ฤๅจะใคร่ได้เมียสาว ๆ ขาว ๆ ดี ๆ มีไม่ตรึก. ในวงเล็บ มาจาก มณีพิชัยตอนต้น บทละคร พระนิพนธ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น ๒ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๒.ตรึก ๒ [ตฺรึก] ก. หมด, สิ้น, เปลือง, น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึก, มิตรึก, เช่น จึงองค์มิสาระปันหยี จึงตอบว่าข้าจะให้ไก่ดีดี ของเรามีไม่ตรึกอย่าร้อนใจ. (อิเหนา), ท่านก็ไม่ขัดสนจนพราย มากมายตามพรูอยู่มิตรึก แรกรักจะรําพันให้ครั่นครึก. (ขุนช้างขุนแผน), ฤๅจะใคร่ได้เมียสาว ๆ ขาว ๆ ดี ๆ มีไม่ตรึก. (มณีพิชัย).
ตรึกถอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-งอ-งู[ตฺรึก–](ถิ่น—ปักษ์ใต้) ว. น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึกถอง หรือ ไม่ตรึกไม่ถอง เช่น มีทรัพย์สมบัติไม่ตรึกถอง นับไม่ตรึกไม่ถอง.ตรึกถอง [ตฺรึก–] (ถิ่น—ปักษ์ใต้) ว. น้อย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ตรึกถอง หรือ ไม่ตรึกไม่ถอง เช่น มีทรัพย์สมบัติไม่ตรึกถอง นับไม่ตรึกไม่ถอง.
ตรึง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[ตฺรึง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้อยู่กับที่ เช่น ตรึงตะปู ตรึงที่นอน ตรึงข้าศึก, ทําให้อยู่คงที่ เช่น ตรึงราคาสินค้าไว้, ติดอยู่ เช่น ตรึงใจ.ตรึง [ตฺรึง] ก. ทําให้อยู่กับที่ เช่น ตรึงตะปู ตรึงที่นอน ตรึงข้าศึก, ทําให้อยู่คงที่ เช่น ตรึงราคาสินค้าไว้, ติดอยู่ เช่น ตรึงใจ.
ตรึงตรา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ติดแน่น.ตรึงตรา ก. ติดแน่น.
ตรึงศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-สา-ลา[ตฺรึงสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามสิบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺรึศตฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี ตึส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-สอ-เสือ.ตรึงศ– [ตฺรึงสะ–] (แบบ) ว. สามสิบ. (ส. ตฺรึศตฺ; ป. ตึส).
ตรุ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ [ตฺรุ] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ขังคน, ตะราง, เรือนจํานักโทษ, คุก.ตรุ ๑ [ตฺรุ] น. ที่ขังคน, ตะราง, เรือนจํานักโทษ, คุก.
ตรุ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ [ตะรุ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรุ ๒ [ตะรุ] (แบบ) น. ต้นไม้. (ป., ส.).
ตรุณ, ตรุณะ ตรุณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน ตรุณะ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [ตะรุน, ตะรุนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เด็กรุ่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดรุณ, หนุ่ม, อ่อน, รุ่น, เพศหญิงใช้ว่า ตรุณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ตรุณ, ตรุณะ [ตะรุน, ตะรุนะ] (แบบ) น. เด็กรุ่น. ว. ดรุณ, หนุ่ม, อ่อน, รุ่น, เพศหญิงใช้ว่า ตรุณี. (ป., ส.).
ตรุย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก[ตฺรุย] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรุย เช่น มีตรุยปัก. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.ตรุย [ตฺรุย] (โบ) น. กรุย เช่น มีตรุยปัก. (สามดวง).
ตรุษ, ตรุษไทย ตรุษ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี ตรุษไทย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก [ตฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง เทศกาลเนื่องในการสิ้นปี ตรุษไทยกําหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ คํ่า เดือน ๔.ตรุษ, ตรุษไทย [ตฺรุด] น. เทศกาลเนื่องในการสิ้นปี ตรุษไทยกําหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ คํ่า เดือน ๔.
ตรุษจีน เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู[ตฺรุด–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Bougainvillea glabra Choisy ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบประดับสีม่วงแดง กลีบดอกสีขาวรวมติดกัน ปลูกเป็นไม้ประดับ.ตรุษจีน [ตฺรุด–] น. ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Bougainvillea glabra Choisy ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบประดับสีม่วงแดง กลีบดอกสีขาวรวมติดกัน ปลูกเป็นไม้ประดับ.
ตรู เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู[ตฺรู] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม.ตรู [ตฺรู] ว. งาม.
ตรู่ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก[ตฺรู่] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาสาง ๆ เริ่มเห็นแสงเงินแสงทอง.ตรู่ [ตฺรู่] น. เวลาสาง ๆ เริ่มเห็นแสงเงินแสงทอง.
ตฤณ, ตฤณ– ตฤณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-นอ-เนน ตฤณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-นอ-เนน [ตฺริน, ตฺรินนะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หญ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ติณ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน.ตฤณ, ตฤณ– [ตฺริน, ตฺรินนะ–] (แบบ) น. หญ้า. (ส.; ป. ติณ).
ตฤณชาติ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-นอ-เนน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง หญ้าต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตฤณชาติ น. หญ้าต่าง ๆ. (ส.).
ตฤณมัย เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-นอ-เนน-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แล้วไปด้วยหญ้า, ทําด้วยหญ้า. เป็นคำนาม หมายถึง สนามหญ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ตฤณมัย ว. แล้วไปด้วยหญ้า, ทําด้วยหญ้า. น. สนามหญ้า. (ส.).
ตฤตีย–, ตฤตียะ ตฤตีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ตฤตียะ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [ตฺริตียะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ ๓. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตติย เขียนว่า ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.ตฤตีย–, ตฤตียะ [ตฺริตียะ–] (แบบ) ว. ที่ ๓. (ส.; ป. ตติย).
ตฤท เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน[ตฺริด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง เจาะ, แทง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตุท เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน.ตฤท [ตฺริด] (แบบ) ก. เจาะ, แทง. (ส.; ป. ตุท).
ตฤป เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-ปอ-ปลา[ตฺริบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง อิ่ม, ให้อิ่ม, ให้กิน, เลี้ยง, กิน เช่น ตฤปตฤณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตปฺป เขียนว่า ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.ตฤป [ตฺริบ] (แบบ) ก. อิ่ม, ให้อิ่ม, ให้กิน, เลี้ยง, กิน เช่น ตฤปตฤณ. (ส.; ป. ตปฺป).
ตฤษณา เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อา[ตฺริดสะหฺนา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความปรารถนา, ความอยาก, ความดิ้นรน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ตณฺหา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา.ตฤษณา [ตฺริดสะหฺนา] (แบบ) น. ความปรารถนา, ความอยาก, ความดิ้นรน. (ส.; ป. ตณฺหา).
ตฤๅ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-รึ-สะ-หระ-อา[ตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง ปลา, โดยมากใช้ ตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรี เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี.ตฤๅ [ตฺรี] น. ปลา, โดยมากใช้ ตรี. (ข. ตฺรี).
ตลก เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[ตะหฺลก] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้คนอื่นขบขันด้วยคําพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า แกล้งทําให้คนอื่นเข้าใจผิด เช่น เล่นตลก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขบขัน, ที่ทําให้คนอื่นขบขันด้วยคําพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น เช่น หนังตลก, เรียกผู้ที่ทําให้คนอื่นขบขันว่า ตัวตลก, เรียกเรื่องที่ทําให้ขบขันหรือเข้าใจผิดว่า เรื่องตลก.ตลก [ตะหฺลก] ก. ทําให้คนอื่นขบขันด้วยคําพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า แกล้งทําให้คนอื่นเข้าใจผิด เช่น เล่นตลก. ว. ขบขัน, ที่ทําให้คนอื่นขบขันด้วยคําพูดหรือกิริยาท่าทางเป็นต้น เช่น หนังตลก, เรียกผู้ที่ทําให้คนอื่นขบขันว่า ตัวตลก, เรียกเรื่องที่ทําให้ขบขันหรือเข้าใจผิดว่า เรื่องตลก.
ตลกคะนอง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดหรือทําให้ขบขันด้วยกิริยาวาจาที่ไม่สุภาพ.ตลกคะนอง ว. อาการที่พูดหรือทําให้ขบขันด้วยกิริยาวาจาที่ไม่สุภาพ.
ตลกโปกฮา เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดชวนให้ขบขันเฮฮา.ตลกโปกฮา ว. อาการที่พูดชวนให้ขบขันเฮฮา.
ตลกหัวเราะ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.ตลกหัวเราะ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
ตลกบาตร เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[ตะหฺลก–] เป็นคำนาม หมายถึง ถุงบาตรที่มีสายคล้องบ่า (สายโยก), ถลกบาตร ก็ว่า.ตลกบาตร [ตะหฺลก–] น. ถุงบาตรที่มีสายคล้องบ่า (สายโยก), ถลกบาตร ก็ว่า.
ตลบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[ตะหฺลบ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งที่เป็นแผ่นเป็นผืนเช่นชายม่านตีนมุ้งที่อยู่ข้างล่างหกกลับไปพาดไว้ข้างบนทั้งผืนทั้งแผ่น เช่น ตลบม่าน ตลบมุ้ง; ยกกลับ, หกกลับ, เช่น ตีตลบ; ย้อนกลับไปกลับมา เช่น เดินเสียหลายตลบ ฝุ่นตลบ; ฟุ้งไป, กระจายไป, (ใช้แก่กลิ่น), กลบ ก็ว่า.ตลบ [ตะหฺลบ] ก. เอาสิ่งที่เป็นแผ่นเป็นผืนเช่นชายม่านตีนมุ้งที่อยู่ข้างล่างหกกลับไปพาดไว้ข้างบนทั้งผืนทั้งแผ่น เช่น ตลบม่าน ตลบมุ้ง; ยกกลับ, หกกลับ, เช่น ตีตลบ; ย้อนกลับไปกลับมา เช่น เดินเสียหลายตลบ ฝุ่นตลบ; ฟุ้งไป, กระจายไป, (ใช้แก่กลิ่น), กลบ ก็ว่า.
ตลบตะแลง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พลิกแพลงด้วยเล่ห์เหลี่ยมให้หลงเชื่อ, ปลิ้นปล้อน.ตลบตะแลง ว. พลิกแพลงด้วยเล่ห์เหลี่ยมให้หลงเชื่อ, ปลิ้นปล้อน.
ตลบนก เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง จับนกโดยการขึงตาข่ายดักไว้ เมื่อนกบินมาก็ตลบตาข่ายแล้วม้วนตาข่ายรวบนกเข้าไว้.ตลบนก ก. จับนกโดยการขึงตาข่ายดักไว้ เมื่อนกบินมาก็ตลบตาข่ายแล้วม้วนตาข่ายรวบนกเข้าไว้.
ตลบหลัง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยให้ล่วงลํ้าเข้าไปแล้วย้อนกลับมาตีหรือทําร้ายภายหลัง.ตลบหลัง ก. ปล่อยให้ล่วงลํ้าเข้าไปแล้วย้อนกลับมาตีหรือทําร้ายภายหลัง.
ตลอด เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก[ตะหฺลอด] เป็นคำบุรพบท หมายถึง แต่ต้นไปจนถึงปลาย, แต่ต้นจนจบ, แต่จุดหนึ่งไปจนถึงอีกจุดหนึ่ง, เช่น ตลอดวันตลอดคืน ดูแลให้ตลอด ทําไปไม่ตลอด, ทั่ว เช่น ดูแลไม่ตลอด.ตลอด [ตะหฺลอด] บ. แต่ต้นไปจนถึงปลาย, แต่ต้นจนจบ, แต่จุดหนึ่งไปจนถึงอีกจุดหนึ่ง, เช่น ตลอดวันตลอดคืน ดูแลให้ตลอด ทําไปไม่ตลอด, ทั่ว เช่น ดูแลไม่ตลอด.
ตลอดรอดฝั่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถึงจุดหมายปลายทาง, พ้นอันตราย, ผ่านอุปสรรคมาได้.ตลอดรอดฝั่ง ว. ถึงจุดหมายปลายทาง, พ้นอันตราย, ผ่านอุปสรรคมาได้.
ตละ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตะละ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่น, เหมือน, ดุจ, เช่น ตละยักษ์.ตละ ๑ [ตะละ] ว. เช่น, เหมือน, ดุจ, เช่น ตละยักษ์.
ตละ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตะละ] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาพม่า .ตละ ๒ [ตะละ] น. เจ้า. (ต.).
ตละ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [ตะละ] เป็นคำนาม หมายถึง พื้น, ชั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ตละ ๓ [ตะละ] น. พื้น, ชั้น. (ป.).
ตลับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [ตะหฺลับ] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะอย่างหนึ่ง สําหรับใส่สิ่งของเช่นขี้ผึ้งสีปากหรือยา โดยมากมีรูปกลม ๆ ขนาดไม่ใหญ่นัก มีฝาปิด. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู ตลป เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา ว่า กล่องเล็ก ๆ สําหรับใส่หมาก .ตลับ ๑ [ตะหฺลับ] น. ภาชนะอย่างหนึ่ง สําหรับใส่สิ่งของเช่นขี้ผึ้งสีปากหรือยา โดยมากมีรูปกลม ๆ ขนาดไม่ใหญ่นัก มีฝาปิด. (เทียบมลายู ตลป ว่า กล่องเล็ก ๆ สําหรับใส่หมาก).
ตลับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [ตะหฺลับ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Meretrix วงศ์ Veneridae เปลือกหนาคล้ายรูปสามเหลี่ยม เป็นมัน มีสีต่าง ๆ กัน ฝังตัวอยู่ตามพื้นที่เป็นทรายหรือโคลนในทะเล.ตลับ ๒ [ตะหฺลับ] น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Meretrix วงศ์ Veneridae เปลือกหนาคล้ายรูปสามเหลี่ยม เป็นมัน มีสีต่าง ๆ กัน ฝังตัวอยู่ตามพื้นที่เป็นทรายหรือโคลนในทะเล.
ตลับนาก เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[ตะหฺลับ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่ง ผลค่อนข้างกลม กลิ่นหอม.ตลับนาก [ตะหฺลับ–] น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่ง ผลค่อนข้างกลม กลิ่นหอม.
ตลาด เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[ตะหฺลาด] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สถานที่ซึ่งปรกติจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้าประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการจําหน่ายสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สําหรับให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจําหรือเป็นครั้งคราวหรือตามวันที่กําหนด.ตลาด [ตะหฺลาด] น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ; (กฎ) สถานที่ซึ่งปรกติจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้าประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้ว หรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการจําหน่ายสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สําหรับให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจําหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจําหรือเป็นครั้งคราวหรือตามวันที่กําหนด.
ตลาดเงิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่แลกเปลี่ยนกู้ยืมเงิน.ตลาดเงิน น. ที่แลกเปลี่ยนกู้ยืมเงิน.
ตลาดท้องน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดนํ้า.ตลาดท้องน้ำ น. ตลาดนํ้า.
ตลาดนัด เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ซึ่งมิได้ตั้งอยู่ประจํา จัดให้มีขึ้นเฉพาะในวันที่กําหนดเท่านั้น.ตลาดนัด น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ซึ่งมิได้ตั้งอยู่ประจํา จัดให้มีขึ้นเฉพาะในวันที่กําหนดเท่านั้น.
ตลาดน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ทางนํ้า มีเรือเป็นพาหนะบรรทุกสิ่งของ, ตลาดท้องนํ้า ก็ว่า.ตลาดน้ำ น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ทางนํ้า มีเรือเป็นพาหนะบรรทุกสิ่งของ, ตลาดท้องนํ้า ก็ว่า.
ตลาดมืด เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดที่แอบซื้อขายกันลับ ๆ โดยหลีกเลี่ยงข้อกําหนดที่ทางการได้วางไว้.ตลาดมืด น. ตลาดที่แอบซื้อขายกันลับ ๆ โดยหลีกเลี่ยงข้อกําหนดที่ทางการได้วางไว้.
ตลาดยี่สาน เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดที่ขายของแห้งเช่นผ้า.ตลาดยี่สาน น. ตลาดที่ขายของแห้งเช่นผ้า.
ตลาดสด เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดที่ขายของสด.ตลาดสด น. ตลาดที่ขายของสด.
ตลาดหน้าคุก เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพง. เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดที่ถือโอกาสขายโก่งราคาแพงกว่าปรกติและผู้ซื้อจําเป็นต้องซื้อ.ตลาดหน้าคุก (สำ) ว. แพง. น. ตลาดที่ถือโอกาสขายโก่งราคาแพงกว่าปรกติและผู้ซื้อจําเป็นต้องซื้อ.
ตลาดหลักทรัพย์ เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดหรือสถานที่อันเป็นศูนย์กลางในการซื้อขายหลักทรัพย์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ตลาดหุ้น.ตลาดหลักทรัพย์ (กฎ) น. ตลาดหรือสถานที่อันเป็นศูนย์กลางในการซื้อขายหลักทรัพย์, (ปาก) ตลาดหุ้น.
ตลาดหุ้น เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ตลาดหลักทรัพย์.ตลาดหุ้น (ปาก) น. ตลาดหลักทรัพย์.
ตลิ่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู[ตะหฺลิ่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของฝั่งที่ไม่ลาดริมแม่นํ้าลําคลอง.ตลิ่ง [ตะหฺลิ่ง] น. ส่วนของฝั่งที่ไม่ลาดริมแม่นํ้าลําคลอง.
ตลึง เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[ตะลึง] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นอัญชัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ตลึง [ตะลึง] น. ต้นอัญชัน. (ช.).
ตลุก เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่[ตะหฺลุก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง ปลักควาย, แอ่งน้ำตามลำห้วยที่ขาดเป็นช่วง ๆ ในหน้าแล้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺลุก เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่.ตลุก [ตะหฺลุก] (ถิ่น) น. ปลักควาย, แอ่งน้ำตามลำห้วยที่ขาดเป็นช่วง ๆ ในหน้าแล้ง. (ข. ถฺลุก).
ตวง เขียนว่า ตอ-เต่า-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตักด้วยภาชนะต่าง ๆ เพื่อให้รู้จํานวนหรือปริมาณ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง นับ, กะ, ประมาณ, ทําให้เต็ม, เช่น ช่วยมันตวงเป็นบ้านเป็นเมือง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ตวง ก. ตักด้วยภาชนะต่าง ๆ เพื่อให้รู้จํานวนหรือปริมาณ; (โบ) นับ, กะ, ประมาณ, ทําให้เต็ม, เช่น ช่วยมันตวงเป็นบ้านเป็นเมือง. (จารึกสยาม).
ตวงพระธาตุ เขียนว่า ตอ-เต่า-วอ-แหวน-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.ตวงพระธาตุ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
ต่วน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแพรชนิดหนึ่ง เนื้อเกลี้ยงเป็นมันด้านเดียว ทอเป็นลายสอง.ต่วน น. ชื่อแพรชนิดหนึ่ง เนื้อเกลี้ยงเป็นมันด้านเดียว ทอเป็นลายสอง.
ต้วมเตี้ยม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กริยาเดินหรือคลาน), กระต้วมกระเตี้ยม ก็ว่า.ต้วมเตี้ยม ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กริยาเดินหรือคลาน), กระต้วมกระเตี้ยม ก็ว่า.
ตวัก เขียนว่า ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่[ตะหฺวัก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้าว ทําด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ, กระจ่า จวัก หรือ จ่า ก็ว่า.ตวัก [ตะหฺวัก] น. เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้าว ทําด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ, กระจ่า จวัก หรือ จ่า ก็ว่า.
ตวัด เขียนว่า ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[ตะหฺวัด] เป็นคำกริยา หมายถึง วัดให้ม้วนเข้ามาโดยเร็ว เช่น ตวัดผ้าที่ห้อยอยู่ขึ้นบ่า ตวัดชายกระเบน, โอบรัดเข้ามาโดยเร็ว เช่น ตวัดคอ, แกว่งไม้หรือเชือกให้ปลายม้วนเข้ามา เช่น ตวัดแส้.ตวัด [ตะหฺวัด] ก. วัดให้ม้วนเข้ามาโดยเร็ว เช่น ตวัดผ้าที่ห้อยอยู่ขึ้นบ่า ตวัดชายกระเบน, โอบรัดเข้ามาโดยเร็ว เช่น ตวัดคอ, แกว่งไม้หรือเชือกให้ปลายม้วนเข้ามา เช่น ตวัดแส้.
ตวาด เขียนว่า ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก[ตะหฺวาด] เป็นคำกริยา หมายถึง ขู่เต็มเสียง, คุกคามด้วยแผดเสียง, พูดเสียงดังด้วยความโกรธ.ตวาด [ตะหฺวาด] ก. ขู่เต็มเสียง, คุกคามด้วยแผดเสียง, พูดเสียงดังด้วยความโกรธ.
ตอ เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง โคนของต้นไม้ที่ลําต้นถูกตัดหรือหักลงแล้ว, สิ่งบางอย่างเช่นเสาหรือหลักที่ปักไว้หรือที่ยังเหลืออยู่แต่โคนเมื่อบางส่วนถูกตัด หัก หรือกร่อนไป, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.ตอ น. โคนของต้นไม้ที่ลําต้นถูกตัดหรือหักลงแล้ว, สิ่งบางอย่างเช่นเสาหรือหลักที่ปักไว้หรือที่ยังเหลืออยู่แต่โคนเมื่อบางส่วนถูกตัด หัก หรือกร่อนไป, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
ตอม่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, เสาตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนตอม่อค้ำยุ้ง; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, เสาตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า; ใช้ว่า ตะม่อ ก็มี.(รูปภาพ ตอม่อ).ตอม่อ น. เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, เสาตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนตอม่อค้ำยุ้ง; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, เสาตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า; ใช้ว่า ตะม่อ ก็มี.(รูปภาพ ตอม่อ).
ต่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงขนาดกลางถึงขนาดใหญ่หลายวงศ์ มีปีก ๒ คู่ ลักษณะเป็นแผ่นบางใส ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน เอวคอดกิ่ว ตัวเมียมีเหล็กในสําหรับต่อยปล่อยนํ้าพิษทําให้เจ็บปวดได้ บางชนิดอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่บางชนิดรวมกลุ่มเป็นฝูง ทํารัง ที่สําคัญได้แก่ วงศ์ Vespidae เช่น ต่อหลวง (Vespa cincta).ต่อ ๑ น. ชื่อแมลงขนาดกลางถึงขนาดใหญ่หลายวงศ์ มีปีก ๒ คู่ ลักษณะเป็นแผ่นบางใส ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน เอวคอดกิ่ว ตัวเมียมีเหล็กในสําหรับต่อยปล่อยนํ้าพิษทําให้เจ็บปวดได้ บางชนิดอยู่อย่างโดดเดี่ยว แต่บางชนิดรวมกลุ่มเป็นฝูง ทํารัง ที่สําคัญได้แก่ วงศ์ Vespidae เช่น ต่อหลวง (Vespa cincta).
ต่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มให้ยืดออกไป เช่น ต่อเวลาออกไป ต่อหนังสือสัญญา, เพิ่มให้ยาวออกไป เช่น ต่อเชือก; ทําให้ติดกันเป็นอันเดียว เช่น ต่อสะพาน, เชื่อมให้ติดต่อกัน เช่น ต่อคำ ต่อความ; เอาวัตถุเช่นไม้มาประกอบเข้าเป็นรูป เช่น ต่อกรง ต่อเรือ, เรียกเรือชนิดที่ทําด้วยไม้กระดานโดยนํามาต่อขึ้นเป็นรูปเรืออาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึด ตัวเรือป่อง หัวและท้ายเรือเรียวเชิดขึ้นตามส่วนเช่นเรือสําปั้น เรือบด เรืออีแปะ ว่า เรือต่อ; ทําให้ติดอย่างไฟ เช่น ต่อไฟ ต่อเทียน; ขอลดราคาให้น้อยลง เช่น ต่อราคา ต่อของ; ท้าพนันโดยยอมลดเปรียบให้ เช่น ต่อให้, ฝ่ายเห็นว่าได้เปรียบเป็นฝ่ายต่อ ฝ่ายเห็นว่าสู้ได้เป็นฝ่ายรอง; นําสัตว์เลี้ยงไปล่อสัตว์ป่า ในคำว่า ต่อนก ต่อไก่. เป็นคำนาม หมายถึง เท่าตัว, เท่าทุน, เช่น กิน ๒ ต่อ ใช้ ๒ ต่อ, ทอด เช่น ขึ้นรถ ๒ ต่อ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ออกจะ, น่าจะ, ท่าจะ, เช่น มันต่อจะชอบกลเจ้ามณฑา. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์; ถัดไป, สืบไป, ติดต่อกันไป, เช่น ต่อนี้ไป ต่อไป อ่านต่อ วิ่งต่อ, เพิ่มขึ้น เช่น เรียนต่อ; เรียกสัตว์เลี้ยงที่นําไปล่อสัตว์ป่า เช่น ไก่ต่อ นกต่อ ช้างต่อ; เรียกสิ่งที่เชื่อมเข้าด้วยกัน เช่น คําต่อ (คือ คําบุรพบทและคําสันธาน) ข้อต่อ. เป็นคำบุรพบท หมายถึง เฉพาะ, ประจันหน้า, เช่น ต่อหน้า ยื่นต่ออําเภอ; เมื่อถึง เช่น มาต่อปีหน้า; แต่ละ, ราย, เช่น ต่อคน ต่อปี; เทียบส่วนกัน เช่น ๓ ต่อ ๑; ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ศิษย์เป็นการเฉพาะ เช่น ครูต่อหนังสือให้นักเรียน ครูเพลงต่อเพลงให้ศิษย์, เรียนวิชาบางอย่างจากครูเป็นการเฉพาะ เช่น นักเรียนไปต่อหนังสือกับครู ศิษย์ไปต่อเพลงกับครูเพลง.ต่อ ๒ ก. เพิ่มให้ยืดออกไป เช่น ต่อเวลาออกไป ต่อหนังสือสัญญา, เพิ่มให้ยาวออกไป เช่น ต่อเชือก; ทําให้ติดกันเป็นอันเดียว เช่น ต่อสะพาน, เชื่อมให้ติดต่อกัน เช่น ต่อคำ ต่อความ; เอาวัตถุเช่นไม้มาประกอบเข้าเป็นรูป เช่น ต่อกรง ต่อเรือ, เรียกเรือชนิดที่ทําด้วยไม้กระดานโดยนํามาต่อขึ้นเป็นรูปเรืออาศัยกงหรือมือลิงเป็นเครื่องยึด ตัวเรือป่อง หัวและท้ายเรือเรียวเชิดขึ้นตามส่วนเช่นเรือสําปั้น เรือบด เรืออีแปะ ว่า เรือต่อ; ทําให้ติดอย่างไฟ เช่น ต่อไฟ ต่อเทียน; ขอลดราคาให้น้อยลง เช่น ต่อราคา ต่อของ; ท้าพนันโดยยอมลดเปรียบให้ เช่น ต่อให้, ฝ่ายเห็นว่าได้เปรียบเป็นฝ่ายต่อ ฝ่ายเห็นว่าสู้ได้เป็นฝ่ายรอง; นําสัตว์เลี้ยงไปล่อสัตว์ป่า ในคำว่า ต่อนก ต่อไก่. น. เท่าตัว, เท่าทุน, เช่น กิน ๒ ต่อ ใช้ ๒ ต่อ, ทอด เช่น ขึ้นรถ ๒ ต่อ. ว. ออกจะ, น่าจะ, ท่าจะ, เช่น มันต่อจะชอบกลเจ้ามณฑา. (สังข์ทอง); ถัดไป, สืบไป, ติดต่อกันไป, เช่น ต่อนี้ไป ต่อไป อ่านต่อ วิ่งต่อ, เพิ่มขึ้น เช่น เรียนต่อ; เรียกสัตว์เลี้ยงที่นําไปล่อสัตว์ป่า เช่น ไก่ต่อ นกต่อ ช้างต่อ; เรียกสิ่งที่เชื่อมเข้าด้วยกัน เช่น คําต่อ (คือ คําบุรพบทและคําสันธาน) ข้อต่อ. บ. เฉพาะ, ประจันหน้า, เช่น ต่อหน้า ยื่นต่ออําเภอ; เมื่อถึง เช่น มาต่อปีหน้า; แต่ละ, ราย, เช่น ต่อคน ต่อปี; เทียบส่วนกัน เช่น ๓ ต่อ ๑; ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ศิษย์เป็นการเฉพาะ เช่น ครูต่อหนังสือให้นักเรียน ครูเพลงต่อเพลงให้ศิษย์, เรียนวิชาบางอย่างจากครูเป็นการเฉพาะ เช่น นักเรียนไปต่อหนังสือกับครู ศิษย์ไปต่อเพลงกับครูเพลง.
ต่อกิ่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง นําเอากิ่งของต้นไม้ต้นหนึ่งไปเสียบลงที่ตอของต้นไม้อีกต้นหนึ่งในวงศ์เดียวกัน แล้วเอาผ้ายางเป็นต้นพันตรงที่ต่อไม่ให้นํ้าซึมเข้า.ต่อกิ่ง ก. นําเอากิ่งของต้นไม้ต้นหนึ่งไปเสียบลงที่ตอของต้นไม้อีกต้นหนึ่งในวงศ์เดียวกัน แล้วเอาผ้ายางเป็นต้นพันตรงที่ต่อไม่ให้นํ้าซึมเข้า.
ต่อความยาวสาวความยืด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันไปพูดกันมาให้มากเรื่องเกินสมควร.ต่อความยาวสาวความยืด ก. พูดกันไปพูดกันมาให้มากเรื่องเกินสมควร.
ต่อตัว เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คนหนึ่งขึ้นไปยืนบนบ่าของอีกคนหนึ่ง เช่น ต่อตัวปีนกำแพง. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการแสดงกายกรรมแบบหนึ่งที่ผู้แสดงคนหนึ่งหรือหลายคนขึ้นไปยืนเลี้ยงตัวบนตัวของผู้แสดงอีกคนหนึ่งซึ่งเป็นหลักเป็นต้น.ต่อตัว ก. อาการที่คนหนึ่งขึ้นไปยืนบนบ่าของอีกคนหนึ่ง เช่น ต่อตัวปีนกำแพง. น. ชื่อการแสดงกายกรรมแบบหนึ่งที่ผู้แสดงคนหนึ่งหรือหลายคนขึ้นไปยืนเลี้ยงตัวบนตัวของผู้แสดงอีกคนหนึ่งซึ่งเป็นหลักเป็นต้น.
ต่อตา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีตัดเอาส่วนตาของพันธุ์ไม้ที่ต้องการไปติดกับส่วนตาของไม้อีกต้นหนึ่งในประเภทเดียวกัน.ต่อตา ก. ขยายพันธุ์พืชด้วยวิธีตัดเอาส่วนตาของพันธุ์ไม้ที่ต้องการไปติดกับส่วนตาของไม้อีกต้นหนึ่งในประเภทเดียวกัน.
ต่อตาม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเกี่ยงราคาในเรื่องซื้อขาย, พูดเกี่ยงผลประโยชน์ในการทําความตกลงกัน.ต่อตาม ก. พูดเกี่ยงราคาในเรื่องซื้อขาย, พูดเกี่ยงผลประโยชน์ในการทําความตกลงกัน.
ต่อตี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ตีประชันหน้าเข้าไป.ต่อตี ก. ตีประชันหน้าเข้าไป.
ต่อเติม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายหรือเพิ่มให้มากหรือใหญ่ขึ้น เช่น ต่อเติมข้อความ ต่อเติมบ้าน.ต่อเติม ก. ขยายหรือเพิ่มให้มากหรือใหญ่ขึ้น เช่น ต่อเติมข้อความ ต่อเติมบ้าน.
ต่อแต้ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ทําเป็นรูปไม้สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ๒ ตอน มีแต้มตั้งแต่ ๑ ถึง ๖; การเล่นไพ่ป๊อกฝรั่งระหว่าง ๒ หรือ ๔ คน โดยเรียงแต้มไพ่จากรูป ๗ แล้วต่อแต้มสูงขึ้นไปหรือต่อแต้มตํ่าลงมา.ต่อแต้ม น. เครื่องเล่นการพนันอย่างหนึ่ง ทําเป็นรูปไม้สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ๒ ตอน มีแต้มตั้งแต่ ๑ ถึง ๖; การเล่นไพ่ป๊อกฝรั่งระหว่าง ๒ หรือ ๔ คน โดยเรียงแต้มไพ่จากรูป ๗ แล้วต่อแต้มสูงขึ้นไปหรือต่อแต้มตํ่าลงมา.
ต่อโทรศัพท์ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เดินสายเพื่อติดตั้งโทรศัพท์; ติดต่อสื่อสารโดยการหมุนหรือกดเลขหมายบนหน้าปัดเครื่องโทรศัพท์.ต่อโทรศัพท์ ก. เดินสายเพื่อติดตั้งโทรศัพท์; ติดต่อสื่อสารโดยการหมุนหรือกดเลขหมายบนหน้าปัดเครื่องโทรศัพท์.
ต่อนัดต่อแนง, ต่อนัดต่อแนม ต่อนัดต่อแนง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-งอ-งู ต่อนัดต่อแนม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อราคาของเล็ก ๆ น้อย ๆ; เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่รู้จักจบ.ต่อนัดต่อแนง, ต่อนัดต่อแนม ก. ต่อราคาของเล็ก ๆ น้อย ๆ; เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่รู้จักจบ.
ต่อบุหรี่ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง นำบุหรี่ของผู้อื่นที่ติดไฟแล้วมาจ่อกับบุหรี่ของตน แล้วดูด เพื่อให้บุหรี่ของตนติดไฟ.ต่อบุหรี่ ก. นำบุหรี่ของผู้อื่นที่ติดไฟแล้วมาจ่อกับบุหรี่ของตน แล้วดูด เพื่อให้บุหรี่ของตนติดไฟ.
ต่อปาก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เล่าสืบกันมา; พูดยันกันเพื่อสอบสวนฝ่ายผิดฝ่ายถูก.ต่อปาก ก. เล่าสืบกันมา; พูดยันกันเพื่อสอบสวนฝ่ายผิดฝ่ายถูก.
ต่อปากต่อคำ, ต่อปากหลากคำ ต่อปากต่อคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ ต่อปากหลากคำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าเถียงกันไม่รู้จักจบ, พูดยันกันเพื่อพิสูจน์ความ.ต่อปากต่อคำ, ต่อปากหลากคำ ก. เฝ้าเถียงกันไม่รู้จักจบ, พูดยันกันเพื่อพิสูจน์ความ.
ต่อล้อต่อเถียง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โต้เถียงกันไปมาไม่หยุดหย่อน.ต่อล้อต่อเถียง ว. โต้เถียงกันไปมาไม่หยุดหย่อน.
ต่อว่า, ต่อว่าต่อขาน ต่อว่า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ต่อว่าต่อขาน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ท้วงถามเหตุผลต่อผู้ที่ทําให้ตนไม่พอใจ, ว่ากล่าวเพราะไม่ทําตามที่พูดหรือที่ให้สัญญาไว้.ต่อว่า, ต่อว่าต่อขาน ก. ท้วงถามเหตุผลต่อผู้ที่ทําให้ตนไม่พอใจ, ว่ากล่าวเพราะไม่ทําตามที่พูดหรือที่ให้สัญญาไว้.
ต่อหน้า, ต่อหน้าต่อตา ต่อหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ต่อหน้าต่อตา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งหน้า, เฉพาะหน้า.ต่อหน้า, ต่อหน้าต่อตา ว. ซึ่งหน้า, เฉพาะหน้า.
ต่อหน้ามะพลับ ลับหลังตะโก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่อหน้าทำเป็นดี แต่พอลับหลังก็นินทาหรือหาทางทำร้าย, หน้าไหว้หลังหลอก ก็ว่า.ต่อหน้ามะพลับ ลับหลังตะโก (สำ) ว. ต่อหน้าทำเป็นดี แต่พอลับหลังก็นินทาหรือหาทางทำร้าย, หน้าไหว้หลังหลอก ก็ว่า.
ต่ออายุ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อทางไสยศาสตร์.ต่ออายุ ก. ทําพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อทางไสยศาสตร์.
ต่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง รบ เช่น ซึ่งเจ้ามาต่อด้วยพ่อได้. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑.ต่อ ๓ (กลอน) ก. รบ เช่น ซึ่งเจ้ามาต่อด้วยพ่อได้. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ต่อสู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง สู้เฉพาะหน้า, รบกัน, ตีรันกัน.ต่อสู้ ก. สู้เฉพาะหน้า, รบกัน, ตีรันกัน.
ต้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคอย่างหนึ่งเกิดที่ลูกตา ทําให้ตาพิการมองอะไรไม่เห็นชัดเจน หรืออาจทําให้ตาบอดได้ มีหลายชนิด.ต้อ ๑ น. โรคอย่างหนึ่งเกิดที่ลูกตา ทําให้ตาพิการมองอะไรไม่เห็นชัดเจน หรืออาจทําให้ตาบอดได้ มีหลายชนิด.
ต้อกระจก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคตาซึ่งเกิดจากแก้วตาขุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cataract เขียนว่า ซี-เอ-ที-เอ-อา-เอ-ซี-ที.ต้อกระจก น. โรคตาซึ่งเกิดจากแก้วตาขุ่น. (อ. cataract).
ต้อเนื้อ, ต้อลิ้นหมา ต้อเนื้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ต้อลิ้นหมา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง โรคตาซึ่งเกิดจากเยื่อตางอกไปบนกระจกตา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ pterygium เขียนว่า พี-ที-อี-อา-วาย-จี-ไอ-ยู-เอ็ม.ต้อเนื้อ, ต้อลิ้นหมา น. โรคตาซึ่งเกิดจากเยื่อตางอกไปบนกระจกตา. (อ. pterygium).
ต้อลำไย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง โรคตาซึ่งเกิดจากกระจกตาขุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ leucoma เขียนว่า แอล-อี-ยู-ซี-โอ-เอ็ม-เอ corneae เขียนว่า ซี-โอ-อา-เอ็น-อี-เอ-อี .ต้อลำไย น. โรคตาซึ่งเกิดจากกระจกตาขุ่น. (อ. leucoma corneae).
ต้อหิน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง โรคตาซึ่งเกิดจากความดันภายในลูกตาสูง เป็นผลให้ประสาทตาเสีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ glaucoma เขียนว่า จี-แอล-เอ-ยู-ซี-โอ-เอ็ม-เอ.ต้อหิน น. โรคตาซึ่งเกิดจากความดันภายในลูกตาสูง เป็นผลให้ประสาทตาเสีย. (อ. glaucoma).
ต้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วนสั้น, อ้วนเตี้ย, เช่น ขวดต้อ พลูต้อ.ต้อ ๒ ว. อ้วนสั้น, อ้วนเตี้ย, เช่น ขวดต้อ พลูต้อ.
ตอก เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาค้อนหรือสิ่งอื่นตีตะปูหรือหลักเป็นต้นให้เข้าไป; เร่งให้วัวควายวิ่ง ใช้ว่า ตอกวัว ตอกควาย. เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไผ่ที่จักเป็นเส้นแบนยาว ขนาดหนาหรือบางตามต้องการ สําหรับผูกมัดหรือสานสิ่งต่าง ๆ; ชื่อมีดชนิดหนึ่ง ปลายแหลมคล้ายมีดเหน็บ แต่สั้นกว่า ด้ามยาวและงอน.ตอก ๑ ก. เอาค้อนหรือสิ่งอื่นตีตะปูหรือหลักเป็นต้นให้เข้าไป; เร่งให้วัวควายวิ่ง ใช้ว่า ตอกวัว ตอกควาย. น. ไม้ไผ่ที่จักเป็นเส้นแบนยาว ขนาดหนาหรือบางตามต้องการ สําหรับผูกมัดหรือสานสิ่งต่าง ๆ; ชื่อมีดชนิดหนึ่ง ปลายแหลมคล้ายมีดเหน็บ แต่สั้นกว่า ด้ามยาวและงอน.
ตอกลิ่ม เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้แยกโดยใช้ลิ่ม, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้บุคคล ๒ ฝ่ายแตกแยกกันหรือบาดหมางกันยิ่งขึ้น เช่น ตอกลิ่มให้ทั้ง ๒ ฝ่ายทะเลาะกัน.ตอกลิ่ม ก. ทำให้แยกโดยใช้ลิ่ม, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้บุคคล ๒ ฝ่ายแตกแยกกันหรือบาดหมางกันยิ่งขึ้น เช่น ตอกลิ่มให้ทั้ง ๒ ฝ่ายทะเลาะกัน.
ตอกหน้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าใส่หน้าอย่างไม่ไว้หน้า.ตอกหน้า (ปาก) ก. ว่าใส่หน้าอย่างไม่ไว้หน้า.
ตอกหมัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตอกลูกประสักกำกับให้กระดานเรือติดกับกงเป็นต้น.ตอกหมัน ก. ตอกลูกประสักกำกับให้กระดานเรือติดกับกงเป็นต้น.
ตอก เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แตก. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอกว่า ข้าวตอก.ตอก ๒ ก. แตก. น. เรียกข้าวเปลือกข้าวเจ้าที่เอามาคั่วให้แตกบานเป็นดอกว่า ข้าวตอก.
ต๊อก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกลองเล็ก ๆ สําหรับเคาะจังหวะดังต๊อก ๆ ว่า กลองต๊อก.ต๊อก ๑ น. เรียกกลองเล็ก ๆ สําหรับเคาะจังหวะดังต๊อก ๆ ว่า กลองต๊อก.
ต๊อก เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิด Numida meleagris ในวงศ์ Numididae ตัวสีเทาลายขาว เหนียงสีแดง มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา.ต๊อก ๒ น. ชื่อไก่ชนิด Numida meleagris ในวงศ์ Numididae ตัวสีเทาลายขาว เหนียงสีแดง มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา.
ต๊อก ๓, ต๊อก ๆ ต๊อก ความหมายที่ ๓ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ต๊อก ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น; อาการที่เดินเรื่อย ๆ ไปหรืออาการที่วิ่งไปวิ่งมาอย่างเด็กวิ่งเล่น เช่น เดินต๊อก ๆ วิ่งต๊อก ๆ.ต๊อก ๓, ต๊อก ๆ ว. เสียงดังเช่นนั้น; อาการที่เดินเรื่อย ๆ ไปหรืออาการที่วิ่งไปวิ่งมาอย่างเด็กวิ่งเล่น เช่น เดินต๊อก ๆ วิ่งต๊อก ๆ.
ต๊อกต๋อย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซอมซ่อ.ต๊อกต๋อย ว. ซอมซ่อ.
ต่อกร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–กอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สู้กัน.ต่อกร [–กอน] (ปาก) ก. สู้กัน.
ตอง เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ใบไม้ขนาดใหญ่ใช้ห่อของได้ เช่น ตองกล้วย; เรียกไพ่ไทยชนิดหนึ่ง โดยปรกติเล่นกัน ๖ ขา ว่า ไพ่ตอง, จํานวนไพ่ที่มีเหมือนกัน ๓ ใบ เรียกว่า ตอง, ลักษณนามเรียกไพ่ที่เหมือนกัน ๓ ใบ เช่น ไพ่ตองหนึ่ง ไพ่ ๒ ตอง.ตอง ๑ น. ใบไม้ขนาดใหญ่ใช้ห่อของได้ เช่น ตองกล้วย; เรียกไพ่ไทยชนิดหนึ่ง โดยปรกติเล่นกัน ๖ ขา ว่า ไพ่ตอง, จํานวนไพ่ที่มีเหมือนกัน ๓ ใบ เรียกว่า ตอง, ลักษณนามเรียกไพ่ที่เหมือนกัน ๓ ใบ เช่น ไพ่ตองหนึ่ง ไพ่ ๒ ตอง.
ตอง เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ดู สลาด เขียนว่า สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก.ตอง ๒ ดู สลาด.
ต้อง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ถูก เช่น ต้องชะตา ต้องใจ; เป็นกริยาช่วยบอกความแน่ใจหรือบังคับ เช่น ต้องกิน ต้องนอน ต้องทํา. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกต้นข้าวในนาที่โศกใบเหลืองไป ซึ่งถือกันว่าถูกผีกระทําว่า ข้าวต้อง.ต้อง ก. ถูก เช่น ต้องชะตา ต้องใจ; เป็นกริยาช่วยบอกความแน่ใจหรือบังคับ เช่น ต้องกิน ต้องนอน ต้องทํา. น. เรียกต้นข้าวในนาที่โศกใบเหลืองไป ซึ่งถือกันว่าถูกผีกระทําว่า ข้าวต้อง.
ต้องกัน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงกัน, พ้องกัน, ถูกกัน.ต้องกัน ว. ตรงกัน, พ้องกัน, ถูกกัน.
ต้องคดี เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา.ต้องคดี (กฎ) ก. ถูกกล่าวหาหรือถูกฟ้องในคดีอาญา.
ต้องใจ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบ, ถูกใจ.ต้องใจ ก. ชอบ, ถูกใจ.
ต้องตา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกตา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าดู.ต้องตา ก. ถูกตา. ว. น่าดู.
ต้องโทษ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกตัดสินให้ลงโทษในคดีอาญา.ต้องโทษ ก. ถูกตัดสินให้ลงโทษในคดีอาญา.
ต้องธรณีสาร เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นเสนียดจัญไร.ต้องธรณีสาร ก. เป็นเสนียดจัญไร.
ต้องหา เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกกล่าวหาในคดีอาญา.ต้องหา ก. ถูกกล่าวหาในคดีอาญา.
ตองกราย เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู กราย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑.ตองกราย ดู กราย ๑.
ต้องการ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง อยากได้, ใคร่ได้, ประสงค์.ต้องการ ก. อยากได้, ใคร่ได้, ประสงค์.
ตองตอย เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซอมซ่อ (มักใช้แก่การแต่งกาย), กรองกรอย ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง แคระ, ไม่สมประกอบ, ไม่สมบูรณ์, (ใช้แก่ต้นไม้ที่ไม่เจริญสมอายุ).ตองตอย ว. ซอมซ่อ (มักใช้แก่การแต่งกาย), กรองกรอย ก็ว่า; (โบ) แคระ, ไม่สมประกอบ, ไม่สมบูรณ์, (ใช้แก่ต้นไม้ที่ไม่เจริญสมอายุ).
ตองตึง เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อึ-งอ-งูดู พลวง เขียนว่า พอ-พาน-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ ๒.ตองตึง ดู พลวง ๒.
ต้องเต เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นของเด็กอย่างหนึ่ง, จ้องเต ก็ว่า.ต้องเต น. ชื่อการเล่นของเด็กอย่างหนึ่ง, จ้องเต ก็ว่า.
ตองแตก เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Baliospermum montanum (Willd.) Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae รากใช้ทํายาได้ แต่มีสารพิษอยู่ด้วย เมล็ดมีพิษ, ทนดี ก็เรียก.ตองแตก น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Baliospermum montanum (Willd.) Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae รากใช้ทํายาได้ แต่มีสารพิษอยู่ด้วย เมล็ดมีพิษ, ทนดี ก็เรียก.
ต่องแต่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แขวนหรือห้อยแกว่งไปแกว่งมา, กระต่องกระแต่ง ก็ว่า.ต่องแต่ง ว. อาการที่แขวนหรือห้อยแกว่งไปแกว่งมา, กระต่องกระแต่ง ก็ว่า.
ตองเปรียง เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู[–เปฺรียง] เป็นคำนาม หมายถึง จองเปรียง คือพิธีอย่างหนึ่งของพราหมณ์ เป็นพิธีจุดโคมรับพระเจ้า ทําในวันเพ็ญเดือน ๑๒. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.ตองเปรียง [–เปฺรียง] น. จองเปรียง คือพิธีอย่างหนึ่งของพราหมณ์ เป็นพิธีจุดโคมรับพระเจ้า ทําในวันเพ็ญเดือน ๑๒. (สามดวง).
ต้องสู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติกะเหรี่ยงหรือยางพวกหนึ่ง.ต้องสู้ น. ชนชาติกะเหรี่ยงหรือยางพวกหนึ่ง.
ตองเหลือง เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติข่าพวกหนึ่ง, ผีตองเหลือง ก็เรียก.ตองเหลือง น. ชนชาติข่าพวกหนึ่ง, ผีตองเหลือง ก็เรียก.
ตอด เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปากงับกัดทึ้งโดยเร็วอย่างปลาตอด, โดยปริยายหมายถึงอาการเหน็บแนม เช่น พูดตอดเล็กตอดน้อย.ตอด ๑ ก. เอาปากงับกัดทึ้งโดยเร็วอย่างปลาตอด, โดยปริยายหมายถึงอาการเหน็บแนม เช่น พูดตอดเล็กตอดน้อย.
ตอด เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ต้นสลอด.ตอด ๒ (กลอน) น. ต้นสลอด.
ตอด เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การบรรเลงดนตรีอย่างหนึ่ง ทําเสียงกระตุกสั้น ๆ สลับจังหวะทํานองเพลง, ลูกตอด ก็ว่า.ตอด ๓ น. การบรรเลงดนตรีอย่างหนึ่ง ทําเสียงกระตุกสั้น ๆ สลับจังหวะทํานองเพลง, ลูกตอด ก็ว่า.
ตอดต่อ เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตอดต่อ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
ต่อต้าน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปะทะไว้, ต้านทานไว้, สู้รบป้องกันไว้.ต่อต้าน ก. ปะทะไว้, ต้านทานไว้, สู้รบป้องกันไว้.
ตอน เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ห้วง, ชุด, ท่อน, ระยะ, วรรค; ส่วนหนึ่ง ๆ ที่แบ่งออกจากส่วนใหญ่ เช่น แม่นํ้าสายนี้แบ่งออกเป็น ๓ ตอน ถนนพหลโยธินตอนที่ผ่านดอนเมือง หนังสือเล่มนี้มี ๑๐ ตอน โขนแสดงตอนหนุมานเผาลงกา ขอให้มาตอนเช้า ตอนเหนือของประเทศไทย; วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง ใช้มีดควั่นกิ่งและเลาะเปลือกออกแล้วเอาดินพอก ใช้ใบตองหรือกาบมะพร้าวหุ้ม มัดหัวท้ายไว้ เมื่อรากงอกดีแล้ว ตัดกิ่งออกจากต้นนำไปปลูก. เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายพันธุ์โดยวิธีการเช่นนั้น; ตัดหรือทําลายอวัยวะซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสืบพันธุ์เพื่อไม่ให้เกิดลูกเป็นต้น.ตอน น. ห้วง, ชุด, ท่อน, ระยะ, วรรค; ส่วนหนึ่ง ๆ ที่แบ่งออกจากส่วนใหญ่ เช่น แม่นํ้าสายนี้แบ่งออกเป็น ๓ ตอน ถนนพหลโยธินตอนที่ผ่านดอนเมือง หนังสือเล่มนี้มี ๑๐ ตอน โขนแสดงตอนหนุมานเผาลงกา ขอให้มาตอนเช้า ตอนเหนือของประเทศไทย; วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง ใช้มีดควั่นกิ่งและเลาะเปลือกออกแล้วเอาดินพอก ใช้ใบตองหรือกาบมะพร้าวหุ้ม มัดหัวท้ายไว้ เมื่อรากงอกดีแล้ว ตัดกิ่งออกจากต้นนำไปปลูก. ก. ขยายพันธุ์โดยวิธีการเช่นนั้น; ตัดหรือทําลายอวัยวะซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสืบพันธุ์เพื่อไม่ให้เกิดลูกเป็นต้น.
ต้อน เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สกัดกั้นให้ไปตามที่ต้องการ, ไล่ไปโดยวิธีกันไม่ให้แตกฝูง, เช่น ต้อนควายเข้าคอก, ดักหน้าดักหลัง เช่น รําต้อน, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ต้อนเข้ามุม ต้อนให้จนมุม. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับสัตว์นํ้าตามริมฝั่งชนิดหนึ่ง ใช้เฝือกกั้นเป็นคอก ๓ ด้าน ด้านหนึ่งมีประตูเปิดปิดได้ ในคอกสะด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อให้ปลาเข้าอยู่, กะตํ้า ก็ว่า.ต้อน ก. สกัดกั้นให้ไปตามที่ต้องการ, ไล่ไปโดยวิธีกันไม่ให้แตกฝูง, เช่น ต้อนควายเข้าคอก, ดักหน้าดักหลัง เช่น รําต้อน, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ต้อนเข้ามุม ต้อนให้จนมุม. น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าตามริมฝั่งชนิดหนึ่ง ใช้เฝือกกั้นเป็นคอก ๓ ด้าน ด้านหนึ่งมีประตูเปิดปิดได้ ในคอกสะด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อให้ปลาเข้าอยู่, กะตํ้า ก็ว่า.
ต้อนรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง รับรอง, รับแขก.ต้อนรับ ก. รับรอง, รับแขก.
ต้อนรับขับสู้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ต้อนรับอย่างแข็งขัน.ต้อนรับขับสู้ (สำ) ก. ต้อนรับอย่างแข็งขัน.
ต้อนหมูเข้าเล้า เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับคนที่ไม่มีทางสู้.ต้อนหมูเข้าเล้า (สำ) ก. บังคับคนที่ไม่มีทางสู้.
ตอบ เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําหรือพูดโต้ในทํานองเดียวกับที่มีผู้ทําหรือพูดมา เช่น ชกตอบ ตีตอบ ด่าตอบ เยี่ยมตอบ, กล่าวแก้ เช่น ตอบปัญหา, กล่าวเมื่อมีผู้ถาม เช่น ตอบคําถาม, แจ้งกลับไปให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ เช่น ตอบจดหมาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกแก้มที่มีลักษณะยุบลึกเข้าไปว่า แก้มตอบ.ตอบ ก. ทําหรือพูดโต้ในทํานองเดียวกับที่มีผู้ทําหรือพูดมา เช่น ชกตอบ ตีตอบ ด่าตอบ เยี่ยมตอบ, กล่าวแก้ เช่น ตอบปัญหา, กล่าวเมื่อมีผู้ถาม เช่น ตอบคําถาม, แจ้งกลับไปให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ เช่น ตอบจดหมาย. ว. เรียกแก้มที่มีลักษณะยุบลึกเข้าไปว่า แก้มตอบ.
ตอบโต้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง โต้กลับไป, ตอบแทนการกระทําของฝ่ายตรงข้าม, แก้แค้น.ตอบโต้ ก. โต้กลับไป, ตอบแทนการกระทําของฝ่ายตรงข้าม, แก้แค้น.
ตอบแทน เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําทดแทนแก่ผู้ทําก่อน, ให้ทดแทนแก่ผู้ให้ก่อน, เช่น ตอบแทนบุญคุณ, บางทีใช้สั้น ๆ ว่า ตอบ เช่น เลี้ยงตอบ.ตอบแทน ก. ทําทดแทนแก่ผู้ทําก่อน, ให้ทดแทนแก่ผู้ให้ก่อน, เช่น ตอบแทนบุญคุณ, บางทีใช้สั้น ๆ ว่า ตอบ เช่น เลี้ยงตอบ.
ตอเบา เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระถิน. ในวงเล็บ ดู กระถิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.ตอเบา (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ต้นกระถิน. (ดู กระถิน).
ตอม เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่แมลงตัวเล็ก ๆ เช่นแมลงวันเป็นต้นมาเกาะหรือจับหรือบินวนเวียนอยู่ใกล้ ๆ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผู้ชายตอมผู้หญิง.ตอม ก. กิริยาที่แมลงตัวเล็ก ๆ เช่นแมลงวันเป็นต้นมาเกาะหรือจับหรือบินวนเวียนอยู่ใกล้ ๆ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผู้ชายตอมผู้หญิง.
ต่อม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดตุ่มที่ขึ้นตามตัว; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสรีรวิทยา หมายถึง อวัยวะของคนและสัตว์ ทําหน้าที่สร้างและหลั่งสารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อร่างกาย มี ๒ ชนิด คือ ต่อมไร้ท่อ และ ต่อมมีท่อ.ต่อม น. เม็ดตุ่มที่ขึ้นตามตัว; (สรีร) อวัยวะของคนและสัตว์ ทําหน้าที่สร้างและหลั่งสารที่มีประโยชน์และมีโทษต่อร่างกาย มี ๒ ชนิด คือ ต่อมไร้ท่อ และ ต่อมมีท่อ.
ต่อมน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ฟองอากาศที่ผุดขึ้นปุด ๆ เหนือนํ้า.ต่อมน้ำ ๑ น. ฟองอากาศที่ผุดขึ้นปุด ๆ เหนือนํ้า.
ต่อมโลหิต เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เลือดระดูผู้หญิง.ต่อมโลหิต น. เลือดระดูผู้หญิง.
ต๋อม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างของหนักขนาดเล็กตกลงไปในนํ้า, โดยปริยายหมายความว่า เงียบไป (ใช้แก่กริยาหาย ว่า หายต๋อม).ต๋อม ว. เสียงอย่างของหนักขนาดเล็กตกลงไปในนํ้า, โดยปริยายหมายความว่า เงียบไป (ใช้แก่กริยาหาย ว่า หายต๋อม).
ต่อมน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ดูใน ต่อม เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า.ต่อมน้ำ ๑ ดูใน ต่อม.
ต่อมน้ำ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวตาจระเข้ ดาวไต้ไฟ หรือ ดาวเสือ ก็เรียก.ต่อมน้ำ ๒ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวตาจระเข้ ดาวไต้ไฟ หรือ ดาวเสือ ก็เรียก.
ต่อย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ชก เช่น ต่อยปาก, เอาของแข็งหรือของหนักตีหรือทุบให้ลิ ให้แตก ให้หลุดออก เช่น ต่อยหิน ต่อยมะพร้าว; ใช้เหล็กในที่ก้นแทงเอา เช่น ผึ้งต่อย มดตะนอยต่อย; โดยปริยายหมายความว่า ทําให้แตก เช่น เด็กเอาจานไปต่อยเสียแล้ว. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ต่อย เช่น ต่อยมวย ต่อยรูป.ต่อย ก. ชก เช่น ต่อยปาก, เอาของแข็งหรือของหนักตีหรือทุบให้ลิ ให้แตก ให้หลุดออก เช่น ต่อยหิน ต่อยมะพร้าว; ใช้เหล็กในที่ก้นแทงเอา เช่น ผึ้งต่อย มดตะนอยต่อย; โดยปริยายหมายความว่า ทําให้แตก เช่น เด็กเอาจานไปต่อยเสียแล้ว. น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า ต่อย เช่น ต่อยมวย ต่อยรูป.
ต้อย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จ้อย, เตี้ย, เล็ก, น้อย, เช่น ไก่ต้อย.ต้อย ๑ ว. จ้อย, เตี้ย, เล็ก, น้อย, เช่น ไก่ต้อย.
ต้อย ๒, ต้อย ๆ ต้อย ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ต้อย ๆ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หย่อย ๆ, ตามกันไปติด ๆ, ตามหลังไปติด ๆ, เช่น เดินตามต้อย ๆ.ต้อย ๒, ต้อย ๆ ว. หย่อย ๆ, ตามกันไปติด ๆ, ตามหลังไปติด ๆ, เช่น เดินตามต้อย ๆ.
ต้อยตริ่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู[–ตะหฺริ่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.ต้อยตริ่ง [–ตะหฺริ่ง] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
ต้อยติ่ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Acanthaceae คือ ชนิด Hygrophila erecta Hochr. ดอกเล็ก สีม่วงแดง เมล็ดใช้ทํายาพอกฝี และชนิด Ruellia tuberosa L. ดอกใหญ่ สีม่วงนํ้าเงิน, อังกาบฝรั่ง ก็เรียก.ต้อยติ่ง น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Acanthaceae คือ ชนิด Hygrophila erecta Hochr. ดอกเล็ก สีม่วงแดง เมล็ดใช้ทํายาพอกฝี และชนิด Ruellia tuberosa L. ดอกใหญ่ สีม่วงนํ้าเงิน, อังกาบฝรั่ง ก็เรียก.
ต้อยตีวิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Vanellus indicus ในวงศ์ Charadriidae ตัวขนาดนกเขาใหญ่ หัวสีดําขนบริเวณหูสีขาว มีติ่งเนื้อสีแดงพาดทางด้านหน้าจากขอบตาหนึ่งไปอีกขอบตาหนึ่ง ปากยาว ขายาวสีเหลือง ตีนมี ๔ นิ้ว นิ้วหลังเป็นติ่งเล็ก ร้องเสียงแหลม “แตแต้แว้ด” กินสัตว์ขนาดเล็ก วางไข่ในแอ่งตื้น ๆ บนพื้นดิน, กระต้อยตีวิด กระแตแต้แว้ด หรือ แต้แว้ด ก็เรียก.ต้อยตีวิด น. ชื่อนกชนิด Vanellus indicus ในวงศ์ Charadriidae ตัวขนาดนกเขาใหญ่ หัวสีดําขนบริเวณหูสีขาว มีติ่งเนื้อสีแดงพาดทางด้านหน้าจากขอบตาหนึ่งไปอีกขอบตาหนึ่ง ปากยาว ขายาวสีเหลือง ตีนมี ๔ นิ้ว นิ้วหลังเป็นติ่งเล็ก ร้องเสียงแหลม “แตแต้แว้ด” กินสัตว์ขนาดเล็ก วางไข่ในแอ่งตื้น ๆ บนพื้นดิน, กระต้อยตีวิด กระแตแต้แว้ด หรือ แต้แว้ด ก็เรียก.
ต่อยหอย เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉอด ๆ, ไม่รู้จักหยุด, (ใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดเป็นต่อยหอย.ต่อยหอย ว. ฉอด ๆ, ไม่รู้จักหยุด, (ใช้แก่กริยาพูด) เช่น พูดเป็นต่อยหอย.
ตอแย เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ยั่วให้เกิดความรําคาญหรือให้โกรธ, สนใจ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าไปตอแยด้วย.ตอแย ก. ยั่วให้เกิดความรําคาญหรือให้โกรธ, สนใจ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าไปตอแยด้วย.
ต่อแย้ง เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เกี่ยงกันไว้, สู้รบขัดขืนไว้.ต่อแย้ง ก. เกี่ยงกันไว้, สู้รบขัดขืนไว้.
ตอร์ปิโด เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกลจําพวกลูกระเบิดที่ปล่อยให้แล่นไปในนํ้า เพื่อทําลายที่หมายในการศึก, ลักษณนามว่า ลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ torpedo เขียนว่า ที-โอ-อา-พี-อี-ดี-โอ.ตอร์ปิโด น. เครื่องกลจําพวกลูกระเบิดที่ปล่อยให้แล่นไปในนํ้า เพื่อทําลายที่หมายในการศึก, ลักษณนามว่า ลูก. (อ. torpedo).
ต่อไส้ เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Allophylus cobbe (L.) Raeusch ในวงศ์ Sapindaceae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ใช้ทํายาได้.ต่อไส้ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Allophylus cobbe (L.) Raeusch ในวงศ์ Sapindaceae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ใช้ทํายาได้.
ตอแหล เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ [–แหฺล]เป็นคําด่าคนที่พูดเท็จ (มักใช้แก่ผู้หญิง); ช่างพูดและแสดงกิริยาน่ารัก (ใช้เฉพาะเด็กที่สอนพูด).ตอแหล ๑ [–แหฺล] เป็นคําด่าคนที่พูดเท็จ (มักใช้แก่ผู้หญิง); ช่างพูดและแสดงกิริยาน่ารัก (ใช้เฉพาะเด็กที่สอนพูด).
ตอแหล เขียนว่า ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ [–แหฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกต้นไม้ที่ให้ผลเร็วผิดปรกติ เช่น มะเขือตอแหล.ตอแหล ๒ [–แหฺล] ว. เรียกต้นไม้ที่ให้ผลเร็วผิดปรกติ เช่น มะเขือตอแหล.
ตะ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
ตะกรน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู ความหมายที่ [–กฺรน] เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ของเครื่องทอผ้า ใช้อย่างกระสวย แต่เป็นกระบอกมีหลอดด้ายอยู่ข้างใน.ตะกรน ๑ [–กฺรน] น. อุปกรณ์ของเครื่องทอผ้า ใช้อย่างกระสวย แต่เป็นกระบอกมีหลอดด้ายอยู่ข้างใน.
ตะกรน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู ความหมายที่ [–กฺรน] เป็นคำนาม หมายถึง ขี้ตะกอนที่จับเกรอะอยู่ที่ก้นภาชนะ, กากโลหะที่หลอมแล้วติดอยู่ตามก้นเบ้า, ตะกรัน ก็ว่า.ตะกรน ๒ [–กฺรน] น. ขี้ตะกอนที่จับเกรอะอยู่ที่ก้นภาชนะ, กากโลหะที่หลอมแล้วติดอยู่ตามก้นเบ้า, ตะกรัน ก็ว่า.
ตะกรวย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก[–กฺรวย] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรวย เช่น สานตะกร้อตะกรวยครอบศีรษะ. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.ตะกรวย [–กฺรวย] (โบ) น. กรวย เช่น สานตะกร้อตะกรวยครอบศีรษะ. (สามดวง).
ตะกร้อ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง[–กฺร้อ] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นต้นเป็นตา ๆ สําหรับเตะ; เครื่องมือสอยผลไม้ มีด้ามยาว ทําด้วยไม้ หวาย หรือไม้ไผ่เป็นซี่ รูปป่องยาวรีคล้ายกาบปลี ตรงปากมีฟันสําหรับสอย; เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ, กร้อ ก็เรียก; เครื่องสานรูปทรงกระบอก สําหรับใส่ไว้ในกระถางยาดองและกะปิเป็นต้น เพื่อกั้นเนื้อ ให้แต่นํ้าซึมเข้าข้างใน; เครื่องสานมีรูปคล้ายคลึงเช่นนั้น สําหรับสวมปากม้าหรือปากหมาเป็นต้น; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เครื่องดับไฟสานเป็นรูปตะกร้อ พันผ้าชุบนํ้า มีด้ามยาว สําหรับดับและคลึงลูกไฟที่มาติดหลังคา ผู้ดับนั่งบนอกไก่หลังคา, กระตร้อ ก็เรียก.ตะกร้อ [–กฺร้อ] น. ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นต้นเป็นตา ๆ สําหรับเตะ; เครื่องมือสอยผลไม้ มีด้ามยาว ทําด้วยไม้ หวาย หรือไม้ไผ่เป็นซี่ รูปป่องยาวรีคล้ายกาบปลี ตรงปากมีฟันสําหรับสอย; เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ, กร้อ ก็เรียก; เครื่องสานรูปทรงกระบอก สําหรับใส่ไว้ในกระถางยาดองและกะปิเป็นต้น เพื่อกั้นเนื้อ ให้แต่นํ้าซึมเข้าข้างใน; เครื่องสานมีรูปคล้ายคลึงเช่นนั้น สําหรับสวมปากม้าหรือปากหมาเป็นต้น; (โบ) เครื่องดับไฟสานเป็นรูปตะกร้อ พันผ้าชุบนํ้า มีด้ามยาว สําหรับดับและคลึงลูกไฟที่มาติดหลังคา ผู้ดับนั่งบนอกไก่หลังคา, กระตร้อ ก็เรียก.
ตะกร่อม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[–กฺร่อม] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับปูทะเล. ในวงเล็บ ดู กะกร่อม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า.ตะกร่อม [–กฺร่อม] น. เครื่องมือจับปูทะเล. (ดู กะกร่อม).
ตะกรัน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[–กฺรัน]ดู ตะกรน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.ตะกรัน [–กฺรัน] ดู ตะกรน ๒.
ตะกรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [–กฺรับ] เป็นคำนาม หมายถึง ดินเผาหรือเหล็กเป็นแผ่นเจาะเป็นรู ๆ สําหรับรองถ่านเพื่อให้ลมเดินผ่านได้และขี้เถ้าตกลงข้างล่าง (โดยมากใช้กับเตาอั้งโล่หรือเตาหม้อนํ้าเรือกลไฟเป็นต้น), รังผึ้ง ก็ว่า; เหล็กทําเป็นซี่ ๆ มีด้ามจับ สําหรับปิ้งปลาเป็นต้น.ตะกรับ ๑ [–กฺรับ] น. ดินเผาหรือเหล็กเป็นแผ่นเจาะเป็นรู ๆ สําหรับรองถ่านเพื่อให้ลมเดินผ่านได้และขี้เถ้าตกลงข้างล่าง (โดยมากใช้กับเตาอั้งโล่หรือเตาหม้อนํ้าเรือกลไฟเป็นต้น), รังผึ้ง ก็ว่า; เหล็กทําเป็นซี่ ๆ มีด้ามจับ สําหรับปิ้งปลาเป็นต้น.
ตะกรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [–กฺรับ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกกชนิด Cyperus procerus Rottb. ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นเป็นสามเหลี่ยม ใบยาวและแคบ ดอกสีนํ้าตาล.ตะกรับ ๒ [–กฺรับ] น. ชื่อกกชนิด Cyperus procerus Rottb. ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นเป็นสามเหลี่ยม ใบยาวและแคบ ดอกสีนํ้าตาล.
ตะกรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [–กฺรับ] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลาทะเลหรือนํ้ากร่อยชนิด Scatophagus argus ในวงศ์ Scatophagidae รูปร่างสั้น แบนข้างและกว้างมาก หัวทู่ ปากเล็ก หางมน เกล็ดเล็กสากมือ สีพื้นลําตัวมีแตกต่างกันมาก อาจเป็นสีเขียว เทาหรือนํ้าตาล ครึ่งบนของลําตัวสีเข้มกว่าและมีแถบสีเทาเข้มหรือดําพาดขวางหลายแนว และแตกเป็นจุดที่ด้านล่างหรือเป็นแต้มเป็นจุดทั่วตัว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อนอมเทา อยู่ได้ทั้งในนํ้าจืดและทะเล, กระทะ หรือ เสือดาว ก็เรียก. (๒) ดู หมอช้างเหยียบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้.ตะกรับ ๓ [–กฺรับ] น. (๑) ชื่อปลาทะเลหรือนํ้ากร่อยชนิด Scatophagus argus ในวงศ์ Scatophagidae รูปร่างสั้น แบนข้างและกว้างมาก หัวทู่ ปากเล็ก หางมน เกล็ดเล็กสากมือ สีพื้นลําตัวมีแตกต่างกันมาก อาจเป็นสีเขียว เทาหรือนํ้าตาล ครึ่งบนของลําตัวสีเข้มกว่าและมีแถบสีเทาเข้มหรือดําพาดขวางหลายแนว และแตกเป็นจุดที่ด้านล่างหรือเป็นแต้มเป็นจุดทั่วตัว ครีบต่าง ๆ มีสีเหลืองอ่อนอมเทา อยู่ได้ทั้งในนํ้าจืดและทะเล, กระทะ หรือ เสือดาว ก็เรียก. (๒) ดู หมอช้างเหยียบ.
ตะกร้า เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[–กฺร้า] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานโปร่งสําหรับใส่สิ่งของ มีรูปต่าง ๆ บางชนิดมีหูหิ้ว บางชนิดไม่มี.ตะกร้า [–กฺร้า] น. ภาชนะสานโปร่งสําหรับใส่สิ่งของ มีรูปต่าง ๆ บางชนิดมีหูหิ้ว บางชนิดไม่มี.
ตะกราม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[–กฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกกระสาชนิด Leptoptilos dubius ในวงศ์ Ciconiidae เป็นนกกระสาที่ใหญ่ที่สุด ตัวสีเทา หัวสีแดงส้ม ตลอดหัวและลําคอไม่มีขน ปากใหญ่แข็งแรงปลายแหลมตรง ขายาว มีถุงลมสีส้มห้อยอยู่ด้านหน้าของลําคอ และมีพู่ขนสีขาวรอบฐานคอ กินปลาและสัตว์นํ้าขนาดเล็ก.ตะกราม [–กฺราม] น. ชื่อนกกระสาชนิด Leptoptilos dubius ในวงศ์ Ciconiidae เป็นนกกระสาที่ใหญ่ที่สุด ตัวสีเทา หัวสีแดงส้ม ตลอดหัวและลําคอไม่มีขน ปากใหญ่แข็งแรงปลายแหลมตรง ขายาว มีถุงลมสีส้มห้อยอยู่ด้านหน้าของลําคอ และมีพู่ขนสีขาวรอบฐานคอ กินปลาและสัตว์นํ้าขนาดเล็ก.
ตะกรุด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก[–กฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องรางอย่างหนึ่ง ทําด้วยโลหะหรือใบลานเป็นต้น โดยปรกติลงคาถาอาคมแล้วม้วนเป็นรูปกลมยาวและกลวง, กะตรุด ก็ว่า.ตะกรุด [–กฺรุด] น. เครื่องรางอย่างหนึ่ง ทําด้วยโลหะหรือใบลานเป็นต้น โดยปรกติลงคาถาอาคมแล้วม้วนเป็นรูปกลมยาวและกลวง, กะตรุด ก็ว่า.
ตะกรุม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ความหมายที่ [–กฺรุม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกกระสาชนิด Leptoptilos javanicus ในวงศ์ Ciconiidae รูปร่างคล้ายนกตะกราม แต่ขนาดเล็กกว่า หัวและคอสีเหลือง ไม่มีถุงลมและพู่ขนสีขาวที่คอ.ตะกรุม ๑ [–กฺรุม] น. ชื่อนกกระสาชนิด Leptoptilos javanicus ในวงศ์ Ciconiidae รูปร่างคล้ายนกตะกราม แต่ขนาดเล็กกว่า หัวและคอสีเหลือง ไม่มีถุงลมและพู่ขนสีขาวที่คอ.
ตะกรุม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ความหมายที่ [–กฺรุม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ตะกรุม ๒ [–กฺรุม] น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
ตะกรุมตะกราม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[–กฺรุม–กฺราม] เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ทําไปอย่างผลีผลาม ขาดการพินิจพิจารณาเนื่องในการบริโภคเป็นต้น.ตะกรุมตะกราม [–กฺรุม–กฺราม] ก. กิริยาที่ทําไปอย่างผลีผลาม ขาดการพินิจพิจารณาเนื่องในการบริโภคเป็นต้น.
ตะกละ, ตะกลาม ตะกละ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ตะกลาม เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า [–กฺละ, –กฺลาม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่า ตะกละตะกลาม ก็มี, จะกละจะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่า อยากได้มาก ๆ.ตะกละ, ตะกลาม [–กฺละ, –กฺลาม] ว. มักกิน, กินไม่เลือก, เห็นแก่กิน, มักใช้รวมกันว่า ตะกละตะกลาม ก็มี, จะกละจะกลาม ก็ว่า, โดยปริยายหมายความว่า อยากได้มาก ๆ.
ตะกวด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด Varanus bengalensis ในวงศ์ Varanidae ตัวสีนํ้าตาลเหลือง ปากแหลม ลิ้นยาวแยกเป็น ๒ แฉก หางยาวใช้ฟาดเพื่อต่อสู้ป้องกันตัว อาศัยตามป่าโปร่งมากกว่าป่าทึบ หากินตามพื้นดิน ขึ้นต้นไม้เก่ง พาดตัวนอนผึ่งแดดตามกิ่งไม้, แลน หรือ จะกวด ก็เรียก.ตะกวด น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด Varanus bengalensis ในวงศ์ Varanidae ตัวสีนํ้าตาลเหลือง ปากแหลม ลิ้นยาวแยกเป็น ๒ แฉก หางยาวใช้ฟาดเพื่อต่อสู้ป้องกันตัว อาศัยตามป่าโปร่งมากกว่าป่าทึบ หากินตามพื้นดิน ขึ้นต้นไม้เก่ง พาดตัวนอนผึ่งแดดตามกิ่งไม้, แลน หรือ จะกวด ก็เรียก.
ตะกอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเครื่องทอผ้าทําด้วยเส้นด้ายร้อยกับกรอบไม้ สําหรับแยกเส้นด้ายยืนให้ขึ้นลงเพื่อให้ขัดกับเส้นด้ายพุ่ง.ตะกอ ๑ น. ส่วนของเครื่องทอผ้าทําด้วยเส้นด้ายร้อยกับกรอบไม้ สําหรับแยกเส้นด้ายยืนให้ขึ้นลงเพื่อให้ขัดกับเส้นด้ายพุ่ง.
ตะกอ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนุ่ม, รุ่น, มักใช้เข้าคู่กับคํา รุ่น และ หนุ่ม เป็น รุ่นตะกอ หนุ่มตะกอ, ใช้ว่า สะกอ ก็มี.ตะกอ ๒ ว. หนุ่ม, รุ่น, มักใช้เข้าคู่กับคํา รุ่น และ หนุ่ม เป็น รุ่นตะกอ หนุ่มตะกอ, ใช้ว่า สะกอ ก็มี.
ตะกอน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ละลายปนอยู่ในนํ้าหรือของเหลวอื่นแล้วตกจมลงนอนก้นภาชนะเป็นต้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในภูมิศาสตร์ หมายถึง สารต่าง ๆ ที่ผุพังทําลายโดยทางวิธีกล ทางเคมี หรือทางพัฒนาการของชีวิตแล้วตกจมทับถมเนื่องจากการกระทําของนํ้า ลม หรือธารนํ้าแข็ง.ตะกอน น. สิ่งที่ละลายปนอยู่ในนํ้าหรือของเหลวอื่นแล้วตกจมลงนอนก้นภาชนะเป็นต้น; (ภูมิ) สารต่าง ๆ ที่ผุพังทําลายโดยทางวิธีกล ทางเคมี หรือทางพัฒนาการของชีวิตแล้วตกจมทับถมเนื่องจากการกระทําของนํ้า ลม หรือธารนํ้าแข็ง.
ตะกัง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า ทําให้มีอาการปวดหัวเวลาเช้า ๆ ปวดกระบอกตา เมื่อเห็นแดดจะลืมตาไม่ขึ้น เรียกว่า ลมตะกัง, ปะกัง ก็ว่า.ตะกัง น. ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่า ทําให้มีอาการปวดหัวเวลาเช้า ๆ ปวดกระบอกตา เมื่อเห็นแดดจะลืมตาไม่ขึ้น เรียกว่า ลมตะกัง, ปะกัง ก็ว่า.
ตะกั่ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แร่จําพวกโลหะ มีลักษณะอ่อน ละลายตัวง่าย มีหลายชนิดด้วยกัน ได้แก่ ตะกั่วเกรียบ คือ ตะกั่วกรอบ ตะกั่วนม คือ ตะกั่วอ่อน; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ดีบุก เช่น ตะกั่วทุ่ง ตะกั่วป่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๘๒ สัญลักษณ์ Pb เป็นโลหะสีขาวแกมนํ้าเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๗.๔°ซ. ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ สารประกอบของตะกั่วใช้ในอุตสาหกรรมสีทา ตะกั่วและสารประกอบของตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ lead เขียนว่า แอล-อี-เอ-ดี.ตะกั่ว น. แร่จําพวกโลหะ มีลักษณะอ่อน ละลายตัวง่าย มีหลายชนิดด้วยกัน ได้แก่ ตะกั่วเกรียบ คือ ตะกั่วกรอบ ตะกั่วนม คือ ตะกั่วอ่อน; (โบ) ดีบุก เช่น ตะกั่วทุ่ง ตะกั่วป่า; (วิทยา) ธาตุลําดับที่ ๘๒ สัญลักษณ์ Pb เป็นโลหะสีขาวแกมนํ้าเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๗.๔°ซ. ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ สารประกอบของตะกั่วใช้ในอุตสาหกรรมสีทา ตะกั่วและสารประกอบของตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกาย. (อ. lead).
ตะกั่วเกรียบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเพื่อให้แข็ง.ตะกั่วเกรียบ น. ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเพื่อให้แข็ง.
ตะกั่วแดง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียดสีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีทา และทําแก้ว, เสน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ red เขียนว่า อา-อี-ดี lead เขียนว่า แอล-อี-เอ-ดี minium เขียนว่า เอ็ม-ไอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม .ตะกั่วแดง น. สารประกอบประเภทออกไซด์ของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเป็นผงละเอียดสีแดงเข้ม ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีทา และทําแก้ว, เสน ก็เรียก. (อ. red lead, minium).
ตะกั่วตัด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีนกพิราบหรือสีเทาอมฟ้า.ตะกั่วตัด ว. สีนกพิราบหรือสีเทาอมฟ้า.
ตะกาง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักจระเข้อย่างหนึ่ง มีเงี่ยง ๒ ข้างสำหรับผูกเหยื่อลอยน้ำไว้; เครื่องล่อใจ; สะกาง ก็เรียก.ตะกาง น. เครื่องดักจระเข้อย่างหนึ่ง มีเงี่ยง ๒ ข้างสำหรับผูกเหยื่อลอยน้ำไว้; เครื่องล่อใจ; สะกาง ก็เรียก.
ตะกาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดินซึ่งอยู่หลังหาดชายทะเลขึ้นไป แต่มีนํ้าเค็มซึมขึ้นไปถึงได้.ตะกาด ๑ น. ที่ดินซึ่งอยู่หลังหาดชายทะเลขึ้นไป แต่มีนํ้าเค็มซึมขึ้นไปถึงได้.
ตะกาด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Penaeidae อันดับ Decapoda เช่น ชนิด Metapenaeus ensis พบในบริเวณนํ้ากร่อยและชายฝั่งทะเล, ชันกาด ก็เรียก.ตะกาด ๒ น. ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Penaeidae อันดับ Decapoda เช่น ชนิด Metapenaeus ensis พบในบริเวณนํ้ากร่อยและชายฝั่งทะเล, ชันกาด ก็เรียก.
ตะกาย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ป่ายปีน เช่น แมวตะกายฝา หมาตะกายเจ้าของ.ตะกาย ก. ป่ายปีน เช่น แมวตะกายฝา หมาตะกายเจ้าของ.
ตะกาว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ขอสําหรับเกี่ยวเรือ.ตะกาว น. ขอสําหรับเกี่ยวเรือ.
ตะกุกตะกัก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่สะดวก, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด).ตะกุกตะกัก ว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่สะดวก, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด).
ตะกุย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือหรือเท้าเป็นต้นคุ้ยหรือข่วน.ตะกุย ก. เอามือหรือเท้าเป็นต้นคุ้ยหรือข่วน.
ตะกุยตะกาย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามป่ายปีนให้พ้นอันตราย.ตะกุยตะกาย ก. พยายามป่ายปีนให้พ้นอันตราย.
ตะกู เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อูดู กระทุ่ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.ตะกู ดู กระทุ่ม ๑.
ตะกูด เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง หางเสือเรือ, จะกูด หรือ จังกูด ก็ว่า.ตะกูด น. หางเสือเรือ, จะกูด หรือ จังกูด ก็ว่า.
ตะเกียกตะกาย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามป่ายปีนไป, พยายามทุกทางเพื่อให้ประสบความสําเร็จ.ตะเกียกตะกาย ก. พยายามป่ายปีนไป, พยายามทุกทางเพื่อให้ประสบความสําเร็จ.
ตะเกียง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้สําหรับตามไฟ มีรูปต่าง ๆ บางชนิดมีหลอดบังลม, ลักษณนามว่า ดวง.ตะเกียง ๑ น. เครื่องใช้สําหรับตามไฟ มีรูปต่าง ๆ บางชนิดมีหลอดบังลม, ลักษณนามว่า ดวง.
ตะเกียงแก๊ส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ตะเกียงที่ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ทําปฏิกิริยากับนํ้าได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง.ตะเกียงแก๊ส น. ตะเกียงที่ใช้แคลเซียมคาร์ไบด์ทําปฏิกิริยากับนํ้าได้แก๊สอะเซทิลีนซึ่งจุดไฟติดให้ความสว่าง.
ตะเกียงเจ้าพายุ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ตะเกียงชนิดหนึ่ง เมื่อเผาไส้แล้วสูบลมให้ดันน้ำมันเป็นไอขึ้นไปเลี้ยงไส้ทำให้เกิดแสงสว่างนวลจ้า.ตะเกียงเจ้าพายุ น. ตะเกียงชนิดหนึ่ง เมื่อเผาไส้แล้วสูบลมให้ดันน้ำมันเป็นไอขึ้นไปเลี้ยงไส้ทำให้เกิดแสงสว่างนวลจ้า.
ตะเกียงรั้ว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ตะเกียงหิ้วที่มีลวดพันรอบครอบแก้วซึ่งครอบดวงไฟ.ตะเกียงรั้ว น. ตะเกียงหิ้วที่มีลวดพันรอบครอบแก้วซึ่งครอบดวงไฟ.
ตะเกียงลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตะเกียงชนิดไขลานให้ใบพัดหมุนเป่าลมไล่ควัน และช่วยให้ไฟสว่างนวล.ตะเกียงลาน น. ตะเกียงชนิดไขลานให้ใบพัดหมุนเป่าลมไล่ควัน และช่วยให้ไฟสว่างนวล.
ตะเกียง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หน่อสับปะรดที่แตกออกจากโคนขั้วของผล, หน่อกล้วยไม้ประเภทหวายที่แตกออกจากข้อ.ตะเกียง ๒ น. หน่อสับปะรดที่แตกออกจากโคนขั้วของผล, หน่อกล้วยไม้ประเภทหวายที่แตกออกจากข้อ.
ตะเกียบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้สําหรับคีบอาหารทําด้วยไม้หรืองาเป็นต้นเป็นคู่ ๆ; ชื่อเสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้; โดยปริยายใช้เรียกของที่เป็นคู่สําหรับคีบ เช่น ตะเกียบรถจักรยาน; ครีบคู่ที่อยู่ตรงอกปลา, ขาม้า ก็เรียก; เรียกขาคนที่ลีบเล็กว่า ขาตะเกียบ; ส่วนล่างของกระดูกเชิงกรานที่แตะพื้นในเวลานั่ง; กระดูกอ่อน ๒ อันที่ก้นของสัตว์ปีกมีนก เป็นต้น.ตะเกียบ น. เครื่องใช้สําหรับคีบอาหารทําด้วยไม้หรืองาเป็นต้นเป็นคู่ ๆ; ชื่อเสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้; โดยปริยายใช้เรียกของที่เป็นคู่สําหรับคีบ เช่น ตะเกียบรถจักรยาน; ครีบคู่ที่อยู่ตรงอกปลา, ขาม้า ก็เรียก; เรียกขาคนที่ลีบเล็กว่า ขาตะเกียบ; ส่วนล่างของกระดูกเชิงกรานที่แตะพื้นในเวลานั่ง; กระดูกอ่อน ๒ อันที่ก้นของสัตว์ปีกมีนก เป็นต้น.