ดัก ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นอย่างทุรนทุราย เช่น ปลาดิ้นดัก ๆ. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลำบาก, อึดอัด, เร่าร้อนใจ, เช่น มาเดียวพี่ดักดัก ใจจอด แม่แม่. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์, อะดัก ก็ว่า.ดัก ๆ ว. อาการที่ดิ้นอย่างทุรนทุราย เช่น ปลาดิ้นดัก ๆ. (โบ; กลอน) ว. ลำบาก, อึดอัด, เร่าร้อนใจ, เช่น มาเดียวพี่ดักดัก ใจจอด แม่แม่. (นิ. นรินทร์), อะดัก ก็ว่า.
ดักดน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลําบาก, ตรากตรําอยู่นาน, เช่น แสนสะดุ้งดักดน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดักดน (กลอน) ว. ลําบาก, ตรากตรําอยู่นาน, เช่น แสนสะดุ้งดักดน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดักดาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คงสภาพอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานาน (มักใช้ในเรื่องที่ไม่เจริญก้าวหน้า) เช่น เป็นเสมียนอยู่ดักดาน โง่ดักดาน.ดักดาน ว. คงสภาพอยู่อย่างนั้นเป็นเวลานาน (มักใช้ในเรื่องที่ไม่เจริญก้าวหน้า) เช่น เป็นเสมียนอยู่ดักดาน โง่ดักดาน.
ดักเดี้ย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ลําบาก, ขัดสน, แกร่วอยู่.ดักเดี้ย ก. ลําบาก, ขัดสน, แกร่วอยู่.
ดักแด้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตัวอ่อนระยะสุดท้ายของแมลงหลายชนิดที่สร้างเปลือกแข็งหุ้มตัวเพื่อที่จะเจริญวัยเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ระยะนี้จะเป็นระยะอยู่นิ่งกับที่และไม่กินอาหาร มีรูปร่างต่าง ๆ กัน เช่น รูปไข่ รูปยาวรี, แดกแด้ หรือ แด็กแด้ ก็เรียก.ดักแด้ ๑ น. ชื่อตัวอ่อนระยะสุดท้ายของแมลงหลายชนิดที่สร้างเปลือกแข็งหุ้มตัวเพื่อที่จะเจริญวัยเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ระยะนี้จะเป็นระยะอยู่นิ่งกับที่และไม่กินอาหาร มีรูปร่างต่าง ๆ กัน เช่น รูปไข่ รูปยาวรี, แดกแด้ หรือ แด็กแด้ ก็เรียก.
ดักแด้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลําบากเต็มแย่, ขัดสนเต็มแย่.ดักแด้ ๒ ก. ลําบากเต็มแย่, ขัดสนเต็มแย่.
ดักษก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่[ดักสก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษก เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี ตจฺฉก เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่.ดักษก [ดักสก] (แบบ) น. ช่างไม้. (ส. ตกฺษก; ป. ตจฺฉก).
ดักษณะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[ดักสะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตัดและกรางสิ่งของ มีมีด พร้า บุ้ง ตะไบ เป็นต้น; การตัด, การปอก, การทอน; ตัวหารเฉพาะ (วิชาเลข). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษณ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี ตจฺฉน เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู.ดักษณะ [ดักสะนะ] (แบบ) น. เครื่องตัดและกรางสิ่งของ มีมีด พร้า บุ้ง ตะไบ เป็นต้น; การตัด, การปอก, การทอน; ตัวหารเฉพาะ (วิชาเลข). (ส. ตกฺษณ; ป. ตจฺฉน).
ดักษณี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[–สะนี] เป็นคำนาม หมายถึง ผึ่ง, ขวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษณี เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี ตจฺฉนี เขียนว่า ตอ-เต่า-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.ดักษณี [–สะนี] น. ผึ่ง, ขวาน. (ส. ตกฺษณี; ป. ตจฺฉนี).
ดักษัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คนตัดไม้, ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตกฺษนฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-หนู-พิน-ทุ.ดักษัน น. คนตัดไม้, ช่างไม้. (ส. ตกฺษนฺ).
ดัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สันจมูก, ใช้ว่า ดั้ง ก็มี.ดัง ๑ น. สันจมูก, ใช้ว่า ดั้ง ก็มี.
ดัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บังเกิดเสียงขึ้นหรือทําให้เสียงบังเกิดขึ้นอย่างแรง เช่น กลองดัง พูดดัง เสียงดัง.ดัง ๒ ว. บังเกิดเสียงขึ้นหรือทําให้เสียงบังเกิดขึ้นอย่างแรง เช่น กลองดัง พูดดัง เสียงดัง.
ดัง ๓, ดั่ง ดัง ความหมายที่ ๓ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ดั่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่น, อย่าง, ราวกับ, คล้าย, เหมือน.ดัง ๓, ดั่ง ว. เช่น, อย่าง, ราวกับ, คล้าย, เหมือน.
ดังจริง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างจริง, จริงอย่างนี้.ดังจริง ว. อย่างจริง, จริงอย่างนี้.
ดังนั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่นนั้น.ดังนั้น ว. เช่นนั้น.
ดังนี้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่นนี้.ดังนี้ ว. เช่นนี้.
ดังแนบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่นที่แนบมา.ดังแนบ ว. เช่นที่แนบมา.
ดังรือ, ดังฤๅ ดังรือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ดังฤๅ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-รึ-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เช่นไร, เหตุไร, ไฉน.ดังรือ, ดังฤๅ ว. เช่นไร, เหตุไร, ไฉน.
ดังหนึ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมือนหนึ่ง.ดังหนึ่ง ว. เสมือนหนึ่ง.
ดั้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องถือสําหรับปิดป้องศัสตราวุธ รูปคล้ายกาบกล้วย, โบราณใช้ว่า ด้าง ก็มี; เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่ว่า เสาดั้ง, เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสําหรับรับอกไก่ว่า ดั้งแขวน; เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค จัดเป็น ๒ สายขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือพระที่นั่งไชยและเรือพระที่นั่งทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้ ว่า เรือดั้ง; ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, ช้างกัน ก็เรียก. เป็นคำกริยา หมายถึง ป้องกัน.ดั้ง ๑ น. เครื่องถือสําหรับปิดป้องศัสตราวุธ รูปคล้ายกาบกล้วย, โบราณใช้ว่า ด้าง ก็มี; เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่ว่า เสาดั้ง, เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสําหรับรับอกไก่ว่า ดั้งแขวน; เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค จัดเป็น ๒ สายขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือพระที่นั่งไชยและเรือพระที่นั่งทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้ ว่า เรือดั้ง; ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, ช้างกัน ก็เรียก. ก. ป้องกัน.
ดั้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สันจมูก, มักพูดว่า ดั้งจมูก, ใช้ว่า ดัง ก็มี.ดั้ง ๒ น. สันจมูก, มักพูดว่า ดั้งจมูก, ใช้ว่า ดัง ก็มี.
ดั้งเดิม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก่าก่อน, เก่าแก่, เดิมที.ดั้งเดิม ว. เก่าก่อน, เก่าแก่, เดิมที.
ดัชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ดัดชะนี] เป็นคำนาม หมายถึง นิ้วชี้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดัชนี, ดรรชนี ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตชฺชนี เขียนว่า ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรฺชนี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.ดัชนี ๑ [ดัดชะนี] น. นิ้วชี้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดัชนี, ดรรชนี ก็ใช้. (ป. ตชฺชนี; ส. ตรฺชนี).
ดัชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ดัดชะนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดัชนีของ ๓; ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดัชนีค่าครองชีพ; ดรรชนี ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ index เขียนว่า ไอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็กซ์ number เขียนว่า เอ็น-ยู-เอ็ม-บี-อี-อา .ดัชนี ๒ [ดัดชะนี] (คณิต) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดัชนีของ ๓; ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดัชนีค่าครองชีพ; ดรรชนี ก็ใช้. (อ. index number).
ดัชนีหักเห เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง ดัชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดรรชนีหักเห ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ refractive เขียนว่า อา-อี-เอฟ-อา-เอ-ซี-ที-ไอ-วี-อี index เขียนว่า ไอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็กซ์ .ดัชนีหักเห (แสง) น. ดัชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดรรชนีหักเห ก็ใช้. (อ. refractive index).
ดัชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดรรชนี ก็ใช้.ดัชนี ๓ น. บัญชีคำเรียงตามลำดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคำสำคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคำนั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดรรชนี ก็ใช้.
ดัด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ดัดไม้ ดัดนิสัย; ทําให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์; ปลุก เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ไม้ดัด ตะโกดัด.ดัด ๑ ก. ทําให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ดัดไม้ ดัดนิสัย; ทําให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา. (ตะเลงพ่าย); ปลุก เช่น เคยดัดฤดีตาตื่นตรับ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ว. ที่ทําให้คดหรือตรงตามประสงค์ เช่น ไม้ดัด ตะโกดัด.
ดัดจริต เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[–จะหฺริด] เป็นคำกริยา หมายถึง แสร้งทํากิริยาหรือวาจาให้เกินควร.ดัดจริต [–จะหฺริด] ก. แสร้งทํากิริยาหรือวาจาให้เกินควร.
ดัดดั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดทางไป, ลัดทางไป, เช่น ก็รีบลัดดัดดั้นตามไป. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, ดั้นดัด ก็ใช้ เช่น ดั้นดัดลัดพงดงดาน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑.ดัดดั้น ก. ตัดทางไป, ลัดทางไป, เช่น ก็รีบลัดดัดดั้นตามไป. (อิเหนา), ดั้นดัด ก็ใช้ เช่น ดั้นดัดลัดพงดงดาน. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ดัดตน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง บริหารร่างกาย.ดัดตน ก. บริหารร่างกาย.
ดัดแปลง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-งอ-งู[–แปฺลง] เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย, เช่น ดัดแปลงเรือนชั้นเดียวให้เป็น ๒ ชั้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เปลี่ยนแปลง ต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยายซึ่งลักษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน นํ้าหนัก เนื้อที่ ของโครงสร้างของอาคารหรือส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ซึ่งได้ก่อสร้างไว้แล้วให้ผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซมหรือการดัดแปลงที่กําหนดในกฎกระทรวง; ทําซํ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม หรือจําลองงานต้นฉบับในส่วนอันเป็นสาระสําคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทํางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน.ดัดแปลง [–แปฺลง] ก. แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม, เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย, เช่น ดัดแปลงเรือนชั้นเดียวให้เป็น ๒ ชั้น; (กฎ) เปลี่ยนแปลง ต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยายซึ่งลักษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน นํ้าหนัก เนื้อที่ ของโครงสร้างของอาคารหรือส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ซึ่งได้ก่อสร้างไว้แล้วให้ผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซมหรือการดัดแปลงที่กําหนดในกฎกระทรวง; ทําซํ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม หรือจําลองงานต้นฉบับในส่วนอันเป็นสาระสําคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทํางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน.
ดัดสันดาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แก้นิสัยให้ดี.ดัดสันดาน ก. แก้นิสัยให้ดี.
ดัด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดาด, กั้น, เช่น ดัดพิดาน ว่า กั้นเพดาน.ดัด ๒ ก. ดาด, กั้น, เช่น ดัดพิดาน ว่า กั้นเพดาน.
ดัดปลัก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เดือน.ดัดปลัก น. เดือน.
ดัตช์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชาวฮอลันดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Dutch เขียนว่า ดี-ยู-ที-ซี-เอช.ดัตช์ น. ชาวฮอลันดา. (อ. Dutch).
ดัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ผลักเพื่อให้เคลื่อนไปด้วยกําลัง เช่น ดันประตู; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายหมายถึงขืนทํา เช่น กางเกงคับยังดันสวมเข้าไปได้, ทําในสิ่งที่ไม่น่าจะทํา เช่น ดันขึ้นไปอยู่บนยอดไม้.ดัน ก. ผลักเพื่อให้เคลื่อนไปด้วยกําลัง เช่น ดันประตู; (ปาก) โดยปริยายหมายถึงขืนทํา เช่น กางเกงคับยังดันสวมเข้าไปได้, ทําในสิ่งที่ไม่น่าจะทํา เช่น ดันขึ้นไปอยู่บนยอดไม้.
ดันทุรัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดึงไม่ยอมแพ้, ดื้อดึงไม่เข้าเรื่อง, ดัน ก็ว่า.ดันทุรัง ว. ดื้อดึงไม่ยอมแพ้, ดื้อดึงไม่เข้าเรื่อง, ดัน ก็ว่า.
ดั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ฝ่าไป, มุดด้นไป.ดั้น ๑ ก. ฝ่าไป, มุดด้นไป.
ดั้นเมฆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง เป็นคำกริยา หมายถึง ฝ่าไปในเมฆ.ดั้นเมฆ ก. ฝ่าไปในเมฆ.
ดั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโคลงและร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น และ ร่ายดั้น.ดั้น ๒ น. ชื่อโคลงและร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น และ ร่ายดั้น.
ดันเหิม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน.ดันเหิม (โบ; กลอน) ก. ตันเหิม, รื่นเริง, บันเทิงใจ, เช่น ดันเหิมหื่นหรรษาโมทย์. (ม. คำหลวง จุลพน).
ดับ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สูญสิ้นไป เช่น วิญญาณดับ อนาคตดับ, สิ้นแสง เช่น ไฟดับ เดือนดับ, ทําให้สิ้นแสง เช่น ดับไฟ, ทําให้สิ้น เช่น ดับกิเลส ดับทุกข์, ทําให้ระงับ เช่น ดับโทสะ ดับโมโห, หยุดหรือทําให้หยุด เช่น เครื่องดับ ดับเครื่อง; เรียกวันสิ้นเดือนตามจันทรคติว่า วันดับ.ดับ ๑ ก. สูญสิ้นไป เช่น วิญญาณดับ อนาคตดับ, สิ้นแสง เช่น ไฟดับ เดือนดับ, ทําให้สิ้นแสง เช่น ดับไฟ, ทําให้สิ้น เช่น ดับกิเลส ดับทุกข์, ทําให้ระงับ เช่น ดับโทสะ ดับโมโห, หยุดหรือทําให้หยุด เช่น เครื่องดับ ดับเครื่อง; เรียกวันสิ้นเดือนตามจันทรคติว่า วันดับ.
ดับขันธ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย.ดับขันธ์ ก. ตาย.
ดับเครื่อง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุด, ถ้าเครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุดเอง เรียกว่า เครื่องดับ.ดับเครื่อง ก. ทําให้เครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุด, ถ้าเครื่องยนต์เครื่องกลไกเป็นต้นหยุดเอง เรียกว่า เครื่องดับ.
ดับจิต เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกห้องเก็บศพของโรงพยาบาลว่า ห้องดับจิต.ดับจิต ก. ตาย. (ปาก) น. เรียกห้องเก็บศพของโรงพยาบาลว่า ห้องดับจิต.
ดับชีพ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย.ดับชีพ ก. ตาย.
ดับลม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ลมในท้องระงับไปชั่วคราว, โดยปริยายหมายความว่า กินพอประทังความหิว.ดับลม ก. ทําให้ลมในท้องระงับไปชั่วคราว, โดยปริยายหมายความว่า กินพอประทังความหิว.
ดับ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชทางเหนือ ตรงกับเลข ๒.ดับ ๒ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชทางเหนือ ตรงกับเลข ๒.
ดับ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับ.ดับ ๓ (โบ) น. ลําดับ.
ดัมพ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตมฺพ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน.ดัมพ์ (แบบ) น. ทองแดง. (ป. ตมฺพ).
ดั้วเดี้ย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไปทีละน้อย ๆ เช่น หนอนไต่ดั้วเดี้ย.ดั้วเดี้ย ว. เคลื่อนไปทีละน้อย ๆ เช่น หนอนไต่ดั้วเดี้ย.
ดัสกร เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ[ดัดสะกอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตสฺกร เขียนว่า ตอ-เต่า-สอ-เสือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ตกฺกร เขียนว่า ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ ว่า โจร, ขโมย .ดัสกร [ดัดสะกอน] (แบบ) น. ข้าศึก. (ส. ตสฺกร; ป. ตกฺกร ว่า โจร, ขโมย).
ดัสกรี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[ดัดสะกะรี] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มากด้วยราคจริตและโทสจริต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ดัสกรี [ดัดสะกะรี] น. หญิงที่มากด้วยราคจริตและโทสจริต. (ส.).
ดา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกมวน มีหลายสกุล, ชนิดที่ตัวกว้าง รูปไข่ แบน เมื่อพับปีก ปีกจะแนบไปกับสันหลัง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖.๒–๘.๒ เซนติเมตร ส่วนท้องกว้าง ๒.๖–๒.๘ เซนติเมตร สีนํ้าตาลแก่หรือนํ้าตาลอมเขียว ด้านหลังของส่วนอกตอนต้นมีลายเป็นแถบ ๕ แถบ คือ แมลงดา หรือ แมลงดานา (Lethocerus indicus) ใช้ตํากับนํ้าพริก กินได้; อีกสกุลหนึ่ง คือ แมลงดาสวน หรือ แมลงสีเสียด (Sphaerodema rusticum และ S. molestum) รูปร่างคล้ายแมลงดานามาก แต่เล็กกว่า ขนาดยาว ๑.๓–๑.๗ เซนติเมตร กว้าง ๐.๙ เซนติเมตร นํามาคั่วกับเกลือ กินได้; และยังมีสกุล Laccotrephes ได้แก่ชนิด L. ruber และ L. robustus ซึ่งมีลําตัวยาว ๓–๔.๔ เซนติเมตร กว้าง ๑–๑.๓ เซนติเมตร สีนํ้าตาลอมแดง มีหางยาว ๒ อัน ยาว ๑.๒–๑.๓ เซนติเมตร, สกุลนี้ แมลงดาโป้งเป้ง ดากลั้นเยี่ยว หรือ ดาเยี่ยว ก็เรียก.ดา ๑ น. ชื่อแมลงพวกมวน มีหลายสกุล, ชนิดที่ตัวกว้าง รูปไข่ แบน เมื่อพับปีก ปีกจะแนบไปกับสันหลัง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖.๒–๘.๒ เซนติเมตร ส่วนท้องกว้าง ๒.๖–๒.๘ เซนติเมตร สีนํ้าตาลแก่หรือนํ้าตาลอมเขียว ด้านหลังของส่วนอกตอนต้นมีลายเป็นแถบ ๕ แถบ คือ แมลงดา หรือ แมลงดานา (Lethocerus indicus) ใช้ตํากับนํ้าพริก กินได้; อีกสกุลหนึ่ง คือ แมลงดาสวน หรือ แมลงสีเสียด (Sphaerodema rusticum และ S. molestum) รูปร่างคล้ายแมลงดานามาก แต่เล็กกว่า ขนาดยาว ๑.๓–๑.๗ เซนติเมตร กว้าง ๐.๙ เซนติเมตร นํามาคั่วกับเกลือ กินได้; และยังมีสกุล Laccotrephes ได้แก่ชนิด L. ruber และ L. robustus ซึ่งมีลําตัวยาว ๓–๔.๔ เซนติเมตร กว้าง ๑–๑.๓ เซนติเมตร สีนํ้าตาลอมแดง มีหางยาว ๒ อัน ยาว ๑.๒–๑.๓ เซนติเมตร, สกุลนี้ แมลงดาโป้งเป้ง ดากลั้นเยี่ยว หรือ ดาเยี่ยว ก็เรียก.
ดา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เรียงหน้ากันเข้าไปเป็นหน้ากระดาน เช่น ดาหน้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, หลาย, เกลื่อนไป.ดา ๒ ก. เรียงหน้ากันเข้าไปเป็นหน้ากระดาน เช่น ดาหน้า. ว. มาก, หลาย, เกลื่อนไป.
ดาดาษ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดารดาษ ดาษ หรือ ดาษดา ก็ใช้.ดาดาษ ว. มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดารดาษ ดาษ หรือ ดาษดา ก็ใช้.
ดาดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดําล้วน.ดาดำ ว. ดําล้วน.
ด่า เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ถ้อยคําว่าคนอื่นด้วยคําหยาบช้าเลวทราม.ด่า ก. ใช้ถ้อยคําว่าคนอื่นด้วยคําหยาบช้าเลวทราม.
ด่าทอ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ด่า, ด่าตอบกัน.ด่าทอ ก. ด่า, ด่าตอบกัน.
ดาก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ปลายลําไส้ใหญ่ที่ทวารหนัก; ไม้สําหรับอุดก้นตะบันหรือสิ่งอื่นที่มีรูปร่างอย่างนั้น เช่น ดากตะบัน ดากพลุ, ไม้ลิ่มที่ตอกขั้วลูกขนุนที่ตัดมาแล้ว เชื่อว่าทำให้สุกเร็วขึ้น.ดาก น. ปลายลําไส้ใหญ่ที่ทวารหนัก; ไม้สําหรับอุดก้นตะบันหรือสิ่งอื่นที่มีรูปร่างอย่างนั้น เช่น ดากตะบัน ดากพลุ, ไม้ลิ่มที่ตอกขั้วลูกขนุนที่ตัดมาแล้ว เชื่อว่าทำให้สุกเร็วขึ้น.
ดากลั้นเยี่ยว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวนดู ดา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.ดากลั้นเยี่ยว ดู ดา ๑.
ด่าง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าขี้เถ้าที่เกรอะหรือแช่ไว้ มีรสกร่อย ๆ สําหรับทํายาและกัดสิ่งของ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง สารประกอบจําพวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล ซึ่งละลายนํ้าได้ดี มีรสฝาด ถูกมือลื่นคล้ายสบู่.ด่าง ๑ น. นํ้าขี้เถ้าที่เกรอะหรือแช่ไว้ มีรสกร่อย ๆ สําหรับทํายาและกัดสิ่งของ; (วิทยา) สารประกอบจําพวกไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล ซึ่งละลายนํ้าได้ดี มีรสฝาด ถูกมือลื่นคล้ายสบู่.
ด่างทับทิม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ของสิ่งหนึ่งเป็นเกล็ด สีม่วงแก่ เมื่อละลายนํ้าจะออกเป็นสีทับทิม; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อโพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนต มีสูตร KMnO4 เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกสีม่วงแก่ ใช้ประโยชน์เป็นสารฆ่าเชื้อโรค ใช้ทํายาดับกลิ่น.ด่างทับทิม น. ของสิ่งหนึ่งเป็นเกล็ด สีม่วงแก่ เมื่อละลายนํ้าจะออกเป็นสีทับทิม; (วิทยา) เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อโพแทสเซียมเพอร์แมงกาเนต มีสูตร KMnO4 เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึกสีม่วงแก่ ใช้ประโยชน์เป็นสารฆ่าเชื้อโรค ใช้ทํายาดับกลิ่น.
ด่าง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นดวงหรือเป็นจุดขาว ๆ ผิดกับสีพื้น เช่น วัวด่าง มือด่าง, มีสีจางกว่าสีเดิมเป็นแห่ง ๆ เช่น ผ้าด่าง.ด่าง ๒ ว. เป็นดวงหรือเป็นจุดขาว ๆ ผิดกับสีพื้น เช่น วัวด่าง มือด่าง, มีสีจางกว่าสีเดิมเป็นแห่ง ๆ เช่น ผ้าด่าง.
ด่างพร้อย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นดวง ๆ จุด ๆ ทั่วไป, โดยปริยายหมายความว่า มีมลทิน, มัวหมอง, ไม่บริสุทธิ์, เช่น มีศีลด่างพร้อย.ด่างพร้อย ว. เป็นดวง ๆ จุด ๆ ทั่วไป, โดยปริยายหมายความว่า มีมลทิน, มัวหมอง, ไม่บริสุทธิ์, เช่น มีศีลด่างพร้อย.
ด้าง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ดั้ง เช่น แหลนไป่ติดด้าง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ด้าง (โบ) น. ดั้ง เช่น แหลนไป่ติดด้าง. (ม. คำหลวง ชูชก).
ดาด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาวัตถุเช่นผ้าเป็นต้นขึงหรือปิดบังให้ทั่วตอนเบื้องบน เช่น ดาดเพดาน ดาดหลังคา, ถ้าปูตอนล่างเช่นพื้นเรือนเป็นต้น เรียกว่า ลาด เช่น ลาดเสื่อ ลาดพรม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ชัน เช่น หลังคาดาด.ดาด ๑ ก. เอาวัตถุเช่นผ้าเป็นต้นขึงหรือปิดบังให้ทั่วตอนเบื้องบน เช่น ดาดเพดาน ดาดหลังคา, ถ้าปูตอนล่างเช่นพื้นเรือนเป็นต้น เรียกว่า ลาด เช่น ลาดเสื่อ ลาดพรม. ว. ไม่ชัน เช่น หลังคาดาด.
ดาดฟ้า เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง พื้นราบตอนบนของเรือ, พื้นราบตอนบนสุดของอาคาร.ดาดฟ้า น. พื้นราบตอนบนของเรือ, พื้นราบตอนบนสุดของอาคาร.
ดาด ๒, ดาด ๆ ดาด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ดาด ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ธรรมดา ๆ, ไม่รัดกุม, เช่น สํานวนดาด ๆ.ดาด ๒, ดาด ๆ ว. ธรรมดา ๆ, ไม่รัดกุม, เช่น สํานวนดาด ๆ.
ดาดตะกั่ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไข้ทรพิษที่ออกหนาเป็นพืดดํา.ดาดตะกั่ว ๑ น. ชื่อไข้ทรพิษที่ออกหนาเป็นพืดดํา.
ดาดตะกั่ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hemigraphis alternata T. Anders. ในวงศ์ Acanthaceae ใบสีเทา ด้านล่างสีแดง ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ปลูกเป็นไม้ประดับ.ดาดตะกั่ว ๒ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hemigraphis alternata T. Anders. ในวงศ์ Acanthaceae ใบสีเทา ด้านล่างสีแดง ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ปลูกเป็นไม้ประดับ.
ดาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็ง, แน่น, เรียกดินที่จับตัวแข็งเป็นชั้น โดยมากเป็นประเภทดินเหนียวเนื้อแน่นที่นํ้าไหลผ่านไม่ได้ เกาะตัวแข็งอยู่ใต้ผิวดิน ว่า ดินดาน, เรียกหินแข็งหรือหินผุที่รองรับดิน ทราย กรวด ซึ่งมีแร่เช่นดีบุก ทองคํา รวมอยู่ด้วย ว่า หินดาน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะแข็งเป็นดานอยู่ในท้อง เช่น ดานเลือด ดานลม.ดาน ว. แข็ง, แน่น, เรียกดินที่จับตัวแข็งเป็นชั้น โดยมากเป็นประเภทดินเหนียวเนื้อแน่นที่นํ้าไหลผ่านไม่ได้ เกาะตัวแข็งอยู่ใต้ผิวดิน ว่า ดินดาน, เรียกหินแข็งหรือหินผุที่รองรับดิน ทราย กรวด ซึ่งมีแร่เช่นดีบุก ทองคํา รวมอยู่ด้วย ว่า หินดาน, เรียกสิ่งที่มีลักษณะแข็งเป็นดานอยู่ในท้อง เช่น ดานเลือด ดานลม.
ด่าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ทางผ่าน เช่น ด่านช้าง, ทางผ่านพรมแดนระหว่างประเทศ เช่น ด่านเจดีย์สามองค์ ด่านสิงขร; ที่สําหรับกัก ตรวจ คอยระวังเหตุ และป้องกันช่องทางที่จะผ่านเข้าออก เช่น ด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านศุลกากร ด่านกักสัตว์.ด่าน น. ทางผ่าน เช่น ด่านช้าง, ทางผ่านพรมแดนระหว่างประเทศ เช่น ด่านเจดีย์สามองค์ ด่านสิงขร; ที่สําหรับกัก ตรวจ คอยระวังเหตุ และป้องกันช่องทางที่จะผ่านเข้าออก เช่น ด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านศุลกากร ด่านกักสัตว์.
ด้าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่าย, ข้าง, ทาง, ส่วน, เช่น ด้านซ้าย ด้านขวา ด้านวิชาการ ด้านศิลปกรรม ด้านวิทยาศาสตร์.ด้าน ๑ น. ฝ่าย, ข้าง, ทาง, ส่วน, เช่น ด้านซ้าย ด้านขวา ด้านวิชาการ ด้านศิลปกรรม ด้านวิทยาศาสตร์.
ด้านรี เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ด้านข้างของเรือนฝากระดานหรือโบสถ์ วิหาร.ด้านรี น. ด้านข้างของเรือนฝากระดานหรือโบสถ์ วิหาร.
ด้านสกัด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง.ด้านสกัด น. ด้านหัวหรือด้านท้ายของเรือนฝากระดาน, ถ้าเป็นด้านหัวหรือด้านท้ายของโบสถ์วิหาร เรียกว่า ด้านหุ้มกลอง.
ด้าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระด้าง, ไม่นิ่ม, เช่น มือด้าน ข้อศอกด้าน; ไม่เป็นมัน, ไม่เป็นเงา, เช่น สีด้าน กระดาษด้าน; จุดไม่ติดหรือไม่ระเบิด เช่น ประทัดด้าน ชนวนด้าน ลูกระเบิดด้าน; โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้สึกเจ็บ, ไม่รู้สึกอาย, เช่น หน้าด้าน.ด้าน ๒ ว. กระด้าง, ไม่นิ่ม, เช่น มือด้าน ข้อศอกด้าน; ไม่เป็นมัน, ไม่เป็นเงา, เช่น สีด้าน กระดาษด้าน; จุดไม่ติดหรือไม่ระเบิด เช่น ประทัดด้าน ชนวนด้าน ลูกระเบิดด้าน; โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้สึกเจ็บ, ไม่รู้สึกอาย, เช่น หน้าด้าน.
ด้านไม้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกตีมากจนชินเลยไม่รู้จักหลาบจํา.ด้านไม้ ก. ถูกตีมากจนชินเลยไม่รู้จักหลาบจํา.
ด้านหน้า เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ดื้อเข้าไปหาโดยไม่รู้สึกอาย.ด้านหน้า ก. ดื้อเข้าไปหาโดยไม่รู้สึกอาย.
ดาบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มีดยาวปลายแหลมชนิดหนึ่ง สันแอ่นปลายงอนเล็กน้อย มักใช้เป็นอาวุธสําหรับฟันแทง.ดาบ ๑ น. มีดยาวปลายแหลมชนิดหนึ่ง สันแอ่นปลายงอนเล็กน้อย มักใช้เป็นอาวุธสําหรับฟันแทง.
ดาบปลายปืน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดาบสั้นตรงสําหรับติดปลายปืน.ดาบปลายปืน น. ดาบสั้นตรงสําหรับติดปลายปืน.
ดาบสองคม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีทั้งคุณและโทษ, อาจดีอาจเสียก็ได้.ดาบสองคม (สำ) ว. มีทั้งคุณและโทษ, อาจดีอาจเสียก็ได้.
ดาบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลาทะเลที่มีลําตัวเรียวยาว แบนข้าง สีเทาเงิน เช่น ดาบเงิน ดาบลาว. (๒) ดู ท้องพลุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ.ดาบ ๒ น. (๑) ชื่อปลาทะเลที่มีลําตัวเรียวยาว แบนข้าง สีเทาเงิน เช่น ดาบเงิน ดาบลาว. (๒) ดู ท้องพลุ.
ดาบเงิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในวงศ์ Trichiuridae ได้แก่ ชนิด Trichiurus lepturus ซึ่งชุกชุมที่สุด ชนิด Tentoriceps cristatus, Eupleurogrammus muticus และ Lepturacanthus savala ทุกชนิดมีลักษณะคล้ายกันมาก คือมีหัวแหลมลาดตํ่าไปข้างหน้า ปลายปากล่างยื่นฟันคมแข็งแรง ตัวยาวมาก แบนข้าง เรียวแหลมเป็นเส้นไปทางหาง แต่ไม่มีครีบหาง ครีบหลังยาวเกือบตลอดแนวสันหลังยกเว้นใกล้หัว ครีบก้นเป็นเพียงแถวของหนามแข็งขนาดเล็กโผล่จากสันท้อง ไม่มีครีบท้องหรือมีแต่เล็กมาก ไม่มีเกล็ด ผิวหนังสีเงินหรือเทา, ดาบ ก็เรียก.ดาบเงิน น. ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในวงศ์ Trichiuridae ได้แก่ ชนิด Trichiurus lepturus ซึ่งชุกชุมที่สุด ชนิด Tentoriceps cristatus, Eupleurogrammus muticus และ Lepturacanthus savala ทุกชนิดมีลักษณะคล้ายกันมาก คือมีหัวแหลมลาดตํ่าไปข้างหน้า ปลายปากล่างยื่นฟันคมแข็งแรง ตัวยาวมาก แบนข้าง เรียวแหลมเป็นเส้นไปทางหาง แต่ไม่มีครีบหาง ครีบหลังยาวเกือบตลอดแนวสันหลังยกเว้นใกล้หัว ครีบก้นเป็นเพียงแถวของหนามแข็งขนาดเล็กโผล่จากสันท้อง ไม่มีครีบท้องหรือมีแต่เล็กมาก ไม่มีเกล็ด ผิวหนังสีเงินหรือเทา, ดาบ ก็เรียก.
ดาบลาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Chirocentrus dorab และ C. nudus ในวงศ์ Chirocentridae ปากเชิดขึ้น มีฟันแหลมคมมาก ลําตัวยาว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม แนวสันหลังและสันท้องตรงเกือบขนานกัน ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เกล็ดเล็กและบาง ด้านหลังลําตัวสีนํ้าเงิน ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน, ฝักพร้า หรือ ดาบ ก็เรียก.ดาบลาว น. ชื่อปลาทะเลชนิด Chirocentrus dorab และ C. nudus ในวงศ์ Chirocentridae ปากเชิดขึ้น มีฟันแหลมคมมาก ลําตัวยาว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม แนวสันหลังและสันท้องตรงเกือบขนานกัน ครีบหลังและครีบก้นอยู่ค่อนไปทางหาง ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก เกล็ดเล็กและบาง ด้านหลังลําตัวสีนํ้าเงิน ด้านข้างและท้องสีขาวเงิน, ฝักพร้า หรือ ดาบ ก็เรียก.
ดาบส เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ[–บด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้บําเพ็ญตบะคือการเผากิเลส, ฤษี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตาปส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ, เพศหญิงใช้ว่า ดาบสินี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตาปสินี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี, ในบทกลอนใช้ว่า ดาวบส ก็มี เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ดาบส [–บด] น. ผู้บําเพ็ญตบะคือการเผากิเลส, ฤษี. (ป., ส. ตาปส), เพศหญิงใช้ว่า ดาบสินี. (ป. ตาปสินี), ในบทกลอนใช้ว่า ดาวบส ก็มี เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส. (อภัย).
ดาม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทาบประกอบหรือประกับให้แข็ง เช่น ดามไม้คาน, ทาบหรือปะให้หนาเพื่อให้คงทน เช่น ดามผ้า.ดาม ๑ ก. ทาบประกอบหรือประกับให้แข็ง เช่น ดามไม้คาน, ทาบหรือปะให้หนาเพื่อให้คงทน เช่น ดามผ้า.
ดาม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ด้อม, เดินประกับไป, มักใช้เข้าคู่กับคํา ด้อมว่า ดามด้อม เช่น มาอยู่ดามด้อมหน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี, ใช้ว่า ด้าม ก็มี เช่น เสือสางด้ามด้อมทาง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ดาม ๒ ก. ด้อม, เดินประกับไป, มักใช้เข้าคู่กับคํา ด้อมว่า ดามด้อม เช่น มาอยู่ดามด้อมหน. (ม. คำหลวง มัทรี), ใช้ว่า ด้าม ก็มี เช่น เสือสางด้ามด้อมทาง. (ลอ).
ด้าม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ใช้ถือใช้จับ เช่น ด้ามมีด ด้ามขวาน, ลักษณนามเรียกของบางอย่างที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า ด้าม เช่น ปากกาด้ามหนึ่ง ปากกา ๒ ด้าม; ต้น, ทาง, เช่น โดยด้ามอาทิสวคนธ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน, ผู้เผด็จด้ามตัณหา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์, โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์, แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.ด้าม น. ส่วนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ใช้ถือใช้จับ เช่น ด้ามมีด ด้ามขวาน, ลักษณนามเรียกของบางอย่างที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า ด้าม เช่น ปากกาด้ามหนึ่ง ปากกา ๒ ด้าม; ต้น, ทาง, เช่น โดยด้ามอาทิสวคนธ์. (ม. คำหลวง จุลพน), ผู้เผด็จด้ามตัณหา. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์), โดยด้ามอาทิทศธรรมสนท้าว. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), แลราชผู้มีอยู่ในด้ามมารคธรรม. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
ด้ามจิ้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพัดชนิดหนึ่งที่คลี่ได้พับได้อย่างพัดจีน.ด้ามจิ้ว น. ชื่อพัดชนิดหนึ่งที่คลี่ได้พับได้อย่างพัดจีน.
ดามพ–, ดามพ์ ดามพ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-พาน ดามพ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด [ดามพะ–, ดาม] เป็นคำนาม หมายถึง ทองแดง, สิ่งที่ทําด้วยทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตมฺพ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน และมาจากภาษาสันสกฤต ตามฺร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-เรือ.ดามพ–, ดามพ์ [ดามพะ–, ดาม] น. ทองแดง, สิ่งที่ทําด้วยทองแดง. (ป. ตมฺพ; ส. ตามฺร).
ดามพวรรณ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-พาน-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีเหมือนทองแดง.ดามพวรรณ ว. มีสีเหมือนทองแดง.
ดามระ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[ดามมะระ, ดามะระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ทองแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตามฺร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ตมฺพ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน.ดามระ [ดามมะระ, ดามะระ] (แบบ) น. ทองแดง. (ส. ตามฺร; ป. ตมฺพ).
ดาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้มีดหรือจอบเป็นต้นถากต้นหญ้าเพื่อให้เตียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดะไป, ตะลุย, เช่น กินดาย; เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, เช่น ดูดาย; ทีเดียว, เท่านั้น, เช่น เดียวดาย เปล่าดาย พู้นมาดาย. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗; ง่าย เช่น สะดวกดาย; โดด, เดี่ยว, เลย, ถ่ายเดียว, (มักใช้ในที่สุดประโยค).ดาย ก. ใช้มีดหรือจอบเป็นต้นถากต้นหญ้าเพื่อให้เตียน. ว. ดะไป, ตะลุย, เช่น กินดาย; เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, เช่น ดูดาย; ทีเดียว, เท่านั้น, เช่น เดียวดาย เปล่าดาย พู้นมาดาย. (จารึกสยาม); ง่าย เช่น สะดวกดาย; โดด, เดี่ยว, เลย, ถ่ายเดียว, (มักใช้ในที่สุดประโยค).
ด้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําด้วยใยเป็นต้นว่าใยฝ้าย ปั่นเป็นเส้นสําหรับเย็บ ถัก หรือทอผ้าเป็นต้น.ด้าย น. สิ่งที่ทําด้วยใยเป็นต้นว่าใยฝ้าย ปั่นเป็นเส้นสําหรับเย็บ ถัก หรือทอผ้าเป็นต้น.
ด้ายซัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายทอที่ตัดจากผ้าทิ้งอยู่ในหูก.ด้ายซัง น. ด้ายทอที่ตัดจากผ้าทิ้งอยู่ในหูก.
ด้ายดิบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายที่ยังไม่ได้ฟอก.ด้ายดิบ น. ด้ายที่ยังไม่ได้ฟอก.
ดาร–, ดาระ ดาร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ดาระ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, เสียงดัง, เสียงสูง, เสียงแหลม. เป็นคำกริยา หมายถึง ข้าม เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดํารวจดารทาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตาร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.ดาร–, ดาระ (แบบ) น. เสียง, เสียงดัง, เสียงสูง, เสียงแหลม. ก. ข้าม เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดํารวจดารทาน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป., ส. ตาร).
ดารกะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[–ระกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ดาว, ดวงดาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตารกา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.ดารกะ [–ระกะ] (แบบ) น. ดาว, ดวงดาว. (ป., ส. ตารกา).
ดารณี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[–ระนี] เป็นคำนาม หมายถึง เรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตารณี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.ดารณี [–ระนี] น. เรือ. (ส. ตารณี).
ดารดาษ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี[–ระดาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดาดาษ ดาษ หรือ ดาษดา ก็ว่า.ดารดาษ [–ระดาด] ว. มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดาดาษ ดาษ หรือ ดาษดา ก็ว่า.
ดารา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ดาว, ดวงดาว; เรียกบุคคลที่แสดงนําหรือมีชื่อเสียงในศิลปะการแสดงในทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาราภาพยนตร์; เครื่องประกอบราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นทวีติยาภรณ์ขึ้นไป มีลักษณะเป็นดาวรัศมี ๘ แฉกบ้าง ๑๖ แฉกบ้าง, ถ้าเป็นดาราจักรี ก็ทําเป็นรูปจักร ๑๐ กลีบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตารา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.ดารา น. ดาว, ดวงดาว; เรียกบุคคลที่แสดงนําหรือมีชื่อเสียงในศิลปะการแสดงในทางใดทางหนึ่ง เช่น ดาราภาพยนตร์; เครื่องประกอบราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นทวีติยาภรณ์ขึ้นไป มีลักษณะเป็นดาวรัศมี ๘ แฉกบ้าง ๑๖ แฉกบ้าง, ถ้าเป็นดาราจักรี ก็ทําเป็นรูปจักร ๑๐ กลีบ. (ป., ส. ตารา).
ดาราบถ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง ท้องฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ดาราบถ น. ท้องฟ้า. (ส.).
ดาราศาสตร์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยดาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ astronomy เขียนว่า เอ-เอส-ที-อา-โอ-เอ็น-โอ-เอ็ม-วาย.ดาราศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยดาว. (อ. astronomy).
ดาล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กลอนประตูที่ทําด้วยไม้สําหรับขัดบานประตูอย่างประตูโบสถ์ เช่น ลงดาล ลั่นดาล ขัดดาล, เหล็กสําหรับไขดาล มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างคันฉัตรหลังพระพุทธรูป เรียกว่า ลูกดาล, ช่องสําหรับไขดาล เรียกว่า ช่องดาล, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ใช้ว่า ดาฬ.ดาล ๑ น. กลอนประตูที่ทําด้วยไม้สําหรับขัดบานประตูอย่างประตูโบสถ์ เช่น ลงดาล ลั่นดาล ขัดดาล, เหล็กสําหรับไขดาล มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างคันฉัตรหลังพระพุทธรูป เรียกว่า ลูกดาล, ช่องสําหรับไขดาล เรียกว่า ช่องดาล, (โบ) ใช้ว่า ดาฬ.
ดาลฉัตร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คันฉัตรตรงที่มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างลูกดาล เพื่อปักให้ฉัตรอยู่เหนือพระเศียร เรียกว่า คันดาลฉัตร.ดาลฉัตร น. คันฉัตรตรงที่มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างลูกดาล เพื่อปักให้ฉัตรอยู่เหนือพระเศียร เรียกว่า คันดาลฉัตร.
ดาล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดขึ้น, เป็นขึ้น, มีขึ้น. เป็นคำนาม หมายถึง พื้น, ฝ่า (ใช้แก่มือหรือเท้า) เช่น ดาลได ว่า ฝ่ามือ ดาลเชิง ว่า ฝ่าเท้า. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดาล ๒ ก. เกิดขึ้น, เป็นขึ้น, มีขึ้น. น. พื้น, ฝ่า (ใช้แก่มือหรือเท้า) เช่น ดาลได ว่า ฝ่ามือ ดาลเชิง ว่า ฝ่าเท้า. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดาลเดือด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง บังเกิดความโกรธ, เคือง, เดือดดาล ก็ใช้.ดาลเดือด ก. บังเกิดความโกรธ, เคือง, เดือดดาล ก็ใช้.
ดาลโทสะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง บังเกิดความโกรธถึงขนาด, ลุแก่โทสะ.ดาลโทสะ ก. บังเกิดความโกรธถึงขนาด, ลุแก่โทสะ.
ดาลัด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แก้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ดาลัด น. แก้ว. (ช.).
ดาลุ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เพดานปาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ดาลุ (แบบ) น. เพดานปาก. (ป., ส.).
ดาลุชะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ตาลุชะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ดาลุชะ น. ตาลุชะ. (ป., ส.).
ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เห็นเป็นดวงมีแสงระยิบระยับในท้องฟ้าเวลามืด นอกจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์, แต่ในตําราโหราศาสตร์ถือว่า ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เป็นดาวในพวกดาวนพเคราะห์; เรียกกลุ่มดาว เช่น ดาวลูกไก่ ดาวจระเข้ ดาวไถ; เรียกบุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง; เรียกสิ่งที่มีรูปเป็นแฉกคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ดาวเครื่องหมายยศทหารตํารวจ; ชื่อลายประดับเพดานเป็นดวง ๆ มีหลายชนิด เช่น ดาวจงกล ดาวรังแตน ดาวกระจาย.ดาว ๑ น. สิ่งที่เห็นเป็นดวงมีแสงระยิบระยับในท้องฟ้าเวลามืด นอกจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์, แต่ในตําราโหราศาสตร์ถือว่า ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เป็นดาวในพวกดาวนพเคราะห์; เรียกกลุ่มดาว เช่น ดาวลูกไก่ ดาวจระเข้ ดาวไถ; เรียกบุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง; เรียกสิ่งที่มีรูปเป็นแฉกคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ดาวเครื่องหมายยศทหารตํารวจ; ชื่อลายประดับเพดานเป็นดวง ๆ มีหลายชนิด เช่น ดาวจงกล ดาวรังแตน ดาวกระจาย.
ดาวเคราะห์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี ๙ ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) ยม (Pluto) มองจากโลกจะเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียง ๕ ดวง คือ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัสบดี และเสาร์.ดาวเคราะห์ (ดารา) น. ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี ๙ ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) ยม (Pluto) มองจากโลกจะเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียง ๕ ดวง คือ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัสบดี และเสาร์.
ดาวตก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เทหวัตถุแข็งจากอวกาศ เมื่อเกิดเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ จะแลดูสว่างพุ่งเป็นทางเข้าสู่ผิวโลก, ผีพุ่งไต้ ก็เรียก.ดาวตก น. เทหวัตถุแข็งจากอวกาศ เมื่อเกิดเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศ จะแลดูสว่างพุ่งเป็นทางเข้าสู่ผิวโลก, ผีพุ่งไต้ ก็เรียก.
ดาวเทียม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอื่น มีอุปกรณ์สําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายังโลก, วัตถุลักษณะดังกล่าวที่โคจรรอบโลก ใช้เป็นอุปกรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ข้ามทวีป.ดาวเทียม น. วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอื่น มีอุปกรณ์สําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายังโลก, วัตถุลักษณะดังกล่าวที่โคจรรอบโลก ใช้เป็นอุปกรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ข้ามทวีป.
ดาวรุ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ดาวประกายพรึก คือ ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด.ดาวรุ่ง น. ดาวประกายพรึก คือ ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืด.
ดาวฤกษ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลม สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว.ดาวฤกษ์ น. ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลม สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว.
ดาวล้อมเดือน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีบริวารแวดล้อมมาก.ดาวล้อมเดือน น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง. (สำ) ว. มีบริวารแวดล้อมมาก.
ดาวหาง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดาวจรชนิดหนึ่งที่ส่วนท้ายมีแสงลักษณะเป็นทางยาวดุจหาง.ดาวหาง น. ชื่อดาวจรชนิดหนึ่งที่ส่วนท้ายมีแสงลักษณะเป็นทางยาวดุจหาง.
ดาวเหนือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์สุกใสดวงหนึ่งที่อยู่ใกล้ที่สุดกับขั้วท้องฟ้าเหนือ.ดาวเหนือ น. ดาวฤกษ์สุกใสดวงหนึ่งที่อยู่ใกล้ที่สุดกับขั้วท้องฟ้าเหนือ.
ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสือชนิด Panthera pardus ในวงศ์ Felidae ขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาลแกมเหลือง มีจุดดําทั่วตัว ว่องไวและดุ ขึ้นต้นไม้เก่ง กินเนื้อ, บางตัวขนส่วนที่เป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองเป็นสีดําเรียก เสือดําหรือเสือแมลงภู่ ซึ่งมีรอยจุดดําอยู่ทั่วตัวเหมือนกัน แต่จะเห็นได้ชัดเมื่อถูกแสง.ดาว ๒ น. ชื่อเสือชนิด Panthera pardus ในวงศ์ Felidae ขนาดใหญ่รองลงมาจากเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาลแกมเหลือง มีจุดดําทั่วตัว ว่องไวและดุ ขึ้นต้นไม้เก่ง กินเนื้อ, บางตัวขนส่วนที่เป็นสีน้ำตาลแกมเหลืองเป็นสีดําเรียก เสือดําหรือเสือแมลงภู่ ซึ่งมีรอยจุดดําอยู่ทั่วตัวเหมือนกัน แต่จะเห็นได้ชัดเมื่อถูกแสง.
ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกวางชนิด Axis axis ในวงศ์ Cervidae เป็นกวางขนาดกลาง ขนสีนํ้าตาลหรือน้ำตาลอมเหลืองละเอียดอ่อนและนุ่มกว่ากวางป่า มีจุดขาวทั่วตัว อยู่รวมกันเป็นฝูง กินพืช มีถิ่นกําเนิดในอินเดียและศรีลังกา.ดาว ๓ น. ชื่อกวางชนิด Axis axis ในวงศ์ Cervidae เป็นกวางขนาดกลาง ขนสีนํ้าตาลหรือน้ำตาลอมเหลืองละเอียดอ่อนและนุ่มกว่ากวางป่า มีจุดขาวทั่วตัว อยู่รวมกันเป็นฝูง กินพืช มีถิ่นกําเนิดในอินเดียและศรีลังกา.
ด่าว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการดิ้นอย่างดิ้นแด่ว ๆ ดิ้นยัน ๆ, เด่า หรือ เด่า ๆ ก็ว่า.ด่าว (กลอน) ว. อาการดิ้นอย่างดิ้นแด่ว ๆ ดิ้นยัน ๆ, เด่า หรือ เด่า ๆ ก็ว่า.
ด้าว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แดน, ประเทศ, เช่น คนต่างด้าว; ด้าน เช่น ด้าวท้าย ว่า ด้านท้าย.ด้าว น. แดน, ประเทศ, เช่น คนต่างด้าว; ด้าน เช่น ด้าวท้าย ว่า ด้านท้าย.
ดาวกระจาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Cosmos วงศ์ Compositae คือ ชนิด C. caudatus H.B.K. ดอกสีม่วง ชมพู และขาว ใบเป็นจัก กินได้ และชนิด C. sulphureus Cav. ดอกสีเหลือง.ดาวกระจาย น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Cosmos วงศ์ Compositae คือ ชนิด C. caudatus H.B.K. ดอกสีม่วง ชมพู และขาว ใบเป็นจัก กินได้ และชนิด C. sulphureus Cav. ดอกสีเหลือง.
ดาวดึงส์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด[ดาววะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี มีพระอินทร์เป็นผู้ครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตาวติส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-??60??-เอส-ยู-พี-??62??-นิค-คะ-หิด-??60??-??47??-เอส-ยู-พี-??62??-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต ตฺรยสฺตฺริศตฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-??60??-เอส-ยู-พี-??62??-นิค-คะ-หิด-??60??-??47??-เอส-ยู-พี-??62??-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ.ดาวดึงส์ [ดาววะ–] น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี มีพระอินทร์เป็นผู้ครอง. (ป. ตาวติส; ส. ตฺรยสฺตฺริศตฺ).
ดาวทะเล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดในชั้น Asteroidea ตัวมี ๕ แฉกหรือมากกว่า คล้ายดาว หลังเป็นหนามขรุขระ, ปลาดาว ก็เรียก.ดาวทะเล น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดในชั้น Asteroidea ตัวมี ๕ แฉกหรือมากกว่า คล้ายดาว หลังเป็นหนามขรุขระ, ปลาดาว ก็เรียก.
ดาวบส เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ[ดาวบด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ดาบส เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ดาวบส [ดาวบด] (แบบ) น. ดาบส เช่น ไปแต่งองค์ทรงไม้เท้าของดาวบส. (อภัย).
ดาวเรือง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tagetes erecta L. ในวงศ์ Compositae ใบเป็นจัก ดอกเป็นกระจุก สีเหลือง.ดาวเรือง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tagetes erecta L. ในวงศ์ Compositae ใบเป็นจัก ดอกเป็นกระจุก สีเหลือง.
ดาษ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคระบาด มักขึ้นตามตัว เป็นเม็ดเล็ก ๆ ทั่วไป เรียกว่า ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ ก็ว่า, โบราณเรียก ไข้หัว.ดาษ ๑ น. โรคระบาด มักขึ้นตามตัว เป็นเม็ดเล็ก ๆ ทั่วไป เรียกว่า ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ ก็ว่า, โบราณเรียก ไข้หัว.
ดาษ ๒, ดาษดา ดาษ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี ดาษดา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา [ดาด, ดาดสะดา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดาดาษ หรือ ดารดาษ ก็ใช้.ดาษ ๒, ดาษดา [ดาด, ดาดสะดา] ว. มากมาย, เกลื่อนกลาด, มีทั่วไป, ดาดาษ หรือ ดารดาษ ก็ใช้.
ดาษดื่น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู[ดาด–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกลาด, มากหลาย, ดื่นดาษ ก็ว่า.ดาษดื่น [ดาด–] ว. เกลื่อนกลาด, มากหลาย, ดื่นดาษ ก็ว่า.
ดาษเดียร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ[ดาดสะเดียน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เดียรดาษ, เกลื่อนกลาด.ดาษเดียร [ดาดสะเดียน] ว. เดียรดาษ, เกลื่อนกลาด.
ดาหงัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู[–หฺงัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําสงคราม, รบศึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ดาหงัน [–หฺงัน] (กลอน) ก. ทําสงคราม, รบศึก. (ช.).
ดาฬ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา[ดาน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กลอนประตู. ในวงเล็บ ดู ดาล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑.ดาฬ [ดาน] (โบ) น. กลอนประตู. (ดู ดาล ๑).
ดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง มุดลง ในคําว่า ดํานํ้า.ดำ ๑ ก. มุดลง ในคําว่า ดํานํ้า.
ดำดิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หลบหายไป, หายไปโดยไม่มีร่องรอย.ดำดิน ก. หลบหายไป, หายไปโดยไม่มีร่องรอย.
ดำหัว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ประเพณีทางภาคเหนือซึ่งกระทําในวันปีใหม่เพื่อเป็นการแสดงความเคารพนับถือและรักใคร่ วิธีดําหัว คือ เอาสิ่งของและนํ้าที่ใส่เครื่องหอมเช่นนํ้าอบไทยไปให้แก่ผู้ที่เคารพ และขอให้ท่านรดนํ้าใส่หัวของตนเพื่อให้อยู่เย็นเป็นสุข.ดำหัว น. ประเพณีทางภาคเหนือซึ่งกระทําในวันปีใหม่เพื่อเป็นการแสดงความเคารพนับถือและรักใคร่ วิธีดําหัว คือ เอาสิ่งของและนํ้าที่ใส่เครื่องหอมเช่นนํ้าอบไทยไปให้แก่ผู้ที่เคารพ และขอให้ท่านรดนํ้าใส่หัวของตนเพื่อให้อยู่เย็นเป็นสุข.
ดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ปลูกข้าวกล้า, เรียกนาชนิดหนึ่งซึ่งใช้ถอนต้นกล้ามาปลูกว่า นาดํา, คู่กับ นาหว่าน ซึ่งใช้หว่านเมล็ดข้าวลงในนา.ดำ ๒ ก. ปลูกข้าวกล้า, เรียกนาชนิดหนึ่งซึ่งใช้ถอนต้นกล้ามาปลูกว่า นาดํา, คู่กับ นาหว่าน ซึ่งใช้หว่านเมล็ดข้าวลงในนา.
ดำนา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ปลูกต้นข้าวลงในนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ดํา เขียนว่า ดอ-เด็ก-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา ว่า ปลูก .ดำนา ก. ปลูกต้นข้าวลงในนา. (ข. ดํา ว่า ปลูก).
ดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีอย่างสีมินหม้อ, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ผ้าดํา เต่าดํา มดดํา.ดำ ๓ ว. สีอย่างสีมินหม้อ, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ผ้าดํา เต่าดํา มดดํา.
ดำแดง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีนํ้าตาล (ใช้แก่ผิวเนื้อ ๒ สี).ดำแดง ว. สีนํ้าตาล (ใช้แก่ผิวเนื้อ ๒ สี).
ดำปืน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดําสนิท.ดำปืน ว. ดําสนิท.
ด่ำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ลึกลงไปจนถึงก้นบึ้ง.ด่ำ ก. ลึกลงไปจนถึงก้นบึ้ง.
ด้ำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ด้าม.ด้ำ ๑ (โบ; กลอน) น. ด้าม.
ด้ำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผีเรือน.ด้ำ ๒ น. ผีเรือน.
ดำกล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งไว้, ในวรรณคดีหมายความว่า งาม เช่น ดํากลดาดด้วยดวงดาว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน. (แผลงมาจาก ถกล).ดำกล ก. ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งไว้, ในวรรณคดีหมายความว่า งาม เช่น ดํากลดาดด้วยดวงดาว. (ม. คำหลวง จุลพน). (แผลงมาจาก ถกล).
ดำเกิง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ขึ้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุ่งเรือง, สูง, สูงศักดิ์ เช่น รื่นเริงดําเกิงใจยะย้าว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน. (แผลงมาจาก เถกิง).ดำเกิง ก. ขึ้น. ว. รุ่งเรือง, สูง, สูงศักดิ์ เช่น รื่นเริงดําเกิงใจยะย้าว. (ม. คำหลวง มหาพน). (แผลงมาจาก เถกิง).
ดำแก้มขาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู เต่าดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ที่ เต่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.ดำแก้มขาว ดู เต่าดำ ที่ เต่า ๑.
ดำแคง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แถฺกง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-งอ-งู.ดำแคง ก. เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น. (ข. แถฺกง).
ดำดง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-งอ-งูดู พญารากดํา เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา.ดำดง ดู พญารากดํา.
ดำ ๆ แดง ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เงินทองรูปพรรณ เช่น ต้องมีดํา ๆ แดง ๆ ติดตัวไว้บ้าง.ดำ ๆ แดง ๆ (สำ) น. เงินทองรูปพรรณ เช่น ต้องมีดํา ๆ แดง ๆ ติดตัวไว้บ้าง.
ดำนาณ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-เนน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องห้าม, เครื่องป้องกัน, เครื่องต้านทาน, ที่พึ่ง, ที่อาศัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตาณ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน และมาจากภาษาสันสกฤต ตฺราณ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน.ดำนาณ (แบบ) น. เครื่องห้าม, เครื่องป้องกัน, เครื่องต้านทาน, ที่พึ่ง, ที่อาศัย. (ป. ตาณ; ส. ตฺราณ).
ดำนาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องแสดงกิจการอันมีมาแล้วแต่ปางหลัง เช่น น้าวเอาดํานานพระมหาแพศยันดรธรรมเทศนา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์. ในวงเล็บ ดู ตํานาน เขียนว่า ตอ-เต่า-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ดำนาน (แบบ) น. เรื่องแสดงกิจการอันมีมาแล้วแต่ปางหลัง เช่น น้าวเอาดํานานพระมหาแพศยันดรธรรมเทศนา. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). (ดู ตํานาน).
ดำนู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ดนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ฉัน, ข้าพเจ้า, เช่น กึ่งกายกามดํานู. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดำนู (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก ดนู) ส. ฉัน, ข้าพเจ้า, เช่น กึ่งกายกามดํานู. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดำเนิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เดิน, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระดําเนิน; ให้เป็นไป เช่น ดําเนินงาน ดําเนินชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎํเณีร เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ.ดำเนิน ๑ ก. เดิน, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระดําเนิน; ให้เป็นไป เช่น ดําเนินงาน ดําเนินชีวิต. (ข. ฎํเณีร).
ดำเนินคดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ฟ้องร้องต่อศาล; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ร้องทุกข์หรือฟ้องคดีตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ.ดำเนินคดี ก. ฟ้องร้องต่อศาล; (กฎ) ร้องทุกข์หรือฟ้องคดีตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ.
ดำเนิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ห่ามจวนสุก, แก่ยังไม่จัด, ตําเนิน ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู ตําเนิน เขียนว่า ตอ-เต่า-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.ดำเนิน ๒ ว. ห่ามจวนสุก, แก่ยังไม่จัด, ตําเนิน ก็ว่า. (ดู ตําเนิน ๑).
ดำเนียน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ติเตียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎํเนียล เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง.ดำเนียน (แบบ) ก. ติเตียน. (ข. ฎํเนียล).
ดำเนียร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ผ่านมา เช่น อนี้จะชี้นิต– ติดําเนียรดํานานสาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.ดำเนียร (แบบ) ว. ที่ผ่านมา เช่น อนี้จะชี้นิต– ติดําเนียรดํานานสาร. (สมุทรโฆษ).
ดำบล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ตําบล, ถิ่น, หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ๆ.ดำบล (แบบ; กลอน) น. ตําบล, ถิ่น, หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ๆ.
ดำพอง, ดำโพง ดำพอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ดำโพง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ตะพอง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่นูนเป็น ๒ แง่อยู่เหนือหน้าผากช้าง เช่น พลอยผูกกระพัดรัดดําโพง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช.ดำพอง, ดำโพง (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก ตะพอง) น. ส่วนที่นูนเป็น ๒ แง่อยู่เหนือหน้าผากช้าง เช่น พลอยผูกกระพัดรัดดําโพง. (ม. คำหลวง มหาราช).
ดำรง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทรงไว้, ชูไว้, ทําให้คงอยู่, เช่น ดํารงวงศ์ตระกูล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง, เที่ยง. (แผลงมาจาก ตรง). ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎํรง่ เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-งอ-งู-ไม้-เอก ตมฺรง่ เขียนว่า ตอ-เต่า-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-งอ-งู-ไม้-เอก .ดำรง ก. ทรงไว้, ชูไว้, ทําให้คงอยู่, เช่น ดํารงวงศ์ตระกูล. ว. ตรง, เที่ยง. (แผลงมาจาก ตรง). (ข. ฎํรง่, ตมฺรง่).
ดำรวจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน[–หฺรวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ตรวจ เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจตรา, พิจารณา, เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดํารวจดารทาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดำรวจ [–หฺรวด] (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก ตรวจ) ก. ตรวจตรา, พิจารณา, เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดํารวจดารทาน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดำรัส เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ[–หฺรัด] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูดของเจ้านาย ใช้ว่า พระดํารัส, คําพูดของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชดํารัส. เป็นคำกริยา หมายถึง พูด (ใช้แก่เจ้านาย). (แผลงมาจาก ตรัส).ดำรัส [–หฺรัด] น. คําพูดของเจ้านาย ใช้ว่า พระดํารัส, คําพูดของพระมหากษัตริย์ ใช้ว่า พระราชดํารัส. ก. พูด (ใช้แก่เจ้านาย). (แผลงมาจาก ตรัส).
ดำริ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ[–หฺริ] เป็นคำกริยา หมายถึง คิด, ไตร่ตรอง. (แผลงมาจาก ตริ).ดำริ [–หฺริ] ก. คิด, ไตร่ตรอง. (แผลงมาจาก ตริ).
ดำรี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง, ใช้ว่า ดําไร ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎํรี เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี.ดำรี น. ช้าง, ใช้ว่า ดําไร ก็มี. (ข. ฎํรี).
ดำรู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ตรู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, น่ารัก.ดำรู ๑ (กลอน; แผลงมาจาก ตรู) ว. งาม, น่ารัก.
ดำรู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ตรุ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้.ดำรู ๒ (กลอน; แผลงมาจาก ตรุ) น. ต้นไม้.
ดำไร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง, ใช้ว่า ดํารี ก็มี.ดำไร น. ช้าง, ใช้ว่า ดํารี ก็มี.
ดำฤษณา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อา[ดําริดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง ความปรารถนา, ความดิ้นรน, ความอยาก, ความเสน่หา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺฤษฺณา เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี ตณฺหา เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา.ดำฤษณา [ดําริดสะหฺนา] น. ความปรารถนา, ความดิ้นรน, ความอยาก, ความเสน่หา. (ส. ตฺฤษฺณา; ป. ตณฺหา).
ดำเลิง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก เถลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ขึ้น, ทําให้เลื่องลือ, เช่น ควันดําเลิงแลเห็นไกล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดำเลิง (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก เถลิง) ก. ขึ้น, ทําให้เลื่องลือ, เช่น ควันดําเลิงแลเห็นไกล. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดำแลง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก แถลง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัดแปลง; กล่าว, ชี้แจง; จําแลง เช่น ก็ดําแลงเพศเป็นดาบส. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ดำแลง (แบบ; กลอน; แผลงมาจาก แถลง) ว. ดัดแปลง; กล่าว, ชี้แจง; จําแลง เช่น ก็ดําแลงเพศเป็นดาบส. (ม. คำหลวง ชูชก).
ดำหนัก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตําหนัก เช่น ผิธยลเยื้องไพรพระดําหนัก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ดำหนัก (แบบ) น. ตําหนัก เช่น ผิธยลเยื้องไพรพระดําหนัก. (ม. คำหลวง ชูชก).
ดำหนิ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ[–หฺนิ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ติทัก, ติเตียน. (แผลงมาจาก ติ).ดำหนิ [–หฺนิ] (แบบ) ก. ติทัก, ติเตียน. (แผลงมาจาก ติ).
ดำอวด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง จําอวด.ดำอวด (แบบ; กลอน) ก. จําอวด.
ดิก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ติด ๆ ไป ในคําว่า ตามดิก; จริง ๆ ในคําว่า กลมดิก ตรงดิก.ดิก ว. ติด ๆ ไป ในคําว่า ตามดิก; จริง ๆ ในคําว่า กลมดิก ตรงดิก.
ดิก ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระรัว ในคําว่า ไหวดิก ๆ สั่นดิก ๆ.ดิก ๆ ว. ระรัว ในคําว่า ไหวดิก ๆ สั่นดิก ๆ.
ดิง, ดึง ดิง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ดึง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดีดทําเสียงดิง ๆ เช่น ดีดพิณ ใช้ว่า ดิงพิณ หรือ ดึงพิณ. (ไทยใหญ่ ดิง ว่า พิณ).ดิง, ดึง ก. ดีดทําเสียงดิง ๆ เช่น ดีดพิณ ใช้ว่า ดิงพิณ หรือ ดึงพิณ. (ไทยใหญ่ ดิง ว่า พิณ).
ดิ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่ว เช่น เสาต้นนี้ตั้งตรงดิ่ง ทางตรงดิ่ง จมดิ่ง; เรียกโลหะรูปทรงกรวยติดที่ปลายสายเชือกใช้วัดความลึกของน้ำ ตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่ว่า ลูกดิ่ง; เรียกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นที่ผูกกับสายเชือกเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬาว่า ลูกดิ่ง; วัตถุมงคลมีลักษณะคล้ายลูกดิ่งหรือเม็ดมะยมซ้อนกันเป็นต้น สำหรับห้อยสายลูกประคำ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ เรียกว่า พระดิ่ง และอาจพระราชทานแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความดีความชอบเพื่อใช้เป็นเครื่องเตือนสติ เมื่อเกิดปัญหาจะได้พิจารณาให้รอบคอบด้วยวิธีบริกรรมนับลูกประคำ ทำให้มีสติเพื่อก่อให้เกิดสมาธิและปัญญาสามารถแก้ไขปัญหาได้.ดิ่ง ว. แน่ว เช่น เสาต้นนี้ตั้งตรงดิ่ง ทางตรงดิ่ง จมดิ่ง; เรียกโลหะรูปทรงกรวยติดที่ปลายสายเชือกใช้วัดความลึกของน้ำ ตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่ว่า ลูกดิ่ง; เรียกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นที่ผูกกับสายเชือกเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬาว่า ลูกดิ่ง; วัตถุมงคลมีลักษณะคล้ายลูกดิ่งหรือเม็ดมะยมซ้อนกันเป็นต้น สำหรับห้อยสายลูกประคำ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ เรียกว่า พระดิ่ง และอาจพระราชทานแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความดีความชอบเพื่อใช้เป็นเครื่องเตือนสติ เมื่อเกิดปัญหาจะได้พิจารณาให้รอบคอบด้วยวิธีบริกรรมนับลูกประคำ ทำให้มีสติเพื่อก่อให้เกิดสมาธิและปัญญาสามารถแก้ไขปัญหาได้.
ดิ่งพสุธา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการกระโดดร่มจากที่สูงโดยให้ตัวลอยอยู่ในอากาศก่อน เมื่อใกล้พื้นดินประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร จึงกระตุกสายร่มให้กางออก ว่า กระโดดร่มแบบดิ่งพสุธา.ดิ่งพสุธา น. เรียกการกระโดดร่มจากที่สูงโดยให้ตัวลอยอยู่ในอากาศก่อน เมื่อใกล้พื้นดินประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร จึงกระตุกสายร่มให้กางออก ว่า กระโดดร่มแบบดิ่งพสุธา.
ดิฉัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, ดีฉัน ก็ว่า, ตามแบบผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.ดิฉัน ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, ดีฉัน ก็ว่า, ตามแบบผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
ดิฐ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งอยู่, คงอยู่, เหลืออยู่, พักอยู่, หยุดอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติฏฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.ดิฐ ๑ ก. ตั้งอยู่, คงอยู่, เหลืออยู่, พักอยู่, หยุดอยู่. (ป. ติฏฺ).
ดิฐ ๒, ดิตถ์ ดิฐ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน ดิตถ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ท่านํ้า, เขียนเป็น ดิษฐ์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติตฺถ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาสันสกฤต ตีรฺถ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.ดิฐ ๒, ดิตถ์ (แบบ) น. ท่านํ้า, เขียนเป็น ดิษฐ์ ก็มี. (ป. ติตฺถ; ส. ตีรฺถ).
ดิถี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง วันตามจันทรคติ เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง แรม ๒ คํ่า, ใช้ว่า ดฤถี ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ติถิ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ.ดิถี น. วันตามจันทรคติ เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง แรม ๒ คํ่า, ใช้ว่า ดฤถี ก็มี. (ป., ส. ติถิ).
ดิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, วัตถุธาตุของพื้นโลกที่ใช้สําหรับปลูกพืชผลหรือปั้นสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น; แผ่นดิน เช่น เทวดาเดินดิน.ดิน ๑ น. ชื่อธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม, วัตถุธาตุของพื้นโลกที่ใช้สําหรับปลูกพืชผลหรือปั้นสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น; แผ่นดิน เช่น เทวดาเดินดิน.
ดินกรด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด, ดินเปรี้ยว ก็เรียก.ดินกรด น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด, ดินเปรี้ยว ก็เรียก.
ดินขาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ดินเหนียวบริสุทธิ์ที่มีไฮเดรเตดอะลูมิเนียมซิลิเกตเป็นองค์ประกอบสําคัญ ปรกติมีสีขาว ใช้ทําเครื่องเคลือบดินเผา.ดินขาว น. ดินเหนียวบริสุทธิ์ที่มีไฮเดรเตดอะลูมิเนียมซิลิเกตเป็นองค์ประกอบสําคัญ ปรกติมีสีขาว ใช้ทําเครื่องเคลือบดินเผา.
ดินเค็ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง, ตรงข้ามกับ ดินกรดหรือดินเปรี้ยว.ดินเค็ม น. ดินที่มีปฏิกิริยาเป็นด่าง, ตรงข้ามกับ ดินกรดหรือดินเปรี้ยว.
ดินดอนสามเหลี่ยม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง พื้นดินตรงบริเวณปากนํ้า ซึ่งมีรูปร่างคล้ายพัดด้ามจิ้ว เกิดขึ้นเพราะแม่นํ้าพาตะกอนมาทับถมอยู่ตลอดเวลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ delta เขียนว่า ดี-อี-แอล-ที-เอ.ดินดอนสามเหลี่ยม น. พื้นดินตรงบริเวณปากนํ้า ซึ่งมีรูปร่างคล้ายพัดด้ามจิ้ว เกิดขึ้นเพราะแม่นํ้าพาตะกอนมาทับถมอยู่ตลอดเวลา. (อ. delta).
ดินดาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่จับตัวแข็งเป็นชั้น โดยมากเป็นประเภทดินเหนียวเนื้อแน่นที่น้ำไหลผ่านไม่ได้ เกาะตัวแข็งอยู่ใต้ผิวดิน.ดินดาน น. ดินที่จับตัวแข็งเป็นชั้น โดยมากเป็นประเภทดินเหนียวเนื้อแน่นที่น้ำไหลผ่านไม่ได้ เกาะตัวแข็งอยู่ใต้ผิวดิน.
ดินดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ผงถ่านประสมกํามะถันกับดินประสิวเป็นต้น ใช้เป็นวัตถุระเบิด, ดินปืน ก็เรียก.ดินดำ น. ผงถ่านประสมกํามะถันกับดินประสิวเป็นต้น ใช้เป็นวัตถุระเบิด, ดินปืน ก็เรียก.
ดินแดง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สารผสมละเอียดสีแดง ใช้ขัดเงินและทองแดง; ชื่อดินชนิดหนึ่งสีแดง ใช้ทาและย้อม.ดินแดง น. สารผสมละเอียดสีแดง ใช้ขัดเงินและทองแดง; ชื่อดินชนิดหนึ่งสีแดง ใช้ทาและย้อม.
ดินนวล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-วอ-แหวน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ดินประสมอย่างหนึ่ง ใช้ในการหล่อ; ผงขาว ๆ ที่ใช้ในการเคลือบสิ่งของเช่นกระเบื้องมุงหลังคา.ดินนวล น. ดินประสมอย่างหนึ่ง ใช้ในการหล่อ; ผงขาว ๆ ที่ใช้ในการเคลือบสิ่งของเช่นกระเบื้องมุงหลังคา.
ดินประสิว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวัตถุเคมีชนิดหนึ่งมักเกิดจากมูลค้างคาว สําหรับทําดินปืน.ดินประสิว น. ชื่อวัตถุเคมีชนิดหนึ่งมักเกิดจากมูลค้างคาว สําหรับทําดินปืน.
ดินปืน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินดํา.ดินปืน น. ดินดํา.
ดินเปรี้ยว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ดินกรด.ดินเปรี้ยว น. ดินกรด.
ดินพอกหางหมู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พอ-พาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ที่คั่งค้างพอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ.ดินพอกหางหมู (สำ) ที่คั่งค้างพอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ.
ดินร่วน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายกับขุยอินทรีย์ประกอบกัน มีสภาพซุย.ดินร่วน น. ดินที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายกับขุยอินทรีย์ประกอบกัน มีสภาพซุย.
ดินระเบิด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ดินปืนอย่างแรงใช้สําหรับระเบิดให้แตกทําลายไป.ดินระเบิด น. ดินปืนอย่างแรงใช้สําหรับระเบิดให้แตกทําลายไป.
ดินส้ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายดิน สีเหลืองนวล ใช้ขัดโลหะ.ดินส้ม น. วัตถุชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายดิน สีเหลืองนวล ใช้ขัดโลหะ.
ดินสอ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเขียนอย่างหนึ่ง ทําด้วยวัตถุต่าง ๆ ชนิดที่ไส้ทําด้วยแกรไฟต์ผสมดินเหนียว มีไม้หุ้ม เรียกว่า ดินสอ หรือ ดินสอดํา, ถ้าทําจากหินชนวน เรียกว่า ดินสอหิน, ถ้าไส้มีสีต่าง ๆ เรียกว่า ดินสอสี.ดินสอ น. เครื่องเขียนอย่างหนึ่ง ทําด้วยวัตถุต่าง ๆ ชนิดที่ไส้ทําด้วยแกรไฟต์ผสมดินเหนียว มีไม้หุ้ม เรียกว่า ดินสอ หรือ ดินสอดํา, ถ้าทําจากหินชนวน เรียกว่า ดินสอหิน, ถ้าไส้มีสีต่าง ๆ เรียกว่า ดินสอสี.
ดินสอพอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ดินอย่างหนึ่งสีขาว ใช้ทาตัวอย่างแป้ง.ดินสอพอง น. ดินอย่างหนึ่งสีขาว ใช้ทาตัวอย่างแป้ง.
ดินสำลี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดินระเบิดชนิดหนึ่ง.ดินสำลี น. ชื่อดินระเบิดชนิดหนึ่ง.
ดินหู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ดินปืนอย่างแรง ใช้โรยที่รางชนวนในการยิงปืนคาบศิลาสมัยโบราณ.ดินหู น. ดินปืนอย่างแรง ใช้โรยที่รางชนวนในการยิงปืนคาบศิลาสมัยโบราณ.
ดินอีหรอบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ดินปืนทํามาจากต่างประเทศ ใช้ต่างดินหู.ดินอีหรอบ น. ดินปืนทํามาจากต่างประเทศ ใช้ต่างดินหู.
ดิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูในวงศ์ Typhlopidae ขนาดเล็กมากประมาณเท่าไส้ดินสอดํา ตัวสีดําหรือนํ้าตาลเข้มเกล็ดเรียบเป็นมัน อาศัยตามดินร่วนที่มีความชื้น ไม่มีพิษ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น งูดินโคราช (Typhlops khoratensis) งูดินตรัง (T. trangensis).ดิน ๒ น. ชื่องูในวงศ์ Typhlopidae ขนาดเล็กมากประมาณเท่าไส้ดินสอดํา ตัวสีดําหรือนํ้าตาลเข้มเกล็ดเรียบเป็นมัน อาศัยตามดินร่วนที่มีความชื้น ไม่มีพิษ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น งูดินโคราช (Typhlops khoratensis) งูดินตรัง (T. trangensis).
ดิ้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่สะบัดหรือฟาดตัวไปมาอย่างแรง เช่น ดิ้นให้หลุด นอนดิ้น ชักดิ้นชักงอ, สั่นไหวกระดุกกระดิก เช่น หางจิ้งจกขาดยังดิ้นได้, ไม่ตายตัว เช่น คําพูดดิ้นได้; โดยปริยายหมายความว่า แก้ข้อหา, ปลดเปลื้องข้อหา, ในคําว่า ดิ้นไม่หลุด.ดิ้น ๑ ก. อาการที่สะบัดหรือฟาดตัวไปมาอย่างแรง เช่น ดิ้นให้หลุด นอนดิ้น ชักดิ้นชักงอ, สั่นไหวกระดุกกระดิก เช่น หางจิ้งจกขาดยังดิ้นได้, ไม่ตายตัว เช่น คําพูดดิ้นได้; โดยปริยายหมายความว่า แก้ข้อหา, ปลดเปลื้องข้อหา, ในคําว่า ดิ้นไม่หลุด.
ดิ้นรน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระตือรือร้นขวนขวายเพื่อให้พ้นจากความยากลําบาก ความทุกข์ทรมาน หรือเพื่อให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป เช่น ดิ้นรนจะให้พ้นทุกข์ ดิ้นรนอยากเป็นนั่นเป็นนี่.ดิ้นรน ก. กระตือรือร้นขวนขวายเพื่อให้พ้นจากความยากลําบาก ความทุกข์ทรมาน หรือเพื่อให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป เช่น ดิ้นรนจะให้พ้นทุกข์ ดิ้นรนอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
ดิ้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นเงิน ทอง หรือทองแดง สําหรับปักลวดลายบนผ้าหรือแพรเป็นต้น.ดิ้น ๒ น. เส้นเงิน ทอง หรือทองแดง สําหรับปักลวดลายบนผ้าหรือแพรเป็นต้น.
ดิบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่สุก เช่น มะม่วงดิบ, ยังไม่สุกด้วยไฟ เช่น เนื้อดิบ ข้าวดิบ; เรียกสิ่งที่ยังไม่ได้ทําให้สําเร็จรูปหรือยังไม่ได้เปลี่ยนรูปและลักษณะเดิมว่า วัตถุดิบ, เรียกด้ายที่ยังไม่ได้ฟอกว่า ด้ายดิบ, เรียกผ้าที่ทอด้วยด้ายดิบว่า ผ้าดิบ; โดยปริยายเรียกชายที่ยังไม่ได้บวชเป็นพระภิกษุว่า คนดิบ, เรียกศพที่ไม่ได้เผาว่า ผีดิบ, เรียกดงที่มีต้นไม้หนาแน่นเขียวชอุ่มอยู่ทั้งปีว่า ดงดิบ.ดิบ ว. ยังไม่สุก เช่น มะม่วงดิบ, ยังไม่สุกด้วยไฟ เช่น เนื้อดิบ ข้าวดิบ; เรียกสิ่งที่ยังไม่ได้ทําให้สําเร็จรูปหรือยังไม่ได้เปลี่ยนรูปและลักษณะเดิมว่า วัตถุดิบ, เรียกด้ายที่ยังไม่ได้ฟอกว่า ด้ายดิบ, เรียกผ้าที่ทอด้วยด้ายดิบว่า ผ้าดิบ; โดยปริยายเรียกชายที่ยังไม่ได้บวชเป็นพระภิกษุว่า คนดิบ, เรียกศพที่ไม่ได้เผาว่า ผีดิบ, เรียกดงที่มีต้นไม้หนาแน่นเขียวชอุ่มอยู่ทั้งปีว่า ดงดิบ.
ดิบดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[ดิบ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, เรียบร้อย, เช่น เก็บไว้ดิบดี, บางทีใช้แยกกัน หมายความว่า ดี เช่น ได้ดิบได้ดี.ดิบดี [ดิบ–] ว. ดี, เรียบร้อย, เช่น เก็บไว้ดิบดี, บางทีใช้แยกกัน หมายความว่า ดี เช่น ได้ดิบได้ดี.
ดิรัจฉาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–รัดฉาน] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า เดรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติรจฺฉาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง .ดิรัจฉาน [–รัดฉาน] น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า เดรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี. (ป. ติรจฺฉาน ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
ดิเรกคุณาภรณ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช.ดิเรกคุณาภรณ์ น. ชื่อเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลหนึ่ง สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช.
ดิลก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่[ดิหฺลก] เป็นคำนาม หมายถึง รอยแต้มหรือเจิมที่หน้าผากเพื่อเป็นมงคล, เลิศ, ยอด, เฉลิม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ติลก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ ว่า ไฝ, รอยตกกระที่ผิวหนัง .ดิลก [ดิหฺลก] น. รอยแต้มหรือเจิมที่หน้าผากเพื่อเป็นมงคล, เลิศ, ยอด, เฉลิม. (ป., ส. ติลก ว่า ไฝ, รอยตกกระที่ผิวหนัง).
ดิ่ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่ว, ใช้ประกอบคํา ตรง ว่า ตรงดิ่ว เช่น ถนนสายนี้ตรงดิ่วสุดลูกหูลูกตา.ดิ่ว ว. แน่ว, ใช้ประกอบคํา ตรง ว่า ตรงดิ่ว เช่น ถนนสายนี้ตรงดิ่วสุดลูกหูลูกตา.
ดิ้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง หวายหรือไม้วงกลมสําหรับเสียบซี่กรงนก; ชื่อไม้อันเล็กประมาณเท่านิ้วมือ สําหรับเอาหวายผูกตรึงเข้ากับเซ็นฝาไม้ไผ่; ไม้ถือมีลักษณะแบนหนา ยาวราวศอกหนึ่ง ที่พวกนักเลงถือ.ดิ้ว น. หวายหรือไม้วงกลมสําหรับเสียบซี่กรงนก; ชื่อไม้อันเล็กประมาณเท่านิ้วมือ สําหรับเอาหวายผูกตรึงเข้ากับเซ็นฝาไม้ไผ่; ไม้ถือมีลักษณะแบนหนา ยาวราวศอกหนึ่ง ที่พวกนักเลงถือ.
ดิ้วเดี้ยว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อ่อนหิวนัก.ดิ้วเดี้ยว ก. อ่อนหิวนัก.
ดิษฐ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ดิตถ์, ท่านํ้า, เขียนเป็น ดิฐ ก็มี. ในวงเล็บ ดู ดิฐ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน ความหมายที่ ๒ และ เดียรถ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด.ดิษฐ์ (โบ) น. ดิตถ์, ท่านํ้า, เขียนเป็น ดิฐ ก็มี. (ดู ดิฐ ๒ และ เดียรถ์).
ดิสโพรเซียม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๖ สัญลักษณ์ Dy เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๔๐๗°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ dysprosium เขียนว่า ดี-วาย-เอส-พี-อา-โอ-เอส-ไอ-ยู-เอ็ม.ดิสโพรเซียม น. ธาตุลําดับที่ ๖๖ สัญลักษณ์ Dy เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๔๐๗°ซ. (อ. dysprosium).
ดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุนํ้าข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สําหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกนํ้าข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ สําหรับช่วยย่อยอาหาร ว่า นํ้าดี.ดี ๑ น. อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุนํ้าข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สําหรับช่วยย่อยอาหาร, เรียกนํ้าข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ สําหรับช่วยย่อยอาหาร ว่า นํ้าดี.
ดีเกลือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เกลือชนิดหนึ่ง เม็ดละเอียดสีขาว มีรสเค็มจัดจนขม เกิดอยู่ใต้เกลือในนาเกลือ ใช้เป็นยาระบายหรือยาถ่าย.ดีเกลือ น. เกลือชนิดหนึ่ง เม็ดละเอียดสีขาว มีรสเค็มจัดจนขม เกิดอยู่ใต้เกลือในนาเกลือ ใช้เป็นยาระบายหรือยาถ่าย.
ดีเกลือฝรั่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อแมกนีเซียมซัลเฟต มีสูตร MgSO4•7H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาระบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ epsom เขียนว่า อี-พี-เอส-โอ-เอ็ม salts เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ที-เอส .ดีเกลือฝรั่ง น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง ชื่อแมกนีเซียมซัลเฟต มีสูตร MgSO4•7H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาระบาย. (อ. epsom salts).
ดีซ่าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคซึ่งเกิดกับผู้ป่วยที่มีสารสีชนิดหนึ่งในนํ้าดี ซึ่งเรียกว่า บิลิรูบิน ไปปรากฏในเลือดสูงกว่าระดับปรกติในคนธรรมดา ทําให้ผู้ป่วยมีอาการตัวเหลือง.ดีซ่าน น. ชื่อโรคซึ่งเกิดกับผู้ป่วยที่มีสารสีชนิดหนึ่งในนํ้าดี ซึ่งเรียกว่า บิลิรูบิน ไปปรากฏในเลือดสูงกว่าระดับปรกติในคนธรรมดา ทําให้ผู้ป่วยมีอาการตัวเหลือง.
ดีเดือด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการคลุ้มคลั่งมุทะลุดุดันเป็นคราว ๆ ในคําว่า บ้าดีเดือด.ดีเดือด ว. มีอาการคลุ้มคลั่งมุทะลุดุดันเป็นคราว ๆ ในคําว่า บ้าดีเดือด.
ดีบัว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นอ่อนซึ่งอยู่ในเม็ดบัว มีรสขม.ดีบัว น. ต้นอ่อนซึ่งอยู่ในเม็ดบัว มีรสขม.
ดีฝ่อ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตกใจกลัวมาก, มักใช้เข้าคู่กับคํา ขวัญหนี เป็น ขวัญหนีดีฝ่อ.ดีฝ่อ ว. ตกใจกลัวมาก, มักใช้เข้าคู่กับคํา ขวัญหนี เป็น ขวัญหนีดีฝ่อ.
ดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะที่เป็นไปในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ ใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับลักษณะบางอย่างแล้วแต่กรณี คือ ตรงข้ามกับชั่ว เช่น คนดี ความดี, ตรงข้ามกับร้าย เช่น โชคดี เคราะห์ดี; สวย, งาม, เช่น หน้าตาดี, เรียบร้อย เช่น มรรยาทดี, เพราะ เช่น เสียงดี, จัด เช่น แดดดี, เก่ง เช่น ดีแต่พูด, ชอบ เช่น ดีแล้ว, อยู่ในสภาพปรกติ เช่น สุขภาพดี คืนดี.ดี ๒ ว. มีลักษณะที่เป็นไปในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ ใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับลักษณะบางอย่างแล้วแต่กรณี คือ ตรงข้ามกับชั่ว เช่น คนดี ความดี, ตรงข้ามกับร้าย เช่น โชคดี เคราะห์ดี; สวย, งาม, เช่น หน้าตาดี, เรียบร้อย เช่น มรรยาทดี, เพราะ เช่น เสียงดี, จัด เช่น แดดดี, เก่ง เช่น ดีแต่พูด, ชอบ เช่น ดีแล้ว, อยู่ในสภาพปรกติ เช่น สุขภาพดี คืนดี.
ดี ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรกติ, เฉย ๆ, เช่น อยู่ดี ๆ ก็มีคนเอาเงินมาให้; โดยดี, ไม่ขัดขืน, เช่น มาเสียดี ๆ.ดี ๆ ว. ปรกติ, เฉย ๆ, เช่น อยู่ดี ๆ ก็มีคนเอาเงินมาให้; โดยดี, ไม่ขัดขืน, เช่น มาเสียดี ๆ.
ดีใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดี, ชอบใจ, พอใจ.ดีใจ ก. ยินดี, ชอบใจ, พอใจ.
ดีแตก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคยดีมาแล้วแต่กลับเสียในภายหลัง, ดีเกินไปจนเสีย.ดีแตก ว. เคยดีมาแล้วแต่กลับเสียในภายหลัง, ดีเกินไปจนเสีย.
ดีเนื้อดีใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีอกดีใจ ก็ว่า.ดีเนื้อดีใจ ก. ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีอกดีใจ ก็ว่า.
ดีไม่ดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อีคําแสดงความไม่แน่นอน, อาจได้อาจเสีย, เสี่ยงได้เสี่ยงเสีย, เช่น ดีไม่ดีเขาอาจได้เป็นอธิบดี, ดีมิดี ก็ว่า.ดีไม่ดี คําแสดงความไม่แน่นอน, อาจได้อาจเสีย, เสี่ยงได้เสี่ยงเสีย, เช่น ดีไม่ดีเขาอาจได้เป็นอธิบดี, ดีมิดี ก็ว่า.
ดีร้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชะรอย, บางที, เช่น ดีร้ายของนี้จะขโมยเขามา.ดีร้าย ว. ชะรอย, บางที, เช่น ดีร้ายของนี้จะขโมยเขามา.
ดีละ, ดีแล้ว ดีละ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ดีแล้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําแสดงความพอใจก็ได้ คําแสดงความไม่พอใจเป็นเชิงประชดหรือแดกดันก็ได้.ดีละ, ดีแล้ว ว. คําแสดงความพอใจก็ได้ คําแสดงความไม่พอใจเป็นเชิงประชดหรือแดกดันก็ได้.
ดีอกดีใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีเนื้อดีใจ ก็ว่า.ดีอกดีใจ ก. ยินดี, ชอบใจ, ปลาบปลื้มใจ, ดีใจมาก, ดีเนื้อดีใจ ก็ว่า.
ดีงู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง สมอดีงู. ในวงเล็บ ดู สมอ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.ดีงู น. สมอดีงู. (ดู สมอ ๒).
ดีฉัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, ดิฉัน ก็ว่า, ตามแบบผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.ดีฉัน ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศหญิง เป็นคําสุภาพ, ดิฉัน ก็ว่า, ตามแบบผู้ชายใช้ว่า ดีฉัน ผู้หญิงใช้ว่า อีฉัน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
ดีฉาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ดิฉัน, ดีฉัน, เป็นคําที่เจ้านายผู้ชายมักใช้กับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.ดีฉาน (โบ) ส. ดิฉัน, ดีฉัน, เป็นคําที่เจ้านายผู้ชายมักใช้กับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
ดีเซล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายในที่มีระบบจุดระเบิดนํ้ามันเชื้อเพลิงด้วยการอัดอากาศภายในเครื่องยนต์จนได้ความร้อนสูงมากพอ แล้วจึงฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงให้เป็นฝอยผสมเข้ากับอากาศซึ่งมีอุณหภูมิสูงนั้น เป็นผลให้เกิดการจุดระเบิดนํ้ามันเชื้อเพลิงขึ้น, นํ้ามันที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ชนิดนี้ เรียกว่า นํ้ามันดีเซล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ diesel เขียนว่า ดี-ไอ-อี-เอส-อี-แอล.ดีเซล น. เครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายในที่มีระบบจุดระเบิดนํ้ามันเชื้อเพลิงด้วยการอัดอากาศภายในเครื่องยนต์จนได้ความร้อนสูงมากพอ แล้วจึงฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงให้เป็นฝอยผสมเข้ากับอากาศซึ่งมีอุณหภูมิสูงนั้น เป็นผลให้เกิดการจุดระเบิดนํ้ามันเชื้อเพลิงขึ้น, นํ้ามันที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ชนิดนี้ เรียกว่า นํ้ามันดีเซล. (อ. diesel).
ดีด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สลัดออกไปโดยแรง เช่น ดีดนิ้ว, สลัดตัวออกไปโดยเร็ว เช่น กุ้งดีด; ยกขึ้นด้วยแม่แรงเป็นต้น เช่น ดีดเรือน; เอานิ้วมือหรือไม้สะกิดให้ดัง เช่น ดีดจะเข้, เอานิ้วมือแตะแล้วเขี่ยให้เลื่อนไป เช่น ดีดลูกคิด, เอานิ้วกดแล้วปล่อยทันที เช่น ดีดพิมพ์ ดีดเปียโน, เอานิ้วหัวแม่มือกดกับนิ้วอื่นให้แน่นแล้วสลัดให้ออกจากกันเป็นเสียงดัง เรียกว่า ดีดนิ้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ทําห่างเหินผู้ใหญ่ ไม่เข้าหน้า เช่น หมู่นี้ชักดีดไปไม่เข้าหน้า.ดีด ๑ ก. สลัดออกไปโดยแรง เช่น ดีดนิ้ว, สลัดตัวออกไปโดยเร็ว เช่น กุ้งดีด; ยกขึ้นด้วยแม่แรงเป็นต้น เช่น ดีดเรือน; เอานิ้วมือหรือไม้สะกิดให้ดัง เช่น ดีดจะเข้, เอานิ้วมือแตะแล้วเขี่ยให้เลื่อนไป เช่น ดีดลูกคิด, เอานิ้วกดแล้วปล่อยทันที เช่น ดีดพิมพ์ ดีดเปียโน, เอานิ้วหัวแม่มือกดกับนิ้วอื่นให้แน่นแล้วสลัดให้ออกจากกันเป็นเสียงดัง เรียกว่า ดีดนิ้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่ทําห่างเหินผู้ใหญ่ ไม่เข้าหน้า เช่น หมู่นี้ชักดีดไปไม่เข้าหน้า.
ดีดดิ้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นตัว, ตั้งแง่ไม่ยอมทำหรือไม่ยอมให้ทำง่าย ๆ.ดีดดิ้น ก. เล่นตัว, ตั้งแง่ไม่ยอมทำหรือไม่ยอมให้ทำง่าย ๆ.
ดีดฝ้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เอาฝ้ายใส่กระชุแล้วเอาไม้กงดีดฝ้ายดีดสายให้กระทบฝ้ายเพื่อให้ฝ้ายแตกเป็นปุย.ดีดฝ้าย ก. อาการที่เอาฝ้ายใส่กระชุแล้วเอาไม้กงดีดฝ้ายดีดสายให้กระทบฝ้ายเพื่อให้ฝ้ายแตกเป็นปุย.
ดีดพิมพ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด.ดีดพิมพ์ ก. พิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด.
ดีดลูกคิด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง คํานวณผลได้ผลเสียหรือกําไรขาดทุนอย่างละเอียด; ทําตอบแทนให้สาสม.ดีดลูกคิด (สำ) ก. คํานวณผลได้ผลเสียหรือกําไรขาดทุนอย่างละเอียด; ทําตอบแทนให้สาสม.
ดีดลูกคิดรางแก้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง คิดถึงผลที่จะได้ทางเดียว.ดีดลูกคิดรางแก้ว (สำ) ก. คิดถึงผลที่จะได้ทางเดียว.
ดีด ๒, ดีดขัน ดีด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก ดีดขัน ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกด้วงปีกแข็งหลายชนิดในวงศ์ Elateridae ลําตัวยาว แบนเล็กน้อย และเรียวไปทางหาง สีดํา นํ้าตาล หรือเทาปลอด บางชนิดมีจุดเป็นลาย แผ่นแข็งด้านล่างของอกปล้องแรกมีแกนยาวเป็นเครื่องดีด ซึ่งยึดโดยร่องของแผ่นแข็งด้านล่างของอกปล้องที่ ๒ ทําให้สามารถดีดตัวกลับได้เมื่อถูกจับให้หงายท้อง มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ดีดกะลา คอลั่น.ดีด ๒, ดีดขัน ๑ น. ชื่อแมลงพวกด้วงปีกแข็งหลายชนิดในวงศ์ Elateridae ลําตัวยาว แบนเล็กน้อย และเรียวไปทางหาง สีดํา นํ้าตาล หรือเทาปลอด บางชนิดมีจุดเป็นลาย แผ่นแข็งด้านล่างของอกปล้องแรกมีแกนยาวเป็นเครื่องดีด ซึ่งยึดโดยร่องของแผ่นแข็งด้านล่างของอกปล้องที่ ๒ ทําให้สามารถดีดตัวกลับได้เมื่อถูกจับให้หงายท้อง มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เช่น ดีดกะลา คอลั่น.
ดีด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กุ้งดีด. ในวงเล็บ ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน กุ้งดีด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก กุ้งดีดขัน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ กุ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ดีด ๓ น. กุ้งดีด. (ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน ที่ กุ้ง ๑).
ดีดขัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กุ้งดีดขัน. ในวงเล็บ ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน กุ้งดีด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก กุ้งดีดขัน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ กุ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑.ดีดขัน ๒ น. กุ้งดีดขัน. (ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน ที่ กุ้ง ๑).
–ดีดัก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา หลายปี เป็น หลายปีดีดัก หมายความว่า นานมาแล้ว.–ดีดัก ใช้เข้าคู่กับคํา หลายปี เป็น หลายปีดีดัก หมายความว่า นานมาแล้ว.
ดีดีที เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสารประกอบเคมี มีชื่อเต็มว่า Dichloro Diphenyl Trichloroethane มีสูตร (C6H4Cl)2•CH•CCl3 ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นสารอย่างแรงในการฆ่าแมลง.ดีดีที น. ชื่อสารประกอบเคมี มีชื่อเต็มว่า Dichloro Diphenyl Trichloroethane มีสูตร (C6H4Cl)2•CH•CCl3 ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นสารอย่างแรงในการฆ่าแมลง.
ดีนาคราช เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง[–นากคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งเป็นเถามีเกล็ดคล้ายกับเกล็ดงู สําหรับใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ดีนาคราช [–นากคะ–] น. ต้นไม้ชนิดหนึ่งเป็นเถามีเกล็ดคล้ายกับเกล็ดงู สําหรับใช้ทํายา. (พจน. ๒๔๙๓).
ดีบุก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๐ สัญลักษณ์ Sn เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๒๓๑.๙°ซ. มี ๓ อัญรูป คือ ดีบุกสีเทา ดีบุกสีขาว และดีบุกรอมบิก ใช้ประโยชน์ฉาบผิวเหล็กเพื่อกันไม่ให้เป็นสนิม ใช้ทําโลหะเจือ แผ่นดีบุกบาง ๆ ใช้สําหรับห่อของเพื่อกันชื้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติปุ; เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-??59?? ภาษาสันสกฤต ตฺรปุ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาอังกฤษ tin เขียนว่า ที-ไอ-เอ็น.ดีบุก น. ธาตุลําดับที่ ๕๐ สัญลักษณ์ Sn เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๒๓๑.๙°ซ. มี ๓ อัญรูป คือ ดีบุกสีเทา ดีบุกสีขาว และดีบุกรอมบิก ใช้ประโยชน์ฉาบผิวเหล็กเพื่อกันไม่ให้เป็นสนิม ใช้ทําโลหะเจือ แผ่นดีบุกบาง ๆ ใช้สําหรับห่อของเพื่อกันชื้น. (ป. ติปุ; ส. ตฺรปุ; อ. tin).
ดีปลี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–ปฺลี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถา ๓ ชนิดในสกุล Piper วงศ์ Piperaceae คือ ชนิด P. longum L., P. peepuloides Roxb. และ P. retrofractum Vahl มีรากตามข้อของลําต้นเพื่อยึดเกาะ ผลอัดแน่นเป็นช่อ ทุกส่วนมีกลิ่น โดยเฉพาะผลกลิ่นหอมฉุน รสเผ็ดร้อนใช้เป็นเครื่องเทศและทํายาได้.ดีปลี [–ปฺลี] น. ชื่อไม้เถา ๓ ชนิดในสกุล Piper วงศ์ Piperaceae คือ ชนิด P. longum L., P. peepuloides Roxb. และ P. retrofractum Vahl มีรากตามข้อของลําต้นเพื่อยึดเกาะ ผลอัดแน่นเป็นช่อ ทุกส่วนมีกลิ่น โดยเฉพาะผลกลิ่นหอมฉุน รสเผ็ดร้อนใช้เป็นเครื่องเทศและทํายาได้.
ดีเปรสชัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังอ่อน ทําให้มีฝนตกปานกลางถึงตกหนัก เกิดขึ้นในละติจูดกลางหรือละติจูดสูง มีความเร็วลมสูงสุดใกล้บริเวณศูนย์กลางไม่เกิน ๓๓ นอต หรือ ๖๑ กิโลเมตรต่อชั่วโมง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ depression เขียนว่า ดี-อี-พี-อา-อี-เอส-เอส-ไอ-โอ-เอ็น.ดีเปรสชัน น. ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังอ่อน ทําให้มีฝนตกปานกลางถึงตกหนัก เกิดขึ้นในละติจูดกลางหรือละติจูดสูง มีความเร็วลมสูงสุดใกล้บริเวณศูนย์กลางไม่เกิน ๓๓ นอต หรือ ๖๑ กิโลเมตรต่อชั่วโมง. (อ. depression).
ดีผา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หินสีดําเลื่อมคล้ายถ่านหิน ใช้ทํายาไทย.ดีผา น. หินสีดําเลื่อมคล้ายถ่านหิน ใช้ทํายาไทย.
ดีพร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-รอ-เรือ[ดีบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้า, แข็ง, มาก, เช่น ม่ายเดือดดีพรในโลกย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตีวฺร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ติพฺพ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน.ดีพร [ดีบ] (แบบ) ว. กล้า, แข็ง, มาก, เช่น ม่ายเดือดดีพรในโลกย. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ส. ตีวฺร; ป. ติพฺพ).
ดียา, ดีหิน ดียา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ดีหิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เส้นดําของหินลายหรือหินอื่น ๆ.ดียา, ดีหิน น. เส้นดําของหินลายหรือหินอื่น ๆ.
ดีหมี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น ชนิด Cleidion spiciflorum Merr. ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นในป่า มีรสขม ใบคล้ายมะไฟ ใช้ทํายาได้.ดีหมี น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น ชนิด Cleidion spiciflorum Merr. ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นในป่า มีรสขม ใบคล้ายมะไฟ ใช้ทํายาได้.
ดีหลี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่, แท้, แท้จริง, เช่น ธก็แจ้งจริงแท้ดีหลี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์, อีหลี ก็ว่า.ดีหลี (ถิ่น) ว. แน่, แท้, แท้จริง, เช่น ธก็แจ้งจริงแท้ดีหลี. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), อีหลี ก็ว่า.
ดึก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เวลามืดนานแล้ว, เวลาคํ่ามากแล้ว, (ใช้แทนคําว่า สาย ในเวลากลางคืน). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึก เช่น ดงดึก.ดึก น. เวลามืดนานแล้ว, เวลาคํ่ามากแล้ว, (ใช้แทนคําว่า สาย ในเวลากลางคืน). ว. ลึก เช่น ดงดึก.
ดึกดำบรรพ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึกลํ้านมนานมาแล้ว.ดึกดำบรรพ์ ว. ลึกลํ้านมนานมาแล้ว.
ดึกดื่น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ดึกมาก, ดื่นดึก ก็ว่า.ดึกดื่น ก. ดึกมาก, ดื่นดึก ก็ว่า.
ดึกสงัด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เวลาดึกมากบรรยากาศเงียบเชียบทำให้รู้สึกวังเวง.ดึกสงัด น. เวลาดึกมากบรรยากาศเงียบเชียบทำให้รู้สึกวังเวง.
ดึง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เหนี่ยวมา, ฉุดมา, รั้งมา; ดีด เช่น ดึงพิณ ว่า ดีดพิณ.ดึง ก. เหนี่ยวมา, ฉุดมา, รั้งมา; ดีด เช่น ดึงพิณ ว่า ดีดพิณ.
ดึงดัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ดื้อรั้น, ดื้อ.ดึงดัน ก. ดื้อรั้น, ดื้อ.
ดึงดื้อ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดื้อดึง ก็ว่า.ดึงดื้อ ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดื้อดึง ก็ว่า.
ดึงดูด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เหนี่ยวเข้ามาด้วยกําลังอย่างหนึ่งอย่างแม่เหล็ก.ดึงดูด ก. เหนี่ยวเข้ามาด้วยกําลังอย่างหนึ่งอย่างแม่เหล็ก.
ดึ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดิ่ง, ตรงลงไป.ดึ่ง ก. ดิ่ง, ตรงลงไป.
ดึงสะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามสิบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติส เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-??60??-เอส-ยู-พี-??62??-นิค-คะ-หิด-??60??-??47??-เอส-ยู-พี-??62??-สอ-เสือ.ดึงสะ ว. สามสิบ. (ป. ติส).
ดึ่ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึก.ดึ่ม ว. ลึก.
ดื่น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มากทั่วไปจนเป็นปรกติธรรมดา.ดื่น ก. มากทั่วไปจนเป็นปรกติธรรมดา.
ดื่นดาษ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกลาด, มากหลาย, ดาษดื่น ก็ว่า.ดื่นดาษ ว. เกลื่อนกลาด, มากหลาย, ดาษดื่น ก็ว่า.
ดื่นดึก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดึกมาก, ดึกดื่น ก็ว่า.ดื่นดึก ก. ดึกมาก, ดึกดื่น ก็ว่า.
ดื่ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กินของเหลวเช่นนํ้า.ดื่ม ก. กินของเหลวเช่นนํ้า.
ดื่มด่ำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซาบซึ้ง.ดื่มด่ำ ว. ซาบซึ้ง.
ดือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สะดือ เช่น ขุนช้างฉุดผ้าคว้าจิ้มดือ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.ดือ (กลอน) น. สะดือ เช่น ขุนช้างฉุดผ้าคว้าจิ้มดือ. (ขุนช้างขุนแผน).
ดื้อ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ยอมเชื่อฟังหรือทําตาม. เป็นคำกริยา หมายถึง ทื่อ, ไม่คม, (ใช้แก่มีด).ดื้อ ว. ไม่ยอมเชื่อฟังหรือทําตาม. ก. ทื่อ, ไม่คม, (ใช้แก่มีด).
ดื้อดัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้ออย่างขัดขืนจะเอาชนะ.ดื้อดัน ว. ดื้ออย่างขัดขืนจะเอาชนะ.
ดื้อด้าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อเสียจนเคยชิน.ดื้อด้าน ว. ดื้อเสียจนเคยชิน.
ดื้อดึง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดึงดื้อ ก็ว่า.ดื้อดึง ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดึงดื้อ ก็ว่า.
ดื้อแพ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดขืนไม่ยอมปฏิบัติตาม, ขัดขืนไม่ยอมให้ความร่วมมือ.ดื้อแพ่ง ก. ขัดขืนไม่ยอมปฏิบัติตาม, ขัดขืนไม่ยอมให้ความร่วมมือ.
ดื้อยา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ต้านทานฤทธิ์ยา (ใช้แก่เชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย ไวรัส).ดื้อยา ก. ต้านทานฤทธิ์ยา (ใช้แก่เชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย ไวรัส).
ดื้อรั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดันทุรัง.ดื้อรั้น ว. ดื้อดันทุรัง.
ดุ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสียชีวิตมาก, เช่น นํ้าปีนี้ดุ ที่ตรงนี้ดุ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะทําให้ดูน่ากลัวหรือน่าเกรงขาม เช่น หน้าดุ ตาดุ; ร้าย, ร้ายกาจ, เหี้ยมโหด, เช่น หมาดุ เสือดุ.ดุ ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสียชีวิตมาก, เช่น นํ้าปีนี้ดุ ที่ตรงนี้ดุ. ว. มีลักษณะทําให้ดูน่ากลัวหรือน่าเกรงขาม เช่น หน้าดุ ตาดุ; ร้าย, ร้ายกาจ, เหี้ยมโหด, เช่น หมาดุ เสือดุ.
ดุดัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุอย่างไม่ลดละ.ดุดัน ว. ดุอย่างไม่ลดละ.
ดุเดือด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายแรง, รุนแรง.ดุเดือด ว. ร้ายแรง, รุนแรง.
ดุร้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหี้ยมโหด.ดุร้าย ว. เหี้ยมโหด.
ดุก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดทุกชนิดในสกุล Clarias และ Prophagorus วงศ์ Clariidae ไม่มีเกล็ด มีเงี่ยงเฉพาะที่ครีบอก ส่วนครีบหลังและครีบก้นยาวแต่ไม่ติดต่อกับครีบหาง เช่น ดุกอุย (C. macrocephalus) ดุกด้าน (C. batrachus) ดุกลําพัน (P. nieuhofii).ดุก น. ชื่อปลานํ้าจืดทุกชนิดในสกุล Clarias และ Prophagorus วงศ์ Clariidae ไม่มีเกล็ด มีเงี่ยงเฉพาะที่ครีบอก ส่วนครีบหลังและครีบก้นยาวแต่ไม่ติดต่อกับครีบหาง เช่น ดุกอุย (C. macrocephalus) ดุกด้าน (C. batrachus) ดุกลําพัน (P. nieuhofii).
ดุกลำพัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาชนิด Prophagorus nieuhofii ในวงศ์ Clariidae ครึ่งบนของลําตัวมีจุดสีขาวเรียงอยู่ในแนวตั้ง ๑๓–๒๐ แถว พบทางภาคใต้ของประเทศไทย ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร.ดุกลำพัน น. ชื่อปลาชนิด Prophagorus nieuhofii ในวงศ์ Clariidae ครึ่งบนของลําตัวมีจุดสีขาวเรียงอยู่ในแนวตั้ง ๑๓–๒๐ แถว พบทางภาคใต้ของประเทศไทย ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร.
ดุกดิก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ขยับไปขยับมาไม่อยู่นิ่ง ๆ, ยักไปยักมา, กระดุกกระดิก ก็ว่า.ดุกดิก ก. อาการที่ขยับไปขยับมาไม่อยู่นิ่ง ๆ, ยักไปยักมา, กระดุกกระดิก ก็ว่า.
ดุกทะเล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลหรือนํ้ากร่อยชนิด Plotosus lineatus และ P. canius ในวงศ์ Plotosidae มีเงี่ยงที่ครีบอกและครีบหลังตอนแรก ส่วนครีบหลังตอนที่ ๒ ครีบก้น และครีบหางยาวติดต่อกันโดยตลอด, สามแก้ว หรือ เป็ดแก้ว ก็เรียก.ดุกทะเล น. ชื่อปลาทะเลหรือนํ้ากร่อยชนิด Plotosus lineatus และ P. canius ในวงศ์ Plotosidae มีเงี่ยงที่ครีบอกและครีบหลังตอนแรก ส่วนครีบหลังตอนที่ ๒ ครีบก้น และครีบหางยาวติดต่อกันโดยตลอด, สามแก้ว หรือ เป็ดแก้ว ก็เรียก.
ดุ้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โค้งหรือนูนหรือแอ่นจากแนวหรือระดับ เช่น พื้นกระดานดุ้ง.ดุ้ง ว. โค้งหรือนูนหรือแอ่นจากแนวหรือระดับ เช่น พื้นกระดานดุ้ง.
ดุ้งดิ้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระตุ้งกระติ้ง, ตุ้งติ้ง ก็ว่า.ดุ้งดิ้ง ว. กระตุ้งกระติ้ง, ตุ้งติ้ง ก็ว่า.
ดุจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน[ดุด, ดุดจะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียงดัง, ราวกะ, บางทีในกลอนใช้ว่า ดวจ ก็มี.ดุจ [ดุด, ดุดจะ] ว. เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียงดัง, ราวกะ, บางทีในกลอนใช้ว่า ดวจ ก็มี.
ดุจดัง, ดุจหนึ่ง ดุจดัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ดุจหนึ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู [ดุด–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียงดัง, ราวกะ.ดุจดัง, ดุจหนึ่ง [ดุด–] ว. เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียงดัง, ราวกะ.
ดุด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่หมูเอาจมูกดุนดิน.ดุด ก. กิริยาที่หมูเอาจมูกดุนดิน.
ดุน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รุน, ทําให้เคลื่อนไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน; ทําให้ลวดลายบางอย่างนูนขึ้น เช่น ดุนลาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกลวดลายที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า ลายดุน.ดุน ก. รุน, ทําให้เคลื่อนไปเรื่อย ๆ ด้วยแรงดัน; ทําให้ลวดลายบางอย่างนูนขึ้น เช่น ดุนลาย. ว. เรียกลวดลายที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า ลายดุน.
ดุ้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ท่อน เช่น กลืนเข้าไปทั้งดุ้น, ท่อนไม้ขนาดเล็ก เช่น ดุ้นฟืน, ลักษณนามเรียกท่อนไม้ขนาดเล็กว่า ดุ้น เช่น ฟืนดุ้นหนึ่ง ฟืน ๒ ดุ้น.ดุ้น น. ท่อน เช่น กลืนเข้าไปทั้งดุ้น, ท่อนไม้ขนาดเล็ก เช่น ดุ้นฟืน, ลักษณนามเรียกท่อนไม้ขนาดเล็กว่า ดุ้น เช่น ฟืนดุ้นหนึ่ง ฟืน ๒ ดุ้น.
ดุบ ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต้นตุบ ๆ, กระดุบ ๆ ก็ว่า.ดุบ ๆ ว. เต้นตุบ ๆ, กระดุบ ๆ ก็ว่า.
ดุม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของล้อเกวียนหรือล้อรถที่มีรูสําหรับสอดเพลา; เครื่องกลัดส่วนต่าง ๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยกออกจากกัน ทําเป็นรูปต่าง ๆ มักมีรังดุมสําหรับขัดหรือบางทีก็ติดเป็นเครื่องประดับ, กระดุม ลูกกระดุม หรือ ลูกดุม ก็เรียก.ดุม น. ส่วนกลางของล้อเกวียนหรือล้อรถที่มีรูสําหรับสอดเพลา; เครื่องกลัดส่วนต่าง ๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยกออกจากกัน ทําเป็นรูปต่าง ๆ มักมีรังดุมสําหรับขัดหรือบางทีก็ติดเป็นเครื่องประดับ, กระดุม ลูกกระดุม หรือ ลูกดุม ก็เรียก.
ดุ่ม, ดุ่ม ๆ ดุ่ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ดุ่ม ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการก้มหน้าก้มตาเดินไปเรื่อย ๆ โดยไม่ดูอะไรหรือแวะเวียน.ดุ่ม, ดุ่ม ๆ ว. อาการก้มหน้าก้มตาเดินไปเรื่อย ๆ โดยไม่ดูอะไรหรือแวะเวียน.
ดุ่ย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรื่อย ๆ ไปโดยไม่มีจุดหมาย.ดุ่ย ว. เรื่อย ๆ ไปโดยไม่มีจุดหมาย.
ดุรค, ดุรคะ ดุรค เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย ดุรคะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ [ดุรก, ดุระคะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตุรค เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย ว่า สัตว์ไปเร็ว .ดุรค, ดุรคะ [ดุรก, ดุระคะ] (แบบ) น. ม้า. (ป., ส. ตุรค ว่า สัตว์ไปเร็ว).
ดุรงค์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ม้า เช่น เทียมดุรงค์รวดเรี่ยว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตุรงฺค เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย ตุรค เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-คอ-ควาย .ดุรงค์ น. ม้า เช่น เทียมดุรงค์รวดเรี่ยว. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป., ส. ตุรงฺค, ตุรค).
ดุรงคี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ม้าตัวเมีย; คนขี่ม้า, ทหารม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตุรงฺคี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต ตุรงฺคินฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.ดุรงคี น. ม้าตัวเมีย; คนขี่ม้า, ทหารม้า. (ป. ตุรงฺคี; ส. ตุรงฺคินฺ).
ดุริย–, ดุริยะ ดุริย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก ดุริยะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดีดสีตีเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตุริย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.ดุริย–, ดุริยะ น. เครื่องดีดสีตีเป่า. (ป. ตุริย).
ดุริยางค–, ดุริยางค์ ดุริยางค– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย ดุริยางค์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดีดสีตีเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ตุริย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก + องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย .ดุริยางค–, ดุริยางค์ น. เครื่องดีดสีตีเป่า. (ป. ตุริย + องฺค).
ดุริยางค์จำเรียง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.ดุริยางค์จำเรียง น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง.
ดุริยางคศาสตร์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[ดุริยางคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการบรรเลงเครื่องดุริยางค์.ดุริยางคศาสตร์ [ดุริยางคะ–] น. วิชาว่าด้วยการบรรเลงเครื่องดุริยางค์.
ดุริยางคศิลป์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด[ดุริยางคะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะของการบรรเลงเครื่องดุริยางค์.ดุริยางคศิลป์ [ดุริยางคะ–] น. ศิลปะของการบรรเลงเครื่องดุริยางค์.
ดุล, ดุล– ดุล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง ดุล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง [ดุน, ดุนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตราชู, คันชั่ง, มาตราชั่งนํ้าหนักโบราณ เช่น ทองคําหนัก ๒๐ ชั่ง เรียกว่า ดุลหนึ่ง; ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, เช่น รายรับรายจ่ายเท่ากัน เรียกว่า งบประมาณสู่ดุล; ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีดุล เป็นราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีตุล ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ดุล, ดุล– [ดุน, ดุนละ–] น. ตราชู, คันชั่ง, มาตราชั่งนํ้าหนักโบราณ เช่น ทองคําหนัก ๒๐ ชั่ง เรียกว่า ดุลหนึ่ง; ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, เช่น รายรับรายจ่ายเท่ากัน เรียกว่า งบประมาณสู่ดุล; ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีดุล เป็นราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีตุล ก็ว่า. ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. (ป., ส.).
ดุลการค้า เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[ดุน–] เป็นคำนาม หมายถึง ความต่างกันระหว่างมูลค่าของสินค้าที่ส่งออกนอกประเทศกับสินค้าที่นําเข้ามาในประเทศ, ถ้ามูลค่าของสินค้าที่ส่งออกสูงกว่ามูลค่าของสินค้าที่นําเข้ามาในประเทศ เรียกว่า ดุลการค้าได้เปรียบ, ถ้ามูลค่าของสินค้าที่นําเข้าสูงกว่ามูลค่าของสินค้าที่ส่งออก เรียกว่า ดุลการค้าเสียเปรียบ.ดุลการค้า [ดุน–] น. ความต่างกันระหว่างมูลค่าของสินค้าที่ส่งออกนอกประเทศกับสินค้าที่นําเข้ามาในประเทศ, ถ้ามูลค่าของสินค้าที่ส่งออกสูงกว่ามูลค่าของสินค้าที่นําเข้ามาในประเทศ เรียกว่า ดุลการค้าได้เปรียบ, ถ้ามูลค่าของสินค้าที่นําเข้าสูงกว่ามูลค่าของสินค้าที่ส่งออก เรียกว่า ดุลการค้าเสียเปรียบ.
ดุลการชำระเงิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[ดุน–] เป็นคำนาม หมายถึง ความต่างกันระหว่างปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศกับปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศ, ถ้าปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงินเกินดุล, ถ้าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่นําเข้าในประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงินขาดดุล.ดุลการชำระเงิน [ดุน–] น. ความต่างกันระหว่างปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศกับปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศ, ถ้าปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงินเกินดุล, ถ้าปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศสูงกว่าปริมาณเงินที่นําเข้าในประเทศ เรียกว่า ดุลการชําระเงินขาดดุล.
ดุลชำระหนี้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท[ดุน–] เป็นคำนาม หมายถึง ความต่างกันระหว่างปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศกับปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศ.ดุลชำระหนี้ [ดุน–] น. ความต่างกันระหว่างปริมาณเงินที่ส่งออกนอกประเทศกับปริมาณเงินที่นําเข้ามาในประเทศ.
ดุลพินิจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน[ดุนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้.ดุลพินิจ [ดุนละ–] น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้.
ดุลภาค เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย[ดุนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่เสมอกัน.ดุลภาค [ดุนละ–] น. ภาวะที่เสมอกัน.
ดุลอำนาจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน[ดุน–] เป็นคำนาม หมายถึง การถ่วงอํานาจระหว่างประเทศให้มีพลังทางเศรษฐกิจหรือทางทหารทัดเทียมกัน.ดุลอำนาจ [ดุน–] น. การถ่วงอํานาจระหว่างประเทศให้มีพลังทางเศรษฐกิจหรือทางทหารทัดเทียมกัน.
ดุลย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก[ดุนละยะ–, ดุนยะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ดุลย– [ดุนละยะ–, ดุนยะ–] ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. (ป., ส.).
ดุลยพินิจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้.ดุลยพินิจ น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้.
ดุลยภาพ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความเท่ากัน, ความเสมอกัน.ดุลยภาพ น. ความเท่ากัน, ความเสมอกัน.
ดุษฎี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี[ดุดสะดี] เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดี, ความชื่นชม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .ดุษฎี [ดุดสะดี] น. ความยินดี, ความชื่นชม. (ส.).
ดุษฎีนิพนธ์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วิทยานิพนธ์ชั้นปริญญาเอก.ดุษฎีนิพนธ์ น. วิทยานิพนธ์ชั้นปริญญาเอก.
ดุษฎีบัณฑิต เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ปริญญาเอก; ผู้ได้รับปริญญาเอก.ดุษฎีบัณฑิต น. ปริญญาเอก; ผู้ได้รับปริญญาเอก.
ดุษฎีมาลา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเหรียญที่พระราชทานเฉพาะแก่ผู้ได้ใช้ศิลปวิทยาให้เป็นคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองถึงขนาด ทั้งอาจได้รับพระราชทานเงินพิเศษประจําเดือนไปตลอดชีวิต เดิมกําหนดให้มีเข็มพระราชทานประกอบกับเหรียญรวม ๕ ชนิด คือ เข็มราชการในพระองค์ เข็มราชการแผ่นดิน เข็มศิลปวิทยา เข็มความกรุณา และเข็มกล้าหาญ ต่อมาคงเหลือแต่เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เพียงอย่างเดียว.ดุษฎีมาลา น. ชื่อเหรียญที่พระราชทานเฉพาะแก่ผู้ได้ใช้ศิลปวิทยาให้เป็นคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองถึงขนาด ทั้งอาจได้รับพระราชทานเงินพิเศษประจําเดือนไปตลอดชีวิต เดิมกําหนดให้มีเข็มพระราชทานประกอบกับเหรียญรวม ๕ ชนิด คือ เข็มราชการในพระองค์ เข็มราชการแผ่นดิน เข็มศิลปวิทยา เข็มความกรุณา และเข็มกล้าหาญ ต่อมาคงเหลือแต่เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เพียงอย่างเดียว.
ดุษฎีสังเวย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง บทร้อยกรองที่แต่งเป็นฉันท์สําหรับกล่อมช้าง.ดุษฎีสังเวย น. บทร้อยกรองที่แต่งเป็นฉันท์สําหรับกล่อมช้าง.
ดุษณี, ดุษณีภาพ ดุษณี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี ดุษณีภาพ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน [ดุดสะนี–] เป็นคำนาม หมายถึง อาการนิ่งซึ่งแสดงถึงการยอมรับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตุษฺณีมฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี ตุณฺหี เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี.ดุษณี, ดุษณีภาพ [ดุดสะนี–] น. อาการนิ่งซึ่งแสดงถึงการยอมรับ. (ส. ตุษฺณีมฺ; ป. ตุณฺหี).
ดุษิต, ดุสิต ดุษิต เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ดุสิต เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๔ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี, มีท้าวสันดุสิตเป็นผู้ครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตุษิต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี ตุสิต เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.ดุษิต, ดุสิต น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๔ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตดี, มีท้าวสันดุสิตเป็นผู้ครอง. (ส. ตุษิต; ป. ตุสิต).
ดุเหว่า เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[–เหฺว่า] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Eudynamys scolopacea ในวงศ์ Cuculidae ตัวเล็กกว่ากาเล็กน้อย ตาแดง หางยาว ตัวผู้สีดํา ตัวเมียสีนํ้าตาล มีลายและจุดสีขาวพาดตลอดตัว วางไข่ให้นกชนิดอื่นฟัก มักหากินตามลําพัง กินแมลงและผลไม้, กาเหว่า ก็เรียก.ดุเหว่า [–เหฺว่า] น. ชื่อนกชนิด Eudynamys scolopacea ในวงศ์ Cuculidae ตัวเล็กกว่ากาเล็กน้อย ตาแดง หางยาว ตัวผู้สีดํา ตัวเมียสีนํ้าตาล มีลายและจุดสีขาวพาดตลอดตัว วางไข่ให้นกชนิดอื่นฟัก มักหากินตามลําพัง กินแมลงและผลไม้, กาเหว่า ก็เรียก.
ดู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี, ศึกษาเล่าเรียน เช่น ดูหนังสือ, เห็นจะ เช่น ดูจะเกินไปละ, ทํานาย เช่น ดูโชคชะตาราศี, ใช้ประกอบกริยา เพื่อให้รู้ให้เห็นประจักษ์แจ้ง เช่น คิดดูให้ดี ลองกินดู.ดู ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี, ศึกษาเล่าเรียน เช่น ดูหนังสือ, เห็นจะ เช่น ดูจะเกินไปละ, ทํานาย เช่น ดูโชคชะตาราศี, ใช้ประกอบกริยา เพื่อให้รู้ให้เห็นประจักษ์แจ้ง เช่น คิดดูให้ดี ลองกินดู.
ดูแคลน, ดูถูก, ดูถูกดูแคลน ดูแคลน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู ดูถูก เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ดูถูกดูแคลน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามเขา.ดูแคลน, ดูถูก, ดูถูกดูแคลน ก. แสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามเขา.
ดูใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ลองดูนํ้าใจ; ดูหน้าไว้อาลัยขณะจะสิ้นใจ.ดูใจ ก. ลองดูนํ้าใจ; ดูหน้าไว้อาลัยขณะจะสิ้นใจ.
ดูชา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแคลน, ดูถูก, เช่น ตูจะให้สูทั้งหลายฆ่า ว่าผู้ดูชาดูแคลน แหนความเราจงมิด. (ลอ.).ดูชา ก. ดูแคลน, ดูถูก, เช่น ตูจะให้สูทั้งหลายฆ่า ว่าผู้ดูชาดูแคลน แหนความเราจงมิด. (ลอ.).
ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ให้รู้จักพิจารณาลักษณะบุคคลหรือผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครอง, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า.ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ (สำ) ก. ให้รู้จักพิจารณาลักษณะบุคคลหรือผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครอง, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า.
ดูดอมดูดาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ละทิ้ง เช่น บมิควรดูดอมดูดาย. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.ดูดอมดูดาย ก. ละทิ้ง เช่น บมิควรดูดอมดูดาย. (สมุทรโฆษ).
ดูดาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่.ดูดาย ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่.
ดูดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ดูหมิ่น เช่น เปนม่ายชายดูดำ กุมเกษ กำแก้ผม ผลักล้มจมดินทราย แสร้งอวยอายอยดยศ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ดูดำ (โบ) ก. ดูหมิ่น เช่น เปนม่ายชายดูดำ กุมเกษ กำแก้ผม ผลักล้มจมดินทราย แสร้งอวยอายอยดยศ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ดูดำดูดี เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่ดูแลทั้งในเวลามีทุกข์และมีสุข เช่น จะหวังอะไรให้เขามาดูดำดูดีกับคนอย่างเรา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาไม่ดูดำดูดีเด็กคนนี้เลย.ดูดำดูดี ก. เอาใจใส่ดูแลทั้งในเวลามีทุกข์และมีสุข เช่น จะหวังอะไรให้เขามาดูดำดูดีกับคนอย่างเรา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาไม่ดูดำดูดีเด็กคนนี้เลย.
ดูดู๋, ดูหรู ดูดู๋ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ไม้-จัด-ตะ-วา ดูหรู เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแค้นใจ.ดูดู๋, ดูหรู (กลอน) อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแค้นใจ.
ดูตาม้าตาเรือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง พิจารณาให้รอบคอบ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ดูตาม้าตาเรือ.ดูตาม้าตาเรือ (สำ) ก. พิจารณาให้รอบคอบ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ดูตาม้าตาเรือ.
ดูเถอะ, ดูเถิด ดูเถอะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ ดูเถิด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก คําบอกกล่าวให้รับรู้ไว้.ดูเถอะ, ดูเถิด คําบอกกล่าวให้รับรู้ไว้.
ดูเบา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เห็นเป็นการเล็กน้อย, เห็นไม่เป็นสําคัญ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าดูเบา.ดูเบา ก. เห็นเป็นการเล็กน้อย, เห็นไม่เป็นสําคัญ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น อย่าดูเบา.
ดูไปก่อน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รอไว้ก่อน.ดูไปก่อน ก. รอไว้ก่อน.
ดูร้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ตาร้าย. ในวงเล็บ ดู ตาร้าย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ที่ ตา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ดูร้าย น. ตาร้าย. (ดู ตาร้าย ที่ ตา ๒).
ดูรึ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ.ดูรึ อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ.
ดูแล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่, ปกปักรักษา, ปกครอง.ดูแล ก. เอาใจใส่, ปกปักรักษา, ปกครอง.
ดูหมิ่น เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น.ดูหมิ่น ๑ (กฎ) ก. ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น.
ดูหมิ่น ๒, ดูหมิ่นถิ่นแคลน ดูหมิ่น ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ดูหมิ่นถิ่นแคลน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อย หรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, หมิ่น ก็ว่า.ดูหมิ่น ๒, ดูหมิ่นถิ่นแคลน ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อย หรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, หมิ่น ก็ว่า.
ดูหรือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้.ดูหรือ อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้.
ดูเหมือน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้าใจว่า, คะเนว่า, เห็นจะ.ดูเหมือน ว. เข้าใจว่า, คะเนว่า, เห็นจะ.
ดูกไก่ดำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Prismatomeris malayana Ridl. ในวงศ์ Rubiaceae สูงได้ถึง ๓ เมตร ใบรี ออกตรงข้ามกัน ปลายและโคนใบแหลม ดอกสีขาว กลิ่นหอม.ดูกไก่ดำ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Prismatomeris malayana Ridl. ในวงศ์ Rubiaceae สูงได้ถึง ๓ เมตร ใบรี ออกตรงข้ามกัน ปลายและโคนใบแหลม ดอกสีขาว กลิ่นหอม.
ดูกค่าง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.ดูกค่าง ดู กระดูกค่าง.
ดูกร, ดูก่อน, ดูรา ดูกร เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ ดูก่อน เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ดูรา เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา [ดูกะระ, ดูกอน]คำกล่าวขึ้นต้นข้อความกับผู้ที่จะพูดด้วยให้สนใจฟัง.ดูกร, ดูก่อน, ดูรา [ดูกะระ, ดูกอน] คำกล่าวขึ้นต้นข้อความกับผู้ที่จะพูดด้วยให้สนใจฟัง.
ดูด เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สูบด้วยปาก เช่น ดูดนม, สูบด้วยกําลัง เช่น นํ้าดูด ไฟฟ้าดูด.ดูด ก. สูบด้วยปาก เช่น ดูดนม, สูบด้วยกําลัง เช่น นํ้าดูด ไฟฟ้าดูด.
ดูดดึง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เหนี่ยวเข้ามาด้วยกําลังอย่างหนึ่งเช่นแม่เหล็ก.ดูดดึง ก. เหนี่ยวเข้ามาด้วยกําลังอย่างหนึ่งเช่นแม่เหล็ก.
ดูดดื่ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ซาบซึ้ง.ดูดดื่ม ก. ซาบซึ้ง.
เด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก ๆ, มักใช้ประกอบกับคํา เหลือ ว่า เหลือเด คือ เหลือมาก ๆ.เด ว. มาก ๆ, มักใช้ประกอบกับคํา เหลือ ว่า เหลือเด คือ เหลือมาก ๆ.
เด่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรง เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่.เด่ ว. ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรง เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่.
เดก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระเดก, โยก, โคลง.เดก ว. กระเดก, โยก, โคลง.
เด็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีอายุยังน้อย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ผู้เยาว์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์; ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ ๑๘ ปีบริบูรณ์ และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส; บุคคลอายุเกิน ๗ ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์; บุคคลที่มีอายุแต่ ๑๕ ปีลงมา; บุคคลผู้มีอายุไม่เกิน ๑๘ ปีบริบูรณ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังเล็ก; อ่อนวัยกว่าในคําว่า เด็กกว่า.เด็ก น. คนที่มีอายุยังน้อย; (กฎ) ผู้เยาว์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์; ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ ๑๘ ปีบริบูรณ์ และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส; บุคคลอายุเกิน ๗ ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์; บุคคลที่มีอายุแต่ ๑๕ ปีลงมา; บุคคลผู้มีอายุไม่เกิน ๑๘ ปีบริบูรณ์. ว. ยังเล็ก; อ่อนวัยกว่าในคําว่า เด็กกว่า.
เด็กชา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการชั้นผู้น้อยจําพวกรับใช้ในกรมมหาดเล็ก.เด็กชา น. ข้าราชการชั้นผู้น้อยจําพวกรับใช้ในกรมมหาดเล็ก.
เด็กชาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่ถึง ๑๕ ปีบริบูรณ์.เด็กชาย (กฎ) น. คํานําหน้าชื่อเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่ถึง ๑๕ ปีบริบูรณ์.
เด็กแดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เด็กที่ออกใหม่ ๆ.เด็กแดง น. เด็กที่ออกใหม่ ๆ.
เด็กเมื่อวานซืน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คํากล่าวเชิงดูหมิ่นหรือเชิงสั่งสอนว่า มีความรู้หรือมีประสบการณ์น้อย.เด็กเมื่อวานซืน (สำ) น. คํากล่าวเชิงดูหมิ่นหรือเชิงสั่งสอนว่า มีความรู้หรือมีประสบการณ์น้อย.
เด็กหญิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่ถึง ๑๕ ปีบริบูรณ์.เด็กหญิง (กฎ) น. คํานําหน้าชื่อเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่ถึง ๑๕ ปีบริบูรณ์.
เด็กอมมือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่รู้ประสีประสา.เด็กอมมือ (สำ) น. ผู้ไม่รู้ประสีประสา.
เดกซ์โทรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–โทฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง กลูโคส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ dextrose เขียนว่า ดี-อี-เอ็กซ์-ที-อา-โอ-เอส-อี.เดกซ์โทรส [–โทฺรด] น. กลูโคส. (อ. dextrose).
เดคากรัม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า[–กฺรํา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decagramme เขียนว่า ดี-อี-ซี-เอ-จี-อา-เอ-เอ็ม-เอ็ม-อี.เดคากรัม [–กฺรํา] น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก. (อ. decagramme).
เดคาเมตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decametre เขียนว่า ดี-อี-ซี-เอ-เอ็ม-อี-ที-อา-อี.เดคาเมตร น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม. (อ. decametre).
เดคาลิตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decalitre เขียนว่า ดี-อี-ซี-เอ-แอล-ไอ-ที-อา-อี.เดคาลิตร น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล. (อ. decalitre).
เด้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น, กระเด้ง ก็ว่า.เด้ง ก. ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น, กระเด้ง ก็ว่า.
เด็จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ขาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎาจ่ เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-เอก.เด็จ ก. ขาด. (ข. ฎาจ่).
เดช, เดชะ เดช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง เดชะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ [เดด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ; ความร้อน, ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เตช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต เตชสฺ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-พิน-ทุ.เดช, เดชะ [เดด] (แบบ) น. อํานาจ; ความร้อน, ไฟ. (ป. เตช; ส. เตชสฺ).
เดชน์, เดชนะ เดชน์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เดชนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [เดด, เดชะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกศร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เดชน์, เดชนะ [เดด, เดชะนะ] (แบบ) น. ลูกศร. (ป., ส.).
เดโช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ; ความร้อน, ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เตช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต เตชสฺ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-พิน-ทุ.เดโช น. อํานาจ; ความร้อน, ไฟ. (ป. เตช; ส. เตชสฺ).
เดโชชัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ความชนะด้วยอํานาจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เดโชชัย น. ความชนะด้วยอํานาจ. (ป., ส.).
เดโชพล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กําลังแห่งอํานาจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .เดโชพล น. กําลังแห่งอํานาจ. (ป., ส.).
เดซิกรัม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า[–กฺรํา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decigramme เขียนว่า ดี-อี-ซี-ไอ-จี-อา-เอ-เอ็ม-เอ็ม-อี.เดซิกรัม [–กฺรํา] น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก. (อ. decigramme).
เดซิเมตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decimetre เขียนว่า ดี-อี-ซี-ไอ-เอ็ม-อี-ที-อา-อี.เดซิเมตร น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม. (อ. decimetre).
เดซิลิตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ decilitre เขียนว่า ดี-อี-ซี-ไอ-แอล-ไอ-ที-อา-อี.เดซิลิตร น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล. (อ. decilitre).
เด็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ขาดด้วยเล็บหรือนิ้ว เช่น เด็ดดอกไม้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทีเดียว, เป็นอันขาด, เช่น ดีเด็ด ไม่เอาเด็ด.เด็ด ก. ทําให้ขาดด้วยเล็บหรือนิ้ว เช่น เด็ดดอกไม้. ว. ทีเดียว, เป็นอันขาด, เช่น ดีเด็ด ไม่เอาเด็ด.
เด็ดขาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียบขาด, ไม่เปลี่ยนแปลง, ว่าอย่างใดทําอย่างนั้น, ถึงที่สุด.เด็ดขาด ว. เฉียบขาด, ไม่เปลี่ยนแปลง, ว่าอย่างใดทําอย่างนั้น, ถึงที่สุด.
เด็ดดวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดีเด่นทีเดียว เช่น สวยเด็ดดวง.เด็ดดวง (ปาก) ว. ดีเด่นทีเดียว เช่น สวยเด็ดดวง.
เด็ดดอกไม้ร่วมต้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เคยทําบุญกุศลร่วมกันมาแต่ชาติก่อน จึงมาอยู่ร่วมกันในชาตินี้, เก็บดอกไม้ร่วมต้น ก็ว่า.เด็ดดอกไม้ร่วมต้น (สำ) ก. เคยทําบุญกุศลร่วมกันมาแต่ชาติก่อน จึงมาอยู่ร่วมกันในชาตินี้, เก็บดอกไม้ร่วมต้น ก็ว่า.
เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดบัวไม่ไว้ใย ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย.เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว (สำ) ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดบัวไม่ไว้ใย ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย.
เด็ดเดี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตัดสินใจทําอย่างแน่วแน่ไม่ย่อท้อ.เด็ดเดี่ยว ว. ตัดสินใจทําอย่างแน่วแน่ไม่ย่อท้อ.
เด็ดบัวไม่ไว้ใย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย.เด็ดบัวไม่ไว้ใย (สำ) ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย.
เด็ดปลีไม่มีใย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, เด็ดบัวไม่ไว้ใย ก็ว่า.เด็ดปลีไม่มีใย (สำ) ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, เด็ดบัวไม่ไว้ใย ก็ว่า.
เดน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ของเหลือที่ไม่ต้องการแล้ว เช่น คนกินเดน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เหลือเลือกแล้ว ทิ้งแล้ว ไม่ต้องการแล้วเป็นต้น เช่น ผลไม้เดนเลือก.เดน น. ของเหลือที่ไม่ต้องการแล้ว เช่น คนกินเดน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เหลือเลือกแล้ว ทิ้งแล้ว ไม่ต้องการแล้วเป็นต้น เช่น ผลไม้เดนเลือก.
เดนตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่รอดตายมาได้ทั้ง ๆ ที่น่าจะตาย.เดนตาย (ปาก) ว. ที่รอดตายมาได้ทั้ง ๆ ที่น่าจะตาย.
เด่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ปรากฏเห็นได้ชัดจะแจ้งเพราะนูนขึ้นมา ยื่นลํ้าออกมา หรือสูงใหญ่กว่าธรรมดา, โดยปริยายหมายความว่า มีคุณสมบัติหรือความสามารถเยี่ยม เช่น สวยเด่น ดีเด่น.เด่น ว. ที่ปรากฏเห็นได้ชัดจะแจ้งเพราะนูนขึ้นมา ยื่นลํ้าออกมา หรือสูงใหญ่กว่าธรรมดา, โดยปริยายหมายความว่า มีคุณสมบัติหรือความสามารถเยี่ยม เช่น สวยเด่น ดีเด่น.
เดนมาร์ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่[–หฺมาก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Denmark เขียนว่า ดี-อี-เอ็น-เอ็ม-เอ-อา-เค.เดนมาร์ก [–หฺมาก] น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป. (อ. Denmark).
เดรัจฉาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–รัดฉาน] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี.เดรัจฉาน [–รัดฉาน] น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน ก็มี.
เด๋อ, เด๋อด๋า เด๋อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง เด๋อด๋า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปิ่น, เร่อร่า.เด๋อ, เด๋อด๋า ว. เปิ่น, เร่อร่า.
เดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง คิดคาดเอาเองโดยไม่มีหลักหรือเหตุผล.เดา ก. คิดคาดเอาเองโดยไม่มีหลักหรือเหตุผล.
เดาสวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เดาไปอย่างไม่รู้อะไรเลย.เดาสวด ก. เดาไปอย่างไม่รู้อะไรเลย.
เดาสุ่ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เดาโดยนึกเอาเองอย่างสุ่มปลา.เดาสุ่ม ก. เดาโดยนึกเอาเองอย่างสุ่มปลา.
เด่า, เด่า ๆ เด่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เด่า ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรบ ๆ, เร่า ๆ, (ใช้แก่กริยาดิ้น), ด่าว ก็ว่า.เด่า, เด่า ๆ ว. หรบ ๆ, เร่า ๆ, (ใช้แก่กริยาดิ้น), ด่าว ก็ว่า.
เด้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง กระเด้า, ทําก้นขึ้น ๆ ลง ๆ.เด้า ก. กระเด้า, ทําก้นขึ้น ๆ ลง ๆ.
เด้าดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Motacillidae ลําตัวสีนํ้าตาลลายดํา ปากแหลม ขาเรียวยาว หางยาว กินแมลง มีหลายชนิด เช่น เด้าดินสวน (Anthus hodgsoni) เด้าดินทุ่ง (A. novaeseelandiae) เด้าดินอกแดง (A. cervinus) เด้าดินอกสีชมพู (A. roseatus), กระเด้าดิน ก็เรียก.เด้าดิน น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Motacillidae ลําตัวสีนํ้าตาลลายดํา ปากแหลม ขาเรียวยาว หางยาว กินแมลง มีหลายชนิด เช่น เด้าดินสวน (Anthus hodgsoni) เด้าดินทุ่ง (A. novaeseelandiae) เด้าดินอกแดง (A. cervinus) เด้าดินอกสีชมพู (A. roseatus), กระเด้าดิน ก็เรียก.
เด้าลม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Motacillidae ตัวเรียวเล็ก หางยาว มักยกหางขึ้น ๆ ลง ๆ พร้อมกับโคลงหัวไปมาเวลาเดิน กินแมลง มีหลายชนิด เช่น เด้าลมหลังเทา (Motacilla cinerea) เด้าลมเหลือง (M. flava) เด้าลมดง (Dendronanthus indicus), กระเด้าลม ก็เรียก.เด้าลม น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Motacillidae ตัวเรียวเล็ก หางยาว มักยกหางขึ้น ๆ ลง ๆ พร้อมกับโคลงหัวไปมาเวลาเดิน กินแมลง มีหลายชนิด เช่น เด้าลมหลังเทา (Motacilla cinerea) เด้าลมเหลือง (M. flava) เด้าลมดง (Dendronanthus indicus), กระเด้าลม ก็เรียก.
เดาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โยนสิ่งของขึ้นแล้วเอาไม้หรือมือตีรับให้กระท้อนขึ้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้าวจวนจะหัก เช่น ไม้คานเดาะ แขนเดาะ; เติมลงนิดหน่อยเพื่อให้คุณภาพเด่นขึ้น เช่น จืดไปเดาะเกลือลงไปหน่อย; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่กําลังจะดี แต่กลับมีข้อบกพร่องเสียกลางคัน, ใช้เป็นคําแทนกริยาหมายความว่า ทําแปลกกว่าธรรมดาสามัญ เช่น ร้อนจะตายเดาะเสื้อสักหลาดเข้าให้.เดาะ ๑ ก. โยนสิ่งของขึ้นแล้วเอาไม้หรือมือตีรับให้กระท้อนขึ้น. ว. ร้าวจวนจะหัก เช่น ไม้คานเดาะ แขนเดาะ; เติมลงนิดหน่อยเพื่อให้คุณภาพเด่นขึ้น เช่น จืดไปเดาะเกลือลงไปหน่อย; (ปาก) โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่กําลังจะดี แต่กลับมีข้อบกพร่องเสียกลางคัน, ใช้เป็นคําแทนกริยาหมายความว่า ทําแปลกกว่าธรรมดาสามัญ เช่น ร้อนจะตายเดาะเสื้อสักหลาดเข้าให้.
เดาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .เดาะ ๒ น. นม. (ข.).
เดาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการเดินอย่างกระปรี้กระเปร่า เช่น เดินเดาะเลาะทางมา.เดาะ ๓ ว. อาการเดินอย่างกระปรี้กระเปร่า เช่น เดินเดาะเลาะทางมา.
เดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ยกเท้าก้าวไป; โดยปริยายหมายความว่า เคลื่อนไปด้วยกําลังต่าง ๆ เช่น นาฬิกาเดิน รถเดิน, ทําให้เคลื่อนไหว เช่น เดินเครื่อง, ทําให้เคลื่อนไป เช่น เดินหมากรุก, คล่องไม่ติดขัด เช่น รับประทานอาหารเดิน สมองเดินดี, นําไปส่ง เช่น เดินข่าว เดินหนังสือ เดินหมาย, ประกอบกิจการขนส่ง เช่น เดินรถ เดินเรือ เดินอากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เฎีร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ.เดิน ก. ยกเท้าก้าวไป; โดยปริยายหมายความว่า เคลื่อนไปด้วยกําลังต่าง ๆ เช่น นาฬิกาเดิน รถเดิน, ทําให้เคลื่อนไหว เช่น เดินเครื่อง, ทําให้เคลื่อนไป เช่น เดินหมากรุก, คล่องไม่ติดขัด เช่น รับประทานอาหารเดิน สมองเดินดี, นําไปส่ง เช่น เดินข่าว เดินหนังสือ เดินหมาย, ประกอบกิจการขนส่ง เช่น เดินรถ เดินเรือ เดินอากาศ. (ข. เฎีร).
เดินขบวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ยกกันไปเป็นหมู่เป็นพวกเพื่อร้องเรียนเป็นต้น.เดินขบวน ก. ยกกันไปเป็นหมู่เป็นพวกเพื่อร้องเรียนเป็นต้น.
เดินคาถา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าคาถาในเทศน์มหาชาติเรื่อยไป.เดินคาถา ก. ว่าคาถาในเทศน์มหาชาติเรื่อยไป.
เดินจักร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บด้วยจักร.เดินจักร ก. เย็บด้วยจักร.
เดินตลาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง วิ่งเต้นจําหน่ายสินค้า, เที่ยวเสาะแสวงหาแหล่งจําหน่ายสินค้า.เดินตลาด ก. วิ่งเต้นจําหน่ายสินค้า, เที่ยวเสาะแสวงหาแหล่งจําหน่ายสินค้า.
เดินตามหลังผู้ใหญ่หมาไม่กัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตามอย่างผู้ใหญ่ย่อมปลอดภัย.เดินตามหลังผู้ใหญ่หมาไม่กัด (สำ) ก. ประพฤติตามอย่างผู้ใหญ่ย่อมปลอดภัย.
เดินแต้ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ชั้นเชิง.เดินแต้ม ก. ใช้ชั้นเชิง.
เดินโต๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ยกอาหารและเครื่องดื่มมาให้ผู้นั่งโต๊ะกิน.เดินโต๊ะ ก. ยกอาหารและเครื่องดื่มมาให้ผู้นั่งโต๊ะกิน.
เดินทอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลงทองไปตามเส้นลวดลายหรือตัวหนังสือเป็นต้น เช่น ทําปกแข็งเดินทอง.เดินทอง ก. ลงทองไปตามเส้นลวดลายหรือตัวหนังสือเป็นต้น เช่น ทําปกแข็งเดินทอง.
เดินทัพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ยกทัพ, เคลื่อนกองทัพ.เดินทัพ ก. ยกทัพ, เคลื่อนกองทัพ.
เดินทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไปสู่จุดที่หมายอีกแห่งหนึ่งที่ไกลออกไป.เดินทาง ก. ไปสู่จุดที่หมายอีกแห่งหนึ่งที่ไกลออกไป.
เดินทุ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ).เดินทุ่ง ก. ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ).
เดินเทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เวียนเทียน.เดินเทียน ก. เวียนเทียน.
เดินธุระให้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ไปประกอบการงานแทน.เดินธุระให้ ก. ไปประกอบการงานแทน.
เดินนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สํารวจนาเพื่อเรียกเก็บภาษีอากร.เดินนา ก. สํารวจนาเพื่อเรียกเก็บภาษีอากร.
เดินป้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งหนังสือ.เดินป้าย ก. ส่งหนังสือ.
เดินรถ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบกิจการขนส่งทางรถ.เดินรถ ก. ประกอบกิจการขนส่งทางรถ.
เดินเรือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบกิจการขนส่งทางเรือ.เดินเรือ ก. ประกอบกิจการขนส่งทางเรือ.
เดินเรื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มกล่าวเนื้อเรื่องเรื่อยไป; ติดต่อวิ่งเต้นให้เรื่องราวสําเร็จลุล่วงไป.เดินเรื่อง ก. เริ่มกล่าวเนื้อเรื่องเรื่อยไป; ติดต่อวิ่งเต้นให้เรื่องราวสําเร็จลุล่วงไป.
เดินสวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สํารวจสวนเพื่อเรียกเก็บภาษีอากร.เดินสวน ก. สํารวจสวนเพื่อเรียกเก็บภาษีอากร.
เดินสะพัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หมุนเวียน, เรียกบัญชีกระแสรายวันว่า บัญชีเดินสะพัด.เดินสะพัด ก. หมุนเวียน, เรียกบัญชีกระแสรายวันว่า บัญชีเดินสะพัด.
เดินสาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ติดสายไฟฟ้าหรือสายโทรเลขโทรศัพท์เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่นักร้องหรือนักแสดงเป็นต้นไปแสดงตามจังหวัดต่าง ๆ.เดินสาย ก. ติดสายไฟฟ้าหรือสายโทรเลขโทรศัพท์เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่นักร้องหรือนักแสดงเป็นต้นไปแสดงตามจังหวัดต่าง ๆ.
เดินเส้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วิธีปักแบบหนึ่ง โดยมากใช้ตัดเส้นที่ขอบใบหรือดอก.เดินเส้น น. วิธีปักแบบหนึ่ง โดยมากใช้ตัดเส้นที่ขอบใบหรือดอก.
เดินหน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เดินทางเรื่อยไป เช่น เทวดาเดินหน. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเทวดาที่อยู่ระหว่างสวรรค์กับพื้นดิน; ชื่อชฎาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ชฎาเดินหน.เดินหน ก. เดินทางเรื่อยไป เช่น เทวดาเดินหน. น. ชื่อเทวดาที่อยู่ระหว่างสวรรค์กับพื้นดิน; ชื่อชฎาชนิดหนึ่ง เรียกว่า ชฎาเดินหน.
เดินเหิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง วิ่งเต้นเพื่อขอความช่วยเหลือ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เดิน.เดินเหิน ก. วิ่งเต้นเพื่อขอความช่วยเหลือ; (ปาก) เดิน.
เดินไหม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บจักรด้วยไหมให้เป็นแนวหรือเป็นขอบ.เดินไหม ก. เย็บจักรด้วยไหมให้เป็นแนวหรือเป็นขอบ.
เดินอากาศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง ประกอบกิจการขนส่งทางอากาศ.เดินอากาศ ก. ประกอบกิจการขนส่งทางอากาศ.
เดิ่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เนิน, เทิน, ที่สูง.เดิ่น น. เนิน, เทิน, ที่สูง.
เดิม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แรก เช่น แต่เดิม, เก่า เช่น บ้านเดิม พระราชวังเดิม, ก่อน เช่น เหมือนเดิม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เฎีม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า ว่า ต้น .เดิม ว. แรก เช่น แต่เดิม, เก่า เช่น บ้านเดิม พระราชวังเดิม, ก่อน เช่น เหมือนเดิม. (ข. เฎีม ว่า ต้น).
เดิมที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่แรกเริ่ม.เดิมที ว. แต่แรกเริ่ม.
เดิมพัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเงินหรือทรัพย์สินอื่น ๆ ที่วางไว้เป็นประกันในการได้เสียหรือแพ้ชนะก่อนเล่นการพนัน เช่น วางเดิมพัน เอาชีวิตเป็นเดิมพัน.เดิมพัน น. จํานวนเงินหรือทรัพย์สินอื่น ๆ ที่วางไว้เป็นประกันในการได้เสียหรือแพ้ชนะก่อนเล่นการพนัน เช่น วางเดิมพัน เอาชีวิตเป็นเดิมพัน.
เดี้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตํ่า, สั้น.เดี้ย ว. ตํ่า, สั้น.
เดียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ เช่น มากูจะไปให้ดลเดียงถนัด. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎึง เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อึ-งอ-งู.เดียง ๑ ก. รู้ เช่น มากูจะไปให้ดลเดียงถนัด. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ข. ฎึง).
เดียงสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติสามัญ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กยังไม่รู้เดียงสา.เดียงสา ว. รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติสามัญ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กยังไม่รู้เดียงสา.
เดียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง.เดียง ๒ (โบ) ก. ตีลง, ทุบลง, ฟาดลง.
เดียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียด, ริษยา.เดียด ก. เกลียด, ริษยา.
เดียดฉันท์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลําเอียง.เดียดฉันท์ ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลําเอียง.
เดียร, เดียระ เดียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เดียระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ [เดียน, เดียระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฝั่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตีร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ.เดียร, เดียระ [เดียน, เดียระ] (แบบ) น. ฝั่ง. (ป., ส. ตีร).
เดียรดาษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี[เดียระดาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกลาด, เกลื่อน, ดื่นดาษ, ดาษเดียร ก็ใช้.เดียรดาษ [เดียระดาด] ว. เกลื่อนกลาด, เกลื่อน, ดื่นดาษ, ดาษเดียร ก็ใช้.
เดียรถ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด[เดียน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ท่านํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตีรฺถ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี ติตฺถ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.เดียรถ์ [เดียน] (แบบ) น. ท่านํ้า. (ส. ตีรฺถ; ป. ติตฺถ).
เดียรถีย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[–ระถี] เป็นคำนาม หมายถึง นักบวชภายนอกพระพุทธศาสนาในอินเดียสมัยพุทธกาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตีรฺถิย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี ติตฺถิย เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.เดียรถีย์ [–ระถี] น. นักบวชภายนอกพระพุทธศาสนาในอินเดียสมัยพุทธกาล. (ส. ตีรฺถิย; ป. ติตฺถิย).
เดียรัจฉาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[–รัดฉาน] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดรัจฉาน ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติรจฺฉาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง .เดียรัจฉาน [–รัดฉาน] น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา วัว ควาย (มักใช้เป็นคําด่า), ใช้ว่า ดิรัจฉาน หรือ เดรัจฉาน ก็มี. (ป. ติรจฺฉาน ว่า ขวาง, ติรจฺฉานคต ว่า สัตว์มีร่างกายเจริญโดยขวาง).
เดียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่งเท่านั้นไม่มีอื่นอีก เช่น คนเดียว พันเดียว นิดเดียว.เดียว ว. หนึ่งเท่านั้นไม่มีอื่นอีก เช่น คนเดียว พันเดียว นิดเดียว.
เดียวกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวมเป็นหนึ่ง ไม่แบ่งแยกกัน เช่น เป็นอันเดียวกัน, เหมือนกัน เช่น หัวอกเดียวกัน ใจเดียวกัน.เดียวกัน ว. รวมเป็นหนึ่ง ไม่แบ่งแยกกัน เช่น เป็นอันเดียวกัน, เหมือนกัน เช่น หัวอกเดียวกัน ใจเดียวกัน.
เดียวดาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คนเดียวเท่านั้น, แต่ลําพังผู้เดียว, เช่น อยู่เดียวดาย.เดียวดาย ว. คนเดียวเท่านั้น, แต่ลําพังผู้เดียว, เช่น อยู่เดียวดาย.
เดี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่ลําพังตัวโดยไม่มีใครหรืออะไรร่วมด้วย เช่น มาเดี่ยว ทําเดี่ยว ไล่เดี่ยว เทียมเดี่ยว, เรียกการเล่นกีฬาบางชนิดซึ่งมีผู้เล่นข้างละคน เช่น เทนนิสประเภทเดี่ยว แบดมินตันประเภทเดี่ยว. เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงฝีมือการเล่นดนตรีคนเดียว เช่น เดี่ยวปี่ เดี่ยวซอ เดี่ยวระนาด. เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสูงของเรือนตั้งแต่พื้นถึงเพดาน, โดยปริยายหมายถึงบางสิ่งที่มีลักษณะสูงเช่นนั้น.เดี่ยว ว. แต่ลําพังตัวโดยไม่มีใครหรืออะไรร่วมด้วย เช่น มาเดี่ยว ทําเดี่ยว ไล่เดี่ยว เทียมเดี่ยว, เรียกการเล่นกีฬาบางชนิดซึ่งมีผู้เล่นข้างละคน เช่น เทนนิสประเภทเดี่ยว แบดมินตันประเภทเดี่ยว. ก. แสดงฝีมือการเล่นดนตรีคนเดียว เช่น เดี่ยวปี่ เดี่ยวซอ เดี่ยวระนาด. น. ส่วนสูงของเรือนตั้งแต่พื้นถึงเพดาน, โดยปริยายหมายถึงบางสิ่งที่มีลักษณะสูงเช่นนั้น.
เดี๋ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ชั่วขณะหนึ่ง, ชั่วครู่หนึ่ง, เช่น คอยเดี๋ยว; อาจจะทําหรืออาจจะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เดี๋ยวไม่ให้เลย เดี๋ยวตกนํ้านะ, ประเดี๋ยวก็ว่า.เดี๋ยว ว. ชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ชั่วขณะหนึ่ง, ชั่วครู่หนึ่ง, เช่น คอยเดี๋ยว; อาจจะทําหรืออาจจะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เดี๋ยวไม่ให้เลย เดี๋ยวตกนํ้านะ, ประเดี๋ยวก็ว่า.
เดี๋ยวก่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนูคําขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ประเดี๋ยวก่อน ก็ว่า.เดี๋ยวก่อน คําขอผัดไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง, ประเดี๋ยวก่อน ก็ว่า.
เดี๋ยวเดียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วเวลานิดเดียว, ประเดี๋ยวเดียว ก็ว่า.เดี๋ยวเดียว ว. ชั่วเวลานิดเดียว, ประเดี๋ยวเดียว ก็ว่า.
เดี๋ยวนี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เวลานี้, ในเวลานี้, ทันที, ประเดี๋ยวนี้ ก็ว่า.เดี๋ยวนี้ ว. เวลานี้, ในเวลานี้, ทันที, ประเดี๋ยวนี้ ก็ว่า.
เดียะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล่องแคล่ว เช่น ว่าเดียะ ว่าวปักเป้าส่ายเดียะ, อย่างกระชั้นชิดไม่ให้คลาดสายตา เช่น ตามเดียะ.เดียะ ว. คล่องแคล่ว เช่น ว่าเดียะ ว่าวปักเป้าส่ายเดียะ, อย่างกระชั้นชิดไม่ให้คลาดสายตา เช่น ตามเดียะ.
เดื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง มะเดื่อ.เดื่อ น. มะเดื่อ.
เดือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระเดือก, ดิ้นกระเสือก.เดือก ก. กระเดือก, ดิ้นกระเสือก.
เดื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง กระเดื่อง เช่น แผ่นดินดื่นเดื่องไหว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.เดื่อง (แบบ) ก. กระเดื่อง เช่น แผ่นดินดื่นเดื่องไหว. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
เดือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ของเหลวพลุ่งขึ้นเพราะความร้อนจัด เช่น นํ้าเดือด, โดยปริยายหมายความว่า บันดาลโทสะ.เดือด ก. อาการที่ของเหลวพลุ่งขึ้นเพราะความร้อนจัด เช่น นํ้าเดือด, โดยปริยายหมายความว่า บันดาลโทสะ.
เดือดดาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธมาก, โกรธพลุ่งพล่าน, ดาลเดือด ก็ใช้.เดือดดาล ก. โกรธมาก, โกรธพลุ่งพล่าน, ดาลเดือด ก็ใช้.
เดือดร้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นทุกข์กังวลไม่เป็นสุข.เดือดร้อน ก. เป็นทุกข์กังวลไม่เป็นสุข.
เดือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดวงจันทร์; ส่วนของปี โดยปรกติมี ๓๐ วัน.เดือน น. ดวงจันทร์; ส่วนของปี โดยปรกติมี ๓๐ วัน.
เดือนขาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เดือนทางจันทรคติที่มี ๒๙ วัน วันสิ้นเดือนตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่า คือ เดือนอ้าย เดือน ๓ เดือน ๕ เดือน ๗ เดือน ๙ เดือน ๑๑, คู่กับ เดือนเต็ม.เดือนขาด น. เดือนทางจันทรคติที่มี ๒๙ วัน วันสิ้นเดือนตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่า คือ เดือนอ้าย เดือน ๓ เดือน ๕ เดือน ๗ เดือน ๙ เดือน ๑๑, คู่กับ เดือนเต็ม.
เดือนค้างฟ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ดวงจันทร์ที่ยังมองเห็นได้ในท้องฟ้าเวลากลางวัน.เดือนค้างฟ้า น. ดวงจันทร์ที่ยังมองเห็นได้ในท้องฟ้าเวลากลางวัน.
เดือนคี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เดือนที่มีจํานวนคี่ คือ เดือนอ้าย เดือน ๓ เดือน ๕ เดือน ๗ เดือน ๙ เดือน ๑๑, คู่กับ เดือนคู่.เดือนคี่ (ปาก) น. เดือนที่มีจํานวนคี่ คือ เดือนอ้าย เดือน ๓ เดือน ๕ เดือน ๗ เดือน ๙ เดือน ๑๑, คู่กับ เดือนคู่.
เดือนคู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เดือนที่มีจํานวนคู่ คือ เดือนยี่ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๘ เดือน ๑๐ เดือน ๑๒, คู่กับ เดือนคี่.เดือนคู่ (ปาก) น. เดือนที่มีจํานวนคู่ คือ เดือนยี่ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๘ เดือน ๑๐ เดือน ๑๒, คู่กับ เดือนคี่.
เดือนจันทรคติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–จันทฺระคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง การนับเดือนโดยถือเอาดวงจันทร์เดินรอบโลกเป็นเกณฑ์ โดยนับจากวันเดือนดับไปถึงวันเดือนดับที่ถัดไป มีระยะเวลาประมาณ ๒๙ วัน ๑๒ ชั่วโมง ๔๔ นาที แบ่งเป็น ข้างขึ้น ข้างแรม.เดือนจันทรคติ [–จันทฺระคะติ] น. การนับเดือนโดยถือเอาดวงจันทร์เดินรอบโลกเป็นเกณฑ์ โดยนับจากวันเดือนดับไปถึงวันเดือนดับที่ถัดไป มีระยะเวลาประมาณ ๒๙ วัน ๑๒ ชั่วโมง ๔๔ นาที แบ่งเป็น ข้างขึ้น ข้างแรม.
เดือนเต็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เดือนทางจันทรคติที่มี ๓๐ วัน วันสิ้นเดือนตรงกับวันแรม ๑๕ คํ่า คือ เดือนยี่ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๘ เดือน ๑๐ เดือน ๑๒, คู่กับ เดือนขาด.เดือนเต็ม น. เดือนทางจันทรคติที่มี ๓๐ วัน วันสิ้นเดือนตรงกับวันแรม ๑๕ คํ่า คือ เดือนยี่ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๘ เดือน ๑๐ เดือน ๑๒, คู่กับ เดือนขาด.
เดือนมืด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคืนที่ไม่มีดวงจันทร์ส่องแสงว่า คืนเดือนมืด.เดือนมืด น. เรียกคืนที่ไม่มีดวงจันทร์ส่องแสงว่า คืนเดือนมืด.
เดือนเย็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หน้าหนาว.เดือนเย็น น. หน้าหนาว.
เดือนร้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หน้าร้อน.เดือนร้อน น. หน้าร้อน.
เดือนสุริยคติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[–สุริยะคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง การนับเดือนโดยถือเอาดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์.เดือนสุริยคติ [–สุริยะคะติ] น. การนับเดือนโดยถือเอาดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์.
เดือนหงาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคืนที่มีดวงจันทร์ส่องแสงสว่าง ว่า คืนเดือนหงาย.เดือนหงาย น. เรียกคืนที่มีดวงจันทร์ส่องแสงสว่าง ว่า คืนเดือนหงาย.
เดือย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะของไก่ตัวผู้และนกบางชนิด มีรูปเรียวแหลม งอกขึ้นที่เหนือข้อตีนเบื้องหลัง; แกนที่ยื่นออกมาสําหรับเอาของอื่นสวม เช่น เดือยโม่ เดือยหัวเสา, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่ยื่นออกมามีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.เดือย ๑ น. อวัยวะของไก่ตัวผู้และนกบางชนิด มีรูปเรียวแหลม งอกขึ้นที่เหนือข้อตีนเบื้องหลัง; แกนที่ยื่นออกมาสําหรับเอาของอื่นสวม เช่น เดือยโม่ เดือยหัวเสา, โดยปริยายเรียกสิ่งอื่นที่ยื่นออกมามีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
เดือยไก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โรคริดสีดวงทวารชนิดหนึ่งที่งอกออกมาคล้ายเดือยไก่.เดือยไก่ ๑ น. โรคริดสีดวงทวารชนิดหนึ่งที่งอกออกมาคล้ายเดือยไก่.
เดือย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Coix lachryma—jobi L. ในวงศ์ Gramineae ลําต้นและใบคล้ายต้นข้าวโพด แต่ใบสั้นกว่า ผลกลมหรือยาวรี สีขาว เหลือง หรือนํ้าเงิน พันธุ์ที่เปลือกหุ้มอ่อนใช้ทําเป็นอาหารและเหล้า พันธุ์ที่เปลือกหุ้มแข็ง เรียก เดือยหิน ใช้ทําเครื่องประดับ.เดือย ๒ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Coix lachryma—jobi L. ในวงศ์ Gramineae ลําต้นและใบคล้ายต้นข้าวโพด แต่ใบสั้นกว่า ผลกลมหรือยาวรี สีขาว เหลือง หรือนํ้าเงิน พันธุ์ที่เปลือกหุ้มอ่อนใช้ทําเป็นอาหารและเหล้า พันธุ์ที่เปลือกหุ้มแข็ง เรียก เดือยหิน ใช้ทําเครื่องประดับ.
เดือยไก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ ดูใน เดือย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑.เดือยไก่ ๑ ดูใน เดือย ๑.
เดือยไก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพริกพันธุ์หนึ่งของชนิด Capsicum annuum L. ผลคล้ายเดือยไก่ แก่แล้วสีเหลือง, พริกเหลือง ก็เรียก.เดือยไก่ ๒ น. ชื่อพริกพันธุ์หนึ่งของชนิด Capsicum annuum L. ผลคล้ายเดือยไก่ แก่แล้วสีเหลือง, พริกเหลือง ก็เรียก.
แด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ใจ.แด (กลอน) น. ใจ.
แดดาล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงใจ, ดลใจ, เกิดขึ้นในใจ.แดดาล ก. ถึงใจ, ดลใจ, เกิดขึ้นในใจ.
แดดิ้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ใจกระสับกระส่าย, ใจทุรนทุราย.แดดิ้น ก. ใจกระสับกระส่าย, ใจทุรนทุราย.
แดยัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แทบขาดใจ.แดยัน ก. แทบขาดใจ.
แด่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก เป็นคำบุรพบท หมายถึง แก่ (ใช้ในที่เคารพ).แด่ บ. แก่ (ใช้ในที่เคารพ).
แดก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา เรียกว่า ลมแดกขึ้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง กิน, กินอย่างเกินขนาด, (ใช้ในลักษณะที่ถือว่าไม่สุภาพ), โดยปริยายใช้แทนกริยาอย่างอื่นที่มีอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น; พูดกระทบให้โกรธ โดยยกเอาสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งชอบขึ้นมาย้อนเปรียบเทียบ.แดก ๑ ก. อาการที่ลมในท้องดันขึ้นมา เรียกว่า ลมแดกขึ้น; (ปาก) กิน, กินอย่างเกินขนาด, (ใช้ในลักษณะที่ถือว่าไม่สุภาพ), โดยปริยายใช้แทนกริยาอย่างอื่นที่มีอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น; พูดกระทบให้โกรธ โดยยกเอาสิ่งที่อีกฝ่ายหนึ่งชอบขึ้นมาย้อนเปรียบเทียบ.
แดกดัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดเพราะความไม่พอใจ.แดกดัน ก. กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดเพราะความไม่พอใจ.
แดก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปลาที่หมักใส่เกลือโขลกปนกับรําแล้วยัดใส่ไหว่า ปลาแดก, ปลาร้า.แดก ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. เรียกปลาที่หมักใส่เกลือโขลกปนกับรําแล้วยัดใส่ไหว่า ปลาแดก, ปลาร้า.
แด็ก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ เช่น ดิ้นแด็ก ๆ ชักแด็ก ๆ ติดแด็ก ๆ, กระแด็ก ๆ ก็ว่า.แด็ก ๆ ว. อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ เช่น ดิ้นแด็ก ๆ ชักแด็ก ๆ ติดแด็ก ๆ, กระแด็ก ๆ ก็ว่า.
แดกงา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทําด้วยข้าวเหนียวนึ่งแล้วเอามาตําคลุกกับงา.แดกงา น. ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทําด้วยข้าวเหนียวนึ่งแล้วเอามาตําคลุกกับงา.
แดกแด้, แด็กแด้ แดกแด้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท แด็กแด้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ดู ดักแด้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท.แดกแด้, แด็กแด้ ดู ดักแด้.
แดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง. เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะที่ความลับซึ่งปกปิดไว้ได้ปรากฏออกมา เช่น เรื่องนี้แดงออกมาแล้ว. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง สตางค์ เช่น ไม่มีสักแดงเดียว. (ตัดมาจาก สตางค์แดง).แดง ๑ ว. สีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง. ก. ลักษณะที่ความลับซึ่งปกปิดไว้ได้ปรากฏออกมา เช่น เรื่องนี้แดงออกมาแล้ว. (ปาก) น. สตางค์ เช่น ไม่มีสักแดงเดียว. (ตัดมาจาก สตางค์แดง).
แดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ไม้แดง. (๒) เทียนแดง. ในวงเล็บ ดู เทียนแดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.แดง ๒ น. (๑) ไม้แดง. (๒) เทียนแดง. (ดู เทียนแดง ที่ เทียน ๓).
แดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ ดู ชะโอน เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู และ เนื้ออ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู.แดง ๓ ดู ชะโอน และ เนื้ออ่อน.
แดงน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำดู กางขี้มอด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ที่ กาง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒.แดงน้ำ ดู กางขี้มอด ที่ กาง ๒.
แดด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่พุ่งจากดวงอาทิตย์ตรงมายังโลก, แสงตะวัน, แสงตะวันที่สว่างและร้อน.แดด น. แสงที่พุ่งจากดวงอาทิตย์ตรงมายังโลก, แสงตะวัน, แสงตะวันที่สว่างและร้อน.
แดน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่ที่กําหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน เช่น ชายแดน ลํ้าแดน, ถิ่นที่ เช่น แดนเสือ แดนผู้ร้าย.แดน น. ที่ที่กําหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน เช่น ชายแดน ลํ้าแดน, ถิ่นที่ เช่น แดนเสือ แดนผู้ร้าย.
แดนไตร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง โลกทั้ง ๓ ได้แก่ กามภพ คือภพของเทวดาลงมา, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป; หรือ สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล.แดนไตร น. โลกทั้ง ๓ ได้แก่ กามภพ คือภพของเทวดาลงมา, รูปภพ คือภพของพรหมที่มีรูป, อรูปภพ คือภพของพรหมที่ไม่มีรูป; หรือ สวรรค์ มนุษยโลก และบาดาล.
แดนสนธยา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แดนที่เสมือนมีบางสิ่งบางอย่างที่ลึกลับและมีปัญหาสลับซับซ้อนแอบแฝงให้น่าสงสัยอยู่มาก.แดนสนธยา น. แดนที่เสมือนมีบางสิ่งบางอย่างที่ลึกลับและมีปัญหาสลับซับซ้อนแอบแฝงให้น่าสงสัยอยู่มาก.
แด่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีขนด่างเป็นดวงที่หน้าของสัตว์บางชนิด เช่น ม้า หมา.แด่น ๑ ว. มีขนด่างเป็นดวงที่หน้าของสัตว์บางชนิด เช่น ม้า หมา.
แด่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แล่น, ไปถึง เช่น ทัพถึงหมื่นถึงแสนแด่นถึงล้าน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ เทียบ ****(ม. คำหลวง มหาราช). (เทียบอะหม ดัน ว่าถึง).แด่น ๒ ก. แล่น, ไปถึง เช่น ทัพถึงหมื่นถึงแสนแด่นถึงล้าน. (ม. คำหลวง มหาราช). (เทียบอะหม ดัน ว่าถึง).
แด่ว ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นอย่างทุรนทุรายแต่หาทางไปไม่ได้ในคําว่า ดิ้นแด่ว ๆ, กระแด่ว ๆ ก็ว่า.แด่ว ๆ ว. อาการที่ดิ้นอย่างทุรนทุรายแต่หาทางไปไม่ได้ในคําว่า ดิ้นแด่ว ๆ, กระแด่ว ๆ ก็ว่า.
แดะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง แอ่นตัวหรือดีดตัวขึ้น. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกท่าหนึ่งของวิชาพลศึกษาที่แอ่นตัวขึ้นก่อนที่จะทิ้งตัวลงในการแข่งขันกระโดดไกล กระโดดสูง ราวเดี่ยว เป็นต้น.แดะ ก. แอ่นตัวหรือดีดตัวขึ้น. น. เรียกท่าหนึ่งของวิชาพลศึกษาที่แอ่นตัวขึ้นก่อนที่จะทิ้งตัวลงในการแข่งขันกระโดดไกล กระโดดสูง ราวเดี่ยว เป็นต้น.
แดะแด๋ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-จัด-ตะ-วา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดัดจริตดีดดิ้น, กระแดะกระแด๋ ก็ว่า.แดะแด๋ (ปาก) ว. ดัดจริตดีดดิ้น, กระแดะกระแด๋ ก็ว่า.
โด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็กดู ชะโด เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก.โด ดู ชะโด.
โด่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นตําตาอยู่ เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่.โด่ ว. ใช้ประกอบคํากริยาบางคําเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นตําตาอยู่ เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่.
โด่เด่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ตั้งตรงแล้วโย้ไปโย้มา.โด่เด่ ว. อาการที่ตั้งตรงแล้วโย้ไปโย้มา.
โดกเดก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โยกเยก, โอนไปโอนมา, กระโดกกระเดก ก็ว่า.โดกเดก ว. โยกเยก, โอนไปโอนมา, กระโดกกระเดก ก็ว่า.
โด่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พุ่งขึ้นไป เช่น พลุขึ้นโด่ง ตะไลขึ้นโด่ง, สูง เช่น ตะวันโด่ง หัวโด่ง ท้ายโด่ง; เรียกจมูกที่เป็นสันเด่นออกมาว่า จมูกโด่ง.โด่ง ว. อาการที่พุ่งขึ้นไป เช่น พลุขึ้นโด่ง ตะไลขึ้นโด่ง, สูง เช่น ตะวันโด่ง หัวโด่ง ท้ายโด่ง; เรียกจมูกที่เป็นสันเด่นออกมาว่า จมูกโด่ง.
โด่งดัง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพร่สนั่นไป, เป็นที่เลื่องลือ.โด่งดัง ว. แพร่สนั่นไป, เป็นที่เลื่องลือ.
โดด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระโดด, กระโจน.โดด ๑ ก. กระโดด, กระโจน.
โดดร่ม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง โดดออกจากอากาศยานในขณะอยู่ในอากาศเพื่อลงสู่พื้นดินโดยอาศัยร่มชูชีพ, กระโดดร่ม ก็ว่า; โดยปริยายหมายความว่า หนีงาน หนีโรงเรียน.โดดร่ม ก. โดดออกจากอากาศยานในขณะอยู่ในอากาศเพื่อลงสู่พื้นดินโดยอาศัยร่มชูชีพ, กระโดดร่ม ก็ว่า; โดยปริยายหมายความว่า หนีงาน หนีโรงเรียน.
โดด ๒, โดด ๆ โดด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก โดด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อันเดียวเด่น เช่น ตั้งอยู่โดด ๆ ลูกโดด.โดด ๒, โดด ๆ ว. อันเดียวเด่น เช่น ตั้งอยู่โดด ๆ ลูกโดด.
โดดเดี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เดียวเท่านั้น, อยู่ตามลําพังไม่เกี่ยวข้องกับใคร.โดดเดี่ยว ว. เดียวเท่านั้น, อยู่ตามลําพังไม่เกี่ยวข้องกับใคร.
โดดแล่น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ขับไล่ข้าศึก.โดดแล่น น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ขับไล่ข้าศึก.
โดน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบกระทั่ง, กระทบกระแทก, สัมผัสถูกต้อง; ถูก เช่น โดนตี.โดน ๑ ก. กระทบกระทั่ง, กระทบกระแทก, สัมผัสถูกต้อง; ถูก เช่น โดนตี.
โดนดี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําพูดเชิงประชดประชัน มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ระวังเถอะเดี๋ยวโดนดีดอก.โดนดี (ปาก) คําพูดเชิงประชดประชัน มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ข้อความแวดล้อม (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ระวังเถอะเดี๋ยวโดนดีดอก.
โดน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู ความหมายที่ ดู กระโดน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู.โดน ๒ ดู กระโดน.
โดม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แนว, แถว, สายนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎง เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู.โดม ๑ น. แนว, แถว, สายนํ้า. (ข. ฎง).
โดมไพร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง แนวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎงไพฺร เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ.โดมไพร น. แนวป่า. (ข. ฎงไพฺร).
โดม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โฎม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-ชะ-ดา-มอ-ม้า.โดม ๒ ว. สูง. (ข. โฎม).
โดม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หลังคาส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารที่มีลักษณะโค้งกลมคล้ายผลส้มผ่าครึ่งควํ่า, ส่วนที่มีลักษณะโค้งกลมซึ่งครอบอยู่บนสิ่งก่อสร้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส dôme เขียนว่า ดี-undefined-เอ็ม-อี.โดม ๓ น. หลังคาส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารที่มีลักษณะโค้งกลมคล้ายผลส้มผ่าครึ่งควํ่า, ส่วนที่มีลักษณะโค้งกลมซึ่งครอบอยู่บนสิ่งก่อสร้าง. (ฝ. dôme).
โดมร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-รอ-เรือ[โดมอน] เป็นคำนาม หมายถึง หอก, หอกซัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โตมร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-รอ-เรือ.โดมร [โดมอน] น. หอก, หอกซัด. (ป., ส. โตมร).
โด่ไม่รู้ล้ม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elephantopus scaber L. ในวงศ์ Compositae ใบแนบอยู่กับพื้นดิน ดอกสีม่วงอ่อน ก้านช่อดอกตั้งตรงขึ้นไป ใช้ทํายาได้.โด่ไม่รู้ล้ม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elephantopus scaber L. ในวงศ์ Compositae ใบแนบอยู่กับพื้นดิน ดอกสีม่วงอ่อน ก้านช่อดอกตั้งตรงขึ้นไป ใช้ทํายาได้.
โดย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก ความหมายที่ [โดย, โดยะ] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โตย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก.โดย ๑ [โดย, โดยะ] น. นํ้า. (ป. โตย).
โดย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำบุรพบท หมายถึง ด้วย, ตาม, เช่น โดยจริง โดยธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โฎย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-ชะ-ดา-ยอ-ยัก. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จ้ะ, ขอรับ.โดย ๒ บ. ด้วย, ตาม, เช่น โดยจริง โดยธรรม. (ข. โฎย). (ถิ่น) ว. จ้ะ, ขอรับ.
โดยจริง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามความมุ่งหวัง, ตามความประสงค์.โดยจริง ว. ตามความมุ่งหวัง, ตามความประสงค์.
โดยเจตนา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู กระทำโดยเจตนา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.โดยเจตนา (กฎ) ดู กระทำโดยเจตนา.
โดยที่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำสันธาน หมายถึง เพราะเหตุว่า.โดยที่ สัน. เพราะเหตุว่า.
โดยทุจริต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่น.โดยทุจริต (กฎ) ว. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับตนเองหรือผู้อื่น.
โดยปริยาย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยอ้อม, โดยผิดเพี้ยนไปจากความหมายเดิม, เช่น โดดร่ม ความหมายตรงว่า โดดจากเครื่องบินโดยมีร่มชูชีพเป็นเครื่องพยุง ความหมายโดยปริยายว่า หนีงาน, หนีโรงเรียน.โดยปริยาย ว. โดยอ้อม, โดยผิดเพี้ยนไปจากความหมายเดิม, เช่น โดดร่ม ความหมายตรงว่า โดดจากเครื่องบินโดยมีร่มชูชีพเป็นเครื่องพยุง ความหมายโดยปริยายว่า หนีงาน, หนีโรงเรียน.
โดยพยัญชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามตัวหนังสือ.โดยพยัญชนะ ว. ตามตัวหนังสือ.
โดยสังเขป เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยย่อ, โดยใจความย่อ, เช่น กล่าวโดยสังเขป.โดยสังเขป ว. โดยย่อ, โดยใจความย่อ, เช่น กล่าวโดยสังเขป.
โดยสาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง อาศัยไปด้วย เช่น โดยสารเรือ, เดินทางไปโดยยานพาหนะโดยเสียค่าโดยสาร, เรียกคนที่ใช้รถหรือเรือรับจ้างว่า คนโดยสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .โดยสาร ก. อาศัยไปด้วย เช่น โดยสารเรือ, เดินทางไปโดยยานพาหนะโดยเสียค่าโดยสาร, เรียกคนที่ใช้รถหรือเรือรับจ้างว่า คนโดยสาร. (ข.).
โดยสิ้นเชิง, อย่างสิ้นเชิง โดยสิ้นเชิง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู อย่างสิ้นเชิง เขียนว่า ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น เขาพ้นข้อหาโดยสิ้นเชิง โครงการนี้ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง.โดยสิ้นเชิง, อย่างสิ้นเชิง ว. ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, เช่น เขาพ้นข้อหาโดยสิ้นเชิง โครงการนี้ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง.
โดยสุจริต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยซื่อสัตย์ เปิดเผย หรือโดยไม่รู้ถึงสิทธิของบุคคลอื่นที่ดีกว่า.โดยสุจริต (กฎ) ว. โดยซื่อสัตย์ เปิดเผย หรือโดยไม่รู้ถึงสิทธิของบุคคลอื่นที่ดีกว่า.
โดยเสด็จ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ตามไปด้วย; ร่วม เช่น โดยเสด็จพระราชกุศล.โดยเสด็จ (ราชา) ก. ตามไปด้วย; ร่วม เช่น โดยเสด็จพระราชกุศล.
โดยอรรถ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามเนื้อความ.โดยอรรถ ว. ตามเนื้อความ.
โดร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ[โดน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง ตัดมาจากคำภาษาเขมร ว่า พิโดร เป็นคำกริยา หมายถึง หอม, กลิ่นหอมที่ฟุ้งไป; โดยปริยายหมายถึงดอกไม้ เช่น กระทึงทอง ลําดวนโดร รสอ่อน พี่แม่. ในวงเล็บ มาจาก กำสรวลศรีปราชญ์ ฉบับโรงพิมพ์ ไท ถนนรองเมือง พ.ศ. ๒๔๖๐.โดร [โดน] (กลอน; ตัดมาจาก ข. พิโดร) ก. หอม, กลิ่นหอมที่ฟุ้งไป; โดยปริยายหมายถึงดอกไม้ เช่น กระทึงทอง ลําดวนโดร รสอ่อน พี่แม่. (กําสรวล).
โดรณ, โดรณะ โดรณ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-นอ-เนน โดรณะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [โดน, โดระนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เสาต้าย, เสาค่าย, เสาระเนียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โตรณ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-เนน.โดรณ, โดรณะ [โดน, โดระนะ] (แบบ) น. ซุ้ม, ประตูซุ้ม, เสาต้าย, เสาค่าย, เสาระเนียด. (ป., ส. โตรณ).
ใด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความไม่เจาะจงหรือเป็นคําถาม เช่น คนใด เมื่อใด.ใด ว. ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความไม่เจาะจงหรือเป็นคําถาม เช่น คนใด เมื่อใด.
...ใด...หนึ่ง เขียนว่า จุด-จุด-จุด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ดอ-เด็ก-จุด-จุด-จุด-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใครก็ได้, อะไรก็ได้, เช่น คนใดคนหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง....ใด...หนึ่ง ว. ใครก็ได้, อะไรก็ได้, เช่น คนใดคนหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง.
ได เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง มือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .ได น. มือ. (ข.).
ได้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง รับมาหรือตกมาเป็นของตัว เช่น ได้เงิน ได้ลูก ได้แผล; ใช้ประกอบท้ายคํากริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้; สําเร็จผล เช่น สอบได้; อนุญาต เช่น ลงมือกินได้ ไปได้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง คําช่วยกริยาบอกอดีต เช่น ได้กิน ได้ไป; เรียกเงินหรือสิ่งที่ได้มาว่า เงินได้ รายได้.ได้ ก. รับมาหรือตกมาเป็นของตัว เช่น ได้เงิน ได้ลูก ได้แผล; ใช้ประกอบท้ายคํากริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้; สําเร็จผล เช่น สอบได้; อนุญาต เช่น ลงมือกินได้ ไปได้; (ไว) คําช่วยกริยาบอกอดีต เช่น ได้กิน ได้ไป; เรียกเงินหรือสิ่งที่ได้มาว่า เงินได้ รายได้.
ได้กัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ได้เป็นผัวเมียกัน.ได้กัน ก. ได้เป็นผัวเมียกัน.
ได้การ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ได้, ได้ผล.ได้การ ว. ใช้ได้, ได้ผล.
ได้แก่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำสันธาน หมายถึง คือ, เท่ากับ, เช่น หนังสือสําหรับค้นความหมายของคําที่เรียงลําดับตามตัวอักษร ได้แก่พจนานุกรม.ได้แก่ สัน. คือ, เท่ากับ, เช่น หนังสือสําหรับค้นความหมายของคําที่เรียงลําดับตามตัวอักษร ได้แก่พจนานุกรม.
ได้แกงเทน้ำพริก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ใหม่ลืมเก่า.ได้แกงเทน้ำพริก (สำ) ก. ได้ใหม่ลืมเก่า.
ได้ความ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ได้เรื่อง, ได้การ.ได้ความ ก. ได้เรื่อง, ได้การ.
ได้คิด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกผิดชอบชั่วดี, กลับรู้สึกสํานึกตน, กลับคิดได้.ได้คิด ก. รู้สึกผิดชอบชั่วดี, กลับรู้สึกสํานึกตน, กลับคิดได้.
ได้คืบจะเอาศอก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ต้องการได้มากกว่าที่ได้มาแล้ว.ได้คืบจะเอาศอก (สำ) ต้องการได้มากกว่าที่ได้มาแล้ว.
ได้ใจ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง เหิมใจ, ย่ามใจ, ชะล่าใจ, กำเริบ.ได้ใจ ก. เหิมใจ, ย่ามใจ, ชะล่าใจ, กำเริบ.
ได้ช่อง, ได้ท่า ได้ช่อง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ได้ท่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ได้โอกาส.ได้ช่อง, ได้ท่า ก. ได้โอกาส.
ได้ชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ขึ้นชื่อ, มีชื่อเสียง.ได้ชื่อ ก. ขึ้นชื่อ, มีชื่อเสียง.
ได้ดิบได้ดี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ได้ดี.ได้ดิบได้ดี (สำ) ได้ดี.
ได้ท้าย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ผู้หนุนหลัง.ได้ท้าย ก. ได้ผู้หนุนหลัง.
ได้ที เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นต่อ, ได้โอกาส, ได้ช่อง, ได้เปรียบ, เช่น ได้ทีขี่แพะไล่.ได้ที ก. เป็นต่อ, ได้โอกาส, ได้ช่อง, ได้เปรียบ, เช่น ได้ทีขี่แพะไล่.
ได้ที่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงที่เหมาะ, ถึงที่กะไว้, พอดี.ได้ที่ ก. ถึงที่เหมาะ, ถึงที่กะไว้, พอดี.
ได้ทีขี่แพะไล่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ซํ้าเติมเมื่อผู้อื่นเพลี่ยงพลํ้าลง.ได้ทีขี่แพะไล่ (สำ) ก. ซํ้าเติมเมื่อผู้อื่นเพลี่ยงพลํ้าลง.
ได้ยิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รับรู้เสียงด้วยหู.ได้ยิน ก. รับรู้เสียงด้วยหู.
ได้ราคา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ขายได้เงินมากกว่าที่คาดไว้.ได้ราคา ก. ขายได้เงินมากกว่าที่คาดไว้.