เขียนว่า ซอ-โซ่พยัญชนะตัวที่ ๑๑ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น กอซ. พยัญชนะตัวที่ ๑๑ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น กอซ.
ซก, ซ่ก ซก เขียนว่า ซอ-โซ่-กอ-ไก่ ซ่ก เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เปียกชุ่มจนถึงหยด เช่น เหงื่อซก.ซก, ซ่ก ก. เปียกชุ่มจนถึงหยด เช่น เหงื่อซก.
ซงดำ เขียนว่า ซอ-โซ่-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง โซ่ง, ซ่ง หรือ ไทยดํา ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู โซ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู.ซงดำ น. โซ่ง, ซ่ง หรือ ไทยดํา ก็เรียก. (ดู โซ่ง).
ซ่ง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โซ่ง, ซงดำ หรือ ไทยดำ ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู โซ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู.ซ่ง น. โซ่ง, ซงดำ หรือ ไทยดำ ก็เรียก. (ดู โซ่ง).
ซ่งฮื้อ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Aristichthys nobilis ในวงศ์ Cyprinidae ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด ลําตัวสีเงิน ยาวป้อม แบนข้างเล็กน้อย ท้องกลม ที่สําคัญคือ มีหัวโตและกว้าง เกล็ดเล็กเรียบ หากินอยู่ตามพื้นท้องนํ้า มีถิ่นเดิมอยู่ในประเทศจีน นําเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหาร.ซ่งฮื้อ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Aristichthys nobilis ในวงศ์ Cyprinidae ปากเล็กอยู่ปลายสุดของหัว ไม่มีหนวด ลําตัวสีเงิน ยาวป้อม แบนข้างเล็กน้อย ท้องกลม ที่สําคัญคือ มีหัวโตและกว้าง เกล็ดเล็กเรียบ หากินอยู่ตามพื้นท้องนํ้า มีถิ่นเดิมอยู่ในประเทศจีน นําเข้ามาเลี้ยงเป็นอาหาร.
ซง้า เขียนว่า ซอ-โซ่-งอ-งู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[ซะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ปีมะเมีย. (ไทยเหนือ).ซง้า [ซะ–] น. ปีมะเมีย. (ไทยเหนือ).
ซด เขียนว่า ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่กินนํ้าร้อน นํ้าชา หรือนํ้าแกงทีละน้อย ๆ มักมีเสียงดังซู้ด.ซด ก. อาการที่กินนํ้าร้อน นํ้าชา หรือนํ้าแกงทีละน้อย ๆ มักมีเสียงดังซู้ด.
ซน เขียนว่า ซอ-โซ่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่อยู่ไม่สุขจับโน่นฉวยนี่หรือเล่นไม่เป็นเรื่องเป็นราวทําให้เดือดร้อนเสียหาย.ซน ๑ ก. อาการที่อยู่ไม่สุขจับโน่นฉวยนี่หรือเล่นไม่เป็นเรื่องเป็นราวทําให้เดือดร้อนเสียหาย.
ซน เขียนว่า ซอ-โซ่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฟืนที่ไหม้ไฟบ้างแล้วซุกเข้าไปในกองไฟเรียกว่า ซนไฟ.ซน ๒ ก. เอาฟืนที่ไหม้ไฟบ้างแล้วซุกเข้าไปในกองไฟเรียกว่า ซนไฟ.
ซ่น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ส้น, ส่วนท้ายของเท้า, ส่วนท้ายของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ซ่นปืน.ซ่น (โบ) น. ส้น, ส่วนท้ายของเท้า, ส่วนท้ายของบางสิ่งบางอย่าง เช่น ซ่นปืน.
ซ้น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ข้อมือข้อเท้าเป็นต้นถูกกระแทกโดยแรงทําให้เคลื่อนเลยที่เดิมเข้าไป.ซ้น ก. อาการที่ข้อมือข้อเท้าเป็นต้นถูกกระแทกโดยแรงทําให้เคลื่อนเลยที่เดิมเข้าไป.
ซบ เขียนว่า ซอ-โซ่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหน้าฟุบแนบลงไป.ซบ ก. เอาหน้าฟุบแนบลงไป.
ซบเซา เขียนว่า ซอ-โซ่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หงอยก๋อย, เงียบเหงา, ไม่เบิกบาน; ไม่คึกคักเช่นเดิม เช่น ตลาดการค้าเดี๋ยวนี้ซบเซาไป.ซบเซา ว. หงอยก๋อย, เงียบเหงา, ไม่เบิกบาน; ไม่คึกคักเช่นเดิม เช่น ตลาดการค้าเดี๋ยวนี้ซบเซาไป.
ซม เขียนว่า ซอ-โซ่-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการอย่างเป็นไข้ในระยะรุนแรงถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา เรียกว่า นอนซม.ซม ว. อาการอย่างเป็นไข้ในระยะรุนแรงถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา เรียกว่า นอนซม.
ซมซาน เขียนว่า ซอ-โซ่-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซมซาน, ซานซม ก็ว่า.ซมซาน ก. กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซมซาน, ซานซม ก็ว่า.
ซรอกซรัง เขียนว่า ซอ-โซ่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[ซฺรอกซฺรัง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ซุกซ่อน, ซ่อนเร้น, เช่น อย่าทันเห็นแม่ออก ชีสู่ซรอกซรังไป. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร, ซอกซัง ก็ว่า.ซรอกซรัง [ซฺรอกซฺรัง] (แบบ) ก. ซุกซ่อน, ซ่อนเร้น, เช่น อย่าทันเห็นแม่ออก ชีสู่ซรอกซรังไป. (ม. คำหลวง กุมาร), ซอกซัง ก็ว่า.
ซวด เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เกินขนาด, นูนขึ้นสูงขึ้น, เช่น อันว่าสวภาพท้องบมิซวดเสมออก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร.ซวด (โบ) ก. เกินขนาด, นูนขึ้นสูงขึ้น, เช่น อันว่าสวภาพท้องบมิซวดเสมออก. (ม. คำหลวง ทศพร).
ซวดเซ เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอนไป, เอียงไป, จวนล้ม, เสียหลัก, (มักใช้แก่ฐานะความเป็นอยู่) เช่น ฐานะซวดเซ.ซวดเซ ก. เอนไป, เอียงไป, จวนล้ม, เสียหลัก, (มักใช้แก่ฐานะความเป็นอยู่) เช่น ฐานะซวดเซ.
ซวดทรง เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ทรวดทรง, รูปร่าง, สัณฐาน.ซวดทรง (โบ) น. ทรวดทรง, รูปร่าง, สัณฐาน.
ซวน เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ถลาไปข้างหน้า เช่น เดินซวน, เอนไปจากแนว เช่น เสาซวน.ซวน ก. ถลาไปข้างหน้า เช่น เดินซวน, เอนไปจากแนว เช่น เสาซวน.
ซวนเซ เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำกริยา หมายถึง เซถลาไปมา.ซวนเซ ก. เซถลาไปมา.
ซวย เขียนว่า ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคราะห์ร้าย, อับโชค. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ซวย (ปาก) ว. เคราะห์ร้าย, อับโชค. (จ.).
ซอ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตอไม้ไผ่ค่อนข้างยาวที่เหลืออยู่ที่กอ.ซอ ๑ น. ตอไม้ไผ่ค่อนข้างยาวที่เหลืออยู่ที่กอ.
ซอ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดนตรีพวกหนึ่งสําหรับสี ในพวกเครื่องสายหรือมโหรี มีคันชักสีให้ดัง มีหลายชนิด เช่น ซออู้ ซอด้วง, ลักษณนามว่า คัน. เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น ขับซอยอราชเที้ยร ทุกเมือง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ซอ ๒ น. ชื่อเครื่องดนตรีพวกหนึ่งสําหรับสี ในพวกเครื่องสายหรือมโหรี มีคันชักสีให้ดัง มีหลายชนิด เช่น ซออู้ ซอด้วง, ลักษณนามว่า คัน. ก. ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น ขับซอยอราชเที้ยร ทุกเมือง. (ลอ).
ซอก เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ช่องทางที่แคบ ๆ เช่น ซอกเขา ซอกหู ซอกคอ. เป็นคำกริยา หมายถึง ซุก, ซุกแทรกเข้าไป, ซ่อน.ซอก น. ช่องทางที่แคบ ๆ เช่น ซอกเขา ซอกหู ซอกคอ. ก. ซุก, ซุกแทรกเข้าไป, ซ่อน.
ซอกซอน เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ด้นดั้นไป, ชอนไชไป เช่น หนอนซอกซอนไป รากไม้ซอกซอนไป.ซอกซอน ก. ด้นดั้นไป, ชอนไชไป เช่น หนอนซอกซอนไป รากไม้ซอกซอนไป.
ซอกซัง เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ซุกซ่อน, ซ่อนเร้น.ซอกซัง ก. ซุกซ่อน, ซ่อนเร้น.
ซอกแซก เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ดั้นด้นไปทุกซอกทุกมุมทั้ง ๆ ที่ไม่น่าจะไป เช่น ซอกแซกไป, เสาะค้นขึ้นมาถามแม้ในเรื่องที่ไม่น่าถาม เช่น ซอกแซกถาม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทุกแง่ทุกมุม เช่น ถามซอกแซก, เสาะหาสรรหามากิน เช่น กินซอกแซก, เป็นซอกเป็นตรอกมาก เช่น ทางซอกแซก.ซอกแซก ก. ดั้นด้นไปทุกซอกทุกมุมทั้ง ๆ ที่ไม่น่าจะไป เช่น ซอกแซกไป, เสาะค้นขึ้นมาถามแม้ในเรื่องที่ไม่น่าถาม เช่น ซอกแซกถาม. ว. ทุกแง่ทุกมุม เช่น ถามซอกแซก, เสาะหาสรรหามากิน เช่น กินซอกแซก, เป็นซอกเป็นตรอกมาก เช่น ทางซอกแซก.
ซอง เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ซอกหรือช่องแคบ เช่น ซองหัวเรือท้ายเรือ เรียกว่า ซองเรือ; ซอกหรือช่องแคบที่ทําขึ้นสําหรับเอาช้างม้าวัวควายเข้าไปไว้ในที่บังคับ; เครื่องใช้ที่มีลักษณะแคบสําหรับสอดใส่สิ่งของ เช่น ซองธูป ซองพลู ซองจดหมาย ซองบุหรี่, ลักษณนามเรียกว่า ซอง เช่น ธูปซองหนึ่ง บุหรี่ ๒ ซอง; หน่วยของปริมาณของแท่งน้ำแข็งก้อนใหญ่ แบ่งออกได้เป็น ๔ กั๊ก; เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายกระบอกแต่มีปากบานกว้าง มีงาแซงใส่ ก้นมีฝาทําด้วยไม้ไผ่เจาะรูปิด; เรียกไหชนิดหนึ่ง รูปร่างสูง ๆ ปากเล็กแคบ สําหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. ในวงเล็บ รูปภาพ ซอง.ซอง น. ซอกหรือช่องแคบ เช่น ซองหัวเรือท้ายเรือ เรียกว่า ซองเรือ; ซอกหรือช่องแคบที่ทําขึ้นสําหรับเอาช้างม้าวัวควายเข้าไปไว้ในที่บังคับ; เครื่องใช้ที่มีลักษณะแคบสําหรับสอดใส่สิ่งของ เช่น ซองธูป ซองพลู ซองจดหมาย ซองบุหรี่, ลักษณนามเรียกว่า ซอง เช่น ธูปซองหนึ่ง บุหรี่ ๒ ซอง; หน่วยของปริมาณของแท่งน้ำแข็งก้อนใหญ่ แบ่งออกได้เป็น ๔ กั๊ก; เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายกระบอกแต่มีปากบานกว้าง มีงาแซงใส่ ก้นมีฝาทําด้วยไม้ไผ่เจาะรูปิด; เรียกไหชนิดหนึ่ง รูปร่างสูง ๆ ปากเล็กแคบ สําหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. (รูปภาพ ซอง).
ซองขาว เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง จดหมายให้ออกจากงานโดยไม่มีความผิด; ซองบรรจุเงินสินบนหรือค่าสินจ้างเพื่อให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะเป็นไปในทางมิชอบ.ซองขาว น. จดหมายให้ออกจากงานโดยไม่มีความผิด; ซองบรรจุเงินสินบนหรือค่าสินจ้างเพื่อให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะเป็นไปในทางมิชอบ.
ซองมือ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่ามือที่รวมนิ้วมือให้ห่อเข้า, อุ้งมือ.ซองมือ น. ฝ่ามือที่รวมนิ้วมือให้ห่อเข้า, อุ้งมือ.
ซองหาง เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ซอกโคนหาง, เครื่องคล้องโคนหางช้างม้า.ซองหาง น. ซอกโคนหาง, เครื่องคล้องโคนหางช้างม้า.
ซ่อง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่มั่วสุมชุมนุมกันลับ ๆ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ซ่องการพนัน ซ่องโจร ซ่องโสเภณี. เป็นคำกริยา หมายถึง ประชุม.ซ่อง ๑ น. ที่มั่วสุมชุมนุมกันลับ ๆ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ซ่องการพนัน ซ่องโจร ซ่องโสเภณี. ก. ประชุม.
ซ่องสุม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เกลี้ยกล่อมผู้คนให้มามั่วสุมกันเพื่อกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง.ซ่องสุม ก. เกลี้ยกล่อมผู้คนให้มามั่วสุมกันเพื่อกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ซ่องเสพ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง คบหากัน เช่น ควรซ่องเสพนักปราชญ์ อย่าซ่องเสพคนพาล; ร่วมประเวณี.ซ่องเสพ ก. คบหากัน เช่น ควรซ่องเสพนักปราชญ์ อย่าซ่องเสพคนพาล; ร่วมประเวณี.
ซ่อง ๒, ซ่อง ๆ ซ่อง ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ซ่อง ๆ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงื่อง, เซื่อง, เช่น นกยางเดินซ่อง ๆ.ซ่อง ๒, ซ่อง ๆ ว. เงื่อง, เซื่อง, เช่น นกยางเดินซ่อง ๆ.
ซ่องแซ่ง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระย่องกระแย่ง, กระซ่องกระแซ่ง ก็ว่า.ซ่องแซ่ง ว. กระย่องกระแย่ง, กระซ่องกระแซ่ง ก็ว่า.
ซ่อง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องพร้อม ๆ กัน, ร้องสรรเสริญ, มักใช้ ซ้อง.ซ่อง ๓ ก. ร้องพร้อม ๆ กัน, ร้องสรรเสริญ, มักใช้ ซ้อง.
ซ้อง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องพร้อม ๆ กัน, ร้องสรรเสริญ, บางทีใช้ว่า ซ่อง; ระดมกัน, ทําพร้อม ๆ กัน เช่น ซ้องหัตถ์.ซ้อง ก. ร้องพร้อม ๆ กัน, ร้องสรรเสริญ, บางทีใช้ว่า ซ่อง; ระดมกัน, ทําพร้อม ๆ กัน เช่น ซ้องหัตถ์.
ซองพลู เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อูดู จอบ เขียนว่า จอ-จาน-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๓.ซองพลู ดู จอบ ๓.
ซองแมว เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวนดู ซ้องแมว เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน.ซองแมว ดู ซ้องแมว.
ซ้องแมว เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มเตี้ยชนิด Gmelina philippensis Cham. ในวงศ์ Labiatae ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อห้อย มีใบประดับสีขาวอมเขียวตลอดช่อ ราก ใบ และผลใช้ทํายา ผลเชื่อมกินได้, ช้องแมว ซองแมว หรือ ข้าวจี่ ก็เรียก.ซ้องแมว น. ชื่อไม้พุ่มเตี้ยชนิด Gmelina philippensis Cham. ในวงศ์ Labiatae ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อห้อย มีใบประดับสีขาวอมเขียวตลอดช่อ ราก ใบ และผลใช้ทํายา ผลเชื่อมกินได้, ช้องแมว ซองแมว หรือ ข้าวจี่ ก็เรียก.
ซอแซ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงจอแจ, ซ้อแซ้.ซอแซ (โบ; กลอน) ว. เสียงจอแจ, ซ้อแซ้.
ซ้อแซ้ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซอแซ, เสียงจอแจ, เช่น ผินหน้าปรับทุกข์กันซ้อแซ้. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.ซ้อแซ้ (กลอน) ว. ซอแซ, เสียงจอแจ, เช่น ผินหน้าปรับทุกข์กันซ้อแซ้. (สังข์ทอง).
ซอน เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ชอนไป, เสียด, ซุก.ซอน ก. ชอนไป, เสียด, ซุก.
ซ่อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แอบ, แอบแฝง, ปิดบัง, หลบไว้ในที่ลับตา.ซ่อน ๑ ก. แอบ, แอบแฝง, ปิดบัง, หลบไว้ในที่ลับตา.
ซ่อนเงื่อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เร้นเงื่อนไว้ไม่ให้เห็น, ปิดบังข้อสําคัญไว้, ปิดบังอย่างมีเงื่อนงํา.ซ่อนเงื่อน ก. เร้นเงื่อนไว้ไม่ให้เห็น, ปิดบังข้อสําคัญไว้, ปิดบังอย่างมีเงื่อนงํา.
ซ่อนรูป เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะให้เห็นขนาดย่อมกว่าตัวจริง, ใหญ่ดูเป็นเล็ก, กินรูป ก็ว่า.ซ่อนรูป ว. มีลักษณะให้เห็นขนาดย่อมกว่าตัวจริง, ใหญ่ดูเป็นเล็ก, กินรูป ก็ว่า.
ซ่อนเร้น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แอบหรือซ่อนอยู่ในที่ลับตา.ซ่อนเร้น ก. แอบหรือซ่อนอยู่ในที่ลับตา.
ซ่อนหา เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่งของเด็ก ฝ่ายหนึ่งซ่อนฝ่ายหนึ่งหา.ซ่อนหา น. การเล่นชนิดหนึ่งของเด็ก ฝ่ายหนึ่งซ่อนฝ่ายหนึ่งหา.
ซ่อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง ช้อน, ต้อน, ใช้เฝือกกั้นลํานํ้าเพื่อจับปลา.ซ่อน ๒ (ถิ่น) ก. ช้อน, ต้อน, ใช้เฝือกกั้นลํานํ้าเพื่อจับปลา.
ซ้อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง วางทับกัน เช่น เอาจานซ้อนกัน เอาหนังสือซ้อนสมุด, เรียงแทรกเสริมกัน เช่น ฟันซ้อน มะลิซ้อน; ซํ้า ๆ กัน เช่น ถูกชก ๒ ทีซ้อน เสียงปืนดัง ๓ นัดซ้อน; ว่ากันคนละทีในเชิงแข่งขัน เช่น เทศน์ซ้อน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีหรือทำอย่างเดียวกันกับที่มีหรือทำอยู่แล้ว เช่น เขามีประชุมซ้อน; ลักษณะที่จอดรถหรือเรือเรียงขนานกับอีกคันหนึ่งหรือลําหนึ่งที่จอดอยู่แล้ว เรียกว่า จอดรถหรือเรือซ้อนกัน; ลักษณะที่จอดรถขวางรถที่จอดเป็นระเบียบอยู่แล้ว เป็นการกีดขวางทางจราจร เรียกว่า จอดรถซ้อนคัน.ซ้อน ก. วางทับกัน เช่น เอาจานซ้อนกัน เอาหนังสือซ้อนสมุด, เรียงแทรกเสริมกัน เช่น ฟันซ้อน มะลิซ้อน; ซํ้า ๆ กัน เช่น ถูกชก ๒ ทีซ้อน เสียงปืนดัง ๓ นัดซ้อน; ว่ากันคนละทีในเชิงแข่งขัน เช่น เทศน์ซ้อน. ว. มีหรือทำอย่างเดียวกันกับที่มีหรือทำอยู่แล้ว เช่น เขามีประชุมซ้อน; ลักษณะที่จอดรถหรือเรือเรียงขนานกับอีกคันหนึ่งหรือลําหนึ่งที่จอดอยู่แล้ว เรียกว่า จอดรถหรือเรือซ้อนกัน; ลักษณะที่จอดรถขวางรถที่จอดเป็นระเบียบอยู่แล้ว เป็นการกีดขวางทางจราจร เรียกว่า จอดรถซ้อนคัน.
ซ้อนกล เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เล่ห์เหลี่ยมหรือกลอุบายที่เหนือกว่าแก้ลําฝ่ายตรงกันข้าม.ซ้อนกล ก. ใช้เล่ห์เหลี่ยมหรือกลอุบายที่เหนือกว่าแก้ลําฝ่ายตรงกันข้าม.
ซ้อนซับ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ทับกันหลายชั้น.ซ้อนซับ ก. ทับกันหลายชั้น.
ซ่อนกลิ่น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Polianthes tuberosa L. ในวงศ์ Agavaceae ต้นเป็นกอ ดอกสีขาวเป็นช่อตั้งขึ้น กลิ่นหอม.ซ่อนกลิ่น น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Polianthes tuberosa L. ในวงศ์ Agavaceae ต้นเป็นกอ ดอกสีขาวเป็นช่อตั้งขึ้น กลิ่นหอม.
ซ่อนทราย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Acanthopsis choirorhynchos ในวงศ์ Cobitidae หัวแหลม ตาเล็ก มีหนวดสั้น ๔ คู่ เกล็ดเล็ก ลําตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย สีนํ้าตาลอ่อน มีจุดดําขนาดต่าง ๆ กระจายทั่วตัว พบอาศัยในแหล่งนํ้าไหลที่พื้นท้องนํ้าเป็นทรายหรือกรวดหินทั่วประเทศ, กล้วย ทราย หรือ หมู ก็เรียก. (๒) ชื่อปลาทะเลในสกุล Sillago วงศ์ Sillaginidae หัวหลิม ลําตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย มีชุกชุมเป็นฝูง ไซ้ทรายอยู่ตามเขตนํ้าตื้นบริเวณชายฝั่ง ลําตัวสีนํ้าตาลอ่อน หลังมีสีเข้มกว่าหรือสีเทา หลายชนิดมีแต้มสีเข้มกว่าเรียงเป็นแถวอยู่ข้างลําตัวหรือพาดอยู่บนสันหลัง, เห็ดโคน ก็เรียก.ซ่อนทราย น. (๑) ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Acanthopsis choirorhynchos ในวงศ์ Cobitidae หัวแหลม ตาเล็ก มีหนวดสั้น ๔ คู่ เกล็ดเล็ก ลําตัวยาวเรียว แบนข้างเล็กน้อย สีนํ้าตาลอ่อน มีจุดดําขนาดต่าง ๆ กระจายทั่วตัว พบอาศัยในแหล่งนํ้าไหลที่พื้นท้องนํ้าเป็นทรายหรือกรวดหินทั่วประเทศ, กล้วย ทราย หรือ หมู ก็เรียก. (๒) ชื่อปลาทะเลในสกุล Sillago วงศ์ Sillaginidae หัวหลิม ลําตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย มีชุกชุมเป็นฝูง ไซ้ทรายอยู่ตามเขตนํ้าตื้นบริเวณชายฝั่ง ลําตัวสีนํ้าตาลอ่อน หลังมีสีเข้มกว่าหรือสีเทา หลายชนิดมีแต้มสีเข้มกว่าเรียงเป็นแถวอยู่ข้างลําตัวหรือพาดอยู่บนสันหลัง, เห็ดโคน ก็เรียก.
ซอม เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เรียง (?) เช่น พลูเก้าซอม. ในวงเล็บ มาจาก สุบินกุมาร โรงพิมพ์ครูสมิท บางคอแหลม จ.ศ. ๑๒๔๓.ซอม น. เรียง (?) เช่น พลูเก้าซอม. (สุบิน).
ซ่อม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําสิ่งที่ชํารุดให้คืนดี; แทง. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกช้างสําหรับใช้ฆ่าคนว่า ช้างซ่อม เช่น ช้างพลายซ่อมตัวหนึ่ง เป็นช้างเพชฌฆาต. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา.ซ่อม ก. ทําสิ่งที่ชํารุดให้คืนดี; แทง. น. เรียกช้างสําหรับใช้ฆ่าคนว่า ช้างซ่อม เช่น ช้างพลายซ่อมตัวหนึ่ง เป็นช้างเพชฌฆาต. (พงศ. เลขา).
ซ่อมแซม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมของที่ชํารุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม.ซ่อมแซม ก. แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมของที่ชํารุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม.
ซ่อมแปลง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ไขดัดแปลงของที่ชํารุดให้คืนดี.ซ่อมแปลง ก. แก้ไขดัดแปลงของที่ชํารุดให้คืนดี.
ซ้อม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําข้าวกล้องให้เป็นข้าวสาร โดยวิธีใส่ครกตํา เรียกว่า ซ้อมข้าว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกข้าวที่เอาเปลือกออกโดยใช้วิธีใส่ครกตำ ยังมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวอยู่ ว่า ข้าวซ้อม หรือ ข้าวซ้อมมือ.ซ้อม ๑ ก. ทําข้าวกล้องให้เป็นข้าวสาร โดยวิธีใส่ครกตํา เรียกว่า ซ้อมข้าว. ว. เรียกข้าวที่เอาเปลือกออกโดยใช้วิธีใส่ครกตำ ยังมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวอยู่ ว่า ข้าวซ้อม หรือ ข้าวซ้อมมือ.
ซ้อม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําทดลองเพื่อให้ชํานาญหรือให้แน่นอน เช่น ซ้อมรบ ซ้อมความเข้าใจ.ซ้อม ๒ ก. ทําทดลองเพื่อให้ชํานาญหรือให้แน่นอน เช่น ซ้อมรบ ซ้อมความเข้าใจ.
ซ้อมค้าง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดทึกทักเอาราวกับเป็นจริง.ซ้อมค้าง ก. พูดทึกทักเอาราวกับเป็นจริง.
ซ้อมซัก เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ซักซ้อม; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ทุบตี เช่น ยามเมื่อเพลี่ยงพล้ำเขาก็จะช่วยกันกระหน่ำซ้ำซ้อมซัก. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์.ซ้อมซัก (โบ) ก. ซักซ้อม; (กลอน) ทุบตี เช่น ยามเมื่อเพลี่ยงพล้ำเขาก็จะช่วยกันกระหน่ำซ้ำซ้อมซัก. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
ซ้อมพยาน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ซักซ้อมพยานว่าจะให้การต่อศาลอย่างใดจึงจะสอดคล้องต้องกันดี.ซ้อมพยาน ก. ซักซ้อมพยานว่าจะให้การต่อศาลอย่างใดจึงจะสอดคล้องต้องกันดี.
ซ้อมพวน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หีบอ้อยครั้งที่ ๒.ซ้อมพวน ก. หีบอ้อยครั้งที่ ๒.
ซ้อมใหญ่ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ซ้อมเต็มที่เหมือนของจริงก่อนแสดงจริง.ซ้อมใหญ่ ก. ซ้อมเต็มที่เหมือนของจริงก่อนแสดงจริง.
ซอมซ่อ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง[ซอมมะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่โอ่โถง เช่น บ้านซอมซ่อ, ขะมุกขะมอม เช่น แต่งตัวซอมซ่อ.ซอมซ่อ [ซอมมะ–] ว. ไม่โอ่โถง เช่น บ้านซอมซ่อ, ขะมุกขะมอม เช่น แต่งตัวซอมซ่อ.
ซอย เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําถี่ ๆ เช่น ซอยเท้า, สับถี่ ๆ เช่น ซอยมะม่วง, หั่นถี่ ๆ เช่น ซอยหอม; ผ่าหรือตัดให้เป็นส่วนเล็ก ๆ เช่น ซอยไม้ระแนง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกทางย่อยหรือทางแยกจากทางใหญ่ เช่น ถนนซอย คลองซอย. เป็นคำนาม หมายถึง ถนนหรือทางย่อยที่แยกจากทางใหญ่ เช่น ซอยลาดพร้าว ๑; ลักษณนามเรียกถนนหรือทางที่แยกจากถนนใหญ่ เช่น ถนนสายนี้มีหลายซอย.ซอย ก. ทําถี่ ๆ เช่น ซอยเท้า, สับถี่ ๆ เช่น ซอยมะม่วง, หั่นถี่ ๆ เช่น ซอยหอม; ผ่าหรือตัดให้เป็นส่วนเล็ก ๆ เช่น ซอยไม้ระแนง. ว. เรียกทางย่อยหรือทางแยกจากทางใหญ่ เช่น ถนนซอย คลองซอย. น. ถนนหรือทางย่อยที่แยกจากทางใหญ่ เช่น ซอยลาดพร้าว ๑; ลักษณนามเรียกถนนหรือทางที่แยกจากถนนใหญ่ เช่น ถนนสายนี้มีหลายซอย.
ซอยผม เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดแต่งผมให้มีรูปทรงต่าง ๆ.ซอยผม ก. ตัดแต่งผมให้มีรูปทรงต่าง ๆ.
ซอยไพ่ เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง นำไพ่ทั้งสำรับมาซอยถี่ ๆ เพื่อให้ไพ่สับที่กัน.ซอยไพ่ ก. นำไพ่ทั้งสำรับมาซอยถี่ ๆ เพื่อให้ไพ่สับที่กัน.
ซอส เขียนว่า ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปรุงรส มีลักษณะเหลวหรือค่อนข้างข้น ใช้จิ้มหรือปรุงอาหารเพื่อให้มีรสชาติดีขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sauce เขียนว่า เอส-เอ-ยู-ซี-อี.ซอส น. เครื่องปรุงรส มีลักษณะเหลวหรือค่อนข้างข้น ใช้จิ้มหรือปรุงอาหารเพื่อให้มีรสชาติดีขึ้น. (อ. sauce).
ซะซร้าว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[–ซ้าว] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องเซ็งแซ่.ซะซร้าว [–ซ้าว] (กลอน) ว. เสียงร้องเซ็งแซ่.
ซะซ่อง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซ่อง, เงื่อง.ซะซ่อง (กลอน) ว. ซ่อง, เงื่อง.
ซะซอเซีย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงนกร้องจอแจ.ซะซอเซีย (กลอน) ว. เสียงนกร้องจอแจ.
ซะซิกซะแซ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องไห้มีสะอื้น.ซะซิกซะแซ (กลอน) ว. เสียงร้องไห้มีสะอื้น.
ซะซิบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเช่นเสียงนกเล็ก ๆ ร้อง.ซะซิบ (กลอน) ว. เสียงเช่นเสียงนกเล็ก ๆ ร้อง.
ซะเซาะ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เซาะ, ทําให้แหว่งเข้าไป, ทําให้พังเข้าไป.ซะเซาะ (กลอน) ก. เซาะ, ทําให้แหว่งเข้าไป, ทําให้พังเข้าไป.
ซะเซียบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงียบเชียบ.ซะเซียบ (กลอน) ว. เงียบเชียบ.
ซัก เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สะอาดด้วยนํ้า; ไล่เลียงให้กระจ่างแจ้ง.ซัก (กฎ) ก. ทําให้สะอาดด้วยนํ้า; ไล่เลียงให้กระจ่างแจ้ง.
ซักค้าน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู ถามค้าน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ซักค้าน (กฎ) ดู ถามค้าน.
ซักซ้อม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง สอบให้แม่นยํา, สอบให้คล่อง, แนะกันไว้ล่วงหน้า, ซ้อมซัก ก็ว่า.ซักซ้อม ก. สอบให้แม่นยํา, สอบให้คล่อง, แนะกันไว้ล่วงหน้า, ซ้อมซัก ก็ว่า.
ซักไซ้ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ไต่ถามไล่เลียงให้ถี่ถ้วน.ซักไซ้ ก. ไต่ถามไล่เลียงให้ถี่ถ้วน.
ซักฟอก เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชําระให้หมดมลทิน; ซักถามให้ได้ความจะแจ้ง.ซักฟอก ก. ชําระให้หมดมลทิน; ซักถามให้ได้ความจะแจ้ง.
ซักแห้ง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําความสะอาดเสื้อผ้าหรือสิ่งทอต่าง ๆ ด้วยวิธีพิเศษ เช่น ใช้สารเคมีโรยบนรอยเปื้อนแล้วปัดออก หรือแช่ลงในสารละลายเคมี.ซักแห้ง ก. ทําความสะอาดเสื้อผ้าหรือสิ่งทอต่าง ๆ ด้วยวิธีพิเศษ เช่น ใช้สารเคมีโรยบนรอยเปื้อนแล้วปัดออก หรือแช่ลงในสารละลายเคมี.
ซักส้าว เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งของเด็กโดยจับแขนดึงกันไปมา.ซักส้าว น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งของเด็กโดยจับแขนดึงกันไปมา.
ซัง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ตอข้าวที่เกี่ยวรวงแล้ว; สิ่งที่เป็นเส้น ๆ หุ้มยวงขนุน; ฝักข้าวโพดที่เอาเมล็ดออกหมดแล้ว; ตาที่อยู่ตามมุมของกระดานดวด.ซัง น. ตอข้าวที่เกี่ยวรวงแล้ว; สิ่งที่เป็นเส้น ๆ หุ้มยวงขนุน; ฝักข้าวโพดที่เอาเมล็ดออกหมดแล้ว; ตาที่อยู่ตามมุมของกระดานดวด.
ซั้ง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ที่ล่อปลาให้เข้าไปอยู่ ใช้ไม้ปักตามชายฝั่งลําแม่นํ้า เป็นรูปกลมบ้างรีบ้าง ภายในสุมด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อปลาให้เข้าอาศัย เมื่อเวลาจะจับก็เอาเฝือกหรืออวนล้อมแล้วเอาไม้ที่สุมนั้นออก, กรํ่า หรือ กลํ่า ก็ว่า.ซั้ง น. ที่ล่อปลาให้เข้าไปอยู่ ใช้ไม้ปักตามชายฝั่งลําแม่นํ้า เป็นรูปกลมบ้างรีบ้าง ภายในสุมด้วยกิ่งไม้เพื่อล่อปลาให้เข้าอาศัย เมื่อเวลาจะจับก็เอาเฝือกหรืออวนล้อมแล้วเอาไม้ที่สุมนั้นออก, กรํ่า หรือ กลํ่า ก็ว่า.
ซังกะตาย, ซังตาย ซังกะตาย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ซังตาย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เต็มใจ, ฝืนใจ, อย่างเสียไม่ได้, (มักใช้แก่กริยาทํา).ซังกะตาย, ซังตาย ว. ไม่เต็มใจ, ฝืนใจ, อย่างเสียไม่ได้, (มักใช้แก่กริยาทํา).
ซัด เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Trigonella foenumgraecum L. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดใช้ทํายาได้ และใช้ต้มชุบผ้าให้มีกลิ่นหอม เรียกว่า ลูกซัด.ซัด ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Trigonella foenumgraecum L. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดใช้ทํายาได้ และใช้ต้มชุบผ้าให้มีกลิ่นหอม เรียกว่า ลูกซัด.
ซัด เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง สาดโดยแรง เช่น ซัดทราย ซัดปูน, เหวี่ยงไปโดยแรง เช่น ซัดหอก, ทอด เช่น ซัดลูกบาศก์ ซัดเชือกบาศ, อาการที่คลื่นเหวี่ยงตัวไปมาโดยแรง เช่น คลื่นซัดฝั่ง, ป้ายความผิดไปถึงคนอื่น เช่น นายดําซัดนายขาว, รําทิ้งแขนออกไปข้างหน้า เช่น ซัดแขน; เบน เช่น พระอาทิตย์ซัดใต้ซัดเหนือ; คําค่อนว่าหมายความว่า ห่ม เช่นว่า ซัดแพรสี.ซัด ๒ ก. สาดโดยแรง เช่น ซัดทราย ซัดปูน, เหวี่ยงไปโดยแรง เช่น ซัดหอก, ทอด เช่น ซัดลูกบาศก์ ซัดเชือกบาศ, อาการที่คลื่นเหวี่ยงตัวไปมาโดยแรง เช่น คลื่นซัดฝั่ง, ป้ายความผิดไปถึงคนอื่น เช่น นายดําซัดนายขาว, รําทิ้งแขนออกไปข้างหน้า เช่น ซัดแขน; เบน เช่น พระอาทิตย์ซัดใต้ซัดเหนือ; คําค่อนว่าหมายความว่า ห่ม เช่นว่า ซัดแพรสี.
ซัดข้าวสาร เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง สาดข้าวสารในการขับไล่ผีเป็นต้น.ซัดข้าวสาร ก. สาดข้าวสารในการขับไล่ผีเป็นต้น.
ซัดเซ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปไม่เป็นตําแหน่งแห่งที่.ซัดเซ ก. เที่ยวไปไม่เป็นตําแหน่งแห่งที่.
ซัดทอด เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อ้างถึง, บ่งถึง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ให้การปรักปรําพาดพิงถึงบุคคลอื่น.ซัดทอด ก. อ้างถึง, บ่งถึง; (กฎ) ให้การปรักปรําพาดพิงถึงบุคคลอื่น.
ซัดน้ำ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สาดนํ้าในพิธีแต่งงานบ่าวสาว.ซัดน้ำ (โบ) ก. สาดนํ้าในพิธีแต่งงานบ่าวสาว.
ซัดยา เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่ยาลงในเบ้าที่หลอมโลหะในการเล่นแร่แปรธาตุ.ซัดยา ก. ใส่ยาลงในเบ้าที่หลอมโลหะในการเล่นแร่แปรธาตุ.
ซั้น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นั้น; รีบ, เร็ว, ถี่, ติด ๆ กัน.ซั้น ว. นั้น; รีบ, เร็ว, ถี่, ติด ๆ กัน.
ซับ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของเช่นผ้าหรือกระดาษทาบลงที่นํ้าหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นเพื่อให้แห้ง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง ซึมซาบ, กำซาบ. เป็นคำนาม หมายถึง รองในในการฝังเพชรหรือพลอยในกระเปาะแหวน; เรียกกระดาษที่ใช้ซับหมึกให้แห้งว่า กระดาษซับ; เรียกที่ที่มีน้ำซึมซาบอยู่ภายใต้ว่า ที่น้ำซับ.ซับ ก. เอาของเช่นผ้าหรือกระดาษทาบลงที่นํ้าหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นเพื่อให้แห้ง; (ถิ่น–อีสาน) ซึมซาบ, กำซาบ. น. รองในในการฝังเพชรหรือพลอยในกระเปาะแหวน; เรียกกระดาษที่ใช้ซับหมึกให้แห้งว่า กระดาษซับ; เรียกที่ที่มีน้ำซึมซาบอยู่ภายใต้ว่า ที่น้ำซับ.
ซับซ้อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ปะปนทับถมรวมกันอยู่หลายอย่างหลายเรื่อง, ยุ่งยากสับสนสะสางยาก, เช่น คดีซับซ้อน.ซับซ้อน ก. ปะปนทับถมรวมกันอยู่หลายอย่างหลายเรื่อง, ยุ่งยากสับสนสะสางยาก, เช่น คดีซับซ้อน.
ซับซาบ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ซึมซาบ.ซับซาบ (ปาก) ก. ซึมซาบ.
ซับใน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่เย็บทาบอยู่ชั้นในของเครื่องแต่งกาย.ซับใน น. ผ้าที่เย็บทาบอยู่ชั้นในของเครื่องแต่งกาย.
ซับพระพักตร์ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าเช็ดหน้า.ซับพระพักตร์ (ราชา) น. ผ้าเช็ดหน้า.
ซับขนุน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนูดู ใบขนุน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู (๑).ซับขนุน ดู ใบขนุน (๑).
ซับซี่ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ซุบซิบพูดจากัน, กระซิบกัน.ซับซี่ (โบ) ก. ซุบซิบพูดจากัน, กระซิบกัน.
ซัลฟา เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยาประเภทหนึ่ง เป็นสารอินทรียสังเคราะห์ ประเภทอนุพันธ์ของกรดซัลฟานิลิก เช่น ซัลฟาไดอะซีน ซัลฟากัวนิดีน มีสมบัติหยุดยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sulpha เขียนว่า เอส-ยู-แอล-พี-เอช-เอ.ซัลฟา น. ชื่อยาประเภทหนึ่ง เป็นสารอินทรียสังเคราะห์ ประเภทอนุพันธ์ของกรดซัลฟานิลิก เช่น ซัลฟาไดอะซีน ซัลฟากัวนิดีน มีสมบัติหยุดยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย. (อ. sulpha).
ซั้ว เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงที่ไล่นกหรือไก่เป็นต้น.ซั้ว ๑ ว. เสียงที่ไล่นกหรือไก่เป็นต้น.
ซั้ว เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงชนิดหนึ่ง มักต้มผักหลายชนิดให้สุกก่อนแล้วจึงนำมาหั่นหรือฉีกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหม้อต้มใหม่พร้อมกับเครื่องปรุงประสมปลาร้า เช่น ซั้วไก่ ซั้วกบ.ซั้ว ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง มักต้มผักหลายชนิดให้สุกก่อนแล้วจึงนำมาหั่นหรือฉีกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหม้อต้มใหม่พร้อมกับเครื่องปรุงประสมปลาร้า เช่น ซั้วไก่ ซั้วกบ.
ซา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือโบราณชนิดหนึ่ง.ซา ๑ น. ชื่อเรือโบราณชนิดหนึ่ง.
ซา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลดน้อยถอยลงกว่าที่เป็นอยู่, บรรเทาเบาลงกว่าที่เป็นอยู่, เช่น ฝนซา ไฟซา.ซา ๒ ก. ลดน้อยถอยลงกว่าที่เป็นอยู่, บรรเทาเบาลงกว่าที่เป็นอยู่, เช่น ฝนซา ไฟซา.
ซ่า เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส้มซ่า. ในวงเล็บ ดู ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.ซ่า ๑ น. ส้มซ่า. (ดู ส้ม ๑).
ซ่า เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae มีจุดสีดําบนเกล็ดข้างตัว จนเห็นเป็นลาย ๖–๑๐ เส้น ที่โคนหางมีจุดสีดํา เช่น ขี้ขม (Osteochilus hasselti) สร้อยลูกกล้วย (Labiobarbus spilopleura).ซ่า ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae มีจุดสีดําบนเกล็ดข้างตัว จนเห็นเป็นลาย ๖–๑๐ เส้น ที่โคนหางมีจุดสีดํา เช่น ขี้ขม (Osteochilus hasselti) สร้อยลูกกล้วย (Labiobarbus spilopleura).
ซ่า เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ปรากฏแก่ร่างกายเมื่อเวลาขนลุกหรือเป็นเหน็บเป็นต้น; เสียงดังอย่างเสียงนํ้าแตกกระจาย.ซ่า ๓ ว. อาการที่ปรากฏแก่ร่างกายเมื่อเวลาขนลุกหรือเป็นเหน็บเป็นต้น; เสียงดังอย่างเสียงนํ้าแตกกระจาย.
ซาก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ร่างของคนหรือสัตว์ที่ตายจนโทรมเหลือแต่เค้า, สิ่งก่อสร้างที่ปรักหักพังแล้วเหลือแต่เค้า.ซาก ๑ น. ร่างของคนหรือสัตว์ที่ตายจนโทรมเหลือแต่เค้า, สิ่งก่อสร้างที่ปรักหักพังแล้วเหลือแต่เค้า.
ซากดึกดำบรรพ์ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ซากของพืชหรือสัตว์ดึกดําบรรพ์ที่ฝังอยู่เป็นเวลานานมาก จนกระทั่งกลายเป็นหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fossil เขียนว่า เอฟ-โอ-เอส-เอส-ไอ-แอล.ซากดึกดำบรรพ์ น. ซากของพืชหรือสัตว์ดึกดําบรรพ์ที่ฝังอยู่เป็นเวลานานมาก จนกระทั่งกลายเป็นหิน. (อ. fossil).
ซากศพ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ร่างของคนที่ตายแล้ว.ซากศพ น. ร่างของคนที่ตายแล้ว.
ซาก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Erythrophleum succirubrum Gagnep. และชนิด E. teysmannii Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ เนื้อแข็งและหนัก ใช้เผาถ่านได้ดี ทุกส่วนมีพิษ กินตาย ชนิดแรกใบเกลี้ยง ชนิดหลังใบมีขน, อีสานเรียก ซาด หรือ พันซาด.ซาก ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Erythrophleum succirubrum Gagnep. และชนิด E. teysmannii Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ เนื้อแข็งและหนัก ใช้เผาถ่านได้ดี ทุกส่วนมีพิษ กินตาย ชนิดแรกใบเกลี้ยง ชนิดหลังใบมีขน, อีสานเรียก ซาด หรือ พันซาด.
ซาง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไผ่หลายชนิดในสกุล Dendrocalamus วงศ์ Gramineae ชนิดปล้องเล็กบางยาวใช้เป็นลํากล้องเป่าลูกดอก หรือลูกดินเหนียวปั้นกลมเป็นต้น เรียกว่า ไม้ซาง.ซาง ๑ น. ชื่อไผ่หลายชนิดในสกุล Dendrocalamus วงศ์ Gramineae ชนิดปล้องเล็กบางยาวใช้เป็นลํากล้องเป่าลูกดอก หรือลูกดินเหนียวปั้นกลมเป็นต้น เรียกว่า ไม้ซาง.
ซาง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่าเป็นแก่เด็กเล็ก มีลักษณะเกิดเป็นเม็ดขึ้นในปากในคอ ลิ้นเป็นฝ้า มีอาการ เช่น ไม่กินนม ไม่กินข้าว ปวดหัวตัวร้อน มีชื่อต่าง ๆ เช่น ซางเพลิง ซางนํ้า ซางขโมย ซางโจร ซางโค.ซาง ๒ น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ตามตําราแพทย์แผนโบราณว่าเป็นแก่เด็กเล็ก มีลักษณะเกิดเป็นเม็ดขึ้นในปากในคอ ลิ้นเป็นฝ้า มีอาการ เช่น ไม่กินนม ไม่กินข้าว ปวดหัวตัวร้อน มีชื่อต่าง ๆ เช่น ซางเพลิง ซางนํ้า ซางขโมย ซางโจร ซางโค.
ซาง ๓, ซ่าง ซาง ความหมายที่ ๓ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ซ่าง ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง บ่อนํ้า.ซาง ๓, ซ่าง ๑ (ถิ่น) น. บ่อนํ้า.
ซ่าง เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างชั่วคราวอย่างปะรำ มียกพื้นอยู่ข้างใน สำหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม ตั้งอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง สร้าง ส้าง หรือ สำซ่าง ก็ว่า.ซ่าง ๒ น. สิ่งปลูกสร้างชั่วคราวอย่างปะรำ มียกพื้นอยู่ข้างใน สำหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม ตั้งอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง สร้าง ส้าง หรือ สำซ่าง ก็ว่า.
ซาด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นซาก. ในวงเล็บ ดู ซาก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.ซาด (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นซาก. (ดู ซาก ๒).
ซาน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซมซาน หรือ ซานซม ก็ว่า.ซาน ก. กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซมซาน หรือ ซานซม ก็ว่า.
ซานซม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซานซม, ซมซาน ก็ว่า.ซานซม ก. กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซานซม, ซมซาน ก็ว่า.
ซ่าน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แล่นกระจายไปทั่วตัวอย่างพิษซ่านเสียวซ่าน.ซ่าน ก. แล่นกระจายไปทั่วตัวอย่างพิษซ่านเสียวซ่าน.
ซ่านเซ็น เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระจัดกระจาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ แตกฉาน เป็น แตกฉานซ่านเซ็น.ซ่านเซ็น ก. กระจัดกระจาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ แตกฉาน เป็น แตกฉานซ่านเซ็น.
ซาบซ่าน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แล่นไปทั่วร่างกาย เช่น ปีติซาบซ่าน.ซาบซ่าน ก. แล่นไปทั่วร่างกาย เช่น ปีติซาบซ่าน.
ซาบซึ้ง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, อาการที่รู้สึกปีติปลาบปลื้ม.ซาบซึ้ง ว. อาการที่รู้สึกจับใจอย่างลึกซึ้ง, อาการที่รู้สึกปีติปลาบปลื้ม.
ซ่าโบะ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ซ่าโบะ น. ผ้าห่ม. (ช.).
ซาแมเรียม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๒ สัญลักษณ์ Sm เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๗๒°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ samarium เขียนว่า เอส-เอ-เอ็ม-เอ-อา-ไอ-ยู-เอ็ม.ซาแมเรียม น. ธาตุลําดับที่ ๖๒ สัญลักษณ์ Sm เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๗๒°ซ. (อ. samarium).
ซ้าย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงข้ามกับ ขวา, ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านทิศเหนือ เรียกว่า ด้านซ้ายมือ ด้านทิศใต้ เรียกว่า ด้านขวามือ, ถ้าหันหลังไปทางต้นนํ้าหรือยอดนํ้า ด้านซ้ายมือ เรียกว่า ฝั่งซ้าย ด้านขวามือ เรียกว่า ฝั่งขวา; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการเมือง หมายถึง เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่นิยมการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.ซ้าย ว. ตรงข้ามกับ ขวา, ถ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านทิศเหนือ เรียกว่า ด้านซ้ายมือ ด้านทิศใต้ เรียกว่า ด้านขวามือ, ถ้าหันหลังไปทางต้นนํ้าหรือยอดนํ้า ด้านซ้ายมือ เรียกว่า ฝั่งซ้าย ด้านขวามือ เรียกว่า ฝั่งขวา; (การเมือง) เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่นิยมการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์.
ซาลาเปา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่งของจีน ทําด้วยแป้งสาลีปั้นเป็นลูกกลม ข้างในใส่ไส้ มีทั้งไส้หวานและไส้เค็ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ซาลาเปา น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งของจีน ทําด้วยแป้งสาลีปั้นเป็นลูกกลม ข้างในใส่ไส้ มีทั้งไส้หวานและไส้เค็ม. (จ.).
ซาว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาข้าวสารล้างนํ้าด้วยวิธีใช้มือคนให้ทั่วเพื่อให้สะอาดก่อนหุงต้ม เรียกว่า ซาวข้าว, โดยปริยายหมายถึงล้างสิ่งอื่นด้วยวิธีเช่นนั้น.ซาว ๑ ก. เอาข้าวสารล้างนํ้าด้วยวิธีใช้มือคนให้ทั่วเพื่อให้สะอาดก่อนหุงต้ม เรียกว่า ซาวข้าว, โดยปริยายหมายถึงล้างสิ่งอื่นด้วยวิธีเช่นนั้น.
ซาวเสียง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลองพูดหรือทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นหรือคนจำนวนมาก, หยั่งเสียง ก็ว่า.ซาวเสียง ก. ลองพูดหรือทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นหรือคนจำนวนมาก, หยั่งเสียง ก็ว่า.
ซาว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยี่สิบ.ซาว ๒ (ถิ่น–พายัพ) ว. ยี่สิบ.
ซาวน้ำ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกินกับขนมจีนปนกันหลายสิ่ง มีกุ้งแห้งป่น กระเทียมซอย สับปะรด หรือส้มต่าง ๆ เป็นต้น มักกินกับแจงลอน เรียกว่า ขนมจีนซาวนํ้า.ซาวน้ำ น. เครื่องกินกับขนมจีนปนกันหลายสิ่ง มีกุ้งแห้งป่น กระเทียมซอย สับปะรด หรือส้มต่าง ๆ เป็นต้น มักกินกับแจงลอน เรียกว่า ขนมจีนซาวนํ้า.
ซาหริ่ม, ซ่าหริ่ม ซาหริ่ม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ซ่าหริ่ม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทําด้วยแป้งถั่วเขียว ลักษณะคล้ายลอดช่อง แต่ตัวเล็กและยาวกว่า กินกับนํ้ากะทิผสมนํ้าเชื่อม.ซาหริ่ม, ซ่าหริ่ม น. ชื่อขนมอย่างหนึ่ง ทําด้วยแป้งถั่วเขียว ลักษณะคล้ายลอดช่อง แต่ตัวเล็กและยาวกว่า กินกับนํ้ากะทิผสมนํ้าเชื่อม.
ซำ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ที่น้ำซับ, ซับ.ซำ (ถิ่น–อีสาน) น. ที่น้ำซับ, ซับ.
ซ้ำ เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีหรือทําอย่างเดียวกันอีกครั้งหนึ่งหรือหลาย ๆ ครั้ง เช่น พูดซํ้า ตีซํ้า.ซ้ำ ว. มีหรือทําอย่างเดียวกันอีกครั้งหนึ่งหรือหลาย ๆ ครั้ง เช่น พูดซํ้า ตีซํ้า.
ซ้ำซ้อน เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง งานที่ควรทําในหน่วยงานเดียว แต่กลับทําในหลายหน่วยงาน เข้าลักษณะงานซ้อนงาน เรียกว่า งานซํ้าซ้อน.ซ้ำซ้อน น. งานที่ควรทําในหน่วยงานเดียว แต่กลับทําในหลายหน่วยงาน เข้าลักษณะงานซ้อนงาน เรียกว่า งานซํ้าซ้อน.
ซ้ำซาก เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําแล้วทําอีกอย่างเดียวกันรํ่าไป, จําเจ.ซ้ำซาก ว. ทําแล้วทําอีกอย่างเดียวกันรํ่าไป, จําเจ.
ซ้ำเติม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มเติมให้หนักหรือให้มากขึ้น.ซ้ำเติม ก. เพิ่มเติมให้หนักหรือให้มากขึ้น.
ซ้ำร้าย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายขึ้นไปอีก.ซ้ำร้าย ว. ร้ายขึ้นไปอีก.
ซ้ำสาม เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําว่าคนตํ่าช้าไม่มีตระกูลดี.ซ้ำสาม น. คําว่าคนตํ่าช้าไม่มีตระกูลดี.
ซิ, ซี ซิ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ ซี เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี คําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวยเป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ หรือ ไปซี มาซี, สิ ก็ว่า.ซิ, ซี คําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวยเป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ หรือ ไปซี มาซี, สิ ก็ว่า.
ซิก ๑, ซิก ๆ ซิก ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ซิก ๆ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการที่เหงื่อไหลซึมออกมาตามตัวว่า เหงื่อไหลซิก; เรียกอาการที่ร้องไห้ค่อย ๆ ว่า ร้องไห้ซิก ๆ, กระซิก ๆ ก็ว่า.ซิก ๑, ซิก ๆ ว. เรียกอาการที่เหงื่อไหลซึมออกมาตามตัวว่า เหงื่อไหลซิก; เรียกอาการที่ร้องไห้ค่อย ๆ ว่า ร้องไห้ซิก ๆ, กระซิก ๆ ก็ว่า.
ซิก ๒, ซิกข์ ซิก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ซิกข์ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาปประเทศอินเดีย, สิกข์ หรือ สิข ก็ว่า.ซิก ๒, ซิกข์ น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาปประเทศอินเดีย, สิกข์ หรือ สิข ก็ว่า.
ซิก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดู จามจุรี เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒.ซิก ๓ ดู จามจุรี ๒.
ซิกซี้ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะเย้าหยอกกัน, ระริก, กระซิกกระซี้ ก็ว่า.ซิกซี้ ก. หัวเราะเย้าหยอกกัน, ระริก, กระซิกกระซี้ ก็ว่า.
ซิกแซ็ก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คดไปคดมา, เลี้ยวไปเลี้ยวมา, เฉียงไปเฉียงมา, สลับฟันปลา; ลดเลี้ยวสลับซับซ้อน. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกรรไตรตัดผ้าให้มีรูปดังกล่าวว่า กรรไตรซิกแซ็ก, เรียกการเย็บผ้าด้วยด้ายให้มีรูปดังกล่าวว่า การเย็บซิกแซ็ก, เรียกจักรเย็บผ้าที่สามารถใช้เย็บซิกแซ็กว่า จักรเย็บผ้าแบบซิกแซ็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ zigzag เขียนว่า แซด-ไอ-จี-แซด-เอ-จี.ซิกแซ็ก ว. คดไปคดมา, เลี้ยวไปเลี้ยวมา, เฉียงไปเฉียงมา, สลับฟันปลา; ลดเลี้ยวสลับซับซ้อน. น. เรียกกรรไตรตัดผ้าให้มีรูปดังกล่าวว่า กรรไตรซิกแซ็ก, เรียกการเย็บผ้าด้วยด้ายให้มีรูปดังกล่าวว่า การเย็บซิกแซ็ก, เรียกจักรเย็บผ้าที่สามารถใช้เย็บซิกแซ็กว่า จักรเย็บผ้าแบบซิกแซ็ก. (อ. zigzag).
ซิการ์ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ยาสูบซึ่งมวนด้วยใบยาสูบ มีขนาดโตกว่าบุหรี่ ปลาย ๒ ข้างเรียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cigar เขียนว่า ซี-ไอ-จี-เอ-อา.ซิการ์ น. ยาสูบซึ่งมวนด้วยใบยาสูบ มีขนาดโตกว่าบุหรี่ ปลาย ๒ ข้างเรียว. (อ. cigar).
ซิงโคนา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Cinchona วงศ์ Rubiaceae เปลือกมีควินินใช้เป็นยาแก้ไข้จับสั่น.ซิงโคนา น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Cinchona วงศ์ Rubiaceae เปลือกมีควินินใช้เป็นยาแก้ไข้จับสั่น.
ซิ่น เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าถุงอย่างหนึ่งที่ผู้หญิงนุ่ง.ซิ่น น. ผ้าถุงอย่างหนึ่งที่ผู้หญิงนุ่ง.
ซินนามิก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒° ซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓°ซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cinnamic เขียนว่า ซี-ไอ-เอ็น-เอ็น-เอ-เอ็ม-ไอ-ซี acid เขียนว่า เอ-ซี-ไอ-ดี .ซินนามิก น. กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร C6H5CH : CHCOOH เป็นของแข็ง ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายนํ้าได้บ้างเล็กน้อย มีปรากฏในธรรมชาติทั้งในภาวะอิสระ และในภาวะรวมตัวเป็นสารประกอบกับสารอื่น มี ๒ ชนิด ชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๔๒° ซ. อีกชนิดหนึ่งหลอมละลายที่ ๑๓๓°ซ. โดยทั่วไปหมายถึงชนิดหลัง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเครื่องหอม. (อ. cinnamic acid).
ซินแส เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง หมอ, ครู, จีนแส ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ซินแส น. หมอ, ครู, จีนแส ก็ว่า. (จ.).
ซิบ, ซิบ ๆ ซิบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ซิบ ๆ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เลือดไหลออกน้อย ๆ.ซิบ, ซิบ ๆ ว. อาการที่เลือดไหลออกน้อย ๆ.
ซิบซับ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดซุบซิบ, พูดกระซิบ.ซิบซับ ก. พูดซุบซิบ, พูดกระซิบ.
ซิป เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องรูดปิดให้ริมผ้าหรือวัสดุ ๒ ชิ้นประสานกัน ประกอบด้วยฟันเล็ก ๆ ๒ แถว มีที่จับเพื่อรูดให้ฟันประกบกันหรือแยกออกจากกันได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ zipper เขียนว่า แซด-ไอ-พี-พี-อี-อา zip—fastener เขียนว่า แซด-ไอ-พี-??151??-เอฟ-เอ-เอส-ที-อี-เอ็น-อี-อา .ซิป น. เครื่องรูดปิดให้ริมผ้าหรือวัสดุ ๒ ชิ้นประสานกัน ประกอบด้วยฟันเล็ก ๆ ๒ แถว มีที่จับเพื่อรูดให้ฟันประกบกันหรือแยกออกจากกันได้. (อ. zipper, zip—fastener).
ซิฟิลิส เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง กามโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Treponema pallidum ติดต่อโดยการสัมผัสหรือร่วมประเวณีกับผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ syphilis เขียนว่า เอส-วาย-พี-เอช-ไอ-แอล-ไอ-เอส.ซิฟิลิส น. กามโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Treponema pallidum ติดต่อโดยการสัมผัสหรือร่วมประเวณีกับผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้. (อ. syphilis).
ซิลิคอน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๔ สัญลักษณ์ Si เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๔๑๐°ซ. เปลือกโลกประกอบด้วยธาตุนี้ประมาณร้อยละ ๒๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ silicon เขียนว่า เอส-ไอ-แอล-ไอ-ซี-โอ-เอ็น.ซิลิคอน น. ธาตุลําดับที่ ๑๔ สัญลักษณ์ Si เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๔๑๐°ซ. เปลือกโลกประกอบด้วยธาตุนี้ประมาณร้อยละ ๒๕. (อ. silicon).
ซิว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ปากเล็กเชิดขึ้น ตาโต เกล็ดโต อาศัยใกล้ผิวนํ้า ที่รู้จักกันทั่วไปและพบทั่วประเทศ ได้แก่ ซิวหนวดยาว (Esomus metallicus) ซิวอ้าว อ้ายอ้าว อ้าว หรือ ซิวควาย ในสกุล Luciosoma, ซิวใบไผ่ ในสกุล Danio, ซิวหัวตะกั่ว ในสกุล Chela และ ซิว ในสกุล Rasbora; เรียกหางปลาที่มีลักษณะตีบเหมือนปลาซิวว่า หางปลาซิว; เรียกคนที่ใจเสาะ ไม่สู้หรือไม่อดทนว่า ใจปลาซิว.ซิว น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายสกุลในวงศ์ Cyprinidae ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก ปากเล็กเชิดขึ้น ตาโต เกล็ดโต อาศัยใกล้ผิวนํ้า ที่รู้จักกันทั่วไปและพบทั่วประเทศ ได้แก่ ซิวหนวดยาว (Esomus metallicus) ซิวอ้าว อ้ายอ้าว อ้าว หรือ ซิวควาย ในสกุล Luciosoma, ซิวใบไผ่ ในสกุล Danio, ซิวหัวตะกั่ว ในสกุล Chela และ ซิว ในสกุล Rasbora; เรียกหางปลาที่มีลักษณะตีบเหมือนปลาซิวว่า หางปลาซิว; เรียกคนที่ใจเสาะ ไม่สู้หรือไม่อดทนว่า ใจปลาซิว.
ซี่ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกของเล็ก ๆ ยาว ๆ ที่เรียงกันเป็นแถวเป็นแนวอย่างฟันหรือลูกกรง, ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ฟันซี่หนึ่ง ฟัน ๒ ซี่.ซี่ น. คําเรียกของเล็ก ๆ ยาว ๆ ที่เรียงกันเป็นแถวเป็นแนวอย่างฟันหรือลูกกรง, ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ฟันซี่หนึ่ง ฟัน ๒ ซี่.
ซี่โครง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกโครงอกที่เรียงเป็นซี่ ๆ.ซี่โครง น. กระดูกโครงอกที่เรียงเป็นซี่ ๆ.
ซีก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ผ่าครึ่ง, ส่วนของสิ่งบางอย่างเช่นไม้ไผ่หรือแตงโมที่ผ่าออกโดยปรกติตามยาว, โดยปริยายหมายความว่า ด้าน, ส่วน, เช่น ร่างกายตายไปซีกหนึ่ง ปลาทูซีกนี้; ลักษณนามเรียกส่วนที่แยกออกนั้น เช่น มะม่วงซีกหนึ่ง แตงโม ๒ ซีก; ใช้สําหรับมาตราเงินโบราณเท่ากับ(เศษ ๑ ส่วน ๒) ของเฟื้อง.ซีก น. ส่วนที่ผ่าครึ่ง, ส่วนของสิ่งบางอย่างเช่นไม้ไผ่หรือแตงโมที่ผ่าออกโดยปรกติตามยาว, โดยปริยายหมายความว่า ด้าน, ส่วน, เช่น ร่างกายตายไปซีกหนึ่ง ปลาทูซีกนี้; ลักษณนามเรียกส่วนที่แยกออกนั้น เช่น มะม่วงซีกหนึ่ง แตงโม ๒ ซีก; ใช้สําหรับมาตราเงินโบราณเท่ากับ(เศษ ๑ ส่วน ๒) ของเฟื้อง.
ซีกเดียว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวนดู ตาเดียว เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน.ซีกเดียว ดู ตาเดียว.
ซี้ซอน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซอกซอน, ลี้ลับ.ซี้ซอน (กลอน) ว. ซอกซอน, ลี้ลับ.
ซีเซียม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ caesium เขียนว่า ซี-เอ-อี-เอส-ไอ-ยู-เอ็ม cesium เขียนว่า ซี-อี-เอส-ไอ-ยู-เอ็ม .ซีเซียม น. ธาตุลําดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗°ซ. (อ. caesium, cesium).
ซีด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สดใสเพราะสีจางไป เช่น รูปนี้สีซีด หน้าซีด, ขาวอย่างไม่มีนํ้านวล เรียกว่า ขาวซีด.ซีด ว. ไม่สดใสเพราะสีจางไป เช่น รูปนี้สีซีด หน้าซีด, ขาวอย่างไม่มีนํ้านวล เรียกว่า ขาวซีด.
ซีดเซียว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แจ่มใส, ไม่สดชื่น; ไม่มีเลือดฝาด.ซีดเซียว ว. ไม่แจ่มใส, ไม่สดชื่น; ไม่มีเลือดฝาด.
ซี้ด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงสูดปากเช่นกินอาหารเผ็ดเป็นต้น.ซี้ด ว. เสียงอย่างเสียงสูดปากเช่นกินอาหารเผ็ดเป็นต้น.
ซีนอน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๔ สัญลักษณ์ Xe เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๐.๐๐๖ ใน ๑ ล้านส่วนในบรรยากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ xenon เขียนว่า เอ็กซ์-อี-เอ็น-โอ-เอ็น.ซีนอน น. ธาตุลําดับที่ ๕๔ สัญลักษณ์ Xe เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๐.๐๐๖ ใน ๑ ล้านส่วนในบรรยากาศ. (อ. xenon).
ซีป่าย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อทหารกองหนึ่ง ในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอย.ซีป่าย น. ชื่อทหารกองหนึ่ง ในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอย.
ซีเมนต์ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สําคัญของซีเมนต์ คือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทําคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อเป็นต้น เรียกว่า ปูนซีเมนต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cement เขียนว่า ซี-อี-เอ็ม-อี-เอ็น-ที.ซีเมนต์ น. วัสดุใช้ในการก่อสร้างชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นผง เมื่อผสมคลุกกับนํ้าแล้วทิ้งไว้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นผลให้เกิดการก่อตัวและแข็งตัวได้ องค์ประกอบเคมีที่สําคัญของซีเมนต์ คือ แคลเซียมซิลิเกต แคลเซียมอะลูมิเนต และแคลเซียมอะลูมิโนเฟอร์ไรต์ ใช้ประโยชน์เพื่อทําคอนกรีต ปูนฉาบ หรือ ปูนก่อเป็นต้น เรียกว่า ปูนซีเมนต์. (อ. cement).
ซีเรียม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๘ สัญลักษณ์ Ce เป็นโลหะสีเทา เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๘๐๔°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cerium เขียนว่า ซี-อี-อา-ไอ-ยู-เอ็ม.ซีเรียม น. ธาตุลําดับที่ ๕๘ สัญลักษณ์ Ce เป็นโลหะสีเทา เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๘๐๔°ซ. (อ. cerium).
ซีลีเนียม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๔ สัญลักษณ์ Se เป็นอโลหะ มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับธาตุกํามะถัน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๑๗°ซ. ใช้ประโยชน์ทําเซลล์ไฟฟ้าชนิดที่ใช้พลังงานแสง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ selenium เขียนว่า เอส-อี-แอล-อี-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม.ซีลีเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๓๔ สัญลักษณ์ Se เป็นอโลหะ มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับธาตุกํามะถัน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๑๗°ซ. ใช้ประโยชน์ทําเซลล์ไฟฟ้าชนิดที่ใช้พลังงานแสง. (อ. selenium).
ซีอิ๊ว, ซี่อิ้ว ซีอิ๊ว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-วอ-แหวน ซี่อิ้ว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปรุงรสอย่างน้ำปลา ทำด้วยถั่วเหลือง, น้ำปลาถั่วเหลือง ก็เรียก, อย่างใสเรียกว่า ซีอิ๊วขาว, อย่างข้นเรียกว่า ซีอิ๊วดำ, ถ้าใส่น้ำตาลทรายแดง เรียกว่า ซีอิ๊วหวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ซีอิ๊ว, ซี่อิ้ว น. เครื่องปรุงรสอย่างน้ำปลา ทำด้วยถั่วเหลือง, น้ำปลาถั่วเหลือง ก็เรียก, อย่างใสเรียกว่า ซีอิ๊วขาว, อย่างข้นเรียกว่า ซีอิ๊วดำ, ถ้าใส่น้ำตาลทรายแดง เรียกว่า ซีอิ๊วหวาน. (จ.).
ซึก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดู จามจุรี เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒.ซึก ๑ ดู จามจุรี ๒.
ซึก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แทรกอยู่, ซึ้งเข้าไป.ซึก ๒ ว. แทรกอยู่, ซึ้งเข้าไป.
ซึง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดนตรีพื้นเมืองของไทยภาคเหนือ รูปร่างคล้ายกระจับปี่ ตัวเป็นโพรง รูปกลมแบน เจาะรูระบายอากาศตรงกลาง มีคันต่อจากตัวซึงขึ้นไปยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีสาย ๔ สาย.ซึง น. เครื่องดนตรีพื้นเมืองของไทยภาคเหนือ รูปร่างคล้ายกระจับปี่ ตัวเป็นโพรง รูปกลมแบน เจาะรูระบายอากาศตรงกลาง มีคันต่อจากตัวซึงขึ้นไปยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีสาย ๔ สาย.
ซึ่ง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น บ้านของเขาอยู่ในป่าซึ่งห่างจากชุมชน. เป็นคำบุรพบท หมายถึง คําสําหรับนําหน้านามที่เป็นผู้ถูกกระทํา เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม.ซึ่ง ส. คําใช้แทนนามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น บ้านของเขาอยู่ในป่าซึ่งห่างจากชุมชน. บ. คําสําหรับนําหน้านามที่เป็นผู้ถูกกระทํา เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม.
ซึ่งหน้า, ซึ่ง ๆ หน้า ซึ่งหน้า เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ซึ่ง ๆ หน้า เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่อหน้า เช่น กระทําความผิดซึ่งหน้า.ซึ่งหน้า, ซึ่ง ๆ หน้า ว. ต่อหน้า เช่น กระทําความผิดซึ่งหน้า.
ซึ้ง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสำหรับนึ่งของ ทำด้วยโลหะมีลักษณะกลมคล้ายหม้อ ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ๒–๓ ชั้น ชั้นล่างใส่น้ำสำหรับต้มให้ความร้อน ชั้นที่ซ้อนที่ก้นเจาะเป็นรู ๆ เพื่อให้ไอน้ำร้อนผ่านให้ของในชั้นที่ซ้อนสุก มีฝาครอบคล้ายฝาชี, ลังถึง ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน เล่งซึ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู.ซึ้ง ๑ น. ภาชนะสำหรับนึ่งของ ทำด้วยโลหะมีลักษณะกลมคล้ายหม้อ ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ๒–๓ ชั้น ชั้นล่างใส่น้ำสำหรับต้มให้ความร้อน ชั้นที่ซ้อนที่ก้นเจาะเป็นรู ๆ เพื่อให้ไอน้ำร้อนผ่านให้ของในชั้นที่ซ้อนสุก มีฝาครอบคล้ายฝาชี, ลังถึง ก็ว่า. (จ. เล่งซึ้ง).
ซึ้ง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ เช่น ปัญหาลึกซึ้ง คิดลึกซึ้ง; รู้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทั่วร่างกายและจิตใจ เช่น ภาพนี้มองดูซึ้ง ฟังเขาพูดแล้วรู้สึกซึ้งมาก.ซึ้ง ๒ ว. ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ เช่น ปัญหาลึกซึ้ง คิดลึกซึ้ง; รู้สึกเอิบอาบซาบซ่านแผ่ไปทั่วร่างกายและจิตใจ เช่น ภาพนี้มองดูซึ้ง ฟังเขาพูดแล้วรู้สึกซึ้งมาก.
ซึม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาของนํ้าหรือของเหลวที่ไหลไปตามรูเล็ก ๆ อย่างช้า ๆ เช่น เหงื่อซึม นํ้าซึม, โดยปริยายหมายถึงกิริยาที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ยางรถซึม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหงาหงอยไม่ค่อยพูดจา, ไม่เบิกบาน, เช่น นั่งซึม.ซึม ก. กิริยาของนํ้าหรือของเหลวที่ไหลไปตามรูเล็ก ๆ อย่างช้า ๆ เช่น เหงื่อซึม นํ้าซึม, โดยปริยายหมายถึงกิริยาที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ยางรถซึม. ว. เหงาหงอยไม่ค่อยพูดจา, ไม่เบิกบาน, เช่น นั่งซึม.
ซึมกะทือ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึมเซา ง่วงเหงา หรือเกียจคร้าน.ซึมกะทือ (ปาก) ว. ซึมเซา ง่วงเหงา หรือเกียจคร้าน.
ซึมซาบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอิบอาบเข้าไปทั่วถึง.ซึมซาบ ก. เอิบอาบเข้าไปทั่วถึง.
ซึมเซา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะเหงาหงอยง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า เช่น วันนี้รู้สึกซึมเซาไม่อยากทำงานเลย.ซึมเซา ว. มีลักษณะเหงาหงอยง่วงซึมไม่กระปรี้กระเปร่า เช่น วันนี้รู้สึกซึมเซาไม่อยากทำงานเลย.
ซึมทราบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ละเอียด.ซึมทราบ ก. รู้ละเอียด.
ซึมเศร้า เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกเศร้าหมอง ว้าเหว่ ล้มเหลวหรือสิ้นหวัง, เศร้าซึม ก็ว่า; (จิตเวช) อาการที่มีอารมณ์เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ ซึม มีความรู้สึกท้อถอย ล้มเหลว สิ้นหวัง เป็นต้น.ซึมเศร้า ว. อาการที่รู้สึกเศร้าหมอง ว้าเหว่ ล้มเหลวหรือสิ้นหวัง, เศร้าซึม ก็ว่า; (จิตเวช) อาการที่มีอารมณ์เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ ซึม มีความรู้สึกท้อถอย ล้มเหลว สิ้นหวัง เป็นต้น.
ซื่อ, ซื่อ ๆ ซื่อ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ซื่อ ๆ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง เช่น คนซื่อ, ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม เช่น พูดซื่อ ๆ, ไม่คดโกง เช่น หน้าซื่อ; นิ่งเฉยอยู่ไม่กระดุกกระดิกเหมือนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แข็งซื่อ, ทื่อ ก็ว่า.ซื่อ, ซื่อ ๆ ว. ตรง เช่น คนซื่อ, ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม เช่น พูดซื่อ ๆ, ไม่คดโกง เช่น หน้าซื่อ; นิ่งเฉยอยู่ไม่กระดุกกระดิกเหมือนสิ่งไม่มีชีวิต เช่น แข็งซื่อ, ทื่อ ก็ว่า.
ซื่อตรง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตรงไม่เอนเอียง เช่น ซื่อตรงต่อหน้าที่, ไม่คดโกง เช่น เขาเป็นคนซื่อตรง.ซื่อตรง ก. ประพฤติตรงไม่เอนเอียง เช่น ซื่อตรงต่อหน้าที่, ไม่คดโกง เช่น เขาเป็นคนซื่อตรง.
ซื่อสัตย์ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ, ไม่คิดคดทรยศ, ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง.ซื่อสัตย์ ก. ประพฤติตรงและจริงใจ, ไม่คิดคดทรยศ, ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง.
ซื่อเหมือนแมวนอนหวด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําเป็นซื่อ.ซื่อเหมือนแมวนอนหวด (สำ) ว. ทําเป็นซื่อ.
ซื้อ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเงินตราแลกกับสิ่งของ.ซื้อ ก. เอาเงินตราแลกกับสิ่งของ.
ซื้อขาย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ขาย โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ซื้อ และผู้ซื้อตกลงจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย.ซื้อขาย (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ขาย โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ซื้อ และผู้ซื้อตกลงจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย.
ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ, ซื้องัวหน้านา ซื้อผ้าหน้าหนาว ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี ซื้องัวหน้านา ซื้อผ้าหน้าหนาว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ซื้อของไม่คํานึงถึงกาลเวลา ย่อมได้ของแพง, ทําอะไรไม่เหมาะกับกาลเวลา ย่อมได้รับความเดือดร้อน.ซื้อควายหน้านา ซื้อผ้าหน้าตรุษ, ซื้องัวหน้านา ซื้อผ้าหน้าหนาว (สำ) ก. ซื้อของไม่คํานึงถึงกาลเวลา ย่อมได้ของแพง, ทําอะไรไม่เหมาะกับกาลเวลา ย่อมได้รับความเดือดร้อน.
ซื้อรำคาญ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเงินตราหรือสิ่งของเป็นต้นเพื่อตัดความรําคาญ.ซื้อรำคาญ ก. เสียเงินตราหรือสิ่งของเป็นต้นเพื่อตัดความรําคาญ.
ซื้อรู้ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเงินตราหรือสิ่งของเป็นต้นโดยถูกลวง แต่ได้เป็นความรู้ไว้.ซื้อรู้ ก. เสียเงินตราหรือสิ่งของเป็นต้นโดยถูกลวง แต่ได้เป็นความรู้ไว้.
ซื้อหน้า เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เสนอหน้า, สําแดงตัวออกมาให้เห็น, เช่น ครั้นตอบพี่มึงถึงแต้ม อีแสนแนมซื้อหน้าเข้ามาสู้. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไกรทอง สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พ.ศ. ๒๔๕๖; กู้หน้า เช่น ยอมเสียเงินเพื่อซื้อหน้า.ซื้อหน้า ก. เสนอหน้า, สําแดงตัวออกมาให้เห็น, เช่น ครั้นตอบพี่มึงถึงแต้ม อีแสนแนมซื้อหน้าเข้ามาสู้. (ไกรทอง); กู้หน้า เช่น ยอมเสียเงินเพื่อซื้อหน้า.
ซุก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง หมกซ่อนหรือยัดแทรกไว้ในที่มิดชิดเช่นตามซอกตามมุม.ซุก ก. หมกซ่อนหรือยัดแทรกไว้ในที่มิดชิดเช่นตามซอกตามมุม.
ซุกซ่อน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อนไว้ในที่มิดชิดหรือที่ลี้ลับ.ซุกซ่อน ก. ซ่อนไว้ในที่มิดชิดหรือที่ลี้ลับ.
ซุกซิก เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะแคบ ๆ เป็นซอกเล็กซอกน้อยน่ารําคาญ.ซุกซิก ว. มีลักษณะแคบ ๆ เป็นซอกเล็กซอกน้อยน่ารําคาญ.
ซุกซน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซนนอกลู่นอกทาง, ซอกแซกเล่น.ซุกซน ว. ซนนอกลู่นอกทาง, ซอกแซกเล่น.
ซุง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ตัดเป็นท่อน ๆ ก่อนแปรรูป.ซุง ๑ น. ต้นไม้ขนาดใหญ่ที่ตัดเป็นท่อน ๆ ก่อนแปรรูป.
ซุง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าวห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่าน เพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, สายซุง ก็เรียก.ซุง ๒ น. เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าวห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่าน เพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, สายซุง ก็เรียก.
ซุน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ซวนไปข้างหน้า เช่น เดินหัวซุน, โดยปริยายหมายถึงกิริยาที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่นพูดว่า ใช้เสียหัวซุน ก็คือ ใช้เสียจนโงหัวไม่ขึ้นหรือใช้เสียจนไม่มีเวลาว่าง.ซุน ก. ซวนไปข้างหน้า เช่น เดินหัวซุน, โดยปริยายหมายถึงกิริยาที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่นพูดว่า ใช้เสียหัวซุน ก็คือ ใช้เสียจนโงหัวไม่ขึ้นหรือใช้เสียจนไม่มีเวลาว่าง.
ซุบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง จําพวกยําเรียกชื่อตามสิ่งของที่นํามาประกอบเป็นหลัก เช่น ซุบหน่อไม้ ซุบเห็ด.ซุบ (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง จําพวกยําเรียกชื่อตามสิ่งของที่นํามาประกอบเป็นหลัก เช่น ซุบหน่อไม้ ซุบเห็ด.
ซุบซิบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันเบา ๆ ไม่ต้องการให้คนอื่นได้ยิน, กระซุบกระซิบ ก็ว่า.ซุบซิบ ก. พูดกันเบา ๆ ไม่ต้องการให้คนอื่นได้ยิน, กระซุบกระซิบ ก็ว่า.
ซุบซู่ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการหดห่อตัวอย่างคนเป็นไข้.ซุบซู่ ว. มีอาการหดห่อตัวอย่างคนเป็นไข้.
ซุป เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง อาหารนํ้าชนิดหนึ่ง ต้มด้วยเนื้อสัตว์หรือผัก เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ soup เขียนว่า เอส-โอ-ยู-พี.ซุป น. อาหารนํ้าชนิดหนึ่ง ต้มด้วยเนื้อสัตว์หรือผัก เป็นต้น. (อ. soup).
ซุ่ม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่.ซุ่ม ก. ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่.
ซุ่มคม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อนความฉลาดไว้, ไม่อวดดี.ซุ่มคม ก. ซ่อนความฉลาดไว้, ไม่อวดดี.
ซุ้ม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เป็นพุ่มโดยมากปกคลุมด้วยต้นไม้หรือเถาวัลย์ มีทางลอดได้ เช่น ในป่าเถาวัลย์ขึ้นเป็นซุ้มเองตามธรรมชาติ, ต้นไม้ซึ่งขึ้นปกคลุมสิ่งที่ก่อสร้างเพื่อรองรับ มีทางลอดได้ เช่น ปลูกกระดังงาเป็นซุ้ม, ซุ้มไม้ ก็เรียก.ซุ้ม ๑ น. สิ่งที่เป็นพุ่มโดยมากปกคลุมด้วยต้นไม้หรือเถาวัลย์ มีทางลอดได้ เช่น ในป่าเถาวัลย์ขึ้นเป็นซุ้มเองตามธรรมชาติ, ต้นไม้ซึ่งขึ้นปกคลุมสิ่งที่ก่อสร้างเพื่อรองรับ มีทางลอดได้ เช่น ปลูกกระดังงาเป็นซุ้ม, ซุ้มไม้ ก็เรียก.
ซุ้ม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นในการรับเสด็จเป็นต้น มีรูปลักษณะอย่างซุ้มไม้, ที่อยู่หรือที่พักซึ่งทําขึ้นใช้กันแดดกันฝนชั่วคราว ส่วนบนมักโค้ง เช่น ซุ้มดอกเห็ด, สิ่งที่ทําขึ้นสําหรับเป็นเครื่องประดับส่วนบนของประตูหน้าต่างพระที่นั่ง โบสถ์ วิหาร เป็นต้น มีรูปต่าง ๆ กัน เช่นมีรูปคล้ายหน้าจั่ว เรียกว่า ซุ้มบันแถลง ซุ้มหน้านาง หรือ ซุ้มรังไก่.ซุ้ม ๒ น. สิ่งที่สร้างขึ้นในการรับเสด็จเป็นต้น มีรูปลักษณะอย่างซุ้มไม้, ที่อยู่หรือที่พักซึ่งทําขึ้นใช้กันแดดกันฝนชั่วคราว ส่วนบนมักโค้ง เช่น ซุ้มดอกเห็ด, สิ่งที่ทําขึ้นสําหรับเป็นเครื่องประดับส่วนบนของประตูหน้าต่างพระที่นั่ง โบสถ์ วิหาร เป็นต้น มีรูปต่าง ๆ กัน เช่นมีรูปคล้ายหน้าจั่ว เรียกว่า ซุ้มบันแถลง ซุ้มหน้านาง หรือ ซุ้มรังไก่.
ซุ้มคูหา เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ซุ้มรอบพระปรางค์และพระเจดีย์สำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป.ซุ้มคูหา น. ซุ้มรอบพระปรางค์และพระเจดีย์สำหรับประดิษฐานพระพุทธรูป.
ซุ้มจระนำ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อซุ้มท้ายวิหารหรือท้ายโบสถ์ เป็นช่องตัน มักเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป.ซุ้มจระนำ น. ชื่อซุ้มท้ายวิหารหรือท้ายโบสถ์ เป็นช่องตัน มักเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป.
ซุ้ม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทำนองเพลงสำเนียงลาว ประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพนโดยเฉพาะ เรียกว่า ออกซุ้ม.ซุ้ม ๓ น. ทำนองเพลงสำเนียงลาว ประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพนโดยเฉพาะ เรียกว่า ออกซุ้ม.
ซุ้มกระต่าย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Blinkworthia lycioides Choisy ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกรูประฆัง สีนวล, มุ้งกระต่าย ก็เรียก.ซุ้มกระต่าย น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Blinkworthia lycioides Choisy ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกรูประฆัง สีนวล, มุ้งกระต่าย ก็เรียก.
ซุ่มซ่าม เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กิริยาที่กระทำไปโดยไม่ใช้ความระมัดระวังหรือไม่ถูกกาลเทศะ เช่น เดินซุ่มซ่ามชนสิ่งของจนเสียหาย ซุ่มซ่ามเข้าไปในสถานที่ที่ไม่ควรจะเข้าไป.ซุ่มซ่าม ว. กิริยาที่กระทำไปโดยไม่ใช้ความระมัดระวังหรือไม่ถูกกาลเทศะ เช่น เดินซุ่มซ่ามชนสิ่งของจนเสียหาย ซุ่มซ่ามเข้าไปในสถานที่ที่ไม่ควรจะเข้าไป.
ซุมแซว เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซ็งแซ่, จอแจ.ซุมแซว (โบ) ว. เซ็งแซ่, จอแจ.
ซุ่มเสียง เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สุ้มเสียง เช่น จึงตั้งนะโม ซุ่มเสียงใหญ่โต. ในวงเล็บ มาจาก ประถม ก กา แบบเรียนของเก่า โรงพิมพ์ครูสมิท จ.ศ. ๑๒๔๙.ซุ่มเสียง (โบ) น. สุ้มเสียง เช่น จึงตั้งนะโม ซุ่มเสียงใหญ่โต. (ประถม ก กา).
ซุย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มีดชนิดหนึ่ง รูปเรียวแหลม.ซุย ๑ น. มีดชนิดหนึ่ง รูปเรียวแหลม.
ซุย เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร่วนในลักษณะอย่างดินที่ยุ่ยไม่เกาะกันแน่นเหนียว เรียกว่า ดินซุย, เรียกเนื้อเผือกหรือมันที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า เนื้อซุย.ซุย ๒ ว. ร่วนในลักษณะอย่างดินที่ยุ่ยไม่เกาะกันแน่นเหนียว เรียกว่า ดินซุย, เรียกเนื้อเผือกหรือมันที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า เนื้อซุย.
ซู่ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ปรากฏแก่ร่างกายเมื่อเวลาขนลุกเป็นต้น.ซู่ ๑ ว. อาการที่ปรากฏแก่ร่างกายเมื่อเวลาขนลุกเป็นต้น.
ซู่ ๒, ซู่ ๆ ซู่ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ซู่ ๆ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเสียงฝนตกมาก ๆ แต่ตกไม่นาน.ซู่ ๒, ซู่ ๆ ว. เสียงดังอย่างเสียงฝนตกมาก ๆ แต่ตกไม่นาน.
ซู่ซ่า เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่โจษกันเซ็งแซ่อยู่พักหนึ่ง เช่น ข่าวซู่ซ่า.ซู่ซ่า ว. ที่โจษกันเซ็งแซ่อยู่พักหนึ่ง เช่น ข่าวซู่ซ่า.
ซู่ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ลากไป, คร่าไป.ซู่ ๓ (กลอน) ก. ลากไป, คร่าไป.
ซู่กั้นรั้วไซมาน เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กั้นซู่, กั้นซู่รั้วไซมาน ก็เรียก.ซู่กั้นรั้วไซมาน (โบ) น. กั้นซู่, กั้นซู่รั้วไซมาน ก็เรียก.
ซูโครส เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สอ-เสือ[–โคฺร้ด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๘๐°ซ. องค์ประกอบเป็นโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมกับโมเลกุลของฟรักโทส มีรสหวานจัด มักทําจากต้นอ้อย, สามัญเรียกว่า นํ้าตาลทราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sucrose เขียนว่า เอส-ยู-ซี-อา-โอ-เอส-อี.ซูโครส [–โคฺร้ด] (วิทยา) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๘๐°ซ. องค์ประกอบเป็นโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมกับโมเลกุลของฟรักโทส มีรสหวานจัด มักทําจากต้นอ้อย, สามัญเรียกว่า นํ้าตาลทราย. (อ. sucrose).
ซูด, ซูดซาด ซูด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ซูดซาด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงคนกระทําเมื่อเวลากินของเผ็ด.ซูด, ซูดซาด ว. เสียงอย่างเสียงคนกระทําเมื่อเวลากินของเผ็ด.
ซู้ด เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างคนซดนํ้าร้อน นํ้าชา หรือนํ้าแกงทีละน้อย ๆ.ซู้ด ว. เสียงอย่างคนซดนํ้าร้อน นํ้าชา หรือนํ้าแกงทีละน้อย ๆ.
ซูบ เขียนว่า ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผอมลง, ซีดไป, เซียวไป.ซูบ ว. ผอมลง, ซีดไป, เซียวไป.
เซ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขาดความทรงตัวจนโอนเอนไปข้างใดข้างหนึ่ง เช่น เดินเซ, ลักษณะที่โย้ไปข้างใดข้างหนึ่ง เช่น เรือนเซ.เซ ว. อาการที่ขาดความทรงตัวจนโอนเอนไปข้างใดข้างหนึ่ง เช่น เดินเซ, ลักษณะที่โย้ไปข้างใดข้างหนึ่ง เช่น เรือนเซ.
เซซัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินซวนเซไปไม่ตรงเหมือนคนเจ็บหรือคนไร้ที่พึ่ง.เซซัง ว. อาการที่เดินซวนเซไปไม่ตรงเหมือนคนเจ็บหรือคนไร้ที่พึ่ง.
เซ็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เซ็งแซ่ เช่น เซ็กห้องเสียงหัว. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.เซ็ก (กลอน) ก. เซ็งแซ่ เช่น เซ็กห้องเสียงหัว. (นิทราชาคริต).
เซแคนต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เซแคนต์ของมุมใดคืออัตราส่วน (เศษ ๑ ส่วนโคไซน์ของมุมนั้น). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ secant เขียนว่า เอส-อี-ซี-เอ-เอ็น-ที.เซแคนต์ (คณิต) น. เซแคนต์ของมุมใดคืออัตราส่วน (เศษ ๑ ส่วนโคไซน์ของมุมนั้น). (อ. secant).
เซ็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชืด, จืดชืด, หมดรส, (ใช้เรียกสิ่งที่ควรจะบริโภคหรือจัดทําในเวลาหนึ่ง แต่ทิ้งไว้นานเกินควร), หมดความตื่นเต้น.เซ็ง ว. ชืด, จืดชืด, หมดรส, (ใช้เรียกสิ่งที่ควรจะบริโภคหรือจัดทําในเวลาหนึ่ง แต่ทิ้งไว้นานเกินควร), หมดความตื่นเต้น.
เซ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เส้ง.เซ่ง น. เส้ง.
เซ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง โอนสิทธิหรือกิจการไปให้อีกคนหนึ่งโดยได้ค่าตอบแทน, รับโอนสิทธิหรือกิจการจากอีกคนหนึ่งโดยต้องเสียค่าตอบแทน เรียกว่า รับเซ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เซ้ง (ปาก) ก. โอนสิทธิหรือกิจการไปให้อีกคนหนึ่งโดยได้ค่าตอบแทน, รับโอนสิทธิหรือกิจการจากอีกคนหนึ่งโดยต้องเสียค่าตอบแทน เรียกว่า รับเซ้ง. (จ.).
เซ็งแซ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดังอื้ออึงแซ่ไปหมด.เซ็งแซ่ ว. ดังอื้ออึงแซ่ไปหมด.
เซต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ใช้ระบุถึงกลุ่มหรือหมู่ของสิ่งต่าง ๆ โดยมีเงื่อนไขที่แน่นอนว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่มหรือสิ่งใดมิได้อยู่ในกลุ่มนั้น ๆ; ชุด เช่น เข้าเซตกัน; ลักษณนามใช้เรียกคนหรือของที่เข้ากลุ่มหรือเข้าชุดกัน เช่น ตัวหนังสือเซตเดียวกัน ตัวเลข ๒ เซต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ set เขียนว่า เอส-อี-ที.เซต (คณิต) น. คําที่ใช้ระบุถึงกลุ่มหรือหมู่ของสิ่งต่าง ๆ โดยมีเงื่อนไขที่แน่นอนว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่มหรือสิ่งใดมิได้อยู่ในกลุ่มนั้น ๆ; ชุด เช่น เข้าเซตกัน; ลักษณนามใช้เรียกคนหรือของที่เข้ากลุ่มหรือเข้าชุดกัน เช่น ตัวหนังสือเซตเดียวกัน ตัวเลข ๒ เซต. (อ. set).
เซน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน แพร่หลายในจีนและญี่ปุ่น เป็นการปฏิบัติธรรมเพื่อให้บรรลุความรู้แจ้งอย่างฉับพลัน โดยการทําสมาธิและใช้ปัญญาขบคิดปริศนาธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาญี่ปุ่น .เซน น. นิกายหนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน แพร่หลายในจีนและญี่ปุ่น เป็นการปฏิบัติธรรมเพื่อให้บรรลุความรู้แจ้งอย่างฉับพลัน โดยการทําสมาธิและใช้ปัญญาขบคิดปริศนาธรรม. (ญิ.).
เซ็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่สอดเข้ากับลูกตั้งเรือนฝากระแชงอ่อนหรือฝาขัดแตะ. เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บแบบด้วยดอกไม้หรือใบไม้ให้เป็นแถบยาว เพื่อใช้ตกแต่งประดับโครงประทุนคลุมผ้าไตรเป็นต้น, สวน ก็ว่า.เซ็น ๑ น. ไม้ที่สอดเข้ากับลูกตั้งเรือนฝากระแชงอ่อนหรือฝาขัดแตะ. ก. เย็บแบบด้วยดอกไม้หรือใบไม้ให้เป็นแถบยาว เพื่อใช้ตกแต่งประดับโครงประทุนคลุมผ้าไตรเป็นต้น, สวน ก็ว่า.
เซ็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลงลายมือชื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sign เขียนว่า เอส-ไอ-จี-เอ็น.เซ็น ๒ ก. ลงลายมือชื่อ. (อ. sign).
เซ่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาอาหารเป็นต้นไปไหว้หรือสังเวยผีหรือเจ้า เช่น เซ่นผี เซ่นเจ้า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ วัก เป็น เซ่นวัก, ใช้ว่า เซ่นวักตั๊กแตน ก็มี.เซ่น ก. เอาอาหารเป็นต้นไปไหว้หรือสังเวยผีหรือเจ้า เช่น เซ่นผี เซ่นเจ้า, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ วัก เป็น เซ่นวัก, ใช้ว่า เซ่นวักตั๊กแตน ก็มี.
เซ่นวักตั๊กแตน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่น.เซ่นวักตั๊กแตน ก. เซ่น.
เซนติกรัม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า[–กฺรํา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centigramme เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-ไอ-จี-อา-เอ-เอ็ม-เอ็ม-อี.เซนติกรัม [–กฺรํา] น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก. (อ. centigramme).
เซนติเกรด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก[–เกฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซนติเกรด, ปัจจุบันใช้ องศาเซลเซียส, อักษรย่อว่า ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centigrade เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-ไอ-จี-อา-เอ-ดี-อี.เซนติเกรด [–เกฺรด] น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซนติเกรด, ปัจจุบันใช้ องศาเซลเซียส, อักษรย่อว่า ซ. (อ. centigrade).
เซนติเมตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centimetre เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-ไอ-เอ็ม-อี-ที-อา-อี.เซนติเมตร น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. (อ. centimetre).
เซนติลิตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ centilitre เขียนว่า ซี-อี-เอ็น-ที-ไอ-แอล-ไอ-ที-อา-อี.เซนติลิตร น. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล. (อ. centilitre).
เซ่นเหล้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.เซ่นเหล้า น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
เซปักตะกร้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ใช้ลูกตะกร้อส่งข้ามตาข่ายโต้กันไปมา โดยใช้ขา เท้า เข่า ลําตัว และศีรษะ เพื่อรับส่งลูก มีผู้เล่นฝ่ายละ ๓ คน การเริ่มส่งลูกแต่ละครั้ง ฝ่ายส่งจะต้องยืนอยู่ในตําแหน่งที่กําหนดไว้ การเล่นแบ่งเป็น ๓ เซต ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ เซต คือ ฝ่ายชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู sepak เขียนว่า เอส-อี-พี-เอ-เค ว่า เตะ .เซปักตะกร้อ น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ใช้ลูกตะกร้อส่งข้ามตาข่ายโต้กันไปมา โดยใช้ขา เท้า เข่า ลําตัว และศีรษะ เพื่อรับส่งลูก มีผู้เล่นฝ่ายละ ๓ คน การเริ่มส่งลูกแต่ละครั้ง ฝ่ายส่งจะต้องยืนอยู่ในตําแหน่งที่กําหนดไว้ การเล่นแบ่งเป็น ๓ เซต ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ เซต คือ ฝ่ายชนะ. (ม. sepak ว่า เตะ).
เซรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[เซฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ซอกผา, ห้วย.เซรา [เซฺรา] (กลอน) น. ซอกผา, ห้วย.
เซราะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ[เซฺราะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทาง, ซอก, ทางนํ้าเซาะ.เซราะ [เซฺราะ] (กลอน) น. ทาง, ซอก, ทางนํ้าเซาะ.
เซรุ่ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ของเหลวสีเหลืองใสที่สกัดจากเลือดสัตว์ เช่น ม้า กระต่าย ซึ่งทําให้เกิดภูมิต้านทานเชื้อโรค แล้วนํามาฉีดในคนเพื่อให้เกิดภูมิต้านทานเชื้อโรคนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ serum เขียนว่า เอส-อี-อา-ยู-เอ็ม.เซรุ่ม น. ของเหลวสีเหลืองใสที่สกัดจากเลือดสัตว์ เช่น ม้า กระต่าย ซึ่งทําให้เกิดภูมิต้านทานเชื้อโรค แล้วนํามาฉีดในคนเพื่อให้เกิดภูมิต้านทานเชื้อโรคนั้น. (อ. serum).
เซลเซียส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซลเซียส เดิมเรียกว่า องศาเซนติเกรด กําหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา (เขียนย่อว่า ๐°ซ.) และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๑๐๐ องศา (เขียนย่อว่า ๑๐๐°ซ.), อักษรย่อว่า ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ celsius เขียนว่า ซี-อี-แอล-เอส-ไอ-ยู-เอส.เซลเซียส น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซลเซียส เดิมเรียกว่า องศาเซนติเกรด กําหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา (เขียนย่อว่า ๐°ซ.) และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๑๐๐ องศา (เขียนย่อว่า ๑๐๐°ซ.), อักษรย่อว่า ซ. (อ. celsius).
เซลล์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง (ชีว) หน่วยชีวิตที่เล็กที่สุด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า หมายถึง เครื่องสําเร็จที่มีส่วนประกอบที่เหมาะสม ซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีเป็นแหล่งกําเนิดพลังงานเป็นผลให้เกิดมีกระแสไฟฟ้าขึ้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cell เขียนว่า ซี-อี-แอล-แอล.เซลล์ น. (ชีว) หน่วยชีวิตที่เล็กที่สุด; (ไฟฟ้า) เครื่องสําเร็จที่มีส่วนประกอบที่เหมาะสม ซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีเป็นแหล่งกําเนิดพลังงานเป็นผลให้เกิดมีกระแสไฟฟ้าขึ้นได้. (อ. cell).
เซลล์ทุติยภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องนําไปอัดไฟเสียก่อน แล้วจึงจะนําไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบบางส่วนจะหมดเปลืองและแปรสภาพไป แต่อาจทําให้กลับคงคืนสู่สภาพเดิมได้อีก โดยวิธีนําเซลล์ไฟฟ้าไปอัดไฟใหม่ เช่น แบตเตอรี่รถยนต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ secondary เขียนว่า เอส-อี-ซี-โอ-เอ็น-ดี-เอ-อา-วาย cell เขียนว่า ซี-อี-แอล-แอล .เซลล์ทุติยภูมิ น. เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องนําไปอัดไฟเสียก่อน แล้วจึงจะนําไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบบางส่วนจะหมดเปลืองและแปรสภาพไป แต่อาจทําให้กลับคงคืนสู่สภาพเดิมได้อีก โดยวิธีนําเซลล์ไฟฟ้าไปอัดไฟใหม่ เช่น แบตเตอรี่รถยนต์. (อ. secondary cell).
เซลล์ปฐมภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วก็นําไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ทันที เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบบางส่วนจะหมดเปลืองไปโดยไม่กลับคงคืนเป็นสภาพเดิมได้อีก เช่น ถ่านไฟฉาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ primary เขียนว่า พี-อา-ไอ-เอ็ม-เอ-อา-วาย cell เขียนว่า ซี-อี-แอล-แอล .เซลล์ปฐมภูมิ น. เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วก็นําไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ทันที เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบบางส่วนจะหมดเปลืองไปโดยไม่กลับคงคืนเป็นสภาพเดิมได้อีก เช่น ถ่านไฟฉาย. (อ. primary cell).
เซลลูลอยด์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบประเภทเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง ทําได้จากปฏิกิริยาของเซลลูโลสไนเทรต การบูร และเอทิลแอลกอฮอล์ ลักษณะเป็นของแข็ง ติดไฟง่ายมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ celluloid เขียนว่า ซี-อี-แอล-แอล-ยู-แอล-โอ-ไอ-ดี.เซลลูลอยด์ น. สารประกอบประเภทเทอร์โมพลาสติกชนิดหนึ่ง ทําได้จากปฏิกิริยาของเซลลูโลสไนเทรต การบูร และเอทิลแอลกอฮอล์ ลักษณะเป็นของแข็ง ติดไฟง่ายมาก. (อ. celluloid).
เซลลูโลส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)n ประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสําคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cellulose เขียนว่า ซี-อี-แอล-แอล-ยู-แอล-โอ-เอส-อี.เซลลูโลส น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)n ประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสําคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. (อ. cellulose).
เซ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เขลาเพราะไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน, ไม่รอบคอบ, งง.เซ่อ ว. เขลาเพราะไม่เคยพบเคยเห็นมาก่อน, ไม่รอบคอบ, งง.
เซ่อซ่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซ่อมาก, เร่อร่า, เล่อล่า, กะเร่อกะร่า หรือ กะเล่อกะล่า ก็ว่า.เซ่อซ่า ว. เซ่อมาก, เร่อร่า, เล่อล่า, กะเร่อกะร่า หรือ กะเล่อกะล่า ก็ว่า.
เซอร์โคเนียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๔๐ สัญลักษณ์ Zr เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๘๕๒°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ zirconium เขียนว่า แซด-ไอ-อา-ซี-โอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม.เซอร์โคเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๔๐ สัญลักษณ์ Zr เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๘๕๒°ซ. (อ. zirconium).
เซอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซ่อมาก.เซอะ ว. เซ่อมาก.
เซอะซะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซ่อซ่า.เซอะซะ ว. เซ่อซ่า.
เซา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หยุดชะงัก, หย่อนลงกว่าเดิม, เพลาลง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ง่วงงุน, เหงาหงอย.เซา ก. หยุดชะงัก, หย่อนลงกว่าเดิม, เพลาลง. ว. ง่วงงุน, เหงาหงอย.
เซ้าซี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, กระเซ้ากระซี้ ก็ว่า.เซ้าซี้ ก. พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, กระเซ้ากระซี้ ก็ว่า.
เซาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้กร่อนหรือร่อยหรอเข้าไปทีละน้อย เช่น นํ้าเซาะตลิ่ง เซาะรูให้กว้าง. เป็นคำนาม หมายถึง ซอกเขาเล็ก ๆ ที่นํ้าเซาะให้เป็นทางลงมา.เซาะ ก. ทําให้กร่อนหรือร่อยหรอเข้าไปทีละน้อย เช่น นํ้าเซาะตลิ่ง เซาะรูให้กว้าง. น. ซอกเขาเล็ก ๆ ที่นํ้าเซาะให้เป็นทางลงมา.
เซาะลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เป็นลวดลายหรือรอยลึก.เซาะลาย ก. ทําให้เป็นลวดลายหรือรอยลึก.
เซิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่รกเป็นสุมทุมพุ่มไม้หรือมีไม้เถาปกคลุมอยู่ข้างบน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผมยุ่งเป็นเซิง, กระเซิง ก็ว่า.เซิง ๑ น. ที่รกเป็นสุมทุมพุ่มไม้หรือมีไม้เถาปกคลุมอยู่ข้างบน, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ผมยุ่งเป็นเซิง, กระเซิง ก็ว่า.
เซิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ลมที่พัดจากตะวันตกมาตะวันออก เรียกว่า ลมเซิง.เซิง ๒ น. (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ลมที่พัดจากตะวันตกมาตะวันออก เรียกว่า ลมเซิง.
เซิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยก, ยกย่อง.เซิง ๓ ก. ยก, ยกย่อง.
เซิ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องรําทําเพลงแบบชาวอีสาน.เซิ้ง ก. ร้องรําทําเพลงแบบชาวอีสาน.
เซียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สําเร็จ, ผู้วิเศษ; โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่เก่งหรือชํานาญในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น เซียนการพนัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เซียน น. ผู้สําเร็จ, ผู้วิเศษ; โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่เก่งหรือชํานาญในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ เช่น เซียนการพนัน. (จ.).
เซียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงียบ, สงัด.เซียบ ว. เงียบ, สงัด.
เซียมซี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ใบทํานายโชคชะตาตามศาลเจ้าหรือวัด มีเลขหมายเทียบกับเลขหมายบนติ้วที่เสี่ยงได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เซียมซี น. ใบทํานายโชคชะตาตามศาลเจ้าหรือวัด มีเลขหมายเทียบกับเลขหมายบนติ้วที่เสี่ยงได้. (จ.).
เซียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเนื้อแข็งเป็นแกน (ใช้แก่หัวเผือกหัวมัน).เซียว ๑ ว. มีเนื้อแข็งเป็นแกน (ใช้แก่หัวเผือกหัวมัน).
เซียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สดใส, ไม่สดชื่น, (ใช้แก่หน้า).เซียว ๒ ว. ไม่สดใส, ไม่สดชื่น, (ใช้แก่หน้า).
เซี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสี้ยว, เฉไม่ตรงแนวมีรูปเรียวปลายคล้ายรูปชายธง, เช่น ผ้าเซี่ยว ใบตองเซี่ยว ตัดเซี่ยว.เซี่ยว ว. เสี้ยว, เฉไม่ตรงแนวมีรูปเรียวปลายคล้ายรูปชายธง, เช่น ผ้าเซี่ยว ใบตองเซี่ยว ตัดเซี่ยว.
เซี่ยวกาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รูปทวารบาล คือ ผู้รักษาประตู มักทําไว้ ๒ ข้างประตู.เซี่ยวกาง น. รูปทวารบาล คือ ผู้รักษาประตู มักทําไว้ ๒ ข้างประตู.
เซื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เงื่องหงอย, ซึม, มักใช้เข้าคู่กับคำ ซึม เป็น ซึมเซื่อง หรือ เซื่องซึม.เซื่อง ว. เงื่องหงอย, ซึม, มักใช้เข้าคู่กับคำ ซึม เป็น ซึมเซื่อง หรือ เซื่องซึม.
เซือม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้าดู เนื้ออ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู.เซือม ดู เนื้ออ่อน.
แซ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือรบไทยโบราณ ใช้แห่เวลาเสด็จพระราชดําเนินทอดกฐิน.แซ น. ชื่อเรือรบไทยโบราณ ใช้แห่เวลาเสด็จพระราชดําเนินทอดกฐิน.
แซ่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์, โจษกันแพร่หลาย.แซ่ ๑ ว. มีเสียงอื้ออึงจนฟังไม่ได้ศัพท์, โจษกันแพร่หลาย.
แซ่ซ้อง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เปล่งเสียงแสดงความนิยมยินดีหรือสรรเสริญกันทั่วไป.แซ่ซ้อง ก. เปล่งเสียงแสดงความนิยมยินดีหรือสรรเสริญกันทั่วไป.
แซ่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสกุลวงศ์ของจีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .แซ่ ๒ น. ชื่อสกุลวงศ์ของจีน. (จ.).
แซ็กคาริน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H4SO2•CONH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีความหวานประมาณ ๕๕๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ในทางแพทย์ใช้แทนนํ้าตาลทรายสําหรับคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานและคนที่อ้วนมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ saccharin เขียนว่า เอส-เอ-ซี-ซี-เอช-เอ-อา-ไอ-เอ็น.แซ็กคาริน (วิทยา) น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H4SO2•CONH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้เล็กน้อย มีความหวานประมาณ ๕๕๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ในทางแพทย์ใช้แทนนํ้าตาลทรายสําหรับคนไข้ที่เป็นโรคเบาหวานและคนที่อ้วนมาก. (อ. saccharin).
แซ็กคารินโซเดียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง แซ็กคารินซึ่งผลิตออกในรูปสารประกอบโซเดียม ละลายนํ้าได้ดี มีความหวานประมาณ ๔๐๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ใช้ได้อย่างแซ็กคาริน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ saccharin เขียนว่า เอส-เอ-ซี-ซี-เอช-เอ-อา-ไอ-เอ็น sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม .แซ็กคารินโซเดียม น. แซ็กคารินซึ่งผลิตออกในรูปสารประกอบโซเดียม ละลายนํ้าได้ดี มีความหวานประมาณ ๔๐๐ เท่าของนํ้าตาลทราย ไม่มีคุณค่าทางอาหาร ใช้ได้อย่างแซ็กคาริน. (อ. saccharin sodium).
แซง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นปรือ. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.แซง ๑ น. ต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นปรือ. (พจน. ๒๔๙๓).
แซง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกม้าที่มีหน้าที่แทรกขนานไปข้าง ๆ ในกระบวนแห่หรือกองทัพว่า ม้าแซง, ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่สอดแทรกเข้าไปข้างกระบวนทัพคอยช่วยระวังรักษาทัพ, ช้างแทรก ก็เรียก, เรียกเรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างและปิดท้ายกระบวน ว่า เรือแซง. เป็นคำกริยา หมายถึง เบียดหรือเฉียดเพื่อจะขึ้นหน้า เช่น เดินแซง ขับรถแซง แซงคิว; สอดแทรกเข้ามาในระหว่าง เช่น พูดแซง.แซง ๒ น. เรียกม้าที่มีหน้าที่แทรกขนานไปข้าง ๆ ในกระบวนแห่หรือกองทัพว่า ม้าแซง, ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่สอดแทรกเข้าไปข้างกระบวนทัพคอยช่วยระวังรักษาทัพ, ช้างแทรก ก็เรียก, เรียกเรือกราบซึ่งจัดเข้าร่วมไปในกระบวนเรือหลวง มีหน้าที่ป้องกันภัยกระบวนเรือพระที่นั่งโดยแซงขนาบอยู่ ๒ ข้างและปิดท้ายกระบวน ว่า เรือแซง. ก. เบียดหรือเฉียดเพื่อจะขึ้นหน้า เช่น เดินแซง ขับรถแซง แซงคิว; สอดแทรกเข้ามาในระหว่าง เช่น พูดแซง.
แซงแซว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Dicruridae ขนสีดําหรือเทาเป็นมัน ตาสีแดง หางเรียวยาว กินแมลง ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus), ชนิดที่มีขนหาง ๑ คู่ เป็นก้านยาวออกไปตรงปลายแผ่ออกเป็นแผ่นขน คือ แซงแซวหางบ่วงเล็ก (D. remifer) และแซงแซวหางบ่วงใหญ่ (D. paradiseus), ๒ ชนิดหลังนี้เรียกกันทั่วไปว่า แซงแซวหางบ่วง; เรียกสิ่งเช่นธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซวว่า ธงหางแซงแซว.แซงแซว น. ชื่อนกในวงศ์ Dicruridae ขนสีดําหรือเทาเป็นมัน ตาสีแดง หางเรียวยาว กินแมลง ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แซงแซวหางปลา (Dicrurus macrocercus), ชนิดที่มีขนหาง ๑ คู่ เป็นก้านยาวออกไปตรงปลายแผ่ออกเป็นแผ่นขน คือ แซงแซวหางบ่วงเล็ก (D. remifer) และแซงแซวหางบ่วงใหญ่ (D. paradiseus), ๒ ชนิดหลังนี้เรียกกันทั่วไปว่า แซงแซวหางบ่วง; เรียกสิ่งเช่นธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซวว่า ธงหางแซงแซว.
แซด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงเซ็งแซ่จนฟังไม่ได้ศัพท์ เช่น คุยกันแซด.แซด ว. มีเสียงเซ็งแซ่จนฟังไม่ได้ศัพท์ เช่น คุยกันแซด.
แซด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เซส่ายไปส่ายมาทรงตัวไม่อยู่ เช่น เซแซด ๆ.แซด ๆ ก. อาการที่เซส่ายไปส่ายมาทรงตัวไม่อยู่ เช่น เซแซด ๆ.
แซบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อร่อย.แซบ (ถิ่น–อีสาน) ว. อร่อย.
แซม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แทรกขึ้นมาในระหว่าง เช่น ฟันแซม ขนแซม, เสียบเข้าไปในระหว่าง เช่น เด็ดดอกไม้แซมผม, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหน็บแทรกหรือสอดเข้าไปเพื่อแทนสิ่งที่ชํารุดให้ดีขึ้น เช่น แซมกระบุง แซมหลังคา. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกม้าที่มีขนสีอื่นแทรกขึ้นมาในระหว่างขนที่เป็นพื้นว่า ม้าแซม.แซม ก. แทรกขึ้นมาในระหว่าง เช่น ฟันแซม ขนแซม, เสียบเข้าไปในระหว่าง เช่น เด็ดดอกไม้แซมผม, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหน็บแทรกหรือสอดเข้าไปเพื่อแทนสิ่งที่ชํารุดให้ดีขึ้น เช่น แซมกระบุง แซมหลังคา. น. เรียกม้าที่มีขนสีอื่นแทรกขึ้นมาในระหว่างขนที่เป็นพื้นว่า ม้าแซม.
แซยิด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง วันที่มีอายุครบ ๕ รอบนักษัตร คือ ๖๐ ปีบริบูรณ์ตามคติของจีน, เรียกการทําบุญในวันเช่นนั้นว่า ทําบุญแซยิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .แซยิด น. วันที่มีอายุครบ ๕ รอบนักษัตร คือ ๖๐ ปีบริบูรณ์ตามคติของจีน, เรียกการทําบุญในวันเช่นนั้นว่า ทําบุญแซยิด. (จ.).
แซ่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เคลื่อนไหวไปไหนไม่ได้ในลักษณะที่หมดกําลังหรือเจ็บป่วยเป็นต้น ในคําว่า นอนแซ่ว, แอ้วแซ่ว ก็ว่า.แซ่ว ว. อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เคลื่อนไหวไปไหนไม่ได้ในลักษณะที่หมดกําลังหรือเจ็บป่วยเป็นต้น ในคําว่า นอนแซ่ว, แอ้วแซ่ว ก็ว่า.
แซะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเครื่องมือแบน ๆ เช่นตะหลิวหรือเสียมแทงเบา ๆ โดยรอบแล้วช้อนขึ้นให้หลุดล่อนจากที่เดิม, โดยปริยายหมายความว่า เร่งรัด เช่น ต้องคอยแซะให้ทํางานอยู่เรื่อย.แซะ ๑ ก. เอาเครื่องมือแบน ๆ เช่นตะหลิวหรือเสียมแทงเบา ๆ โดยรอบแล้วช้อนขึ้นให้หลุดล่อนจากที่เดิม, โดยปริยายหมายความว่า เร่งรัด เช่น ต้องคอยแซะให้ทํางานอยู่เรื่อย.
แซะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้ชนิด Dendrobium scabrilingue Lindl. ในวงศ์ Orchidaceae กลีบดอกสีขาว กลีบกระเป๋าสีเขียวอ่อนถึงเหลือง กลิ่นหอม.แซะ ๒ น. ชื่อกล้วยไม้ชนิด Dendrobium scabrilingue Lindl. ในวงศ์ Orchidaceae กลีบดอกสีขาว กลีบกระเป๋าสีเขียวอ่อนถึงเหลือง กลิ่นหอม.
โซ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อดอยากยากจน.โซ ว. อดอยากยากจน.
โซซัดโซเซ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวร่อนเร่ไปมาด้วยความอดอยาก.โซซัดโซเซ ก. เที่ยวร่อนเร่ไปมาด้วยความอดอยาก.
โซ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กะเหรี่ยง.โซ่ ๑ น. กะเหรี่ยง.
โซ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โลหะมีเหล็กเป็นต้นที่เกี่ยวกันเป็นข้อ ๆ เป็นสายยาวสําหรับผูกล่ามแทนเชือก.โซ่ ๒ น. โลหะมีเหล็กเป็นต้นที่เกี่ยวกันเป็นข้อ ๆ เป็นสายยาวสําหรับผูกล่ามแทนเชือก.
โซ่ลาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง โซ่เหล็กกว้างประมาณ ๔ มิลลิเมตร หนา ๐.๕ มิลลิเมตร ไม่ยืดหรือหดในทุกอุณหภูมิ มี ๒ ขนาด คือ ยาว ๔๐ เมตร และ ๕๐ เมตร ทั้ง ๒ ขนาด แบ่งออกเป็น ๑๐๐ ข้อต่อกัน ใช้วัดที่ดิน.โซ่ลาน น. โซ่เหล็กกว้างประมาณ ๔ มิลลิเมตร หนา ๐.๕ มิลลิเมตร ไม่ยืดหรือหดในทุกอุณหภูมิ มี ๒ ขนาด คือ ยาว ๔๐ เมตร และ ๕๐ เมตร ทั้ง ๒ ขนาด แบ่งออกเป็น ๑๐๐ ข้อต่อกัน ใช้วัดที่ดิน.
โซก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เปียกมากจนไหลอาบไปทั่ว เช่น เหงื่อโซก.โซก ก. เปียกมากจนไหลอาบไปทั่ว เช่น เหงื่อโซก.
โซ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชาวไทยพวกหนึ่ง ผู้ชายนุ่งกางเกงสีดําหรือสีครามแก่ขาสั้นใต้เข่าเล็กน้อยและแคบ ผู้หญิงนุ่งซิ่นสีดําหรือสีครามแก่มีลายขาวเป็นทาง ๆ ลงมา, ซ่ง ซงดํา หรือ ไทยดํา ก็เรียก.โซ่ง น. ชาวไทยพวกหนึ่ง ผู้ชายนุ่งกางเกงสีดําหรือสีครามแก่ขาสั้นใต้เข่าเล็กน้อยและแคบ ผู้หญิงนุ่งซิ่นสีดําหรือสีครามแก่มีลายขาวเป็นทาง ๆ ลงมา, ซ่ง ซงดํา หรือ ไทยดํา ก็เรียก.
โซงโขดง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก-งอ-งู[–ขะโดง] เป็นคำนาม หมายถึง ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบเข้าไปเกล้าไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โองโขดง ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจาก เรื่องพระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๓.โซงโขดง [–ขะโดง] น. ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบเข้าไปเกล้าไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โองโขดง ก็ว่า. (สิบสองเดือน).
โซเซ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซไปมา, ทรงตัวไม่ใคร่อยู่, กระโซกระเซ ก็ว่า.โซเซ ว. เซไปมา, ทรงตัวไม่ใคร่อยู่, กระโซกระเซ ก็ว่า.
โซดา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่เจือด้วยโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต, นํ้าที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายและอัดไว้ในขวด เรียกว่า นํ้าโซดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ soda เขียนว่า เอส-โอ-ดี-เอ.โซดา น. นํ้าที่เจือด้วยโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต, นํ้าที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายและอัดไว้ในขวด เรียกว่า นํ้าโซดา. (อ. soda).
โซดาแผดเผา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบชนิดหนึ่ง ชื่อโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นของแข็งสีขาว ดูดความชื้นดีมาก ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสบู่ ไหมเรยอง, โซดาไฟ หรือ คอสติกโซดา ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ caustic เขียนว่า ซี-เอ-ยู-เอส-ที-ไอ-ซี soda เขียนว่า เอส-โอ-ดี-เอ .โซดาแผดเผา น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ชื่อโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เป็นของแข็งสีขาว ดูดความชื้นดีมาก ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสบู่ ไหมเรยอง, โซดาไฟ หรือ คอสติกโซดา ก็เรียก. (อ. caustic soda).
โซดาไฟ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง โซดาแผดเผา.โซดาไฟ น. โซดาแผดเผา.
โซเดียม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๑ สัญลักษณ์ Na เป็นโลหะสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๙๗.๘°ซ. สารประกอบสําคัญของธาตุนี้ที่พบมาก คือ เกลือแกง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม.โซเดียม น. ธาตุลําดับที่ ๑๑ สัญลักษณ์ Na เป็นโลหะสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๙๗.๘°ซ. สารประกอบสําคัญของธาตุนี้ที่พบมาก คือ เกลือแกง. (อ. sodium).
โซเดียมคาร์บอเนต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2CO3 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2CO310•H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําแก้ว สบู่ กระดาษ ทําลายความกระด้างของนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม carbonate เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น-เอ-ที-อี .โซเดียมคาร์บอเนต น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2CO3 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2CO310•H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําแก้ว สบู่ กระดาษ ทําลายความกระด้างของนํ้า. (อ. sodium carbonate).
โซเดียมซัลเฟต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2SO4 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2SO4•10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาถ่าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสบู่ ผงซักฟอก สีย้อม แก้ว กระดาษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม sulphate เขียนว่า เอส-ยู-แอล-พี-เอช-เอ-ที-อี .โซเดียมซัลเฟต น. เกลือปรกติชนิดหนึ่ง มีสูตร Na2SO4 เมื่อเป็นผลึกมีสูตร Na2SO4•10H2O ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ มีสมบัติเป็นยาถ่าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสบู่ ผงซักฟอก สีย้อม แก้ว กระดาษ. (อ. sodium sulphate).
โซเดียมไซคลาเมต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H11NHSO3Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม cyclamate เขียนว่า ซี-วาย-ซี-แอล-เอ-เอ็ม-เอ-ที-อี .โซเดียมไซคลาเมต น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H11NHSO3Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. (อ. sodium cyclamate).
โซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร HOOC•(CH2)2•CH(NH2)COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ชูรสอาหาร มักเรียกกันว่า ผงชูรส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น glutamate เขียนว่า จี-แอล-ยู-ที-เอ-เอ็ม-เอ-ที-อี .โซเดียมไฮโดรเจนกลูทาเมต น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร HOOC•(CH2)2•CH(NH2)COONa ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ชูรสอาหาร มักเรียกกันว่า ผงชูรส. (อ. sodium hydrogen glutamate).
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHCO3 ลักษณะเป็นผงสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําให้ขนมมีลักษณะฟูพรุน เช่น ขนมปัง ใช้เป็นองค์ประกอบเคมีในเครื่องดับเพลิง ทางแพทย์ใช้เป็นตัวลดกรดในกระเพาะอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น carbonate เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น-เอ-ที-อี .โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHCO3 ลักษณะเป็นผงสีขาว ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําให้ขนมมีลักษณะฟูพรุน เช่น ขนมปัง ใช้เป็นองค์ประกอบเคมีในเครื่องดับเพลิง ทางแพทย์ใช้เป็นตัวลดกรดในกระเพาะอาหาร. (อ. sodium hydrogen carbonate).
โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHSO4 ลักษณะเป็นของแข็ง ละลายนํ้าได้ใช้ประโยชน์เป็นสารทําความสะอาดแผ่นเหล็กก่อนที่จะฉาบด้วยดีบุก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sodium เขียนว่า เอส-โอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น sulphate เขียนว่า เอส-ยู-แอล-พี-เอช-เอ-ที-อี .โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHSO4 ลักษณะเป็นของแข็ง ละลายนํ้าได้ใช้ประโยชน์เป็นสารทําความสะอาดแผ่นเหล็กก่อนที่จะฉาบด้วยดีบุก. (อ. sodium hydrogen sulphate).
โซม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เปียกทั่ว เช่น เหงื่อโซมตัว; คําบอกให้ช้างย่อตัว.โซม ก. เปียกทั่ว เช่น เหงื่อโซมตัว; คําบอกให้ช้างย่อตัว.
โซรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[โซม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง รุมกัน, ช่วยกัน.โซรม [โซม] (โบ) ก. รุมกัน, ช่วยกัน.
โซรมประทยด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[–เทียด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง รุมกันด่ากระทบกระเทียบเปรียบเปรย.โซรมประทยด [–เทียด] (กลอน) ก. รุมกันด่ากระทบกระเทียบเปรียบเปรย.
โซรมโรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง รุมรบกัน.โซรมโรม ก. รุมรบกัน.
โซรมศัสตราวุธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง เป็นคำกริยา หมายถึง ระดมฟันแทงพุ่งศัสตราวุธเข้าไป.โซรมศัสตราวุธ ก. ระดมฟันแทงพุ่งศัสตราวุธเข้าไป.
โซลา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง นํ้ามันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลชนิดหมุนเร็ว โดยใช้ความร้อนซึ่งเกิดจากกําลังอัดของลูกสูบจุดระเบิด, ทางการเรียกว่า นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sola เขียนว่า เอส-โอ-แอล-เอ solar เขียนว่า เอส-โอ-แอล-เอ-อา .โซลา น. นํ้ามันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลชนิดหมุนเร็ว โดยใช้ความร้อนซึ่งเกิดจากกําลังอัดของลูกสูบจุดระเบิด, ทางการเรียกว่า นํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว. (อ. sola, solar).
ไซ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสานสําหรับดักปลา มีหลายชนิด เช่น ไซมาน ไซตั้ง ไซนอน.ไซ ๑ น. เครื่องสานสําหรับดักปลา มีหลายชนิด เช่น ไซมาน ไซตั้ง ไซนอน.
ไซ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูชนิด Enhydris bocourti ในวงศ์ Colubridae ตัวอ้วนสั้น หัวโต อาศัยตามริมน้ำหรือในน้ำเพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีพิษอ่อนมากและไม่ปรากฏปฏิกิริยาต่อผู้ถูกกัด.ไซ ๒ น. ชื่องูชนิด Enhydris bocourti ในวงศ์ Colubridae ตัวอ้วนสั้น หัวโต อาศัยตามริมน้ำหรือในน้ำเพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีพิษอ่อนมากและไม่ปรากฏปฏิกิริยาต่อผู้ถูกกัด.
ไซ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก.ไซ ๓ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา มี ๔ ดวง, ดาวเศรษฐี ดาวศรวิษฐา หรือ ดาวธนิษฐะ ก็เรียก.
ไซ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหญ้าชนิด Leersia hexandra Sw. ในวงศ์ Gramineae ชอบขึ้นในที่ลุ่ม ใบยาวแหลมคม.ไซ ๔ น. ชื่อหญ้าชนิด Leersia hexandra Sw. ในวงศ์ Gramineae ชอบขึ้นในที่ลุ่ม ใบยาวแหลมคม.
ไซ้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่นกหรือเป็ดเอาปากยํ้า ๆ ขนหรือหาอาหาร; อาการที่ทําให้ปวดมวน เช่น ยาดําไซ้ท้อง.ไซ้ ๑ ก. กิริยาที่นกหรือเป็ดเอาปากยํ้า ๆ ขนหรือหาอาหาร; อาการที่ทําให้ปวดมวน เช่น ยาดําไซ้ท้อง.
ไซ้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ได้, ไหน, อะไร.ไซ้ ๒ ว. ได้, ไหน, อะไร.
ไซเกิล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง ชุดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาวะหนึ่งจนกระทั่งกลับคืนมาสู่ภาวะแท้จริงเดิมอีก เช่น การเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ของไฟฟ้ากระแสสลับเริ่มจากภาวะที่ไม่มีกระแสจนกระทั่งกระแสทวีค่าสูงสุดในทิศทางหนึ่ง แล้วลดลงจนไม่มีกระแส จากนี้กระแสทวีค่าขึ้นอีก จนสูงสุดในทิศทางตรงข้าม แล้วจึงกลับลดลงจนสู่ภาวะไม่มีกระแสอีก ดังนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบ ๑ ไซเกิล จึงใช้จํานวนไซเกิลต่อวินาทีเป็นหน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับและความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cycle เขียนว่า ซี-วาย-ซี-แอล-อี.ไซเกิล (ฟิสิกส์) น. ชุดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาวะหนึ่งจนกระทั่งกลับคืนมาสู่ภาวะแท้จริงเดิมอีก เช่น การเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ของไฟฟ้ากระแสสลับเริ่มจากภาวะที่ไม่มีกระแสจนกระทั่งกระแสทวีค่าสูงสุดในทิศทางหนึ่ง แล้วลดลงจนไม่มีกระแส จากนี้กระแสทวีค่าขึ้นอีก จนสูงสุดในทิศทางตรงข้าม แล้วจึงกลับลดลงจนสู่ภาวะไม่มีกระแสอีก ดังนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบ ๑ ไซเกิล จึงใช้จํานวนไซเกิลต่อวินาทีเป็นหน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับและความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล. (อ. cycle).
ไซโคลน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู[–โคฺลน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังแรงจัด ทําให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cyclone เขียนว่า ซี-วาย-ซี-แอล-โอ-เอ็น-อี.ไซโคลน [–โคฺลน] น. ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังแรงจัด ทําให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในมหาสมุทรอินเดีย ทะเลอาหรับ และอ่าวเบงกอล มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. (อ. cyclone).
ไซน์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ไซน์ของมุมใดคืออัตราส่วน (เศษ ความยาวของด้านตรงข้ามมุมนั้น ส่วน ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก) ในเมื่อถือเอารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ที่มีมุมนั้น) เป็นหลัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ sine เขียนว่า เอส-ไอ-เอ็น-อี.ไซน์ (คณิต) น. ไซน์ของมุมใดคืออัตราส่วน (เศษ ความยาวของด้านตรงข้ามมุมนั้น ส่วน ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก) ในเมื่อถือเอารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ที่มีมุมนั้น) เป็นหลัก. (อ. sine).
ไซยาไนด์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติของกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) เช่น โพแทสเซียมไซยาไนด์ (KCN) โซเดียมไซยาไนด์ (NaCN) เกลือไซยาไนด์ทั้งหมดเป็นพิษอย่างร้ายแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cyanide เขียนว่า ซี-วาย-เอ-เอ็น-ไอ-ดี-อี.ไซยาไนด์ น. เกลือปรกติของกรดไฮโดรไซยานิก (HCN) เช่น โพแทสเซียมไซยาไนด์ (KCN) โซเดียมไซยาไนด์ (NaCN) เกลือไซยาไนด์ทั้งหมดเป็นพิษอย่างร้ายแรง. (อ. cyanide).
ไซร้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-รอ-เรือ-ไม้-โท[ไซ้] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําสําหรับเน้นความหมายของคําหน้า มีความหมายไปในทางว่า อย่างนั้น, เช่นนั้น, ทีเดียว.ไซร้ [ไซ้] ว. คําสําหรับเน้นความหมายของคําหน้า มีความหมายไปในทางว่า อย่างนั้น, เช่นนั้น, ทีเดียว.
ไซเรน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องส่งสัญญาณเสียงเพื่อเตือนภัย บอกหมดภัย หรือเตือนให้ยวดยานอื่นหลีกทางให้ เป็นต้น; เสียงที่เกิดจากเครื่องเตือนภัย เรียก เสียงไซเรน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ siren เขียนว่า เอส-ไอ-อา-อี-เอ็น.ไซเรน น. เครื่องส่งสัญญาณเสียงเพื่อเตือนภัย บอกหมดภัย หรือเตือนให้ยวดยานอื่นหลีกทางให้ เป็นต้น; เสียงที่เกิดจากเครื่องเตือนภัย เรียก เสียงไซเรน. (อ. siren).
ไซโล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ทําด้วยวัสดุที่แข็งแรงทนทาน ภายในมีระบบกันความชื้นและระบายอากาศเป็นต้น สําหรับเก็บผลิตผลทางเกษตรไว้ชั่วคราวก่อนส่งออก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ silo เขียนว่า เอส-ไอ-แอล-โอ.ไซโล น. สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ทําด้วยวัสดุที่แข็งแรงทนทาน ภายในมีระบบกันความชื้นและระบายอากาศเป็นต้น สําหรับเก็บผลิตผลทางเกษตรไว้ชั่วคราวก่อนส่งออก. (อ. silo).
เขียนว่า ชอ-เชอพยัญชนะตัวที่ ๑๒ นับเป็นพวกอักษรตํ่า. พยัญชนะตัวที่ ๑๒ นับเป็นพวกอักษรตํ่า.
ฌาน เขียนว่า ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[ชาน] เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่จิตสงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์, การเพ่งอารมณ์จนจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ, เรียกลักษณะการทําจิตให้สงบตามหลักทางศาสนาว่า เข้าฌาน เช่น พระเข้าฌาน ฤษีเข้าฌาน, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร เรียกว่า เข้าฌาน, ฌานนั้นจัดเป็น ๔ ชั้น เรียกชื่อตามลําดับที่ประณีตขึ้นไปกว่ากัน คือ ปฐมฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือ ยังมีตรึก ซึ่งเรียกว่า วิตก มีตรอง ซึ่งเรียกว่า วิจาร เหมือนอารมณ์แห่งจิตของคนสามัญ มีปีติ คือความอิ่มใจ มีสุข คือความสบายใจอันเกิดแต่วิเวกคือความเงียบ และประกอบด้วยจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งลงไปซึ่งเรียกว่า เอกัคตา, ทุติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๒ มีองค์ ๓ คือ ละวิตกวิจารเสียได้ คงอยู่แต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิกับเอกัคตา, ตติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๓ มีองค์ ๒ คือ ละปีติเสียได้ คงอยู่แต่สุขกับเอกัคตา, จตุตถฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๔ มีองค์ ๒ เหมือนกัน ละสุขเสียได้กลายเป็นอุเบกขาคือเฉย ๆ กับเอกัคตา, ฌานทั้ง ๔ นี้จัดเป็นรูปฌาน เป็นรูปสมาบัติ มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ สงเคราะห์เข้าในรูปาวจรภูมิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธฺยาน เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ฌาน [ชาน] น. ภาวะที่จิตสงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์, การเพ่งอารมณ์จนจิตแน่วแน่เป็นสมาธิ, เรียกลักษณะการทําจิตให้สงบตามหลักทางศาสนาว่า เข้าฌาน เช่น พระเข้าฌาน ฤษีเข้าฌาน, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร เรียกว่า เข้าฌาน, ฌานนั้นจัดเป็น ๔ ชั้น เรียกชื่อตามลําดับที่ประณีตขึ้นไปกว่ากัน คือ ปฐมฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือ ยังมีตรึก ซึ่งเรียกว่า วิตก มีตรอง ซึ่งเรียกว่า วิจาร เหมือนอารมณ์แห่งจิตของคนสามัญ มีปีติ คือความอิ่มใจ มีสุข คือความสบายใจอันเกิดแต่วิเวกคือความเงียบ และประกอบด้วยจิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งลงไปซึ่งเรียกว่า เอกัคตา, ทุติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๒ มีองค์ ๓ คือ ละวิตกวิจารเสียได้ คงอยู่แต่ปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิกับเอกัคตา, ตติยฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๓ มีองค์ ๒ คือ ละปีติเสียได้ คงอยู่แต่สุขกับเอกัคตา, จตุตถฌาน ได้แก่ ฌานที่ ๔ มีองค์ ๒ เหมือนกัน ละสุขเสียได้กลายเป็นอุเบกขาคือเฉย ๆ กับเอกัคตา, ฌานทั้ง ๔ นี้จัดเป็นรูปฌาน เป็นรูปสมาบัติ มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ สงเคราะห์เข้าในรูปาวจรภูมิ. (ป.; ส. ธฺยาน).
ฌาปน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู[ชาปะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเผาศพ, การปลงศพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฌาปน– [ชาปะนะ–] น. การเผาศพ, การปลงศพ. (ป.).
ฌาปนกิจ เขียนว่า ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง การเผาศพ.ฌาปนกิจ น. การเผาศพ.
ฌาปนสถาน เขียนว่า ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่เผาศพ.ฌาปนสถาน น. ที่เผาศพ.
เฌอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ชอ-เชอ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ไม้, ต้นไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เฌี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อี ว่า ไม้, เฎิมเฌี ว่า ต้นไม้ .เฌอ น. ไม้, ต้นไม้. (ข. เฌี ว่า ไม้, เฎิมเฌี ว่า ต้นไม้).
เฌอเอม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ชอ-เชอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชะเอม.เฌอเอม น. ชะเอม.
เขียนว่า ยอ-หยิงพยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรตํ่า และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ. พยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรตํ่า และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ.
ญญ่าย เขียนว่า ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตกจากหมู่, กระจัดกระจาย, ในคําว่า หนีญญ่ายพ่ายจแจ้น. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ญญ่าย (แบบ) ว. แตกจากหมู่, กระจัดกระจาย, ในคําว่า หนีญญ่ายพ่ายจแจ้น. (จารึกสยาม).
ญวน เขียนว่า ยอ-หยิง-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของประเทศจีน และทางทิศตะวันออกของประเทศลาวและเขมร, ปัจจุบันเรียกว่า ประเทศเวียดนาม.ญวน ๑ น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของประเทศจีน และทางทิศตะวันออกของประเทศลาวและเขมร, ปัจจุบันเรียกว่า ประเทศเวียดนาม.
ญวน เขียนว่า ยอ-หยิง-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ดู ใบขนุน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู (๑).ญวน ๒ ดู ใบขนุน (๑).
ญัตติ เขียนว่า ยอ-หยิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง คําประกาศให้สงฆ์ทราบเพื่อทํากิจของสงฆ์ร่วมกัน เช่น ญัตติทุติยกรรมวาจา ญัตติจตุตถกรรมวาจา, คําเผดียงสงฆ์ ก็ว่า; ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่; หัวข้อโต้วาที เช่น โต้วาทีในญัตติว่า ขุนช้างดีกว่าขุนแผน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ญัตติ น. คําประกาศให้สงฆ์ทราบเพื่อทํากิจของสงฆ์ร่วมกัน เช่น ญัตติทุติยกรรมวาจา ญัตติจตุตถกรรมวาจา, คําเผดียงสงฆ์ ก็ว่า; ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่; หัวข้อโต้วาที เช่น โต้วาทีในญัตติว่า ขุนช้างดีกว่าขุนแผน. (ป.).
ญาณ, ญาณ– ญาณ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน ญาณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน [ยาน, ยานะ–, ยานนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ปรีชาหยั่งรู้หรือกําหนดรู้ที่เกิดจากอํานาจสมาธิ, ความสามารถหยั่งรู้เป็นพิเศษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ชฺาน เขียนว่า ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ญาณ, ญาณ– [ยาน, ยานะ–, ยานนะ–] น. ปรีชาหยั่งรู้หรือกําหนดรู้ที่เกิดจากอํานาจสมาธิ, ความสามารถหยั่งรู้เป็นพิเศษ. (ป.; ส. ชฺาน).
ญาณทัสนะ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[ยานะทัดสะนะ, ยานนะทัดสะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ความเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ญาณทัสนะ [ยานะทัดสะนะ, ยานนะทัดสะนะ] (แบบ) น. ความรู้ความเห็น. (ป.).
ญาณวิทยา เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา] เป็นคำนาม หมายถึง ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยกําเนิดลักษณะและความถูกต้องแห่งความรู้ ตลอดจนวิธีหาความรู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ epistemology เขียนว่า อี-พี-ไอ-เอส-ที-อี-เอ็ม-โอ-แอล-โอ-จี-วาย.ญาณวิทยา [ยานะวิดทะยา, ยานนะวิดทะยา] น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยกําเนิดลักษณะและความถูกต้องแห่งความรู้ ตลอดจนวิธีหาความรู้. (อ. epistemology).
ญาณศาสตร์ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[ยานะสาด, ยานนะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง ตําราพยากรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี าณ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน + ภาษาสันสกฤต ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ .ญาณศาสตร์ [ยานะสาด, ยานนะสาด] น. ตําราพยากรณ์. (ป. าณ + ส. ศาสฺตฺร).
ญาติ, ญาติ– ญาติ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ญาติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ [ยาด, ยาติ–, ยาดติ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ญาติ, ญาติ– [ยาด, ยาติ–, ยาดติ–] น. คนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่. (ป.).
ญาติกา เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[ยาดติ–] เป็นคำนาม หมายถึง ญาติ.ญาติกา [ยาดติ–] น. ญาติ.
ญาติดีกัน เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คืนดีกัน.ญาติดีกัน ว. คืนดีกัน.
ญาติเภท เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน[ยาติเพด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การแตกระหว่างญาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ญาติเภท [ยาติเพด] (แบบ) น. การแตกระหว่างญาติ. (ป.).
ญาติสนิท เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน[ยาดสะหฺนิด] เป็นคำนาม หมายถึง ญาติที่ใกล้ชิดกันมาก.ญาติสนิท [ยาดสะหฺนิด] น. ญาติที่ใกล้ชิดกันมาก.
ญาติสืบสาโลหิต เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ญาติที่มีความสัมพันธ์กันทางสายเลือด.ญาติสืบสาโลหิต (กฎ) น. ญาติที่มีความสัมพันธ์กันทางสายเลือด.
ญิบ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง เช่น ญิบพัน ว่า สองพัน, หญิบ ก็ใช้.ญิบ (ถิ่น–พายัพ) ว. สอง เช่น ญิบพัน ว่า สองพัน, หญิบ ก็ใช้.
ญี่ เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกชายคนที่ ๒ ว่า ลูกญี่, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๒ ว่า ลูกอี่.ญี่ (โบ) น. เรียกลูกชายคนที่ ๒ ว่า ลูกญี่, คู่กับ ลูกหญิงคนที่ ๒ ว่า ลูกอี่.
ญี่ปุ่น เขียนว่า ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ในหมู่เกาะทางทิศตะวันออกของประเทศจีน.ญี่ปุ่น น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่งอยู่ในหมู่เกาะทางทิศตะวันออกของประเทศจีน.
เญยธรรม, ไญยธรรม เญยธรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ยอ-หยิง-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ไญยธรรม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ยอ-หยิง-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า [เยยยะทํา, ไยยะทํา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมที่ควรรู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เยฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ยอ-หยิง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + ภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .เญยธรรม, ไญยธรรม [เยยยะทํา, ไยยะทํา] (แบบ) น. ธรรมที่ควรรู้. (ป. เยฺย + ส. ธรฺม).
เขียนว่า ดอ-ชะ-ดาพยัญชนะตัวที่ ๑๔ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กฎ มงกุฎ. พยัญชนะตัวที่ ๑๔ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กฎ มงกุฎ.
ฎีกา เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คําอธิบายขยายความ เช่น ฎีกาพาหุง; ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรืออธิบายคัมภีร์อรรถกถา; หนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์; ใบแจ้งการขอเบิกเงินจากคลัง; ใบบอกบุญเรี่ยไร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง คําร้องทุกข์ที่ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์; ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่าศาลฎีกา; การคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลอุทธรณ์ที่คู่ความยื่นต่อศาลชั้นต้น เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ใบเรียกเก็บเงิน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นคําร้องขอหรือคําคัดค้านต่อศาลฎีกา เช่น คดีนี้จะฎีกาหรือไม่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ฏีกา เขียนว่า ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.ฎีกา น. คําอธิบายขยายความ เช่น ฎีกาพาหุง; ชื่อคัมภีร์หนังสือที่แก้หรืออธิบายคัมภีร์อรรถกถา; หนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์; ใบแจ้งการขอเบิกเงินจากคลัง; ใบบอกบุญเรี่ยไร; (กฎ) คําร้องทุกข์ที่ราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์; ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่าศาลฎีกา; การคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งศาลอุทธรณ์ที่คู่ความยื่นต่อศาลชั้นต้น เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด; (โบ) ใบเรียกเก็บเงิน. (ปาก) ก. ยื่นคําร้องขอหรือคําคัดค้านต่อศาลฎีกา เช่น คดีนี้จะฎีกาหรือไม่. (ป. ฏีกา).
เขียนว่า ตอ-ปะ-ตักพยัญชนะตัวที่ ๑๕ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรากฏ มกุฏกษัตริยาราม. พยัญชนะตัวที่ ๑๕ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรากฏ มกุฏกษัตริยาราม.
เขียนว่า ถอ-ถานพยัญชนะตัวที่ ๑๖ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รัฐ อัฐ. พยัญชนะตัวที่ ๑๖ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รัฐ อัฐ.
ฐกัด เขียนว่า ถอ-ถาน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[ถะกัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ตระกัด, ยินดี, เช่น ฐกัดนี้แก่เถ้าตุ่ยต่วมฤๅจตรู. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ฐกัด [ถะกัด] ก. ตระกัด, ยินดี, เช่น ฐกัดนี้แก่เถ้าตุ่ยต่วมฤๅจตรู. (ม. คำหลวง ชูชก).
ฐากูร เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[ถากูน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง รูปเคารพ, เทพเจ้าที่นับถือ; ใช้เสริมท้ายชื่อคนที่มีชื่อเสียง เช่น โควินทฐากูร ชื่อผู้แต่งคัมภีร์กาพย์กลอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺกุร เขียนว่า ถอ-ถาน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ.ฐากูร [ถากูน] (แบบ) น. รูปเคารพ, เทพเจ้าที่นับถือ; ใช้เสริมท้ายชื่อคนที่มีชื่อเสียง เช่น โควินทฐากูร ชื่อผู้แต่งคัมภีร์กาพย์กลอน. (ส. กฺกุร).
ฐาน เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ [ถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้ง เช่น ฐานทัพ ฝีตั้งฐาน, ที่รองรับ เช่น ฐานพระพุทธรูป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐาน ๑ [ถาน] น. ที่ตั้ง เช่น ฐานทัพ ฝีตั้งฐาน, ที่รองรับ เช่น ฐานพระพุทธรูป. (ป.).
ฐานกรณ์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[ถานกอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้งและเครื่องทําให้เกิดเสียงในการพูด.ฐานกรณ์ [ถานกอน] (ไว) น. ที่ตั้งและเครื่องทําให้เกิดเสียงในการพูด.
ฐานเขียง เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ฐานรองชั้นล่างสําหรับรองฐานอื่น มีหน้ากระดานและลวดท้องไม้.ฐานเขียง น. ฐานรองชั้นล่างสําหรับรองฐานอื่น มีหน้ากระดานและลวดท้องไม้.
ฐานเชิงบาตร เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ฐานรูปเชิงบัวหน้ากระดาน. ในวงเล็บ รูปภาพ ฐานเชิงบาตร.ฐานเชิงบาตร น. ฐานรูปเชิงบัวหน้ากระดาน. (รูปภาพ ฐานเชิงบาตร).
ฐานเท้าสิงห์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ฐานรูปสมมุติจากสิงห์แบก, ฐานสิงห์ ก็เรียก. ในวงเล็บ รูปภาพ ฐานเท้าสิงห์.ฐานเท้าสิงห์ น. ฐานรูปสมมุติจากสิงห์แบก, ฐานสิงห์ ก็เรียก. (รูปภาพ ฐานเท้าสิงห์).
ฐานบัทม์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ฐานบัวหน้ากระดานบัวควํ่าบัวหงาย.ฐานบัทม์ น. ฐานบัวหน้ากระดานบัวควํ่าบัวหงาย.
ฐานราก เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง โครงสร้างตอนล่างสุดที่รองรับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ส่วนของอาคารที่ใช้ถ่ายนํ้าหนักอาคารลงสู่ดิน.ฐานราก น. โครงสร้างตอนล่างสุดที่รองรับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง; (กฎ) ส่วนของอาคารที่ใช้ถ่ายนํ้าหนักอาคารลงสู่ดิน.
ฐานสิงห์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ฐานเท้าสิงห์.ฐานสิงห์ น. ฐานเท้าสิงห์.
ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ ฐาน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐานะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [ถาน, ถานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งหน้าที่; หลักฐาน, ลําดับความเป็นอยู่ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ [ถาน, ถานะ–] น. ตําแหน่งหน้าที่; หลักฐาน, ลําดับความเป็นอยู่ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของเขา. (ป.).
ฐานันดร เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับในการกําหนดชั้นบุคคล เช่น ยศบรรดาศักดิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี านนฺตร เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.ฐานันดร น. ลําดับในการกําหนดชั้นบุคคล เช่น ยศบรรดาศักดิ์. (ป. านนฺตร).
ฐานานุกรม เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับตําแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอํานาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทําเนียบ.ฐานานุกรม น. ลําดับตําแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอํานาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทําเนียบ.
ฐานานุรูป เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมควรแก่ฐานะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐานานุรูป ว. สมควรแก่ฐานะ. (ป.).
ฐานานุศักดิ์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามควรแก่เกียรติศักดิ์. เป็นคำนาม หมายถึง ศักดิ์ที่พระราชาคณะมีอํานาจตั้งฐานานุกรมได้.ฐานานุศักดิ์ ว. ตามควรแก่เกียรติศักดิ์. น. ศักดิ์ที่พระราชาคณะมีอํานาจตั้งฐานานุกรมได้.
ฐาน เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำสันธาน หมายถึง เพราะ เช่น ถูกลงโทษฐานละเลยหน้าที่.ฐาน ๓ สัน. เพราะ เช่น ถูกลงโทษฐานละเลยหน้าที่.
ฐาน เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จํานวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจํานวนอื่น ๆ โดยการยกกําลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จํานวน ๓ ใน ๓๔ (= ๘๑) จํานวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จํานวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐๒) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๗ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗๒).ฐาน ๔ (คณิต) น. เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จํานวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจํานวนอื่น ๆ โดยการยกกําลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จํานวน ๓ ใน ๓๔ (= ๘๑) จํานวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จํานวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐๒) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๗ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗๒).
ฐานันดร เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ ฐาน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐานะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .ฐานันดร ดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ.
ฐานานุกรม เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ ฐาน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐานะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .ฐานานุกรม ดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ.
ฐานานุรูป เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลาดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ ฐาน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐานะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .ฐานานุรูป ดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ.
ฐานานุศักดิ์ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาดดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ ฐาน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ฐานะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .ฐานานุศักดิ์ ดู ฐาน ๒, ฐาน–, ฐานะ.
ฐานียะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรแก่ตําแหน่ง, ตั้งอยู่ในฐานะ, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น ครุฐานียะ ว่า ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐานียะ (แบบ) ว. ควรแก่ตําแหน่ง, ตั้งอยู่ในฐานะ, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น ครุฐานียะ ว่า ตั้งอยู่ในฐานะเป็นครู. (ป.).
ฐาปน–, ฐาปนา ฐาปน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู ฐาปนา เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา [ถาปะนะ–, ถาปะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การก่อสร้าง, การแต่งตั้ง, การซ่อมแซม, การตั้งขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ปน เขียนว่า ถอ-ถาน-ปอ-ปลา-นอ-หนู.ฐาปน–, ฐาปนา [ถาปะนะ–, ถาปะนา] น. การก่อสร้าง, การแต่งตั้ง, การซ่อมแซม, การตั้งขึ้น. (ป. ปน).
ฐายี เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งอยู่, ดํารงอยู่, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น กัปปัฏฐายี ว่า ตั้งอยู่กัปหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐายี (แบบ) ว. ตั้งอยู่, ดํารงอยู่, มักประกอบท้ายศัพท์ เช่น กัปปัฏฐายี ว่า ตั้งอยู่กัปหนึ่ง. (ป.).
ฐิตะ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ[ถิตะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ยืนอยู่, ตั้งอยู่แล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐิตะ [ถิตะ] (แบบ) ก. ยืนอยู่, ตั้งอยู่แล้ว. (ป.).
ฐิติ เขียนว่า ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[ถิติ] เป็นคำนาม หมายถึง การตั้งอยู่, การยืนอยู่, การดํารงอยู่; การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่; การหยุดอยู่; ความมั่นคง, ความอดทน; ตำแหน่ง, ที่อยู่; ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ; ความแน่นอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฐิติ [ถิติ] น. การตั้งอยู่, การยืนอยู่, การดํารงอยู่; การเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่; การหยุดอยู่; ความมั่นคง, ความอดทน; ตำแหน่ง, ที่อยู่; ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ; ความแน่นอน. (ป.).
เขียนว่า ทอ-มน-โทพยัญชนะตัวที่ ๑๗ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ษัฑ. พยัญชนะตัวที่ ๑๗ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ษัฑ.
ฑังส– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-มน-โท-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ[ดังสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เหลือบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ฑํส เขียนว่า ทอ-มน-โท-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ.ฑังส– [ดังสะ–] (แบบ) น. เหลือบ. (ป. ฑํส).
ฑาก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[ดากะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผักดอง, เมี่ยง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฑาก– [ดากะ–] (แบบ) น. ผักดอง, เมี่ยง. (ป.).
ฑาหก เขียนว่า ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่[ทาหก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เผา; ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฑาหก [ทาหก] น. ผู้เผา; ไฟ. (ป.).
ฑาหะ เขียนว่า ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ[ทาหะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความร้อน, ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .ฑาหะ [ทาหะ] (แบบ) น. ความร้อน, ไฟ. (ป.).
เขียนว่า ทอ-ผู้-เท่าพยัญชนะตัวที่ ๑๘ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น วัฒน์ วุฒิ. พยัญชนะตัวที่ ๑๘ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น วัฒน์ วุฒิ.
เฒ่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แก่, มีอายุมาก, เถ้า ก็ใช้.เฒ่า ว. แก่, มีอายุมาก, เถ้า ก็ใช้.
เฒ่าแก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งข้าราชการฝ่ายในในพระราชสำนัก; ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เถ้าแก่ ก็ใช้.เฒ่าแก่ น. ตําแหน่งข้าราชการฝ่ายในในพระราชสำนัก; ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น, เถ้าแก่ ก็ใช้.
เฒ่าหัวงู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง คนแก่หรือคนมีอายุมากที่มีเล่ห์เหลี่ยมหรือกลอุบายหลอกเด็กผู้หญิงในทางกามารมณ์, คนแก่เจ้าเล่ห์.เฒ่าหัวงู น. คนแก่หรือคนมีอายุมากที่มีเล่ห์เหลี่ยมหรือกลอุบายหลอกเด็กผู้หญิงในทางกามารมณ์, คนแก่เจ้าเล่ห์.
เขียนว่า นอ-เนน ความหมายที่ พยัญชนะตัวที่ ๑๙ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น คุณ บัณฑิต.ณ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๙ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น คุณ บัณฑิต.
เขียนว่า นอ-เนน ความหมายที่ [นะ] เป็นคำบุรพบท หมายถึง ใน, ที่, เป็นคําบ่งเวลาหรือสถานที่ว่า ตรงนั้นตรงนี้, ถ้าใช้นําหน้าสกุล หมายความว่า แห่ง เช่น ณ อยุธยา ณ ระนอง.ณ ๒ [นะ] บ. ใน, ที่, เป็นคําบ่งเวลาหรือสถานที่ว่า ตรงนั้นตรงนี้, ถ้าใช้นําหน้าสกุล หมายความว่า แห่ง เช่น ณ อยุธยา ณ ระนอง.
ณรงค์ เขียนว่า นอ-เนน-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อสู้ชิงชัย เช่น ณรงค์เพื่อต่อต้านวัณโรค. เป็นคำนาม หมายถึง การรบ, การต่อสู้. (ตัดมาจาก รณรงค์).ณรงค์ ก. ต่อสู้ชิงชัย เช่น ณรงค์เพื่อต่อต้านวัณโรค. น. การรบ, การต่อสู้. (ตัดมาจาก รณรงค์).
เณร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สามเณร.เณร น. สามเณร.
เณรหน้าไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง สามเณรที่บวชเนื่องในพิธีเผาศพ.เณรหน้าไฟ น. สามเณรที่บวชเนื่องในพิธีเผาศพ.
เณรหางนาค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง สามเณรที่บวชต่อท้ายพิธีบวชพระ.เณรหางนาค น. สามเณรที่บวชต่อท้ายพิธีบวชพระ.
เขียนว่า ดอ-เด็กพยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด. พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.
ดก เขียนว่า ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, มากกว่าปรกติ, (มักใช้แก่สิ่งที่เกิดมีขึ้นตามธรรมชาติ) เช่น ต้นไม้ออกดอกออกผลมากกว่าปรกติ เรียกว่า ดอกดก ผลดก, ไก่ที่ไข่มากกว่าปรกติ เรียกว่า ไข่ดก, หญิงที่มีลูกถี่และมากกว่าปรกติ เรียกว่า ลูกดก, คนที่มีผมมากกว่าปรกติ เรียกว่า ผมดก; โดยปริยายใช้เป็นคําพูดประชด เช่น พูดว่า ได้ดกละ หมายความว่า ไม่มีหวังที่จะได้, มีดกละ หมายความว่า ไม่มี.ดก ว. มาก, มากกว่าปรกติ, (มักใช้แก่สิ่งที่เกิดมีขึ้นตามธรรมชาติ) เช่น ต้นไม้ออกดอกออกผลมากกว่าปรกติ เรียกว่า ดอกดก ผลดก, ไก่ที่ไข่มากกว่าปรกติ เรียกว่า ไข่ดก, หญิงที่มีลูกถี่และมากกว่าปรกติ เรียกว่า ลูกดก, คนที่มีผมมากกว่าปรกติ เรียกว่า ผมดก; โดยปริยายใช้เป็นคําพูดประชด เช่น พูดว่า ได้ดกละ หมายความว่า ไม่มีหวังที่จะได้, มีดกละ หมายความว่า ไม่มี.
ดกดื่น เขียนว่า ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากหลาย, มีอยู่ทั่วไป.ดกดื่น ว. มากหลาย, มีอยู่ทั่วไป.
ดง เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น เช่น ขึ้นเป็นดง, ที่ซึ่งมีต้นไม้อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นหนาแน่น เช่น ดงกล้วย, โดยปริยายเรียกสถานที่ที่มีคนหรือสัตว์เป็นต้นประเภทเดียวกันรวมอยู่ด้วยกันมาก ๆ เช่น ดงผู้ร้าย ดงเสือ.ดง ๑ น. ป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น เช่น ขึ้นเป็นดง, ที่ซึ่งมีต้นไม้อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นหนาแน่น เช่น ดงกล้วย, โดยปริยายเรียกสถานที่ที่มีคนหรือสัตว์เป็นต้นประเภทเดียวกันรวมอยู่ด้วยกันมาก ๆ เช่น ดงผู้ร้าย ดงเสือ.
ดงดาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ป่าทึบ.ดงดาน น. ป่าทึบ.
ดงดิบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ป่าในเขตอากาศร้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีฝนตกชุกเกือบตลอดปี มีต้นไม้สีเขียวไม่ผลัดใบ, ป่าที่มีต้นไม้หนาแน่นเขียวชอุ่มอยู่ทั้งปี.ดงดิบ น. ป่าในเขตอากาศร้อนบริเวณเส้นศูนย์สูตร ซึ่งมีฝนตกชุกเกือบตลอดปี มีต้นไม้สีเขียวไม่ผลัดใบ, ป่าที่มีต้นไม้หนาแน่นเขียวชอุ่มอยู่ทั้งปี.
ดงดึก เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ป่าลึกเข้าไปไกล.ดงดึก น. ป่าลึกเข้าไปไกล.
ดง เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหม้อข้าวที่เช็ดนํ้าข้าวแล้วขึ้นตั้งไฟอ่อน ๆ เพื่อให้ระอุ.ดง ๒ ก. เอาหม้อข้าวที่เช็ดนํ้าข้าวแล้วขึ้นตั้งไฟอ่อน ๆ เพื่อให้ระอุ.
ด้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง กระด้ง.ด้ง (ถิ่น) น. กระด้ง.
ดงวาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ตังวาย เป็นคำนาม หมายถึง ของถวาย.ดงวาย (กลอน; แผลงมาจาก ตังวาย) น. ของถวาย.
ด้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บเป็นฝีเข็มขึ้นทีลงที, ด้นปล่อย ก็เรียก; กิริยาที่หนอนชอนไชในผลไม้เป็นต้น; มุ่งหน้าเดาไป, มุ่งหน้าฝ่าไป, ด้นดั้น ก็ว่า. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกลอนชนิดหนึ่งที่ว่าดะไปไม่คำนึงถึงหลักสัมผัสว่า กลอนด้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกตัวจี๊ดว่า หนอนด้น.ด้น ก. เย็บเป็นฝีเข็มขึ้นทีลงที, ด้นปล่อย ก็เรียก; กิริยาที่หนอนชอนไชในผลไม้เป็นต้น; มุ่งหน้าเดาไป, มุ่งหน้าฝ่าไป, ด้นดั้น ก็ว่า. น. เรียกกลอนชนิดหนึ่งที่ว่าดะไปไม่คำนึงถึงหลักสัมผัสว่า กลอนด้น; (ปาก) เรียกตัวจี๊ดว่า หนอนด้น.
ด้นดั้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งหน้าเดาไป, มุ่งหน้าฝ่าไป, ด้น ก็ว่า.ด้นดั้น ก. มุ่งหน้าเดาไป, มุ่งหน้าฝ่าไป, ด้น ก็ว่า.
ด้นถอยหลัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-นอ-หนู-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บผ้าวิธีหนึ่ง คล้ายวิธีด้น แต่เมื่อจะแทงลงต้องย้อนมาแทงข้างต้นอีกฝีเข็มหนึ่งเหมือนฝีจักร.ด้นถอยหลัง ก. เย็บผ้าวิธีหนึ่ง คล้ายวิธีด้น แต่เมื่อจะแทงลงต้องย้อนมาแทงข้างต้นอีกฝีเข็มหนึ่งเหมือนฝีจักร.
ด้นปล่อย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บเป็นฝีเข็มขึ้นทีลงที, ด้น ก็เรียก.ด้นปล่อย ก. เย็บเป็นฝีเข็มขึ้นทีลงที, ด้น ก็เรียก.
ดนโด่ เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กระดกกระดนโด่.ดนโด่ (ปาก) ก. กระดกกระดนโด่.
ดนตรี เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่ประกอบกันเป็นทํานองเพลง, เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังทําให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รัก โศก หรือรื่นเริง เป็นต้น ได้ตามทํานองเพลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตนฺตฺรินฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.ดนตรี น. เสียงที่ประกอบกันเป็นทํานองเพลง, เครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังทําให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รัก โศก หรือรื่นเริง เป็นต้น ได้ตามทํานองเพลง. (ส. ตนฺตฺรินฺ).
ดนตรีกรรม เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง งานเกี่ยวกับเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับร้องไม่ว่าจะมีทำนองและคำร้องหรือมีทำนองอย่างเดียว และหมายความรวมถึงโน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้แยกและเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว.ดนตรีกรรม (กฎ) น. งานเกี่ยวกับเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อบรรเลงหรือขับร้องไม่ว่าจะมีทำนองและคำร้องหรือมีทำนองอย่างเดียว และหมายความรวมถึงโน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้แยกและเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว.
ดนยะ, ดนัย ดนยะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ดนัย เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก [ดะนะยะ, ดะไน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตนย เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-ยอ-ยัก.ดนยะ, ดนัย [ดะนะยะ, ดะไน] (แบบ) น. ลูกชาย. (ป., ส. ตนย).
ดนยา เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[ดะนะยา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกหญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตนย เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-ยอ-ยัก.ดนยา [ดะนะยา] (แบบ) น. ลูกหญิง. (ป., ส. ตนย).
ดนุ, ดนู ดนุ เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ดนู เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป หมายถึง (กลอน) ส. ฉัน, ข้าพเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตนุ เขียนว่า ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ว่า ตัวตน; เล็กน้อย, เบาบาง .ดนุ, ดนู (แบบ) (กลอน) ส. ฉัน, ข้าพเจ้า. (ป., ส. ตนุ ว่า ตัวตน; เล็กน้อย, เบาบาง).
ดนุช เขียนว่า ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้บังเกิดแต่ตน, ลูกชาย, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .ดนุช น. ผู้บังเกิดแต่ตน, ลูกชาย, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). (ป., ส.).
ดบัสวิน, ดบัสวี ดบัสวิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ดบัสวี เขียนว่า ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี [ดะบัดสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประพฤติความเพียร, ฤษี, เพศหญิงว่า ดบัสวินี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตปสฺวินฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ.ดบัสวิน, ดบัสวี [ดะบัดสะ–] (แบบ) น. ผู้ประพฤติความเพียร, ฤษี, เพศหญิงว่า ดบัสวินี. (ส. ตปสฺวินฺ).
ดม เขียนว่า ดอ-เด็ก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้จมูกสูดกลิ่น, สูดเอากลิ่น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ดอม เป็น ดมดอม หรือ ดอมดม.ดม ก. ใช้จมูกสูดกลิ่น, สูดเอากลิ่น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ดอม เป็น ดมดอม หรือ ดอมดม.
ดมไร เขียนว่า ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง, โดยมากใช้ ดําไร หรือ ดํารี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎํรี เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี.ดมไร น. ช้าง, โดยมากใช้ ดําไร หรือ ดํารี. (ข. ฎํรี).
ดร เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ความหมายที่ [ดอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พ่วง, แพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตร เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ.ดร ๑ [ดอน] (แบบ) น. พ่วง, แพ. (ป., ส. ตร).
ดร เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ดอน.ดร ๒ (โบ) น. ดอน.
ดรงค์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[ดะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คลื่น, ระลอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรงฺค เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย.ดรงค์ [ดะ–] (แบบ) น. คลื่น, ระลอก. (ป., ส. ตรงฺค).
ดรณี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[ดะระนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรณี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี = สิ่งที่แล่นไป .ดรณี [ดะระนี] (แบบ) น. เรือ. (ป., ส. ตรณี = สิ่งที่แล่นไป).
ดรธาน เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[ดอระทาน] เป็นคำกริยา หมายถึง หายไป, ลับไป. (ตัดมาจาก อันตรธาน).ดรธาน [ดอระทาน] ก. หายไป, ลับไป. (ตัดมาจาก อันตรธาน).
ดรรชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ดัดชะนี] เป็นคำนาม หมายถึง นิ้วชี้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดรรชนี, ดัชนี ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตรฺชนี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี ตชฺชนี เขียนว่า ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี.ดรรชนี ๑ [ดัดชะนี] น. นิ้วชี้, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระดรรชนี, ดัชนี ก็ใช้. (ส. ตรฺชนี; ป. ตชฺชนี).
ดรรชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ดัดชะนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจํานวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกําลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดรรชนีของ ๓; ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ; ดัชนี ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ index เขียนว่า ไอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็กซ์ number เขียนว่า เอ็น-ยู-เอ็ม-บี-อี-อา .ดรรชนี ๒ [ดัดชะนี] (คณิต) น. จํานวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจํานวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกําลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดรรชนีของ ๓; ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ; ดัชนี ก็ใช้. (อ. index number).
ดรรชนีหักเห เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดัชนีหักเห ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ refractive เขียนว่า อา-อี-เอฟ-อา-เอ-ซี-ที-ไอ-วี-อี index เขียนว่า ไอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็กซ์ .ดรรชนีหักเห (แสง) น. ดรรชนีหักเหระหว่างตัวกลางคู่หนึ่งที่แสงผ่าน คือ อัตราส่วนระหว่างไซน์ของมุมตกกระทบของแสงในตัวกลางหนึ่งต่อไซน์ของมุมหักเหของแสงในอีกตัวกลางหนึ่ง, ดัชนีหักเห ก็ใช้. (อ. refractive index).
ดรรชนี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีคําเรียงตามลําดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคําสําคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคํานั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้.ดรรชนี ๓ น. บัญชีคําเรียงตามลําดับอักษรที่พิมพ์ไว้ส่วนท้ายของหนังสือเล่ม รวบรวมคําสําคัญ ๆ ซึ่งมีกล่าวถึงในหนังสือเล่มนั้น โดยบอกเลขหน้าที่มีคํานั้น ๆ ปรากฏอยู่เพื่อสะดวกแก่การค้น, ดัชนี ก็ใช้.
ดราฟต์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ตราสารซึ่งธนาคารเป็นผู้ออก สั่งธนาคารตัวแทนของตนให้จ่ายเงินจํานวนหนึ่งแก่ผู้รับตามที่ได้ระบุชื่อไว้หรือตามคําสั่งของผู้รับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ draft เขียนว่า ดี-อา-เอ-เอฟ-ที.ดราฟต์ น. ตราสารซึ่งธนาคารเป็นผู้ออก สั่งธนาคารตัวแทนของตนให้จ่ายเงินจํานวนหนึ่งแก่ผู้รับตามที่ได้ระบุชื่อไว้หรือตามคําสั่งของผู้รับ. (อ. draft).
ดรุ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ[ดะรุ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรุ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ.ดรุ [ดะรุ] (แบบ) น. ต้นไม้. (ป., ส. ตรุ).
ดรุณ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง เด็กรุ่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนุ่ม, อ่อน, รุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรุณ เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน.ดรุณ น. เด็กรุ่น. ว. หนุ่ม, อ่อน, รุ่น. (ป., ส. ตรุณ).
ดรุณาณัติ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งหัวหน้านักเรียน.ดรุณาณัติ น. ตําแหน่งหัวหน้านักเรียน.
ดรุณาณัติ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิดู ดรุณ เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน.ดรุณาณัติ ดู ดรุณ.
ดรุณี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เด็กหญิงรุ่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาว, อ่อน, รุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตรุณี เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.ดรุณี น. เด็กหญิงรุ่น. ว. สาว, อ่อน, รุ่น. (ป., ส. ตรุณี).
ดฤถี เขียนว่า ดอ-เด็ก-รอ-รึ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี[ดฺรึ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ดิถี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺฤถี เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี ติถิ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ.ดฤถี [ดฺรึ–] (โบ) น. ดิถี. (ส. ตฺฤถี; ป. ติถิ).
ดล ๑, ดล– ดล ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง ดล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง [ดน, ดนละ–] เป็นคำนาม หมายถึง พื้น, ชั้น, เช่น พสุธาดล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ตล เขียนว่า ตอ-เต่า-ลอ-ลิง.ดล ๑, ดล– [ดน, ดนละ–] น. พื้น, ชั้น, เช่น พสุธาดล. (ป., ส. ตล).
ดลภาค เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง พื้นราบ.ดลภาค น. พื้นราบ.
ดล เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง ความหมายที่ [ดน] เป็นคำกริยา หมายถึง ถึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎล่ เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก.ดล ๒ [ดน] ก. ถึง. (ข. ฎล่).
ดล เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง ความหมายที่ [ดน] เป็นคำกริยา หมายถึง ให้เป็นไป, ทําให้แล้ว, ตั้งขึ้น, เผอิญให้เป็นไป, บันดาลให้เป็นไป.ดล ๓ [ดน] ก. ให้เป็นไป, ทําให้แล้ว, ตั้งขึ้น, เผอิญให้เป็นไป, บันดาลให้เป็นไป.
ดลใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง มีเหตุอันไม่ปรากฏจูงใจให้คิดหรือให้ทํา เช่น เทวดาดลใจ กุศลดลใจ มารดลใจ.ดลใจ ก. มีเหตุอันไม่ปรากฏจูงใจให้คิดหรือให้ทํา เช่น เทวดาดลใจ กุศลดลใจ มารดลใจ.
ดลบันดาล เขียนว่า ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ให้มีให้เป็นหรือไม่ให้มีไม่ให้เป็น เช่น ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์จงดลบันดาลให้ประสบความสําเร็จหรือให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย.ดลบันดาล ก. ให้มีให้เป็นหรือไม่ให้มีไม่ให้เป็น เช่น ขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์จงดลบันดาลให้ประสบความสําเร็จหรือให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย.
ดวง เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปกลม ๆ หรือที่เห็นเป็นวง ๆ เช่น ดวงดาว ดวงไฟ ดวงตรา ดวงกสิณ, และบางสิ่งที่ไม่มีรูป เช่น ดวงชีวิต ดวงวิญญาณ; ลักษณนามเรียก จิต วิญญาณ หรือสิ่งที่มีแสงสว่าง เช่น ดาว ไฟฟ้า ตะเกียง ว่า ดวง; ใช้ประกอบคําอื่นเป็นคําเปรียบเทียบ เช่น ดวงใจ ดวงตา ดวงสมร หมายความถึงสิ่งที่เป็นที่รักยิ่ง หญิงที่รัก หรือ ลูกที่รัก; แบบรูปราศีที่บอกดาวพระเคราะห์เดินถึงราศีนั้น ๆ ในเวลาเกิดของคนหรือเวลาสร้างสิ่งสําคัญ เช่นบ้านเมืองเป็นต้นที่โหรคํานวณไว้โดยแบ่งเป็น ๑๒ ราศี เรียกว่า ดวง ซึ่งเป็นคําตัดมาจาก ดวงชะตา.ดวง น. คําเรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นรูปกลม ๆ หรือที่เห็นเป็นวง ๆ เช่น ดวงดาว ดวงไฟ ดวงตรา ดวงกสิณ, และบางสิ่งที่ไม่มีรูป เช่น ดวงชีวิต ดวงวิญญาณ; ลักษณนามเรียก จิต วิญญาณ หรือสิ่งที่มีแสงสว่าง เช่น ดาว ไฟฟ้า ตะเกียง ว่า ดวง; ใช้ประกอบคําอื่นเป็นคําเปรียบเทียบ เช่น ดวงใจ ดวงตา ดวงสมร หมายความถึงสิ่งที่เป็นที่รักยิ่ง หญิงที่รัก หรือ ลูกที่รัก; แบบรูปราศีที่บอกดาวพระเคราะห์เดินถึงราศีนั้น ๆ ในเวลาเกิดของคนหรือเวลาสร้างสิ่งสําคัญ เช่นบ้านเมืองเป็นต้นที่โหรคํานวณไว้โดยแบ่งเป็น ๑๒ ราศี เรียกว่า ดวง ซึ่งเป็นคําตัดมาจาก ดวงชะตา.
ดวงแก้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดาวฤกษ์สวาดิ.ดวงแก้ว น. ชื่อดาวฤกษ์สวาดิ.
ดวงใจ, ดวงตา ดวงใจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ดวงตา เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คําเปรียบเทียบเรียกหญิงที่รักหรือลูกที่รัก.ดวงใจ, ดวงตา น. คําเปรียบเทียบเรียกหญิงที่รักหรือลูกที่รัก.
ดวงเดือน เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง โรคกลาก.ดวงเดือน (ราชา) น. โรคกลาก.
ดวงเดือนประดับดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บจิตมิตรหมางค้างเขินขวย เวียนวนหลงลมงมงงงวย ฉาบฉวยรวยเร่อเธอถูกทาง.ดวงเดือนประดับดาว น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บจิตมิตรหมางค้างเขินขวย เวียนวนหลงลมงมงงงวย ฉาบฉวยรวยเร่อเธอถูกทาง.
ดวงตรา เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายที่มีลักษณะเป็นรูปต่าง ๆ สำหรับประทับเป็นสำคัญ เช่น ดวงตราแผ่นดิน ดวงตราของทบวงการเมือง.ดวงตรา น. เครื่องหมายที่มีลักษณะเป็นรูปต่าง ๆ สำหรับประทับเป็นสำคัญ เช่น ดวงตราแผ่นดิน ดวงตราของทบวงการเมือง.
ดวงตราไปรษณียากร เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ดวงตราที่ใช้ปิดเป็นค่าธรรมเนียมที่ต้องเสียสำหรับส่งจดหมายหรือไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ทางไปรษณีย์.ดวงตราไปรษณียากร น. ดวงตราที่ใช้ปิดเป็นค่าธรรมเนียมที่ต้องเสียสำหรับส่งจดหมายหรือไปรษณียภัณฑ์และพัสดุไปรษณีย์ทางไปรษณีย์.
ดวงสมร เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่รัก.ดวงสมร น. หญิงที่รัก.
ด้วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงในอันดับ Coleoptera มีปีก ๒ คู่ ลําตัวและปีกคู่หน้าแข็ง เมื่อพับปีกขอบปีกจะจดกันที่กึ่งกลางสันหลัง ปีกคู่หลังบางเมื่อพับจะซ้อนเข้าไปเก็บใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน อกปล้องแรกใหญ่และเห็นได้ชัดเจน แมลงพวกนี้มีมากชนิดกว่าแมลงอื่น ๆ.ด้วง ๑ น. ชื่อแมลงในอันดับ Coleoptera มีปีก ๒ คู่ ลําตัวและปีกคู่หน้าแข็ง เมื่อพับปีกขอบปีกจะจดกันที่กึ่งกลางสันหลัง ปีกคู่หลังบางเมื่อพับจะซ้อนเข้าไปเก็บใต้ปีกคู่หน้า ปากเป็นชนิดกัดกิน อกปล้องแรกใหญ่และเห็นได้ชัดเจน แมลงพวกนี้มีมากชนิดกว่าแมลงอื่น ๆ.
ด้วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นตัวเล็ก ๆ คล้ายตัวด้วง กินกับงาคั่วผสมนํ้าตาล เหยาะเกลือนิดหน่อย และมะพร้าวทึนทึกขูดเป็นเส้น.ด้วง ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าเป็นตัวเล็ก ๆ คล้ายตัวด้วง กินกับงาคั่วผสมนํ้าตาล เหยาะเกลือนิดหน่อย และมะพร้าวทึนทึกขูดเป็นเส้น.
ด้วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง ทําด้วยกระบอกไม้ยาวประมาณ ๕–๖ เซนติเมตร มีคันยาวประมาณ ๑ เมตร มีสายห่วงติดกับกระบอกไม้ไผ่ส่วนล่าง โยงไปผูกติดกับปลายคัน มีไม้คํ้าอันหนึ่งเพื่อให้คันโก่ง กับไม้ลิ้นพาดปากกระบอกอีกอันหนึ่งทําหน้าที่เสมือนไก สําหรับดักแย้เป็นต้น. ในวงเล็บ รูปภาพ ด้วง.ด้วง ๓ น. ชื่อเครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง ทําด้วยกระบอกไม้ยาวประมาณ ๕–๖ เซนติเมตร มีคันยาวประมาณ ๑ เมตร มีสายห่วงติดกับกระบอกไม้ไผ่ส่วนล่าง โยงไปผูกติดกับปลายคัน มีไม้คํ้าอันหนึ่งเพื่อให้คันโก่ง กับไม้ลิ้นพาดปากกระบอกอีกอันหนึ่งทําหน้าที่เสมือนไก สําหรับดักแย้เป็นต้น. (รูปภาพ ด้วง).
ด้วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกระบอกมักทําด้วยไม้เนื้อแข็ง มีลักษณะคล้ายด้วงดักสัตว์ ใช้หนังหรือกระดาษหลาย ๆ ชั้นปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๒ สาย ขนาดค่อนข้างเล็กเพื่อให้มีเสียงสูงในเวลาสี.ด้วง ๔ น. ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกระบอกมักทําด้วยไม้เนื้อแข็ง มีลักษณะคล้ายด้วงดักสัตว์ ใช้หนังหรือกระดาษหลาย ๆ ชั้นปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๒ สาย ขนาดค่อนข้างเล็กเพื่อให้มีเสียงสูงในเวลาสี.
ด้วงโสน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนอนของแมลงชนิด Azygophleps scalaria และ Zeuzera coffeae ในวงศ์ Cossidae เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อที่เจาะกินเข้าไปในต้นโสน ตัวยาว ๔–๖ เซนติเมตร สีขาวหรือชมพูอ่อน ชาวชนบทจับมาทําเป็นอาหารรับประทาน, โสน ก็เรียก.ด้วงโสน น. ชื่อหนอนของแมลงชนิด Azygophleps scalaria และ Zeuzera coffeae ในวงศ์ Cossidae เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อที่เจาะกินเข้าไปในต้นโสน ตัวยาว ๔–๖ เซนติเมตร สีขาวหรือชมพูอ่อน ชาวชนบทจับมาทําเป็นอาหารรับประทาน, โสน ก็เรียก.
ดวจ เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-จอ-จาน[ดวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก ดุจ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียง, ราวกะ.ดวจ [ดวด] (กลอน; แผลงมาจาก ดุจ) ว. เหมือน, คล้าย, เช่น, เพียง, ราวกะ.
ดวด เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง เดินแต้มตามเบี้ยที่ทอดได้ไปตามตาตาราง. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดื่มทีเดียวหมด (มักใช้แก่เหล้า). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เดี่ยว, หนึ่ง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ทีเดียว.ดวด ๑ น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง เดินแต้มตามเบี้ยที่ทอดได้ไปตามตาตาราง. (ปาก) ก. ดื่มทีเดียวหมด (มักใช้แก่เหล้า). ว. เดี่ยว, หนึ่ง; (ปาก) ทีเดียว.
ดวด เขียนว่า ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง.ดวด ๒ ว. สูง.
ด่วน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รีบเร่ง, รวดเร็ว.ด่วน ว. รีบเร่ง, รวดเร็ว.
ด้วน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กุด, ขาด, สั้นเข้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งที่มีรูปยาว ๆ ที่ตอนปลายขาดหายไป เช่น แขนด้วน ขาด้วน ตาลยอดด้วน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลองด้วน แม่นํ้าด้วน.ด้วน ก. กุด, ขาด, สั้นเข้า. ว. เรียกสิ่งที่มีรูปยาว ๆ ที่ตอนปลายขาดหายไป เช่น แขนด้วน ขาด้วน ตาลยอดด้วน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลองด้วน แม่นํ้าด้วน.
ด้วมเดี้ยม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระด้วมกระเดี้ยม, ต้วม ๆ เตี้ยม ๆ, ค่อย ๆ ไป, ไม่คล่องแคล่ว.ด้วมเดี้ยม ว. กระด้วมกระเดี้ยม, ต้วม ๆ เตี้ยม ๆ, ค่อย ๆ ไป, ไม่คล่องแคล่ว.
ด้วย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําแสดงกริยารวมหรือเพิ่ม เช่น สวยด้วยดีด้วย, แสดงกริยาร่วมกันหรือในทํานองเดียวกัน เช่น กินด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกด้วย. เป็นคำบุรพบท หมายถึง คํานําหน้านามเพื่อให้รู้ว่านามนั้นเป็นเครื่องใช้หรือเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องกระทํา เช่น ฟันด้วยมีด; ตาม เช่น ทําด้วยอารมณ์. เป็นคำสันธาน หมายถึง เพราะ, เหตุ, เช่น ด้วยปรากฏว่า.ด้วย ว. คําแสดงกริยารวมหรือเพิ่ม เช่น สวยด้วยดีด้วย, แสดงกริยาร่วมกันหรือในทํานองเดียวกัน เช่น กินด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกด้วย. บ. คํานําหน้านามเพื่อให้รู้ว่านามนั้นเป็นเครื่องใช้หรือเป็นสิ่งที่ใช้เป็นเครื่องกระทํา เช่น ฟันด้วยมีด; ตาม เช่น ทําด้วยอารมณ์. สัน. เพราะ, เหตุ, เช่น ด้วยปรากฏว่า.
ด้วยว่า เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำสันธาน หมายถึง เพราะว่า.ด้วยว่า สัน. เพราะว่า.
ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งของพรรณไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง มีหน้าที่ทําให้เกิดผลและเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ มีเกสรและเรณูเป็นเครื่องสืบพันธุ์, เรียกเต็มว่า ดอกไม้; ลวดลายที่เป็นดอกเป็นดวงตามผืนผ้าเป็นต้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ค่าตอบแทนที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือชําระหนี้ไม่ถูกต้อง, เรียกเต็มว่า ดอกเบี้ย; ลักษณนามของสิ่งของบางอย่าง เช่น ข้าวโพดดอกหนึ่ง สว่านหนึ่งดอก.ดอก ๑ น. ส่วนหนึ่งของพรรณไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง มีหน้าที่ทําให้เกิดผลและเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ มีเกสรและเรณูเป็นเครื่องสืบพันธุ์, เรียกเต็มว่า ดอกไม้; ลวดลายที่เป็นดอกเป็นดวงตามผืนผ้าเป็นต้น; (ปาก) ค่าตอบแทนที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือชําระหนี้ไม่ถูกต้อง, เรียกเต็มว่า ดอกเบี้ย; ลักษณนามของสิ่งของบางอย่าง เช่น ข้าวโพดดอกหนึ่ง สว่านหนึ่งดอก.
ดอกจอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายที่มีลักษณะคล้ายต้นจอก; เรียกกระเพาะอาหารหยาบของสัตว์บางชนิดเช่นวัวควาย ซึ่งพลิกกลับแล้วมีสัณฐานคล้ายต้นจอก; เรียกสว่านชนิดหนึ่งที่ปลายบานว่า สว่านดอกจอก; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าใส่ในพิมพ์รูปอย่างดอกจอกแล้วเอาไปทอด; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ดอกไม้จีบ.ดอกจอก น. ชื่อลายที่มีลักษณะคล้ายต้นจอก; เรียกกระเพาะอาหารหยาบของสัตว์บางชนิดเช่นวัวควาย ซึ่งพลิกกลับแล้วมีสัณฐานคล้ายต้นจอก; เรียกสว่านชนิดหนึ่งที่ปลายบานว่า สว่านดอกจอก; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้าใส่ในพิมพ์รูปอย่างดอกจอกแล้วเอาไปทอด; (ปาก) ดอกไม้จีบ.
ดอกจัน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง รูปกลม ๆ เป็นจัก ๆ ดังนี้ *.ดอกจัน น. รูปกลม ๆ เป็นจัก ๆ ดังนี้ *.
ดอกจิก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลายที่มีลักษณะอย่างลายหน้าไพ่ป๊อกชนิดหนึ่ง มี ๓ แฉก ใบมน.ดอกจิก น. เรียกลายที่มีลักษณะอย่างลายหน้าไพ่ป๊อกชนิดหนึ่ง มี ๓ แฉก ใบมน.
ดอกชนต้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ต้นชนดอก ก็ว่า.ดอกชนต้น น. ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจนมีจํานวนเท่า ๆ กับเงินต้น, ต้นชนดอก ก็ว่า.
ดอกดั้ว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง นมผู้หญิง, ผู้หญิง; เขาสัตว์ที่นิยมว่าเป็นของวิเศษ (คุ้มไฟไหม้บ้าน) เช่น เขาวัวบางชนิด ในตําราเขาพระโค เรียกว่า เขาดอกดั้ว.ดอกดั้ว (โบ) น. นมผู้หญิง, ผู้หญิง; เขาสัตว์ที่นิยมว่าเป็นของวิเศษ (คุ้มไฟไหม้บ้าน) เช่น เขาวัวบางชนิด ในตําราเขาพระโค เรียกว่า เขาดอกดั้ว.
ดอกถวายพระ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ตัวผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ, กระชอมดอก ก็เรียก.ดอกถวายพระ น. ดอกไม้ตัวผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ, กระชอมดอก ก็เรียก.
ดอกบัว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวโลง ดาวปู ดาวสิธยะ ดาวสมอสําเภา ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.ดอกบัว ๑ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวโลง ดาวปู ดาวสิธยะ ดาวสมอสําเภา ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก.
ดอกบุก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคมะเร็งชนิดหนึ่ง.ดอกบุก (โบ) น. ชื่อโรคมะเร็งชนิดหนึ่ง.
ดอกเบี้ย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าตอบแทนที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือชําระหนี้ไม่ถูกต้อง.ดอกเบี้ย (กฎ) น. ค่าตอบแทนที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อทดแทนการไม่ชําระหนี้หรือชําระหนี้ไม่ถูกต้อง.
ดอกเบี้ยทบต้น เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกเบี้ยที่ค้างชําระซึ่งนําไปรวมกับเงินต้นเพื่อรวมคิดดอกเบี้ยต่อไป.ดอกเบี้ยทบต้น น. ดอกเบี้ยที่ค้างชําระซึ่งนําไปรวมกับเงินต้นเพื่อรวมคิดดอกเบี้ยต่อไป.
ดอกพิกุลร่วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง เรียกอาการที่นิ่งไม่พูดว่า กลัวดอกพิกุลจะร่วง.ดอกพิกุลร่วง (สำ) เรียกอาการที่นิ่งไม่พูดว่า กลัวดอกพิกุลจะร่วง.
ดอกฟ้า เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่ถือว่ามีฐานะสูงศักดิ์กว่าชายที่หมายปอง.ดอกฟ้า น. หญิงที่ถือว่ามีฐานะสูงศักดิ์กว่าชายที่หมายปอง.
ดอกมะตาด, ดอกไม้ตาด ดอกมะตาด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ดอกไม้ตาด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง ทําด้วยกระบอกไม้บรรจุดินปืน เมื่อจุดมีสีต่าง ๆ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาอิหร่าน มะตัด เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ว่า ดอกไม้เทียน .ดอกมะตาด, ดอกไม้ตาด น. ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง ทําด้วยกระบอกไม้บรรจุดินปืน เมื่อจุดมีสีต่าง ๆ. (เทียบอิหร่าน มะตัด ว่า ดอกไม้เทียน).
ดอกไม้ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.ดอกไม้ น. ฟันของเด็กที่แรกขึ้น.
ดอกไม้จันทน์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อไม้จันทน์เป็นต้นที่ไสเป็นแถบบางนํามาประดิษฐ์เป็นช่อขนาดเล็ก ใช้ในการเผาศพ.ดอกไม้จันทน์ น. เนื้อไม้จันทน์เป็นต้นที่ไสเป็นแถบบางนํามาประดิษฐ์เป็นช่อขนาดเล็ก ใช้ในการเผาศพ.
ดอกไม้จีน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้กระดาษแบบจีน.ดอกไม้จีน ๑ น. ดอกไม้กระดาษแบบจีน.
ดอกไม้จีบ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลายแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่จัดเป็นดอกเล็ก ๆ สําหรับประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซ้ายแทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์, ภาษาปากใช้ว่า ดอกจอก.ดอกไม้จีบ น. เรียกลายแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่จัดเป็นดอกเล็ก ๆ สําหรับประดับที่รังดุมคอพับของเสื้อสากลเบื้องซ้ายแทนเครื่องราชอิสริยาภรณ์, ภาษาปากใช้ว่า ดอกจอก.
ดอกไม้เจ้า เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ขุนเพ็ดซึ่งใช้เป็นเครื่องบูชาตามศาลเจ้า.ดอกไม้เจ้า น. ขุนเพ็ดซึ่งใช้เป็นเครื่องบูชาตามศาลเจ้า.
ดอกไม้เทียน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง รูปเหมือนเทียน จุดมีสีนวล.ดอกไม้เทียน น. ดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง รูปเหมือนเทียน จุดมีสีนวล.
ดอกไม้ไทร เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง.ดอกไม้ไทร น. ชื่อเพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง.
ดอกไม้น้ำ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ไฟที่จุดให้วิ่งไปบนผิวนํ้า.ดอกไม้น้ำ น. ดอกไม้ไฟที่จุดให้วิ่งไปบนผิวนํ้า.
ดอกไม้พวง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-พอ-พาน-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า นิจาเอ๋ยกะไรเลยไม่เคยเห็น นิจาเอ๋ยกะไรน่านํ้าตากระเด็น นิจาเอ๋ยกะไรเปนได้เช่นนี้. ในวงเล็บ มาจาก เพลงยาวกลบท และกลอักษร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.ดอกไม้พวง น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า นิจาเอ๋ยกะไรเลยไม่เคยเห็น นิจาเอ๋ยกะไรน่านํ้าตากระเด็น นิจาเอ๋ยกะไรเปนได้เช่นนี้. (กลบท).
ดอกไม้พุ่ม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้เทียนที่เสียบปลายซี่ไม้ไผ่ ทําเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร จุดเวลาคํ่า.ดอกไม้พุ่ม น. ดอกไม้เทียนที่เสียบปลายซี่ไม้ไผ่ ทําเป็นชั้น ๆ คล้ายฉัตร จุดเวลาคํ่า.
ดอกไม้เพลิง, ดอกไม้ไฟ ดอกไม้เพลิง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ดอกไม้ไฟ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับจุดในงานเทศกาลหรืองานศพเป็นต้น ทําด้วยกระบอกไม้อ้อหรือไม้ไผ่เป็นต้นบรรจุดินดํา มีชื่อต่าง ๆ กันตามชนิด.ดอกไม้เพลิง, ดอกไม้ไฟ น. เครื่องสําหรับจุดในงานเทศกาลหรืองานศพเป็นต้น ทําด้วยกระบอกไม้อ้อหรือไม้ไผ่เป็นต้นบรรจุดินดํา มีชื่อต่าง ๆ กันตามชนิด.
ดอกไม้ร่วง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายที่เขียนเป็นช่อดอกไม้จะจะไม่ติดต่อกัน; ดอกไม้ที่ยังไม่ได้ร้อยเป็นพวง.ดอกไม้ร่วง น. ชื่อลายที่เขียนเป็นช่อดอกไม้จะจะไม่ติดต่อกัน; ดอกไม้ที่ยังไม่ได้ร้อยเป็นพวง.
ดอกไม้รุ่ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง ทําด้วยดินจุดใส่ในห่อกระดาษขดเหมือนไส้ไก่แขวนไว้ตามศาลาเพื่อจุดเวลาคํ่าให้มีแสงสว่างตลอดรุ่งใช้แทนโคม.ดอกไม้รุ่ง น. ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง ทําด้วยดินจุดใส่ในห่อกระดาษขดเหมือนไส้ไก่แขวนไว้ตามศาลาเพื่อจุดเวลาคํ่าให้มีแสงสว่างตลอดรุ่งใช้แทนโคม.
ดอกไม้ไหว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดอกไม้ประดิษฐ์ ทําด้วยกระดาษบ้าง ด้วยทองบ้าง แล้วเอาลวดเล็ก ๆ ขดทําเป็นต้นสั่นไหวได้.ดอกไม้ไหว น. ชื่อดอกไม้ประดิษฐ์ ทําด้วยกระดาษบ้าง ด้วยทองบ้าง แล้วเอาลวดเล็ก ๆ ขดทําเป็นต้นสั่นไหวได้.
ดอกยาง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกของยางนอกที่หล่อเป็นลวดลายต่าง ๆ เพื่อให้เกาะถนน.ดอกยาง น. ดอกของยางนอกที่หล่อเป็นลวดลายต่าง ๆ เพื่อให้เกาะถนน.
ดอกรัก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลวดลายชนิดหนึ่ง.ดอกรัก น. ชื่อลวดลายชนิดหนึ่ง.
ดอกลำเจียก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า แร่งลงบนกระทะร้อน ๆ ให้ผงแป้งติดกันเป็นแผ่น ใส่ไส้หน้ากระฉีก โบราณพับเป็นรูปสามเหลี่ยม ปัจจุบันพับเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือม้วนคล้ายทองม้วน.ดอกลำเจียก น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า แร่งลงบนกระทะร้อน ๆ ให้ผงแป้งติดกันเป็นแผ่น ใส่ไส้หน้ากระฉีก โบราณพับเป็นรูปสามเหลี่ยม ปัจจุบันพับเป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือม้วนคล้ายทองม้วน.
ดอกลำดวน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งสาลีเคล้านํ้าตาลกับนํ้ามัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลําดวน แล้วอบหรือผิง.ดอกลำดวน น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งสาลีเคล้านํ้าตาลกับนํ้ามัน ปั้นเป็นดอก ๓ กลีบอย่างดอกลําดวน แล้วอบหรือผิง.
ดอกลำโพง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องช่วยในการขยายเสียง รูปเหมือนดอกลําโพง, เรียกสั้น ๆ ว่า ลําโพง.ดอกลำโพง น. เครื่องช่วยในการขยายเสียง รูปเหมือนดอกลําโพง, เรียกสั้น ๆ ว่า ลําโพง.
ดอกเล็บ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง รอยจุดขาว ๆ ที่เกิดบนเล็บ.ดอกเล็บ น. รอยจุดขาว ๆ ที่เกิดบนเล็บ.
ดอกหมาก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเกลื้อนชนิดหนึ่ง ขึ้นตามตัวตามหลังเป็นผื่นขาว ๆ; จั่นหมากที่บานแล้ว; ขนสร้อยคอไก่หรือตามตัวไก่ที่เป็นจุดขาว ๆ.ดอกหมาก ๑ น. ชื่อเกลื้อนชนิดหนึ่ง ขึ้นตามตัวตามหลังเป็นผื่นขาว ๆ; จั่นหมากที่บานแล้ว; ขนสร้อยคอไก่หรือตามตัวไก่ที่เป็นจุดขาว ๆ.
ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ทํา เช่น ดอกขายหูขายตา ดอกบนําพารู้. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ดอก ๒ (โบ) ก. ทํา เช่น ดอกขายหูขายตา ดอกบนําพารู้. (ลอ).
ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบให้ได้ความชัดขึ้น เช่น ฉันดอก ไม่ใช่คนอื่น ทําไม่ได้ดอก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก. เป็นคำกริยา หมายถึง หลอก เช่น บ้างดอกล้อแล้วโลมคืน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.ดอก ๓ ว. คําประกอบให้ได้ความชัดขึ้น เช่น ฉันดอก ไม่ใช่คนอื่น ทําไม่ได้ดอก, (ปาก) มักพูดว่า หรอก เช่น ไม่ไปหรอก. ก. หลอก เช่น บ้างดอกล้อแล้วโลมคืน. (ม. คำหลวง ชูชก).
ดอกกระบอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ดู รําเพย เขียนว่า รอ-เรือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒.ดอกกระบอก ดู รําเพย ๒.
ดอกกะทือ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่างใช้เป็นคําด่าผู้หญิง.ดอกกะทือ ใช้เป็นคําด่าผู้หญิง.
ดอกก้าน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกะแท่ง. ในวงเล็บ ดู กะแท่ง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-งอ-งู.ดอกก้าน (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกะแท่ง. (ดู กะแท่ง).
ดอกข้าวใหม่ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอกดู ชมนาด เขียนว่า ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก.ดอกข้าวใหม่ ดู ชมนาด.
ดอกจันทน์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง รกหุ้มเมล็ดจันทน์เทศ. ในวงเล็บ ดู จันทน์เทศ เขียนว่า จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ที่ จันทน์ เขียนว่า จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด.ดอกจันทน์ น. รกหุ้มเมล็ดจันทน์เทศ. (ดู จันทน์เทศ ที่ จันทน์).
ดอกด้าย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นดอกฟอน. ในวงเล็บ ดู ดอกฟอน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-นอ-หนู.ดอกด้าย (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นดอกฟอน. (ดู ดอกฟอน).
ดอกดิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชเบียนชนิด Aeginetia indica L. และชนิด A. pedunculata Wall. ในวงศ์ Orobanchaceae ลําต้นเป็นปุ่มปมเกาะเบียนรากหญ้า ดอกสีม่วงดํา อยู่พ้นพื้นดินขึ้นมา ใช้ทําขนม.ดอกดิน น. ชื่อพืชเบียนชนิด Aeginetia indica L. และชนิด A. pedunculata Wall. ในวงศ์ Orobanchaceae ลําต้นเป็นปุ่มปมเกาะเบียนรากหญ้า ดอกสีม่วงดํา อยู่พ้นพื้นดินขึ้นมา ใช้ทําขนม.
ดอกทอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หญิงใจง่ายในทางประเวณี (ใช้เป็นคําด่า).ดอกทอง น. หญิงใจง่ายในทางประเวณี (ใช้เป็นคําด่า).
ดอกน้ำผึ้ง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งูดู รวงผึ้ง เขียนว่า รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู.ดอกน้ำผึ้ง ดู รวงผึ้ง.
ดอกบัว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ดูใน ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.ดอกบัว ๑ ดูใน ดอก ๑.
ดอกบัว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น ดอกบัวผ้ายจับบัว. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ดอกบัว ๒ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น ดอกบัวผ้ายจับบัว. (ลอ).
ดอกฟอน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Buddleja asiatica Lour. ในวงศ์ Buddlejaceae, พายัพเรียก ดอกด้าย.ดอกฟอน น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Buddleja asiatica Lour. ในวงศ์ Buddlejaceae, พายัพเรียก ดอกด้าย.
ดอกมะขาม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อข้าวพันธุ์หนึ่ง สีเหลืองคล้ายดอกมะขาม.ดอกมะขาม น. ชื่อข้าวพันธุ์หนึ่ง สีเหลืองคล้ายดอกมะขาม.
ดอกไม้จีน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.ดอกไม้จีน ๑ ดูใน ดอก ๑.
ดอกไม้จีน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Hemerocallis วงศ์ Hemerocallidaceae ชนิด H. lilioasphodelus L. ดอกสีเหลือง ชนิด H. fulva (L.) L. ดอกสีส้ม, ทั้ง ๒ ชนิดนิยมใช้ดอกแห้งเป็นอาหาร.ดอกไม้จีน ๒ น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Hemerocallis วงศ์ Hemerocallidaceae ชนิด H. lilioasphodelus L. ดอกสีเหลือง ชนิด H. fulva (L.) L. ดอกสีส้ม, ทั้ง ๒ ชนิดนิยมใช้ดอกแห้งเป็นอาหาร.
ดอกไม้ทะเล เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดและหลายสกุล ในอันดับ Actiniaria รูปทรงกระบอกยืดหดได้ ด้านหนึ่งเป็นฐานสําหรับยึด ด้านตรงข้ามเป็นช่องปาก มีหนวดมาก, เห็ดหลุบ ก็เรียก.ดอกไม้ทะเล น. ชื่อสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดและหลายสกุล ในอันดับ Actiniaria รูปทรงกระบอกยืดหดได้ ด้านหนึ่งเป็นฐานสําหรับยึด ด้านตรงข้ามเป็นช่องปาก มีหนวดมาก, เห็ดหลุบ ก็เรียก.
ดอกสร้อย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Combretum apetalum Wall. ในวงศ์ Combretaceae ใบรูปไข่ เรียงตรงข้าม ดอกเล็กมาก.ดอกสร้อย ๑ น. ชื่อไม้เถาชนิด Combretum apetalum Wall. ในวงศ์ Combretaceae ใบรูปไข่ เรียงตรงข้าม ดอกเล็กมาก.
ดอกสร้อย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคําร้อยกรองชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายสักวา แต่ในวรรคที่ ๑ ใช้ ๔ คํา มี เอ๋ย เป็นคําที่ ๒ มี ๔ คํากลอน และคําลงจบบทให้ลงว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย.ดอกสร้อย ๒ น. ชื่อคําร้อยกรองชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายสักวา แต่ในวรรคที่ ๑ ใช้ ๔ คํา มี เอ๋ย เป็นคําที่ ๒ มี ๔ คํากลอน และคําลงจบบทให้ลงว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย.
ดอกหมาก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดูใน ดอก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.ดอกหมาก ๑ ดูใน ดอก ๑.
ดอกหมาก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลาทะเลและนํ้ากร่อยขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Gerres วงศ์ Gerreidae ลําตัวสั้นป้อม แบนข้าง คล้ายปลาแป้น เว้นแต่มีเกล็ดใหญ่ไม่หลุดง่าย ส่วนท้ายทอยไม่มีกระดูกแข็งโผล่ บางชนิดมีก้านครีบหลังอันแรก ๆ ยาวเป็นเส้น ด้านหลังสีนํ้าตาลอมเทา ด้านข้างและท้องสีเงิน มักมีจุดสีเข้มเป็นดอกดวงเรียงลงมาจากหลังหลายแนว อยู่กันเป็นฝูง. (๒) ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Barilius วงศ์ Cyprinidae ลําตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย มีหนวดสั้น ๆ หรือไม่มี แต่ก็มีจุดสีดําหรือนํ้าตาลบนพื้นลําตัวสีเงินกระจายอยู่ข้างตัว อาศัยอยู่ตามต้นนํ้าลําธาร.ดอกหมาก ๒ น. (๑) ชื่อปลาทะเลและนํ้ากร่อยขนาดเล็กหลายชนิดในสกุล Gerres วงศ์ Gerreidae ลําตัวสั้นป้อม แบนข้าง คล้ายปลาแป้น เว้นแต่มีเกล็ดใหญ่ไม่หลุดง่าย ส่วนท้ายทอยไม่มีกระดูกแข็งโผล่ บางชนิดมีก้านครีบหลังอันแรก ๆ ยาวเป็นเส้น ด้านหลังสีนํ้าตาลอมเทา ด้านข้างและท้องสีเงิน มักมีจุดสีเข้มเป็นดอกดวงเรียงลงมาจากหลังหลายแนว อยู่กันเป็นฝูง. (๒) ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Barilius วงศ์ Cyprinidae ลําตัวยาว แบนข้างเล็กน้อย มีหนวดสั้น ๆ หรือไม่มี แต่ก็มีจุดสีดําหรือนํ้าตาลบนพื้นลําตัวสีเงินกระจายอยู่ข้างตัว อาศัยอยู่ตามต้นนํ้าลําธาร.
ดอกหิน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนูดู ไข่หิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.ดอกหิน ดู ไข่หิน ๒.
ดอกอาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นว่านมหาเมฆ. ในวงเล็บ ดู ว่านมหาเมฆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง ที่ ว่าน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.ดอกอาว (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นว่านมหาเมฆ. (ดู ว่านมหาเมฆ ที่ ว่าน).
ดอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แช่หรือหมักผัก ผลไม้ และสิ่งต่าง ๆ ไว้ในนํ้าส้ม นํ้าเกลือ เป็นต้น เพื่อเก็บรักษาไว้ให้อยู่ได้นาน ๆ เช่น ดองผัก ดองผลไม้ หรือเพื่อไม่ให้เปื่อยเน่า เช่น ดองศพ; โดยปริยายหมายความว่า เก็บหมกไว้นานเกินควร เช่น เอาหนังสือไปดองไว้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งที่ดองแล้วนั้น เช่น ผักดอง ยาดอง ศพดอง.ดอง ๑ ก. แช่หรือหมักผัก ผลไม้ และสิ่งต่าง ๆ ไว้ในนํ้าส้ม นํ้าเกลือ เป็นต้น เพื่อเก็บรักษาไว้ให้อยู่ได้นาน ๆ เช่น ดองผัก ดองผลไม้ หรือเพื่อไม่ให้เปื่อยเน่า เช่น ดองศพ; โดยปริยายหมายความว่า เก็บหมกไว้นานเกินควร เช่น เอาหนังสือไปดองไว้. ว. เรียกสิ่งที่ดองแล้วนั้น เช่น ผักดอง ยาดอง ศพดอง.
ดองยา เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แช่เครื่องยาไว้ในของเหลวมีเหล้าเป็นต้น.ดองยา ก. แช่เครื่องยาไว้ในของเหลวมีเหล้าเป็นต้น.
ดอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง วิธีห่มผ้าของภิกษุสามเณรอย่างหนึ่งโดยปิดบ่าซ้าย เปิดบ่าขวา เรียกว่า ห่มดอง.ดอง ๒ น. วิธีห่มผ้าของภิกษุสามเณรอย่างหนึ่งโดยปิดบ่าซ้าย เปิดบ่าขวา เรียกว่า ห่มดอง.
ดอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง การแต่งงาน เช่น กินดอง = กินเลี้ยงในพิธีแต่งงาน เกี่ยวดอง = เกี่ยวข้องกันโดยการแต่งงาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เนื่องกันในทางเขยหรือสะใภ้ เช่น เกี่ยวดอง เป็นดองกัน.ดอง ๓ (ถิ่น–อีสาน) น. การแต่งงาน เช่น กินดอง = กินเลี้ยงในพิธีแต่งงาน เกี่ยวดอง = เกี่ยวข้องกันโดยการแต่งงาน. ว. เนื่องกันในทางเขยหรือสะใภ้ เช่น เกี่ยวดอง เป็นดองกัน.
ดอง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย คันฉาย ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก.ดอง ๔ น. ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย คันฉาย ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก.
ด่อง ๆ, ด้อง ๆ ด่อง ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ด้อง ๆ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หย่อง ๆ.ด่อง ๆ, ด้อง ๆ ว. หย่อง ๆ.
ด้อง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Parasilurus cochinchinensis ในวงศ์ Siluridae มีหนวดยาว ไม่มีเกล็ด ลักษณะคล้ายปลาเนื้ออ่อนพวกที่มีครีบหลัง เว้นแต่มีครีบก้นต่อเนื่องกับครีบหางที่มีขอบกลม ครีบอกมีก้านแข็งคล้ายเงี่ยง.ด้อง ๑ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Parasilurus cochinchinensis ในวงศ์ Siluridae มีหนวดยาว ไม่มีเกล็ด ลักษณะคล้ายปลาเนื้ออ่อนพวกที่มีครีบหลัง เว้นแต่มีครีบก้นต่อเนื่องกับครีบหางที่มีขอบกลม ครีบอกมีก้านแข็งคล้ายเงี่ยง.
ด้อง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผอม.ด้อง ๒ (ถิ่น–พายัพ) ว. ผอม.
ดองฉาย, ดองหาย ดองฉาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ดองหาย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, ดอง กระดองหาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร จงฺหาย เขียนว่า จอ-จาน-งอ-งู-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ว่า ไม้สงฟาง, ดอง ว่า ด้าม, ฉาย ว่า สง .ดองฉาย, ดองหาย น. ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, ดอง กระดองหาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. (ข. จงฺหาย ว่า ไม้สงฟาง, ดอง ว่า ด้าม, ฉาย ว่า สง).
ดองดึง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Gloriosa superba L. ในวงศ์ Colchicaceae ปลายใบม้วนลง กลีบดอกเป็นคลื่น สีแดงและเหลือง หัวมีพิษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎงฎึง เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อึ-งอ-งู.ดองดึง น. ชื่อไม้เถาชนิด Gloriosa superba L. ในวงศ์ Colchicaceae ปลายใบม้วนลง กลีบดอกเป็นคลื่น สีแดงและเหลือง หัวมีพิษ. (ข. ฎงฎึง).
ดอด เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ไปมาหรือทําอย่างใดอย่างหนึ่งโดยอีกฝ่ายหนึ่งไม่รู้หรือโดยไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ เช่น ดอดมา ดอดเอาไป ดอดไปหา.ดอด ก. อาการที่ไปมาหรือทําอย่างใดอย่างหนึ่งโดยอีกฝ่ายหนึ่งไม่รู้หรือโดยไม่ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้ เช่น ดอดมา ดอดเอาไป ดอดไปหา.
ดอน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ที่สูงซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับที่ลุ่ม, ที่เขิน, ที่ห่างนํ้า, เนิน, โคก, โขด, เขิน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง เรียกเกาะในแม่นํ้าว่า ดอน; คําประพันธ์โบราณเขียนเป็น ดร ก็มี.ดอน น. ที่สูงซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับที่ลุ่ม, ที่เขิน, ที่ห่างนํ้า, เนิน, โคก, โขด, เขิน; (ถิ่น–อีสาน) เรียกเกาะในแม่นํ้าว่า ดอน; คําประพันธ์โบราณเขียนเป็น ดร ก็มี.
ด่อน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ปัก, ที่สวม, เช่น ด่อนตะไล.ด่อน ๑ น. ที่ปัก, ที่สวม, เช่น ด่อนตะไล.
ด่อน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เผือก, ขาว, ด่างขาว, เช่น ควายด่อน.ด่อน ๒ ว. เผือก, ขาว, ด่างขาว, เช่น ควายด่อน.
ด่อน เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับแทงช้างเมื่อเวลาขี่ รูปเป็นเดือยแหลม ทําด้วยเหล็ก.ด่อน ๓ น. เครื่องมือสําหรับแทงช้างเมื่อเวลาขี่ รูปเป็นเดือยแหลม ทําด้วยเหล็ก.
ดอม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ราว, แถว, แนว, เช่น ดอมไพร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎงไพฺร เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ.ดอม ๑ น. ราว, แถว, แนว, เช่น ดอมไพร. (ข. ฎงไพฺร).
ดอม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหอม. เป็นคำกริยา หมายถึง ดม, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ดม เป็น ดอมดม หรือ ดมดอม.ดอม ๒ น. เครื่องหอม. ก. ดม, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ดม เป็น ดอมดม หรือ ดมดอม.
ดอม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด้วย เช่น พ่อแม่เป็นผู้ใหญ่จะไปดอม. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.ดอม ๓ ว. ด้วย เช่น พ่อแม่เป็นผู้ใหญ่จะไปดอม. (ขุนช้างขุนแผน).
ด่อม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุ่ม เช่น สู่ซุ้มไพรเดียวด่อม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ด่อม ว. ดุ่ม เช่น สู่ซุ้มไพรเดียวด่อม. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ด้อม เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง อาการเดินที่มีลักษณะก้ม ๆ เงย ๆ.ด้อม ก. อาการเดินที่มีลักษณะก้ม ๆ เงย ๆ.
ดอย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา.ดอย ๑ น. ภูเขา.
ดอย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ผูก, มัด, ตอก, ชก, ตี, ปา, ทอย.ดอย ๒ ก. ผูก, มัด, ตอก, ชก, ตี, ปา, ทอย.
ด้อย เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ตํ่ากว่าโดยคุณสมบัติ รูปสมบัติ หรือตําแหน่งหน้าที่ เป็นต้น, อาการที่ท้ายเรือหรือท้ายรถตํ่าลง เรียกว่า ท้ายด้อย, ลักษณะที่ส่วนท้ายของสัตว์มีช้างเป็นต้นลาดตํ่าลง.ด้อย ก. ตํ่ากว่าโดยคุณสมบัติ รูปสมบัติ หรือตําแหน่งหน้าที่ เป็นต้น, อาการที่ท้ายเรือหรือท้ายรถตํ่าลง เรียกว่า ท้ายด้อย, ลักษณะที่ส่วนท้ายของสัตว์มีช้างเป็นต้นลาดตํ่าลง.
ดอลลาร์ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหน่วยเงินตราที่ใช้เรียกในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ dollar เขียนว่า ดี-โอ-แอล-แอล-เอ-อา.ดอลลาร์ น. ชื่อหน่วยเงินตราที่ใช้เรียกในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย. (อ. dollar).
ดะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตะลุยไป, ไม่เลือกหน้า, ไม่งดเว้น, เช่น เก็บดะ ตีดะ เตะดะ ฟันดะ.ดะ ๑ ว. ตะลุยไป, ไม่เลือกหน้า, ไม่งดเว้น, เช่น เก็บดะ ตีดะ เตะดะ ฟันดะ.
ดะ เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ใช้นําหน้าคําที่ตั้งต้นด้วยตัว ด ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคําเดิมนั้น เช่น ดะด่อน ดะดัก ดะดุ่ม.ดะ ๒ ใช้นําหน้าคําที่ตั้งต้นด้วยตัว ด ในบทกลอน มีความแปลอย่างเดียวกับคําเดิมนั้น เช่น ดะด่อน ดะดัก ดะดุ่ม.
ดะโต๊ะยุติธรรม เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอํานาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.ดะโต๊ะยุติธรรม (กฎ) น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอํานาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม.
ดะหมัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[–หฺมัง] เป็นคำนาม หมายถึง เสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .ดะหมัง [–หฺมัง] น. เสนา. (ช.).
ดัก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง คอยสกัด เช่น ดักทําร้าย, วางเครื่องดักสัตว์มีกับเป็นต้น เพื่อให้สัตว์เข้ามาติด เช่น ดักไก่ ดักนก.ดัก ๑ ก. คอยสกัด เช่น ดักทําร้าย, วางเครื่องดักสัตว์มีกับเป็นต้น เพื่อให้สัตว์เข้ามาติด เช่น ดักไก่ ดักนก.
ดักคอ เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง พูดสกัดหรือกันไว้ล่วงหน้า.ดักคอ ก. พูดสกัดหรือกันไว้ล่วงหน้า.
ดักฟัง เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลักฟัง.ดักฟัง ก. ลักฟัง.
ดัก เขียนว่า ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Amblyceps mangois ในวงศ์ Amblycipidae มีหนวด ไม่มีเกล็ด ลําตัวยาว แบนข้าง ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง มีแผ่นเนื้ออยู่ส่วนหน้าของครีบอก ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นแผ่นเนื้อ ครีบหางเป็นแฉก พบอาศัยอยู่ตามแหล่งต้นนํ้าลําธาร. (๒) ชื่อปลาดุกนํ้าจืดชนิด Clarias melanoderma ในวงศ์ Clariidae รูปร่างคล้ายปลาดุกอุยและปลาดุกด้านซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน เว้นแต่เป็นชนิดเดียวที่ขอบหน้าของเงี่ยงครีบอกจักเป็นฟันเลื่อย.ดัก ๒ น. (๑) ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Amblyceps mangois ในวงศ์ Amblycipidae มีหนวด ไม่มีเกล็ด ลําตัวยาว แบนข้าง ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง มีแผ่นเนื้ออยู่ส่วนหน้าของครีบอก ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นแผ่นเนื้อ ครีบหางเป็นแฉก พบอาศัยอยู่ตามแหล่งต้นนํ้าลําธาร. (๒) ชื่อปลาดุกนํ้าจืดชนิด Clarias melanoderma ในวงศ์ Clariidae รูปร่างคล้ายปลาดุกอุยและปลาดุกด้านซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน เว้นแต่เป็นชนิดเดียวที่ขอบหน้าของเงี่ยงครีบอกจักเป็นฟันเลื่อย.