ความเร่ง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง อัตราการเปลี่ยนความเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อ ๑ หน่วยเวลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acceleration เขียนว่า เอ-ซี-ซี-อี-แอล-อี-อา-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น.ความเร่ง (วิทยา) น. อัตราการเปลี่ยนความเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อ ๑ หน่วยเวลา. (อ. acceleration).
ความเร็ว เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง อัตราการเคลื่อนที่ของวัตถุต่อ ๑ หน่วยเวลา โดยระบุบ่งทิศทางของการเคลื่อนที่ด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ velocity เขียนว่า วี-อี-แอล-โอ-ซี-ไอ-ที-วาย.ความเร็ว (วิทยา) น. อัตราการเคลื่อนที่ของวัตถุต่อ ๑ หน่วยเวลา โดยระบุบ่งทิศทางของการเคลื่อนที่ด้วย. (อ. velocity).
ความหน่วง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง อัตราการเปลี่ยนความเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ ต่อ ๑ หน่วยเวลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ retardation เขียนว่า อา-อี-ที-เอ-อา-ดี-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น.ความหน่วง (วิทยา) น. อัตราการเปลี่ยนความเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ ต่อ ๑ หน่วยเวลา. (อ. retardation).
ควาย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[คฺวาย] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bubalus bubalis ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ รูปร่างใหญ่ สีดําหรือเทา เขาโค้งยาว ที่ใต้คางและหน้าอกมีขนขาวเป็นรูปง่าม; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายมักหมายความว่า คนโง่ คนเซ่อ หรือคนตัวใหญ่ แต่ไม่ฉลาด.ควาย [คฺวาย] น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bubalus bubalis ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ รูปร่างใหญ่ สีดําหรือเทา เขาโค้งยาว ที่ใต้คางและหน้าอกมีขนขาวเป็นรูปง่าม; (ปาก) โดยปริยายมักหมายความว่า คนโง่ คนเซ่อ หรือคนตัวใหญ่ แต่ไม่ฉลาด.
ควายเขาเกก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ควายที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, วัวเขาเกก ก็ว่า.ควายเขาเกก น. ควายที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, วัวเขาเกก ก็ว่า.
ควายทุย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ควายที่มีเขาสั้นหรือหงิก.ควายทุย น. ควายที่มีเขาสั้นหรือหงิก.
ควายโทน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ควายป่าที่แตกฝูงออกมาอยู่ตามลำพัง.ควายโทน น. ควายป่าที่แตกฝูงออกมาอยู่ตามลำพัง.
ควายธนู เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ของขลังชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปตัวควายหรือเขาควาย ใช้เวทมนตร์ทางไสยศาสตร์เสกเป่าไปทำร้ายผู้อื่นหรือกันไม่ให้ผู้อื่นมาทำร้าย.ควายธนู น. ของขลังชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปตัวควายหรือเขาควาย ใช้เวทมนตร์ทางไสยศาสตร์เสกเป่าไปทำร้ายผู้อื่นหรือกันไม่ให้ผู้อื่นมาทำร้าย.
ควายปละ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[–ปฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ควายที่เจ้าของปล่อยให้เที่ยวไปตามลําพัง.ควายปละ [–ปฺละ] น. ควายที่เจ้าของปล่อยให้เที่ยวไปตามลําพัง.
ควายพระอินทร์ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนอนกระทู้ชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู กระทู้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ความหมายที่ ๓.ควายพระอินทร์ น. ชื่อหนอนกระทู้ชนิดหนึ่ง. (ดู กระทู้ ๓).
คว่าว เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน[คฺว่าว]ดู ขว้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.คว่าว [คฺว่าว] ดู ขว้าว.
คว่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ[คฺวํ่า] เป็นคำกริยา หมายถึง พลิกเอาด้านบนลงล่าง เช่น รถคว่ำ เรือคว่ำ; กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย; เรียกใบหน้าที่แสดงอาการไม่พอใจหรือโกรธจนไม่เงยหน้าขึ้นมองดูว่า หน้าคว่ำ; โดยปริยายหมายความว่า ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งพ่ายแพ้ เช่น คว่ำคู่ต่อสู้.คว่ำ [คฺวํ่า] ก. พลิกเอาด้านบนลงล่าง เช่น รถคว่ำ เรือคว่ำ; กิริยาที่เอาด้านหน้าลง เช่น นอนคว่ำ, กิริยาที่เอาด้านบนลงล่าง เช่น คว่ำชาม, ตรงข้ามกับ หงาย; เรียกใบหน้าที่แสดงอาการไม่พอใจหรือโกรธจนไม่เงยหน้าขึ้นมองดูว่า หน้าคว่ำ; โดยปริยายหมายความว่า ทำให้อีกฝ่ายหนึ่งพ่ายแพ้ เช่น คว่ำคู่ต่อสู้.
คว่ำกระดาน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุกจึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกัน โดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า.คว่ำกระดาน ก. อาการที่ฝ่ายซึ่งเห็นว่าตนกำลังจะแพ้ในการเล่นหมากรุกจึงพาลล้มกระดานเลิกเล่นกัน โดยแกล้งปัดตัวหมากรุกบนกระดานให้กระจัดกระจายหรือเทตัวหมากรุกบนกระดานเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงการที่ฝ่ายมีอำนาจล้มเลิกการประชุมหรือกิจการใด ๆ เสียกลางคัน เช่น ประธานเห็นว่าจะคุมเสียงในการประชุมไม่อยู่ เลยสั่งปิดประชุมเป็นการคว่ำกระดานเสีย, ล้มกระดาน ก็ว่า.
คว่ำบาตร เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย, เดิมหมายถึงสังฆกรรมที่พระสงฆ์ประกาศลงโทษคฤหัสถ์ผู้ประทุษร้ายต่อศาสนาด้วยการไม่คบ ไม่รับบิณฑบาต เป็นต้น.คว่ำบาตร (สำ) ก. ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย, เดิมหมายถึงสังฆกรรมที่พระสงฆ์ประกาศลงโทษคฤหัสถ์ผู้ประทุษร้ายต่อศาสนาด้วยการไม่คบ ไม่รับบิณฑบาต เป็นต้น.
คว่ำหลัง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จับควํ่าเพื่อเฆี่ยน.คว่ำหลัง (โบ) ก. จับควํ่าเพื่อเฆี่ยน.
คว่ำตายหงายเป็น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนูดู ต้นตายใบเป็น เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู.คว่ำตายหงายเป็น ดู ต้นตายใบเป็น.
ควินิน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู[คฺวินิน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสารประกอบประเภทแอลคาลอยด์ ใช้เป็นยารักษาโรคไข้จับสั่น สกัดได้จากเปลือกต้นซิงโคนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ quinine เขียนว่า คิว-ยู-ไอ-เอ็น-ไอ-เอ็น-อี.ควินิน [คฺวินิน] น. ชื่อสารประกอบประเภทแอลคาลอยด์ ใช้เป็นยารักษาโรคไข้จับสั่น สกัดได้จากเปลือกต้นซิงโคนา. (อ. quinine).
ควิว ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก [คฺวิว–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ใจหวิว ๆ เช่น ควิวควิวอกควากคว้าง ลมลอยแลแม่. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์.ควิว ๆ [คฺวิว–] (กลอน) ว. อาการที่ใจหวิว ๆ เช่น ควิวควิวอกควากคว้าง ลมลอยแลแม่. (นิ. นรินทร์).
ควิวควัง, ควิวควั่ง, ควิวคว่าง, ควิวคว้าง ควิวควัง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ควิวควั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ควิวคว่าง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ควิวคว้าง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู [–คฺวัง, –คฺวั่ง, –คฺว่าง, –คฺว้าง] เป็นคำกริยา หมายถึง หมุนคว้างจนใจหวิว ๆ, อาการที่จิตใจรู้สึกหวาดหวิว; ใช้โดยปริยายว่า เวิ้งว้าง, กว้างใหญ่, น่ากลัว, เช่น สาครควิวคว่าง, โบราณเขียนเป็น ควิวคว่งง ก็มี เช่น สมุทรพิศารลิว ควิวคว่งง แลนา. (กำสรวล).ควิวควัง, ควิวควั่ง, ควิวคว่าง, ควิวคว้าง [–คฺวัง, –คฺวั่ง, –คฺว่าง, –คฺว้าง] ก. หมุนคว้างจนใจหวิว ๆ, อาการที่จิตใจรู้สึกหวาดหวิว; ใช้โดยปริยายว่า เวิ้งว้าง, กว้างใหญ่, น่ากลัว, เช่น สาครควิวคว่าง, โบราณเขียนเป็น ควิวคว่งง ก็มี เช่น สมุทรพิศารลิว ควิวคว่งง แลนา. (กำสรวล).
ควีนสิริกิติ์ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[คฺวีนสิหฺริกิด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้ชนิด Cattleya ‘Queen Sirikit’ ในวงศ์ Orchidaceae เป็นพันธุ์ผสม ดอกใหญ่ สีขาว ปากเหลือง สวยงามมากและมีกลิ่นหอม.ควีนสิริกิติ์ [คฺวีนสิหฺริกิด] น. ชื่อกล้วยไม้ชนิด Cattleya ‘Queen Sirikit’ ในวงศ์ Orchidaceae เป็นพันธุ์ผสม ดอกใหญ่ สีขาว ปากเหลือง สวยงามมากและมีกลิ่นหอม.
คห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ[คะหะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เรือน, ใช้เป็นคําหน้าสมาส เช่น คหกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คห– [คะหะ–] (แบบ) น. เรือน, ใช้เป็นคําหน้าสมาส เช่น คหกรรม. (ป.).
คหกรรมศาสตร์ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[คะหะกํามะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม.คหกรรมศาสตร์ [คะหะกํามะสาด] น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม.
คหบดี เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[คะหะบอ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คฤหบดี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คหบดี [คะหะบอ–] น. ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คฤหบดี ก็ว่า. (ป.).
คหปตานี เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของคหบดี, คฤหปัตนี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คหปตานี น. หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของคหบดี, คฤหปัตนี ก็ว่า. (ป.).
คหัฐ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน[คะหัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คฤหัสถ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คหฏฺ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.คหัฐ [คะหัด] (ปาก) น. คฤหัสถ์. (ป. คหฏฺ).
คอ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายที่ต่อศีรษะกับตัว, ราชาศัพท์ว่า พระศอ; ส่วนของภาชนะที่คอดอยู่ระหว่างตัวกับปาก เช่น คอหม้อ; เรียกส่วนลําต้นของพรรณไม้วงศ์ปาล์มที่อยู่ระหว่างใบล่างสุดกับยอด เช่น คอมะพร้าว คอตาล; โดยปริยายหมายความว่า ความมีใจชอบเสพสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอาจิณ เช่น คอเหล้า คอเบียร์ คอหนัง คอละคร.คอ น. ส่วนของร่างกายที่ต่อศีรษะกับตัว, ราชาศัพท์ว่า พระศอ; ส่วนของภาชนะที่คอดอยู่ระหว่างตัวกับปาก เช่น คอหม้อ; เรียกส่วนลําต้นของพรรณไม้วงศ์ปาล์มที่อยู่ระหว่างใบล่างสุดกับยอด เช่น คอมะพร้าว คอตาล; โดยปริยายหมายความว่า ความมีใจชอบเสพสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นอาจิณ เช่น คอเหล้า คอเบียร์ คอหนัง คอละคร.
คอกระเช้า เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเสื้อคอกลมคว้านกว้างลึกทั้งข้างหน้าและข้างหลัง มีจีบรูดตรงคอ ตัวหลวม ว่า เสื้อคอกระเช้า, ใช้เป็นเสื้อชั้นในแบบเก่าของผู้หญิง.คอกระเช้า น. เรียกเสื้อคอกลมคว้านกว้างลึกทั้งข้างหน้าและข้างหลัง มีจีบรูดตรงคอ ตัวหลวม ว่า เสื้อคอกระเช้า, ใช้เป็นเสื้อชั้นในแบบเก่าของผู้หญิง.
คอกลม เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะคอเสื้อที่ตัดกลม ไม่มีปก.คอกลม น. ลักษณะคอเสื้อที่ตัดกลม ไม่มีปก.
คอกะลาสี เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ปกเสื้อแบบกะลาสี ด้านหน้ารูปแหลมแบะออก ด้านหลังเป็นแผ่นรูปสี่เหลี่ยม.คอกะลาสี น. ปกเสื้อแบบกะลาสี ด้านหน้ารูปแหลมแบะออก ด้านหลังเป็นแผ่นรูปสี่เหลี่ยม.
คอขวด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของถนน สะพาน หรือลำน้ำตอนที่แคบเข้า.คอขวด น. ส่วนของถนน สะพาน หรือลำน้ำตอนที่แคบเข้า.
คอขาดบาดตาย เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายแรงถึงอาจต้องสูญเสียชีวิตได้.คอขาดบาดตาย ว. ร้ายแรงถึงอาจต้องสูญเสียชีวิตได้.
คอแข็ง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นิ่งอั้นเพราะเถียงไม่ขึ้นเป็นต้น; ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าได้, ตรงข้ามกับ คออ่อน.คอแข็ง ว. อาการที่นิ่งอั้นเพราะเถียงไม่ขึ้นเป็นต้น; ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าได้, ตรงข้ามกับ คออ่อน.
คอคอด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดินที่กิ่วคอดและมีน้ำล้อมรอบอยู่ทั้ง ๒ ด้าน ตรงที่กิ่วคอดจะเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่ ๒ แห่ง หรือเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่กับแหลมให้ติดต่อถึงกันได้ เช่น คอคอดกระ.คอคอด น. แผ่นดินที่กิ่วคอดและมีน้ำล้อมรอบอยู่ทั้ง ๒ ด้าน ตรงที่กิ่วคอดจะเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่ ๒ แห่ง หรือเชื่อมต่อระหว่างแผ่นดินใหญ่กับแหลมให้ติดต่อถึงกันได้ เช่น คอคอดกระ.
คอเชิ้ต เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ปกเสื้อแบบติดคอ ปลายปกแหลม มีสาบเชื่อมระหว่างปกกับตัวเสื้อเพื่อเสริมให้ปกตั้งขึ้น.คอเชิ้ต น. ปกเสื้อแบบติดคอ ปลายปกแหลม มีสาบเชื่อมระหว่างปกกับตัวเสื้อเพื่อเสริมให้ปกตั้งขึ้น.
คอซอง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าผูกคอแบบหนึ่ง ผูกใต้คอปกเสื้อกะลาสี; ซอกที่อยู่หัวเรือหรือท้ายเรือ.คอซอง น. ผ้าผูกคอแบบหนึ่ง ผูกใต้คอปกเสื้อกะลาสี; ซอกที่อยู่หัวเรือหรือท้ายเรือ.
คอเดียวกัน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรสนิยมเดียวกัน เช่น คนนี้คอเดียวกัน ไปไหนไปด้วยกันเสมอ.คอเดียวกัน ว. มีรสนิยมเดียวกัน เช่น คนนี้คอเดียวกัน ไปไหนไปด้วยกันเสมอ.
คอตก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หัวงุดลงมาแสดงอาการผิดหวังเป็นต้น.คอตก ว. อาการที่หัวงุดลงมาแสดงอาการผิดหวังเป็นต้น.
คอต่อ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนคอที่ต่อกับท้ายทอย, ต้นคอที่ต่อจากท้ายทอย.คอต่อ น. ส่วนคอที่ต่อกับท้ายทอย, ต้นคอที่ต่อจากท้ายทอย.
คอตั้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คอเสื้อที่มีขอบตั้งแนบไปกับลําคอ.คอตั้ง น. คอเสื้อที่มีขอบตั้งแนบไปกับลําคอ.
คอตั้งบ่า เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แหงนหน้าขึ้นสูง ๆ.คอตั้งบ่า ว. อาการที่แหงนหน้าขึ้นสูง ๆ.
คอตีบ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคติดต่ออันตรายชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Corynebacterium diphtheriae อาจทำให้ทางเดินอากาศหายใจอุดตัน เป็นเหตุให้หายใจไม่สะดวก อาจถึงแก่ชีวิตได้ มักเกิดแก่เด็กเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ diphtheria เขียนว่า ดี-ไอ-พี-เอช-ที-เอช-อี-อา-ไอ-เอ.คอตีบ น. ชื่อโรคติดต่ออันตรายชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด Corynebacterium diphtheriae อาจทำให้ทางเดินอากาศหายใจอุดตัน เป็นเหตุให้หายใจไม่สะดวก อาจถึงแก่ชีวิตได้ มักเกิดแก่เด็กเล็ก. (อ. diphtheria).
คอถ่วง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คอเสื้อที่ใช้ผ้าเฉลียงตัด ทําให้มีลักษณะจีบถ่วงเป็นชั้น ๆ.คอถ่วง น. คอเสื้อที่ใช้ผ้าเฉลียงตัด ทําให้มีลักษณะจีบถ่วงเป็นชั้น ๆ.
คอทองแดง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ดื่มเหล้าเก่ง ไม่เมาง่าย ๆ.คอทองแดง (ปาก) ว. ที่ดื่มเหล้าเก่ง ไม่เมาง่าย ๆ.
คอนาค เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์เชษฐา มี ๑๔ ดวง, ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวแพะ หรือ ดาวเชษฐะ ก็เรียก.คอนาค น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์เชษฐา มี ๑๔ ดวง, ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวแพะ หรือ ดาวเชษฐะ ก็เรียก.
คอทั่งสันหลังเหล็ก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งแกร่ง, ทรหดอดทน.คอทั่งสันหลังเหล็ก (สำ) ว. แข็งแกร่ง, ทรหดอดทน.
คอบัว เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ปกเสื้อแบบติดคอ ปลายปกมน.คอบัว น. ปกเสื้อแบบติดคอ ปลายปกมน.
คอแบะ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ปกเสื้อชนิดที่มีสาบตอนบนแบะออก ส่วนที่แบะออกและส่วนที่เป็นปกจะเป็นแบบใดก็ได้.คอแบะ น. ปกเสื้อชนิดที่มีสาบตอนบนแบะออก ส่วนที่แบะออกและส่วนที่เป็นปกจะเป็นแบบใดก็ได้.
คอปาด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเสื้อที่มีคอตัดปาดตรงจากไหล่ซ้ายถึงไหล่ขวาว่า เสื้อคอปาด.คอปาด น. เรียกเสื้อที่มีคอตัดปาดตรงจากไหล่ซ้ายถึงไหล่ขวาว่า เสื้อคอปาด.
คอเป็ด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง.คอเป็ด น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง.
คอเป็นเอ็น เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขึ้นเสียงเถียงโต้อย่างไม่ยอมลดละ, เถียงเก่ง, เช่น หวงแหนหึงผัวตัวเป็นเกลียว จนเสียงขุ่นเสียงเขียวคอเป็นเอ็น. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.คอเป็นเอ็น (สำ) ว. ขึ้นเสียงเถียงโต้อย่างไม่ยอมลดละ, เถียงเก่ง, เช่น หวงแหนหึงผัวตัวเป็นเกลียว จนเสียงขุ่นเสียงเขียวคอเป็นเอ็น. (คาวี).
คอพอก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคต่อมไทรอยด์โต ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน, คอหอยพอก ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ goitre เขียนว่า จี-โอ-ไอ-ที-อา-อี struma เขียนว่า เอส-ที-อา-ยู-เอ็ม-เอ thyrocele เขียนว่า ที-เอช-วาย-อา-โอ-ซี-อี-แอล-อี .คอพอก น. ชื่อโรคต่อมไทรอยด์โต ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน, คอหอยพอก ก็ว่า. (อ. goitre, struma, thyrocele).
คอพับ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเสื้อชั้นนอกที่คอพับลงมาว่า เสื้อคอพับ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่คอตกพับลงเพราะสิ้นกำลังทรงตัวเป็นต้น.คอพับ น. เรียกเสื้อชั้นนอกที่คอพับลงมาว่า เสื้อคอพับ. ว. อาการที่คอตกพับลงเพราะสิ้นกำลังทรงตัวเป็นต้น.
คอไฟ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของโคมหรือตะเกียงตรงที่ต่อกระจุ๊บกับหม้อนํ้ามัน.คอไฟ น. ส่วนของโคมหรือตะเกียงตรงที่ต่อกระจุ๊บกับหม้อนํ้ามัน.
คอม้า เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อัศวินี มี ๗ ดวง, ดาวคู่ม้า ดาวม้า ดาวอัศวยุช หรือดาวอัสสนี ก็เรียก; เรียกมีดพกปลายแหลมชนิดหนึ่งที่มีด้ามงอเฉียงลงว่า มีดคอม้า, ประแดะ ก็เรียก.คอม้า น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อัศวินี มี ๗ ดวง, ดาวคู่ม้า ดาวม้า ดาวอัศวยุช หรือดาวอัสสนี ก็เรียก; เรียกมีดพกปลายแหลมชนิดหนึ่งที่มีด้ามงอเฉียงลงว่า มีดคอม้า, ประแดะ ก็เรียก.
คอรวง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ก้านช่อดอกหรือก้านรวงของข้าว.คอรวง น. ก้านช่อดอกหรือก้านรวงของข้าว.
คอระฆัง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ระ-คัง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนพระเจดีย์ตรงคอด ต่อองค์พระเจดีย์ (ที่เรียกระฆัง) กับบัลลังก์.คอระฆัง น. ส่วนพระเจดีย์ตรงคอด ต่อองค์พระเจดีย์ (ที่เรียกระฆัง) กับบัลลังก์.
คอแร้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ปากกาชนิดปากแหลม.คอแร้ง น. ปากกาชนิดปากแหลม.
คอวี เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง คอเสื้อที่ตัดแหลมตรงกลางคล้ายรูปตัว V, คอรูปตัววี หรือ คอแหลม ก็เรียก.คอวี น. คอเสื้อที่ตัดแหลมตรงกลางคล้ายรูปตัว V, คอรูปตัววี หรือ คอแหลม ก็เรียก.
คอสอง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ร้องถัดจากคนที่ ๑ ในวงเพลงที่ร้องแก้กันเป็นต้น, ผู้ว่าคล้อยตามอย่างลูกคู่.คอสอง ๑ น. ผู้ร้องถัดจากคนที่ ๑ ในวงเพลงที่ร้องแก้กันเป็นต้น, ผู้ว่าคล้อยตามอย่างลูกคู่.
คอสอง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเรือนที่ต่อตั้งแต่หัวเสาสุดขึ้นไปอีกชั้นหนึ่งถึงจันทัน.คอสอง ๒ น. ส่วนของเรือนที่ต่อตั้งแต่หัวเสาสุดขึ้นไปอีกชั้นหนึ่งถึงจันทัน.
คอสะพาน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของถนนที่ต่อกับเชิงสะพาน.คอสะพาน น. ส่วนของถนนที่ต่อกับเชิงสะพาน.
คอสูง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบกินหรือใช้ของดีราคาแพง.คอสูง ว. ชอบกินหรือใช้ของดีราคาแพง.
คอเสื้อ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเสื้อที่ชิดคอหรือที่คว้านให้เป็นวงเพื่อสวมหัวได้, ส่วนประกอบของคอเสื้อ มีแบบต่าง ๆ เช่น คอตั้ง คอแบะ.คอเสื้อ น. ส่วนของเสื้อที่ชิดคอหรือที่คว้านให้เป็นวงเพื่อสวมหัวได้, ส่วนประกอบของคอเสื้อ มีแบบต่าง ๆ เช่น คอตั้ง คอแบะ.
คอหนัง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง นาวิกโยธินอเมริกัน.คอหนัง (ปาก) น. นาวิกโยธินอเมริกัน.
คอหยัก ๆ สักแต่ว่าคน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ประพฤติตัวไม่สมศักดิ์ศรีของความเป็นคน.คอหยัก ๆ สักแต่ว่าคน (สำ) น. คนที่ประพฤติตัวไม่สมศักดิ์ศรีของความเป็นคน.
คอหอย เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะภายในลำคอ เป็นทางร่วมของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินอากาศหายใจ เริ่มตั้งแต่หลังโพรงจมูก หลังช่องปากลงไปจนถึงหลังกล่องเสียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ pharynx เขียนว่า พี-เอช-เอ-อา-วาย-เอ็น-เอ็กซ์.คอหอย น. อวัยวะภายในลำคอ เป็นทางร่วมของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินอากาศหายใจ เริ่มตั้งแต่หลังโพรงจมูก หลังช่องปากลงไปจนถึงหลังกล่องเสียง. (อ. pharynx).
คอหอยกับลูกกระเดือก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้ากันได้ดี แยกกันไม่ออก.คอหอยกับลูกกระเดือก (สำ) ว. เข้ากันได้ดี แยกกันไม่ออก.
คอหอยตีบ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกตื้นตันใจพูดไม่ออก.คอหอยตีบ ว. อาการที่รู้สึกตื้นตันใจพูดไม่ออก.
คอหอยพอก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-พอ-พาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คอพอก.คอหอยพอก น. คอพอก.
คอห่าน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของโถส้วมตรงที่มีลักษณะคล้ายคอห่านสําหรับกักนํ้าเพื่อกันกลิ่นเป็นต้น.คอห่าน น. ส่วนของโถส้วมตรงที่มีลักษณะคล้ายคอห่านสําหรับกักนํ้าเพื่อกันกลิ่นเป็นต้น.
คอแหลม เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คอเสื้อที่ตัดแหลมตรงกลางคล้ายรูปตัว V, คอวี หรือ คอรูปตัววี ก็เรียก.คอแหลม น. คอเสื้อที่ตัดแหลมตรงกลางคล้ายรูปตัว V, คอวี หรือ คอรูปตัววี ก็เรียก.
คออ่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าไม่ได้, ตรงข้ามกับ คอแข็ง.คออ่อน ๑ ว. ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าไม่ได้, ตรงข้ามกับ คอแข็ง.
คออ่อนคอพับ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่คอเอียงไปมาเพราะเมา ง่วง หรือเหนื่อย เป็นต้น.คออ่อนคอพับ ว. อาการที่คอเอียงไปมาเพราะเมา ง่วง หรือเหนื่อย เป็นต้น.
คอฮาวาย เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ปกเสื้อชนิดปลายแหลม สาบแบะออกตอนบนให้รับกับปก.คอฮาวาย น. ปกเสื้อชนิดปลายแหลม สาบแบะออกตอนบนให้รับกับปก.
ค่อ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ปลาช่อน. ในวงเล็บ ดู ช่อน เขียนว่า ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู.ค่อ (ถิ่น–อีสาน) น. ปลาช่อน. (ดู ช่อน).
ค้อ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Livistona speciosa Kurz ในวงศ์ Palmae ลำต้นตรง ใบออกเป็นกระจุกทรงกลม แต่ละใบแผ่เป็นรูปวงกลมคล้ายพัด ขอบก้านหยักเป็นสันคม ผลกลม ผิวเรียบ ออกเป็นพวงตามง่ามโคนก้านใบ.ค้อ น. ชื่อปาล์มชนิด Livistona speciosa Kurz ในวงศ์ Palmae ลำต้นตรง ใบออกเป็นกระจุกทรงกลม แต่ละใบแผ่เป็นรูปวงกลมคล้ายพัด ขอบก้านหยักเป็นสันคม ผลกลม ผิวเรียบ ออกเป็นพวงตามง่ามโคนก้านใบ.
คอก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ล้อมขังสัตว์บางชนิด เช่น วัว ควาย ม้า หมู, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คอกพยาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง คุก, เรือนจํา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของแขนที่พิการเหยียดตรงไม่ได้ เรียกว่า แขนคอก.คอก น. ที่ล้อมขังสัตว์บางชนิด เช่น วัว ควาย ม้า หมู, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คอกพยาน; (ถิ่น–พายัพ) คุก, เรือนจํา. ว. ลักษณะของแขนที่พิการเหยียดตรงไม่ได้ เรียกว่า แขนคอก.
คอกช้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่ทําขึ้นสําหรับจับช้างป่า มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมคล้ายคอก มีซองและมีปีก ๒ ข้าง.คอกช้าง น. สถานที่ที่ทําขึ้นสําหรับจับช้างป่า มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมคล้ายคอก มีซองและมีปีก ๒ ข้าง.
ค็อกคัส เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง แบคทีเรียที่มีรูปร่างกลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ coccus เขียนว่า ซี-โอ-ซี-ซี-ยู-เอส.ค็อกคัส น. แบคทีเรียที่มีรูปร่างกลม. (อ. coccus).
ค็อกเทล เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ใช้เหล้าชนิดต่าง ๆ ผสมกัน ใส่นํ้าแข็ง แล้วเขย่า และอาจใส่นํ้าผลไม้หรือชิ้นผลไม้ เพื่อเพิ่มสีหรือรสให้แปลก ๆ ออกไป นิยมดื่มก่อนอาหาร; อาหารเรียกน้ำย่อยที่กินก่อนอาหารจานหลัก; เรียกงานเลี้ยงแบบหนึ่งที่ไม่นั่งโต๊ะกินอาหาร เสิร์ฟเฉพาะเครื่องดื่มและอาหารว่าง ว่า งานเลี้ยงค็อกเทล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cocktail เขียนว่า ซี-โอ-ซี-เค-ที-เอ-ไอ-แอล****(อ. cocktail; cocktail party).ค็อกเทล น. เครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ใช้เหล้าชนิดต่าง ๆ ผสมกัน ใส่นํ้าแข็ง แล้วเขย่า และอาจใส่นํ้าผลไม้หรือชิ้นผลไม้ เพื่อเพิ่มสีหรือรสให้แปลก ๆ ออกไป นิยมดื่มก่อนอาหาร; อาหารเรียกน้ำย่อยที่กินก่อนอาหารจานหลัก; เรียกงานเลี้ยงแบบหนึ่งที่ไม่นั่งโต๊ะกินอาหาร เสิร์ฟเฉพาะเครื่องดื่มและอาหารว่าง ว่า งานเลี้ยงค็อกเทล. (อ. cocktail; cocktail party).
คอเคซอยด์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติผิวขาว มีลักษณะผิวส่วนมากขาวจนถึงสีนํ้าตาล จมูกโด่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Caucasoid เขียนว่า ซี-เอ-ยู-ซี-เอ-เอส-โอ-ไอ-ดี.คอเคซอยด์ น. ชนชาติผิวขาว มีลักษณะผิวส่วนมากขาวจนถึงสีนํ้าตาล จมูกโด่ง. (อ. Caucasoid).
ค่องอ้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันด้วยการทายความสั้นยาวของท่อนอ้อย โดยเอามีดสับคาไว้ที่ประมาณส่วนกลางลำอ้อย แล้วตั้งพิงไว้ให้ผู้เล่นทายว่าส่วนของท่อนอ้อยด้านบนกับด้านล่างของมีดยาวเท่ากันหรือสั้นยาวกว่ากันเท่าใด ผู้ใดทายได้ถูกต้องหรือใกล้เคียงที่สุดเป็นผู้ชนะ.ค่องอ้อย น. ชื่อการพนันด้วยการทายความสั้นยาวของท่อนอ้อย โดยเอามีดสับคาไว้ที่ประมาณส่วนกลางลำอ้อย แล้วตั้งพิงไว้ให้ผู้เล่นทายว่าส่วนของท่อนอ้อยด้านบนกับด้านล่างของมีดยาวเท่ากันหรือสั้นยาวกว่ากันเท่าใด ผู้ใดทายได้ถูกต้องหรือใกล้เคียงที่สุดเป็นผู้ชนะ.
คอด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของส่วนที่เล็กหรือแคบเข้าแล้วผายออกไป, กิ่ว.คอด ว. ลักษณะของส่วนที่เล็กหรือแคบเข้าแล้วผายออกไป, กิ่ว.
คอแดง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูลายสาบชนิด Rhabdophis subminiatus ในวงศ์ Colubridae ตัวสีเขียวหรือเทา คอสีแดง ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อน, หมู่ ก็เรียก.คอแดง น. ชื่องูลายสาบชนิด Rhabdophis subminiatus ในวงศ์ Colubridae ตัวสีเขียวหรือเทา คอสีแดง ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อน, หมู่ ก็เรียก.
คอน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่ทําไว้ให้นกหรือไก่จับ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนักข้างหนึ่งเบาข้างหนึ่ง. เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งของห้อยที่ปลายไม้คานหรือปลายไม้เพียงข้างเดียวแล้วแบกบ่าพาไป; เหยียดแขนข้างหนึ่งแล้วเอามือจับปลายของที่หนักยกขึ้น.คอน น. ไม้ที่ทําไว้ให้นกหรือไก่จับ. ว. หนักข้างหนึ่งเบาข้างหนึ่ง. ก. เอาสิ่งของห้อยที่ปลายไม้คานหรือปลายไม้เพียงข้างเดียวแล้วแบกบ่าพาไป; เหยียดแขนข้างหนึ่งแล้วเอามือจับปลายของที่หนักยกขึ้น.
คอนเรือ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง นั่งที่ท้ายเรือแล้วพายเรือไปคนเดียว.คอนเรือ ก. นั่งที่ท้ายเรือแล้วพายเรือไปคนเดียว.
ค่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ติ, ว่าให้สะเทือนใจ.ค่อน ๑ ก. ติ, ว่าให้สะเทือนใจ.
ค่อนขอด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อนว่า, พูดแคะไค้ในเรื่องที่ไม่ดี, พูดให้เขาอายหรือเจ็บใจ, ยกความชั่วขึ้นมาว่าให้เจ็บใจ, ขอดค่อน ก็ว่า.ค่อนขอด ก. ค่อนว่า, พูดแคะไค้ในเรื่องที่ไม่ดี, พูดให้เขาอายหรือเจ็บใจ, ยกความชั่วขึ้นมาว่าให้เจ็บใจ, ขอดค่อน ก็ว่า.
ค่อนแคะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้นหาเอาสิ่งที่ไม่ดีขึ้นมากล่าวติเตียน.ค่อนแคะ ก. ค้นหาเอาสิ่งที่ไม่ดีขึ้นมากล่าวติเตียน.
ค่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากกว่าครึ่ง, เกือบเต็ม, เช่น ข้าวค่อนหม้อ นั่งคอยมาค่อนวัน.ค่อน ๒ ว. มากกว่าครึ่ง, เกือบเต็ม, เช่น ข้าวค่อนหม้อ นั่งคอยมาค่อนวัน.
ค่อนข้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนักหรือกระเดียดไปทางใดทางหนึ่ง เช่น ค่อนข้างดี.ค่อนข้าง ว. หนักหรือกระเดียดไปทางใดทางหนึ่ง เช่น ค่อนข้างดี.
ค่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด, ทอน, เช่น บั่นเรือขาดเปนท่อน ค่อนพวนขาดเปนทุ่น. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์; ตี, ทุบ, ข้อน ก็ใช้.ค่อน ๓ ก. ตัด, ทอน, เช่น บั่นเรือขาดเปนท่อน ค่อนพวนขาดเปนทุ่น. (ตะเลงพ่าย); ตี, ทุบ, ข้อน ก็ใช้.
ค้อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องมือที่มีหัวและด้าม สำหรับเคาะ ตอก ตี ทุบ, ลักษณนามว่า เต้า หรือ อัน; เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้ในการจับปลา.ค้อน ๑ น. ชื่อเครื่องมือที่มีหัวและด้าม สำหรับเคาะ ตอก ตี ทุบ, ลักษณนามว่า เต้า หรือ อัน; เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้ในการจับปลา.
ค้อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา.ค้อน ๒ ก. แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา.
ค้อนควัก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้อนจนหน้าควํ่า, ควักค้อน ก็ว่า.ค้อนควัก ก. ค้อนจนหน้าควํ่า, ควักค้อน ก็ว่า.
ค้อนติง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย.ค้อนติง (โบ) ก. ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย.
คอนกรีต เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง วัสดุก่อสร้าง ประกอบด้วยซีเมนต์ ทราย หิน และนํ้า ผสมเคล้าเข้าด้วยกัน เมื่อแห้งแข็งตัวแล้วจะเป็นวัสดุที่แข็งมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ concrete เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-ซี-อา-อี-ที-อี.คอนกรีต น. วัสดุก่อสร้าง ประกอบด้วยซีเมนต์ ทราย หิน และนํ้า ผสมเคล้าเข้าด้วยกัน เมื่อแห้งแข็งตัวแล้วจะเป็นวัสดุที่แข็งมาก. (อ. concrete).
คอนกรีตเสริมเหล็ก เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง คอนกรีตที่ใช้เหล็กเส้นหรือตะแกรงเหล็กเสริมภายในเพื่อเพิ่มความแข็งแรง.คอนกรีตเสริมเหล็ก น. คอนกรีตที่ใช้เหล็กเส้นหรือตะแกรงเหล็กเสริมภายในเพื่อเพิ่มความแข็งแรง.
คอนกรีตอัดแรง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คอนกรีตเสริมเหล็กที่ใช้กรรมวิธีดึงเหล็กเส้นให้ยืดตัวเต็มที่ก่อนแล้วจึงหล่อคอนกรีตหุ้ม เพื่อให้รับนํ้าหนักได้ดียิ่งขึ้น.คอนกรีตอัดแรง น. คอนกรีตเสริมเหล็กที่ใช้กรรมวิธีดึงเหล็กเส้นให้ยืดตัวเต็มที่ก่อนแล้วจึงหล่อคอนกรีตหุ้ม เพื่อให้รับนํ้าหนักได้ดียิ่งขึ้น.
ค้อนกลอง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Capparis grandis L.f. ในวงศ์ Capparidaceae ลําต้นมีหนาม ผลกลมใหญ่ ผิวค่อนข้างขรุขระ สุกสีแดง.ค้อนกลอง น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Capparis grandis L.f. ในวงศ์ Capparidaceae ลําต้นมีหนาม ผลกลมใหญ่ ผิวค่อนข้างขรุขระ สุกสีแดง.
คอนเดนเซอร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้สําหรับเก็บประจุไฟฟ้าไว้ได้เป็นปริมาณมากกว่าแผ่นตัวนําธรรมดาที่มีขนาดเท่ากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ condenser เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็น-เอส-อี-อา. ในวงเล็บ ดู เครื่องควบแน่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-นอ-หนู ที่ เครื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู.คอนเดนเซอร์ (ไฟฟ้า) น. เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้าใช้สําหรับเก็บประจุไฟฟ้าไว้ได้เป็นปริมาณมากกว่าแผ่นตัวนําธรรมดาที่มีขนาดเท่ากัน. (อ. condenser). (ดู เครื่องควบแน่น ที่ เครื่อง).
ค้อนตีหมา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ancistrocladus tectorius Merr. ในวงศ์ Ancistrocladaceae, คันทรง ก็เรียก.ค้อนตีหมา น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ancistrocladus tectorius Merr. ในวงศ์ Ancistrocladaceae, คันทรง ก็เรียก.
ค้อนทอง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกร้องเสียงดังกุ๊ก ๆ. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.ค้อนทอง น. ชื่อนกร้องเสียงดังกุ๊ก ๆ. (พจน. ๒๔๙๓).
คอนแวนต์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สํานักชีในคริสต์ศาสนา, เรียกโรงเรียนซึ่งชีในสํานักนั้น ๆ ตั้งขึ้นและเป็นผู้ดําเนินการสอนว่า โรงเรียนคอนแวนต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส convent เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-วี-อี-เอ็น-ที.คอนแวนต์ น. สํานักชีในคริสต์ศาสนา, เรียกโรงเรียนซึ่งชีในสํานักนั้น ๆ ตั้งขึ้นและเป็นผู้ดําเนินการสอนว่า โรงเรียนคอนแวนต์. (ฝ. convent).
คอนเสิร์ต เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงดนตรีสากลแบบหนึ่ง ใช้เครื่องดนตรีวงใหญ่ อาจมีนักร้องด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ concert เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-ซี-อี-อา-ที.คอนเสิร์ต น. การแสดงดนตรีสากลแบบหนึ่ง ใช้เครื่องดนตรีวงใหญ่ อาจมีนักร้องด้วย. (อ. concert).
ค้อนหอย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยักดู ช้อนหอย เขียนว่า ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒.ค้อนหอย ดู ช้อนหอย ๒.
คอบ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ครอบ, รักษา, ครอบงํา, ครอบครอง, เช่น พระเม้านอระเนิ้งคอบ เรียมทุกข์ เทือนี้. ในวงเล็บ มาจาก โคลงหริภุญชัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๑.คอบ ๑ (โบ; กลอน) ก. ครอบ, รักษา, ครอบงํา, ครอบครอง, เช่น พระเม้านอระเนิ้งคอบ เรียมทุกข์ เทือนี้. (หริภุญชัย).
คอบ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คืน, กลับ, เช่น สุทธนูประภาฟอง พัดจาก จยรแฮ ยงงคอบคืนหว้ายได้ สู่สํสองสํฯ. (กำสรวล).คอบ ๒ (โบ; กลอน) ก. คืน, กลับ, เช่น สุทธนูประภาฟอง พัดจาก จยรแฮ ยงงคอบคืนหว้ายได้ สู่สํสองสํฯ. (กำสรวล).
คอม เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก ตะโกก หรือ ตะโหงก ก็เรียก.คอม น. ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, โกก ตะโกก หรือ ตะโหงก ก็เรียก.
ค่อม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เตี้ยผิดธรรมดาและหลังงอ เช่น คนค่อม, เรียกหลังที่งอมากว่า หลังค่อม; ที่มีพันธุ์เตี้ยกว่าธรรมดา (ใช้แก่สัตว์หรือต้นไม้) เช่น ช้างค่อม กล้วยหอมค่อม.ค่อม ๑ ว. เตี้ยผิดธรรมดาและหลังงอ เช่น คนค่อม, เรียกหลังที่งอมากว่า หลังค่อม; ที่มีพันธุ์เตี้ยกว่าธรรมดา (ใช้แก่สัตว์หรือต้นไม้) เช่น ช้างค่อม กล้วยหอมค่อม.
ค่อม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อด้วงปีกแข็งชนิด Hypomeces squamosus ในวงศ์ Curculionidae ลําตัวยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร หัวยื่นออกไปเป็นงวงสั้น ๆ ตัวและปีกสีเขียวเหลือบทอง, ค่อมทอง หรือ ทับเล็ก ก็เรียก.ค่อม ๒ น. ชื่อด้วงปีกแข็งชนิด Hypomeces squamosus ในวงศ์ Curculionidae ลําตัวยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร หัวยื่นออกไปเป็นงวงสั้น ๆ ตัวและปีกสีเขียวเหลือบทอง, ค่อมทอง หรือ ทับเล็ก ก็เรียก.
ค้อม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง น้อมลง, ก้มหลัง, โน้มลง เช่น ไม้ค้อมมีลูกน้อม นวยงาม. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.ค้อม ก. น้อมลง, ก้มหลัง, โน้มลง เช่น ไม้ค้อมมีลูกน้อม นวยงาม. (โลกนิติ).
ค่อมทอง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งูดู ค่อม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒.ค่อมทอง ดู ค่อม ๒.
คอมพิวเตอร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทําหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สําหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ computer เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-พี-ยู-ที-อี-อา.คอมพิวเตอร์ น. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทําหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สําหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์. (อ. computer).
คอมมานโด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ทหารหรือตํารวจในกลุ่มที่ได้คัดเลือกเป็นพิเศษ เพื่อฝึกการต่อสู้ประชิดตัว การโจมตีโฉบฉวย จู่โจม และยุทธวิธีข่มขวัญอื่น ๆ, หน่วยรบเฉพาะกิจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ commando เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-เอ-เอ็น-ดี-โอ.คอมมานโด น. ทหารหรือตํารวจในกลุ่มที่ได้คัดเลือกเป็นพิเศษ เพื่อฝึกการต่อสู้ประชิดตัว การโจมตีโฉบฉวย จู่โจม และยุทธวิธีข่มขวัญอื่น ๆ, หน่วยรบเฉพาะกิจ. (อ. commando).
คอมมิวนิสต์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับระบบคอมมิวนิสต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ communism เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-ยู-เอ็น-ไอ-เอส-เอ็ม communist เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-ยู-เอ็น-ไอ-เอส-ที .คอมมิวนิสต์ น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. ว. เกี่ยวกับระบบคอมมิวนิสต์. (อ. communism, communist).
คอย เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งรออยู่, รอ; เฝ้า, เฝ้าดู, เช่น คอยจับผิด.คอย ๑ ก. มุ่งรออยู่, รอ; เฝ้า, เฝ้าดู, เช่น คอยจับผิด.
คอยท่า เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง รอคอย.คอยท่า ก. รอคอย.
คอยที เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง รอโอกาส.คอยที ก. รอโอกาส.
คอย เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หอสูงสําหรับดูเหตุการณ์ เรียกว่า หอคอย.คอย ๒ น. หอสูงสําหรับดูเหตุการณ์ เรียกว่า หอคอย.
คอยเหตุ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำกริยา หมายถึง ระวังเหตุการณ์.คอยเหตุ ก. ระวังเหตุการณ์.
ค่อย , ค่อย ๆ ๑ ค่อย ความหมายที่ ๑ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ค่อย ๆ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า ไม่ดัง, เบา, เช่น เสียงค่อย พูดค่อยเดินค่อย ๆ อย่าลงส้น; ไม่แรง, เบามือ, เช่น นวดค่อย ๆ จับค่อย ๆ.ค่อย ๑, ค่อย ๆ ๑ ว. ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า ไม่ดัง, เบา, เช่น เสียงค่อย พูดค่อยเดินค่อย ๆ อย่าลงส้น; ไม่แรง, เบามือ, เช่น นวดค่อย ๆ จับค่อย ๆ.
ค่อย , ค่อย ๆ ๒ ค่อย ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ค่อย ๆ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้นําหน้ากริยาหมายความว่า ไม่รีบร้อน, อย่างระมัดระวัง, ช้า ๆ, เช่น ค่อยคิดค่อยทำ ค่อย ๆ เดิน.ค่อย ๒, ค่อย ๆ ๒ ว. ใช้นําหน้ากริยาหมายความว่า ไม่รีบร้อน, อย่างระมัดระวัง, ช้า ๆ, เช่น ค่อยคิดค่อยทำ ค่อย ๆ เดิน.
ค่อย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คํานําหน้าความข้างท้ายให้ติดต่อกับความข้างหน้า แสดงกิริยาที่กระทําภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วค่อยไป, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ค่อย หมายความว่า น้อย, บ้าง, (ตามส่วนของสิ่งที่พูดถึง) เช่น ไม่ค่อยมี ไม่ค่อยพูด, ไม่ใคร่ ก็ว่า.ค่อย ๓ ว. คํานําหน้าความข้างท้ายให้ติดต่อกับความข้างหน้า แสดงกิริยาที่กระทําภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วค่อยไป, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ค่อย หมายความว่า น้อย, บ้าง, (ตามส่วนของสิ่งที่พูดถึง) เช่น ไม่ค่อยมี ไม่ค่อยพูด, ไม่ใคร่ ก็ว่า.
ค่อยดีขึ้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เริ่มดีขึ้นเล็กน้อย.ค่อยดีขึ้น ว. เริ่มดีขึ้นเล็กน้อย.
ค่อยเป็นค่อยไป เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดําเนินไปช้า ๆ.ค่อยเป็นค่อยไป ว. ดําเนินไปช้า ๆ.
ค่อยยังชั่ว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดีขึ้น, ทุเลาขึ้น.ค่อยยังชั่ว ว. ดีขึ้น, ทุเลาขึ้น.
ค้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คล้อย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบา; เนือง, บ่อย.ค้อย (กลอน) ก. คล้อย. ว. เบา; เนือง, บ่อย.
ค้อยค้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เช่น เจ้าแม่แต่จงกรมค้อยค้อย ด้วยบราทุกราพร้อยพราย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ค้อยค้อย (กลอน) ว. เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เช่น เจ้าแม่แต่จงกรมค้อยค้อย ด้วยบราทุกราพร้อยพราย. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
คอยล์ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งใช้ประกอบกับเครื่องยนต์ของรถยนต์ ทําหน้าที่แปลงไฟฟ้าแรงตํ่าจากแบตเตอรี่ให้เป็นไฟฟ้าแรงสูง เพื่อก่อให้เกิดประกายไฟฟ้าที่เขี้ยวหัวเทียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ignition เขียนว่า ไอ-จี-เอ็น-ไอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น coil เขียนว่า ซี-โอ-ไอ-แอล .คอยล์ น. อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งใช้ประกอบกับเครื่องยนต์ของรถยนต์ ทําหน้าที่แปลงไฟฟ้าแรงตํ่าจากแบตเตอรี่ให้เป็นไฟฟ้าแรงสูง เพื่อก่อให้เกิดประกายไฟฟ้าที่เขี้ยวหัวเทียน. (อ. ignition coil).
คอร์ด เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่เชื่อมจุด ๒ จุด บนเส้นโค้งใด ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chord เขียนว่า ซี-เอช-โอ-อา-ดี.คอร์ด (คณิต) น. เส้นตรงที่เชื่อมจุด ๒ จุด บนเส้นโค้งใด ๆ. (อ. chord).
คอแลน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Nephelium hypoleucum Kurz ในวงศ์ Sapindaceae ผลมีสีและรสคล้ายลิ้นจี่ แต่เล็กกว่า.คอแลน น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Nephelium hypoleucum Kurz ในวงศ์ Sapindaceae ผลมีสีและรสคล้ายลิ้นจี่ แต่เล็กกว่า.
คอสติกโซดา เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง โซดาแผดเผา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ caustic เขียนว่า ซี-เอ-ยู-เอส-ที-ไอ-ซี soda เขียนว่า เอส-โอ-ดี-เอ .คอสติกโซดา น. โซดาแผดเผา. (อ. caustic soda).
คอแห้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่คอไม่ชุ่มจนผากด้วยอยากดื่มน้ำเพราะต้องออกเสียงมากหรือเพราะกระหายน้ำเนื่องจากเดินหรือวิ่งมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน.คอแห้ง ๑ ว. อาการที่คอไม่ชุ่มจนผากด้วยอยากดื่มน้ำเพราะต้องออกเสียงมากหรือเพราะกระหายน้ำเนื่องจากเดินหรือวิ่งมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน.
คอแห้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ดู เฉียงพร้านางแอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง.คอแห้ง ๒ ดู เฉียงพร้านางแอ.
คออ่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน คอ เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง.คออ่อน ๑ ดูใน คอ.
คออ่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูทะเลมีพิษชนิด Enhydrina schistosa ในวงศ์ Hydrophiidae ตัวยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร สีเขียวอมเทา มีลายจาง ๆ อาศัยในทะเลโคลน.คออ่อน ๒ น. ชื่องูทะเลมีพิษชนิด Enhydrina schistosa ในวงศ์ Hydrophiidae ตัวยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร สีเขียวอมเทา มีลายจาง ๆ อาศัยในทะเลโคลน.
คะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ.คะ ๑ คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ.
คะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำถามหรือคำแสดงความสงสัยเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น อะไรคะ กระมังคะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำ ซิ นะ เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ ไปนะคะ.คะ ๒ ว. คําลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำถามหรือคำแสดงความสงสัยเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น อะไรคะ กระมังคะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำ ซิ นะ เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ ไปนะคะ.
ค่ะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คํารับที่ผู้หญิงใช้อย่างเดียวกับ จ้ะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ในการบอกให้ทราบอย่างสุภาพ เช่น ไปค่ะ ไม่ไปค่ะ.ค่ะ ว. คํารับที่ผู้หญิงใช้อย่างเดียวกับ จ้ะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ในการบอกให้ทราบอย่างสุภาพ เช่น ไปค่ะ ไม่ไปค่ะ.
คะไขว่ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-เอก[–ไขฺว่] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขวักไขว่, สับสน, โบราณเขียนเป็น คไขว่ ก็มี เช่น ขว้างหอกซรัดคไขว่ ไล่คคลุกบุกบัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.คะไขว่ [–ไขฺว่] (กลอน) ว. ขวักไขว่, สับสน, โบราณเขียนเป็น คไขว่ ก็มี เช่น ขว้างหอกซรัดคไขว่ ไล่คคลุกบุกบัน. (ตะเลงพ่าย).
คะค้อย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เดินไม่ขาดตอน, โบราณเขียนเป็น คค้อย ก็มี เช่น คค้อยไปซุ่มซ่อน ดูศึกผ่อนพลเดอร. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.คะค้อย (กลอน) ก. เดินไม่ขาดตอน, โบราณเขียนเป็น คค้อย ก็มี เช่น คค้อยไปซุ่มซ่อน ดูศึกผ่อนพลเดอร. (ตะเลงพ่าย).
คะคาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ค้านกัน, ยังตกลงกันไม่ได้, เช่น จะเอาชนะคะคานอะไรกัน.คะคาน ก. ค้านกัน, ยังตกลงกันไม่ได้, เช่น จะเอาชนะคะคานอะไรกัน.
คะคึง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดังสนั่น.คะคึง (กลอน) ว. ดังสนั่น.
คะนน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีขีดเป็นรอยโดยรอบ สำหรับใส่น้ำ น้ำตาลโตนด เป็นต้น ว่า หม้อคะนน, หม้อทะนน ก็ว่า.คะนน (ปาก) น. เรียกหม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีขีดเป็นรอยโดยรอบ สำหรับใส่น้ำ น้ำตาลโตนด เป็นต้น ว่า หม้อคะนน, หม้อทะนน ก็ว่า.
คะนอง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการร่าเริง, คึก, ลําพอง; พูดหรือทําเกินขอบเขต เช่น คะนองปาก คะนองมือ; เรียกอาการของฟ้าที่มีเสียงลั่นเปรี้ยง ๆ ว่า ฟ้าคะนอง.คะนอง ก. แสดงอาการร่าเริง, คึก, ลําพอง; พูดหรือทําเกินขอบเขต เช่น คะนองปาก คะนองมือ; เรียกอาการของฟ้าที่มีเสียงลั่นเปรี้ยง ๆ ว่า ฟ้าคะนอง.
คะน้า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. var. alboglabra (Bailey) Sun ในวงศ์ Cruciferae ใช้เป็นผัก, คาน้า ก็เรียก.คะน้า น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Brassica oleracea L. var. alboglabra (Bailey) Sun ในวงศ์ Cruciferae ใช้เป็นผัก, คาน้า ก็เรียก.
คะนึง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทบทวน, นึกตรอง, คํานึง ก็ว่า.คะนึง ก. คิดทบทวน, นึกตรอง, คํานึง ก็ว่า.
คะเน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กะ, คํานวณเอาอย่างหยาบ ๆ, เช่น คะเนให้พอดี.คะเน ก. กะ, คํานวณเอาอย่างหยาบ ๆ, เช่น คะเนให้พอดี.
คะเนงร้าย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักใช้เข้าคู่กับคํา ข่มเหง เป็น ข่มเหงคะเนงร้าย.คะเนงร้าย ใช้เข้าคู่กับคํา ข่มเหง เป็น ข่มเหงคะเนงร้าย.
คะแนน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้กําหนดค่าในการสอบหรือแข่งขันเป็นต้น.คะแนน น. เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้กําหนดค่าในการสอบหรือแข่งขันเป็นต้น.
คะแนนนิยม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ความนิยมที่แสดงออกว่ามีมากน้อยเพียงใด.คะแนนนิยม น. ความนิยมที่แสดงออกว่ามีมากน้อยเพียงใด.
คะแนนเสียง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คะแนนที่ลงในการออกเสียง.คะแนนเสียง น. คะแนนที่ลงในการออกเสียง.
คะใน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำบุรพบท หมายถึง ข้างใน, ในกลอนเขียนเป็น คใน เช่น ปางพระไปนอน คในพนานต์ พระเอาภูบาล ไปสมกัลยา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.คะใน (โบ) บ. ข้างใน, ในกลอนเขียนเป็น คใน เช่น ปางพระไปนอน คในพนานต์ พระเอาภูบาล ไปสมกัลยา. (สมุทรโฆษ).
คะมำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ล้มควํ่า, อาการที่หัวพุ่งไปเพราะสะดุด.คะมำ ก. ล้มควํ่า, อาการที่หัวพุ่งไปเพราะสะดุด.
คะมึก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งแรง, ลํ่าสัน.คะมึก ว. แข็งแรง, ลํ่าสัน.
คะยั้นคะยอ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ชักชวนให้ตกลงใจด้วยการรบเร้า.คะยั้นคะยอ ก. ชักชวนให้ตกลงใจด้วยการรบเร้า.
คะเยอ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่คันทําให้ต้องเการํ่าไป เรียกว่า เกาคะเยอ คันคะเยอ.คะเยอ ว. อาการที่คันทําให้ต้องเการํ่าไป เรียกว่า เกาคะเยอ คันคะเยอ.
คัก, คั่ก, คั่ก ๆ คัก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ คั่ก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ คั่ก ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเสียงฝนตกหนัก; เสียงหัวเราะ.คัก, คั่ก, คั่ก ๆ ว. เสียงดังอย่างเสียงฝนตกหนัก; เสียงหัวเราะ.
คัคน–, คัคนะ คัคน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู คัคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [คักคะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู.คัคน–, คัคนะ [คักคะนะ] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน).
คัคนัมพร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[คักคะนําพอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + อมฺพร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-รอ-เรือ = ฟ้าฟ้า .คัคนัมพร [คักคะนําพอน] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อมฺพร = ฟ้าฟ้า).
คัคนางค์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[คักคะนาง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย = ส่วนแห่งฟ้า .คัคนางค์ [คักคะนาง] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + องฺค = ส่วนแห่งฟ้า).
คัคนานต์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[คักคะนาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + อนฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า = สุดฟ้า .คัคนานต์ [คักคะนาน] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อนฺต = สุดฟ้า).
คัคนัมพร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือดู คัคน–, คัคนะ คัคน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู คัคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .คัคนัมพร ดู คัคน–, คัคนะ.
คัคนางค์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู คัคน–, คัคนะ คัคน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู คัคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .คัคนางค์ ดู คัคน–, คัคนะ.
คัคนานต์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาดดู คัคน–, คัคนะ คัคน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู คัคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ .คัคนานต์ ดู คัคน–, คัคนะ.
คั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ออกัน, ประดังกัน.คั่ง ก. ออกัน, ประดังกัน.
คั่งค้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ติดค้างทับถมอยู่, ตกค้างทับถมอยู่, เช่น งานคั่งค้าง.คั่งค้าง ก. ติดค้างทับถมอยู่, ตกค้างทับถมอยู่, เช่น งานคั่งค้าง.
คั่งแค้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธอัดอั้นอยู่ในใจ.คั่งแค้น ก. โกรธอัดอั้นอยู่ในใจ.
คังไคย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คังไคยหัตถี กายสีเหมือนสีนํ้าไหล, คงไคย ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู กาฬาวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่.(ป. คงฺเคยฺย; เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คางฺเคย).คังไคย น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คังไคยหัตถี กายสีเหมือนสีนํ้าไหล, คงไคย ก็ว่า. (ดู กาฬาวก).(ป. คงฺเคยฺย; ส. คางฺเคย).
คัจฉะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อะ[คัดฉะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กอ เช่น คัจฉลดาชาติ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือมหาชาติ พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๔ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คัจฉะ [คัดฉะ] (แบบ) น. ไม้กอ เช่น คัจฉลดาชาติ. (ม. ร. ๔). (ป.).
คัณฑมาลา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[คันทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่งที่ขึ้นเป็นแถวตามคอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .คัณฑมาลา [คันทะ–] น. ชื่อฝีชนิดหนึ่งที่ขึ้นเป็นแถวตามคอ. (ส.).
คัณฑสูตร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[คันทะสูด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีชนิดหนึ่ง มักเป็นที่บริเวณขอบทวารหนัก.คัณฑสูตร [คันทะสูด] น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง มักเป็นที่บริเวณขอบทวารหนัก.
คัด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เลือก, แยกสิ่งที่รวมกันอยู่, เช่น คัดออก คัดเอาไว้, งัดให้เผยอหรือเคลื่อนที่ เช่น คัดไม้ซุง, ใช้พายหรือแจวงัดนํ้าออกจากตัว, ตรงข้ามกับ วาดเรือ; ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด. (อะหม คัด ว่า แยก, ทําให้แยก).คัด ๑ ก. เลือก, แยกสิ่งที่รวมกันอยู่, เช่น คัดออก คัดเอาไว้, งัดให้เผยอหรือเคลื่อนที่ เช่น คัดไม้ซุง, ใช้พายหรือแจวงัดนํ้าออกจากตัว, ตรงข้ามกับ วาดเรือ; ลอกข้อความหรือลวดลายออกมาจากต้นฉบับ เช่น เอาหนังสือนี้ไปคัด. (อะหม คัด ว่า แยก, ทําให้แยก).
คัดคลองเลื่อย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ดัดฟันเลื่อยให้เบนออกจากแนว โดยดัดฟันหนึ่งเว้นฟันหนึ่งจนตลอดทั้งตัวเลื่อยแล้วจึงดัดฟันที่เว้นไว้ให้เบนออกทางด้านตรงข้ามกับฟันที่ได้ดัดไว้แล้ว.คัดคลองเลื่อย ก. ดัดฟันเลื่อยให้เบนออกจากแนว โดยดัดฟันหนึ่งเว้นฟันหนึ่งจนตลอดทั้งตัวเลื่อยแล้วจึงดัดฟันที่เว้นไว้ให้เบนออกทางด้านตรงข้ามกับฟันที่ได้ดัดไว้แล้ว.
คัดค้าน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการไม่เห็นด้วย.คัดค้าน ก. แสดงอาการไม่เห็นด้วย.
คัดง้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ขัดแย้ง, ไม่ลงรอยกัน.คัดง้าง ก. ขัดแย้ง, ไม่ลงรอยกัน.
คัดฉาก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ถือท้ายเรือ.คัดฉาก ก. ถือท้ายเรือ.
คัดชุน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือคัดคลองเลื่อย.คัดชุน น. เครื่องมือคัดคลองเลื่อย.
คัดท้าย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง คอยคุมให้ไปตรงตามที่ต้องการ, โดยปริยายหมายความว่า อยู่ตําแหน่งสุดท้ายหรือเกือบสุดท้าย.คัดท้าย ก. คอยคุมให้ไปตรงตามที่ต้องการ, โดยปริยายหมายความว่า อยู่ตําแหน่งสุดท้ายหรือเกือบสุดท้าย.
คัดไทย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง.คัดไทย น. วิชาคัดภาษาไทยตามที่ครูสั่ง.
คัดลายมือ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ลอกข้อความออกมาเขียนด้วยตัวบรรจง.คัดลายมือ ก. ลอกข้อความออกมาเขียนด้วยตัวบรรจง.
คัดเลือก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เลือกเอาที่ต้องการไว้, คัดเอาที่ไม่ต้องการออก.คัดเลือก ก. เลือกเอาที่ต้องการไว้, คัดเอาที่ไม่ต้องการออก.
คัดสำเนา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ.คัดสำเนา ก. ลอกข้อความเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ.
คัด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่นหรือตึง เช่น จมูกคัด นมคัด.คัด ๒ ว. แน่นหรือตึง เช่น จมูกคัด นมคัด.
คัดเลือด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เลือดหยุด.คัดเลือด ก. ทําให้เลือดหยุด.
คัด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนด้วยตัวบรรจง เช่น เขียนเร็ว ๆ อย่ามัวแต่คัด.คัด ๓ ก. เขียนด้วยตัวบรรจง เช่น เขียนเร็ว ๆ อย่ามัวแต่คัด.
คัดเส้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนให้ชัดเจนบนเส้นที่ร่างไว้.คัดเส้น ก. เขียนให้ชัดเจนบนเส้นที่ร่างไว้.
คัดเค้า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Oxyceros horridus Lour. ในวงศ์ Rubiaceae มีหนามโค้งแหลม ดอกสีขาว ๆ เหลือง ๆ กลิ่นหอม, คัดเค้าเครือ ก็เรียก.คัดเค้า น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Oxyceros horridus Lour. ในวงศ์ Rubiaceae มีหนามโค้งแหลม ดอกสีขาว ๆ เหลือง ๆ กลิ่นหอม, คัดเค้าเครือ ก็เรียก.
คัดช้อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ใหญ่กว่าสวิง ถักเป็นร่างแห ขอบเป็นรูปสามเหลี่ยม มีด้ามจับ.คัดช้อน น. เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ใหญ่กว่าสวิง ถักเป็นร่างแห ขอบเป็นรูปสามเหลี่ยม มีด้ามจับ.
คัดมอน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนูดู หญ้าขัด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก.คัดมอน ดู หญ้าขัด.
คัดเม็ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งูดู กะเม็ง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู.คัดเม็ง ดู กะเม็ง.
คัทลียา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้หลายชนิดในสกุล Cattleya วงศ์ Orchidaceae ดอกงดงามมาก จนได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งกล้วยไม้”.คัทลียา น. ชื่อกล้วยไม้หลายชนิดในสกุล Cattleya วงศ์ Orchidaceae ดอกงดงามมาก จนได้ชื่อว่าเป็น “ราชินีแห่งกล้วยไม้”.
คัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แนวดินหรือแนวทรายเป็นต้นที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น คันทราย, แนวดินที่พูนขึ้นมาสําหรับกั้นนํ้า เช่น คันนา คันดิน; สิ่งที่มีลักษณะยาวทําด้วยไม้เป็นต้น สําหรับถือหรือปัก เช่น คันเบ็ด คันไถ คันธง; ลักษณนามเรียกรถหรือของที่มีด้ามถือบางอย่าง เช่น รถ ๓ คัน ช้อน ๔ คัน เบ็ด ๕ คัน.คัน ๑ น. แนวดินหรือแนวทรายเป็นต้นที่พูนสูงขึ้นเป็นแนวยาว เช่น คันทราย, แนวดินที่พูนขึ้นมาสําหรับกั้นนํ้า เช่น คันนา คันดิน; สิ่งที่มีลักษณะยาวทําด้วยไม้เป็นต้น สําหรับถือหรือปัก เช่น คันเบ็ด คันไถ คันธง; ลักษณนามเรียกรถหรือของที่มีด้ามถือบางอย่าง เช่น รถ ๓ คัน ช้อน ๔ คัน เบ็ด ๕ คัน.
คันจาม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ลำยาวสำหรับติดเชือกบาศ ใช้ถือในเวลาคล้องช้างเรียกว่า ไม้คันจาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฎงกฺจาม เขียนว่า ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู-กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.คันจาม น. ไม้ลำยาวสำหรับติดเชือกบาศ ใช้ถือในเวลาคล้องช้างเรียกว่า ไม้คันจาม. (ข. ฎงกฺจาม).
คันฉ่อง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้ทำด้วยโลหะ ขัดจนเป็นเงา มีด้าม ใช้สำหรับส่องหน้า; ปัจจุบันเรียกกระจกเงามีกรอบ ๒ ชั้น สําหรับเอนเข้าออกได้ ตั้งบนโต๊ะเครื่องแป้ง.คันฉ่อง น. เครื่องใช้ทำด้วยโลหะ ขัดจนเป็นเงา มีด้าม ใช้สำหรับส่องหน้า; ปัจจุบันเรียกกระจกเงามีกรอบ ๒ ชั้น สําหรับเอนเข้าออกได้ ตั้งบนโต๊ะเครื่องแป้ง.
คันฉัตร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์วิศาขา มี ๕ ดวง, ดาวศีรษะกระบือ หรือ ดาววิสาขะ ก็เรียก.คันฉัตร น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์วิศาขา มี ๕ ดวง, ดาวศีรษะกระบือ หรือ ดาววิสาขะ ก็เรียก.
คันชัก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนประกอบของคันไถสําหรับเทียมวัวหรือควาย, ที่สําหรับโยงเชือกชัก; ไม้สีซอ.คันชัก น. ส่วนประกอบของคันไถสําหรับเทียมวัวหรือควาย, ที่สําหรับโยงเชือกชัก; ไม้สีซอ.
คันชั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องชั่งที่มีคันบอกจํานวนนํ้าหนักที่ชั่ง.คันชั่ง น. เครื่องชั่งที่มีคันบอกจํานวนนํ้าหนักที่ชั่ง.
คันชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เข็มขัดของทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์มีกระเป๋าใส่ลูกปืน, ถุงเยียรบับห้อยจากผ้าปกหลัง ๒ ข้างของช้าง สำหรับใส่อาหาร ของกิน และอาวุธเป็นต้น, ถุงหนังห้อย ๒ ข้างคอม้า สำหรับใส่ข้าวของกินเป็นต้น.คันชีพ ๑ น. เข็มขัดของทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์มีกระเป๋าใส่ลูกปืน, ถุงเยียรบับห้อยจากผ้าปกหลัง ๒ ข้างของช้าง สำหรับใส่อาหาร ของกิน และอาวุธเป็นต้น, ถุงหนังห้อย ๒ ข้างคอม้า สำหรับใส่ข้าวของกินเป็นต้น.
คันชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จงกลเทียนหลายกิ่ง สำหรับพราหมณ์ถือแกว่งในมือขวา มือซ้ายแกว่งบัณเฑาะว์.คันชีพ ๒ น. จงกลเทียนหลายกิ่ง สำหรับพราหมณ์ถือแกว่งในมือขวา มือซ้ายแกว่งบัณเฑาะว์.
คันดาลฉัตร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง คันฉัตรที่มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างลูกดาล เพื่อปักให้ฉัตรอยู่ตรงเศียรพระพุทธรูปเป็นต้น.คันดาลฉัตร น. คันฉัตรที่มีรูปเป็นมุมฉาก ๒ ทบอย่างลูกดาล เพื่อปักให้ฉัตรอยู่ตรงเศียรพระพุทธรูปเป็นต้น.
คันไถ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือทำไร่ทำนาชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันชัก หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้น ลากไปเพื่อกลับดิน, ไถ ก็ว่า.คันไถ น. เครื่องมือทำไร่ทำนาชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันชัก หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้น ลากไปเพื่อกลับดิน, ไถ ก็ว่า.
คันทวย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทำเป็นรูปนาค, ทวย ก็เรียก.คันทวย น. ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทำเป็นรูปนาค, ทวย ก็เรียก.
คันนา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่พูนขึ้นเป็นคันตามท้องนาสำหรับขังน้ำไว้, ลูกคัน หรือ หัวคันนา ก็เรียก.คันนา น. ดินที่พูนขึ้นเป็นคันตามท้องนาสำหรับขังน้ำไว้, ลูกคัน หรือ หัวคันนา ก็เรียก.
คันบวย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้ยึดช่อฟ้าต่อกับสันอกไก่.คันบวย น. ตัวไม้ยึดช่อฟ้าต่อกับสันอกไก่.
คันโพง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับตักนํ้าหรือโพงนํ้า มีคันยาว ที่ปลายมีเชือกผูกโพงเพื่อช่วยผ่อนแรง; คันไม้ยาวใช้ผูกโพงสำหรับตักน้ำหรือโพงน้ำ.คันโพง น. เครื่องสําหรับตักนํ้าหรือโพงนํ้า มีคันยาว ที่ปลายมีเชือกผูกโพงเพื่อช่วยผ่อนแรง; คันไม้ยาวใช้ผูกโพงสำหรับตักน้ำหรือโพงน้ำ.
คันเร่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเครื่องยนต์ที่ใช้ควบคุมความเร็วของเครื่องยนต์.คันเร่ง น. ส่วนของเครื่องยนต์ที่ใช้ควบคุมความเร็วของเครื่องยนต์.
คัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกให้อยากเกา, อาการที่มือหรือปากอยู่ไม่สุข คือ อยากทําหรือพูดในสิ่งที่ไม่ควร เรียกว่า มือคัน ปากคัน, อาการที่ให้รู้สึกอยากด่าอยากตีเป็นต้น เรียกว่า คันปาก คันมือ คันเท้า.คัน ๒ ก. อาการที่รู้สึกให้อยากเกา, อาการที่มือหรือปากอยู่ไม่สุข คือ อยากทําหรือพูดในสิ่งที่ไม่ควร เรียกว่า มือคัน ปากคัน, อาการที่ให้รู้สึกอยากด่าอยากตีเป็นต้น เรียกว่า คันปาก คันมือ คันเท้า.
คัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Amesiodendron chinense (Merr.) Hu ในวงศ์ Sapindaceae ขึ้นตามชายนํ้า สูงประมาณ ๑๐ เมตร, ขัน ก็เรียก.คัน ๓ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Amesiodendron chinense (Merr.) Hu ในวงศ์ Sapindaceae ขึ้นตามชายนํ้า สูงประมาณ ๑๐ เมตร, ขัน ก็เรียก.
คั่น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แทรกหรือกั้นอยู่ในระหว่าง.คั่น ก. แทรกหรือกั้นอยู่ในระหว่าง.
คั้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง บีบขยําโดยแรงเพื่อให้ของเหลวที่มีอยู่ออกมา เช่น คั้นกะทิ คั้นส้ม.คั้น ก. บีบขยําโดยแรงเพื่อให้ของเหลวที่มีอยู่ออกมา เช่น คั้นกะทิ คั้นส้ม.
คันขา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง คานขา.คันขา ก. คานขา.
คันฉาย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องส่องหน้า, กระจกเงา.คันฉาย ๑ น. เครื่องส่องหน้า, กระจกเงา.
คันฉาย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย ดอง ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ฉาย เขียนว่า ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ว่า สง .คันฉาย ๒ น. ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว, กระดองหาย ขอฉาย ดอง ดองฉาย หรือ ดองหาย ก็เรียก. (ข. ฉาย ว่า สง).
คันโดง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระโดง, ใช้หมายถึง เสากระโดง เช่น กุมกรวรนุชพงาภาองค์ยุพา มาขึ้นคันโดงคอยดู. ในวงเล็บ มาจาก สูตรธนูคำฉันท์ จากวชิรญาณรายเดือน ปีที่ ๒๐ ตอนที่ ๗๔ และ ๗๕.คันโดง น. กระโดง, ใช้หมายถึง เสากระโดง เช่น กุมกรวรนุชพงาภาองค์ยุพา มาขึ้นคันโดงคอยดู. (สุธน).
คันถ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง[คันถะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คัมภีร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คฺรนฺถ เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ถอ-ถุง.คันถ– [คันถะ–] น. คัมภีร์. (ป.; ส. คฺรนฺถ).
คันถธุระ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คฺรนฺถ เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + ธุร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ .คันถธุระ น. การเรียนคัมภีร์ปริยัติ, คู่กับ วิปัสสนาธุระ การเรียนวิปัสสนา. (ป.; ส. คฺรนฺถ + ธุร).
คันถรจนาจารย์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[–รดจะนาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คนฺถ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + ป. เขียนว่า ปอ-ปลา-จุด ภาษาสันสกฤต รจน เขียนว่า รอ-เรือ-จอ-จาน-นอ-หนู + ภาษาสันสกฤต อาจารฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก .คันถรจนาจารย์ [–รดจะนาจาน] น. อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์. (ป. คนฺถ + ป., ส. รจน + ส. อาจารฺย).
คันทรง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Colubrina asiatica (L.) Brongn. ในวงศ์ Rhamnaceae ดอกสีเหลือง ยอดอ่อนกินได้ ใช้ทํายาได้. (๒) ดู ค้อนตีหมา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา.คันทรง น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Colubrina asiatica (L.) Brongn. ในวงศ์ Rhamnaceae ดอกสีเหลือง ยอดอ่อนกินได้ ใช้ทํายาได้. (๒) ดู ค้อนตีหมา.
คันธ–, คันธะ คันธ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง คันธะ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อะ [คันทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่น, กลิ่นหอม, เมื่อใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า หอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คันธหัตถี กายสีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม. ในวงเล็บ ดู กาฬาวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่.คันธ–, คันธะ [คันทะ–] (แบบ) น. กลิ่น, กลิ่นหอม, เมื่อใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า หอม. (ป., ส.); ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล เรียกว่า คันธหัตถี กายสีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม. (ดู กาฬาวก).
คันธกุฎี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระคันธกุฎี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คันธกุฎี น. ชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระคันธกุฎี. (ป.).
คันธมาทน์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มีกลิ่นหอมทำให้สัตว์มัวเมา. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขา เรียกว่า ภูเขาคันธมาทน์ คือ ภูเขาผาหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คันธมาทน์ ว. ที่มีกลิ่นหอมทำให้สัตว์มัวเมา. น. ชื่อภูเขา เรียกว่า ภูเขาคันธมาทน์ คือ ภูเขาผาหอม. (ป., ส.).
คันธรรพเวท, คานธรรพเวท คันธรรพเวท เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน คานธรรพเวท เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน [คันทันพะเวด, คันทับพะเวด, คานทันพะเวด, คานทับพะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาการดนตรี เป็นสาขาหนึ่งของสามเวท. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คนฺธรฺวเวท เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน.คันธรรพเวท, คานธรรพเวท [คันทันพะเวด, คันทับพะเวด, คานทันพะเวด, คานทับพะเวด] น. วิชาการดนตรี เป็นสาขาหนึ่งของสามเวท. (ส. คนฺธรฺวเวท).
คันธารราษฎร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[–ทาระราด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแคว้นโบราณ อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย; ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง สําหรับตั้งในพิธีขอฝนและแรกนาเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คนฺธาร เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ = ชื่อแคว้น + ภาษาสันสกฤต ราษฺฏฺร เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-รอ-เรือ = รัฐ, แคว้น .คันธารราษฎร์ [–ทาระราด] น. ชื่อแคว้นโบราณ อยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย; ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง สําหรับตั้งในพิธีขอฝนและแรกนาเป็นต้น. (ป., ส. คนฺธาร = ชื่อแคว้น + ส. ราษฺฏฺร = รัฐ, แคว้น).
คันหามเสือ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็ก ๒ ชนิดในวงศ์ Araliaceae คือ ชนิด Trevesia valida Craib ขึ้นตามหินใกล้ลําธารในป่า ลําต้นมีหนามห่าง ๆ และชนิด Aralia montana Blume ลําต้นและใบมีหนาม ใบเป็นใบประกอบ ยาวประมาณ ๑ เมตร.คันหามเสือ น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็ก ๒ ชนิดในวงศ์ Araliaceae คือ ชนิด Trevesia valida Craib ขึ้นตามหินใกล้ลําธารในป่า ลําต้นมีหนามห่าง ๆ และชนิด Aralia montana Blume ลําต้นและใบมีหนาม ใบเป็นใบประกอบ ยาวประมาณ ๑ เมตร.
คับ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีขนาดไม่พอดีกัน ทําให้แน่น ตึง หรือ ฝืด สวมหรือใส่ได้โดยยาก เช่น เสื้อคับ หมวกคับ แหวนคับ, ตรงข้ามกับ หลวม. เป็นคำกริยา หมายถึง มีลักษณะหรือปริมาณเกินพอดี เช่น จระเข้คับคลอง ลิ้นคับปาก ฝูงคนคับถนน เสียงคับบ้าน ข้าวคับหม้อ.คับ ว. มีขนาดไม่พอดีกัน ทําให้แน่น ตึง หรือ ฝืด สวมหรือใส่ได้โดยยาก เช่น เสื้อคับ หมวกคับ แหวนคับ, ตรงข้ามกับ หลวม. ก. มีลักษณะหรือปริมาณเกินพอดี เช่น จระเข้คับคลอง ลิ้นคับปาก ฝูงคนคับถนน เสียงคับบ้าน ข้าวคับหม้อ.
คับขัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จําเป็นเฉพาะหน้าที่จะต้องทําหรือต้องสู้ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้, เข้าที่ลําบากหรือจําเป็น, ขับขัน ก็ว่า.คับขัน ว. จําเป็นเฉพาะหน้าที่จะต้องทําหรือต้องสู้ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้, เข้าที่ลําบากหรือจําเป็น, ขับขัน ก็ว่า.
คับคั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อัดแอ, ยัดเยียด, เบียดเสียดกัน.คับคั่ง ก. อัดแอ, ยัดเยียด, เบียดเสียดกัน.
คับแค้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลําบาก, ยากไร้, ฝืดเคือง, ลําบากเพราะถูกบีบคั้นทางใจหรือความเป็นอยู่.คับแค้น ว. ลําบาก, ยากไร้, ฝืดเคือง, ลําบากเพราะถูกบีบคั้นทางใจหรือความเป็นอยู่.
คับแคบ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่กว้างขวางพอ เช่น บ้านคับแคบ, ไม่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เช่น ใจคอคับแคบ.คับแคบ ว. ไม่กว้างขวางพอ เช่น บ้านคับแคบ, ไม่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เช่น ใจคอคับแคบ.
คับแคบแอบใจ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึดอัดใจเต็มทน.คับแคบแอบใจ ว. อึดอัดใจเต็มทน.
คับใจ, คับอกคับใจ คับใจ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน คับอกคับใจ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง อึดอัดใจ, รู้สึกอัดอั้นตันใจ, รู้สึกคับแค้นอยู่ในอกในใจ.คับใจ, คับอกคับใจ ก. อึดอัดใจ, รู้สึกอัดอั้นตันใจ, รู้สึกคับแค้นอยู่ในอกในใจ.
คับที่อยู่ได้ คับใจอยู่ยาก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่แม้จะคับแคบก็อยู่ได้ถ้าสบายใจ แต่ถ้าอึดอัดใจ ที่อยู่จะกว้างขวางใหญ่โตอย่างไรก็อยู่ไม่ได้.คับที่อยู่ได้ คับใจอยู่ยาก (สำ) น. ที่อยู่แม้จะคับแคบก็อยู่ได้ถ้าสบายใจ แต่ถ้าอึดอัดใจ ที่อยู่จะกว้างขวางใหญ่โตอย่างไรก็อยู่ไม่ได้.
คับค้อน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนูใช้เข้าคู่กับคํา สํารับ เป็น สํารับคับค้อน.คับค้อน ใช้เข้าคู่กับคํา สํารับ เป็น สํารับคับค้อน.
คับคา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, ปัจจุบันเรียก จาบคาหัวเขียว. ในวงเล็บ ดู จาบคา เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา.คับคา น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน. (ตะเลงพ่าย), ปัจจุบันเรียก จาบคาหัวเขียว. (ดู จาบคา).
คับแค เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Nettapus coromandelianus ในวงศ์ Anatidae เป็นนกเป็ดนํ้าที่เล็กที่สุดในประเทศไทย รูปร่างเล็ก อ้วนป้อม ปากสั้น ตัวผู้ปีกสีเขียวเข้มเป็นมัน หน้า คอ และท้องสีขาว ที่คอมีวงสีดํา ตัวเมียปีกสีนํ้าตาล ลําตัวตอนล่างสีขาว มีจุดกระสีนํ้าตาล ทํารังในโพรงไม้.คับแค น. ชื่อนกชนิด Nettapus coromandelianus ในวงศ์ Anatidae เป็นนกเป็ดนํ้าที่เล็กที่สุดในประเทศไทย รูปร่างเล็ก อ้วนป้อม ปากสั้น ตัวผู้ปีกสีเขียวเข้มเป็นมัน หน้า คอ และท้องสีขาว ที่คอมีวงสีดํา ตัวเมียปีกสีนํ้าตาล ลําตัวตอนล่างสีขาว มีจุดกระสีนํ้าตาล ทํารังในโพรงไม้.
คัพภ–, คัพภ์ คัพภ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-สำ-เพา คัพภ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด [คับพะ–, คับ] เป็นคำนาม หมายถึง ครรภ์, ท้อง; ห้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คัพภ–, คัพภ์ [คับพะ–, คับ] น. ครรภ์, ท้อง; ห้อง. (ป.).
คัพภสาลี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[คับพะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวที่กําลังท้องยังไม่แตกเป็นรวง (มักเอามาคั้นเป็นข้าวยาคู). ในวงเล็บ มาจาก เรื่องพระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๓.คัพภสาลี [คับพะ–] น. ข้าวที่กําลังท้องยังไม่แตกเป็นรวง (มักเอามาคั้นเป็นข้าวยาคู). (สิบสองเดือน).
คัพโภทร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[คับโพทอน] เป็นคำนาม หมายถึง ครรโภทร, ท้องมีลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คพฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา + อุทร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ .คัพโภทร [คับโพทอน] น. ครรโภทร, ท้องมีลูก. (ป. คพฺภ + อุทร).
คัพโภทร เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือดู คัพภ–, คัพภ์ คัพภ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-สำ-เพา คัพภ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด .คัพโภทร ดู คัพภ–, คัพภ์.
คัมภีร–, คัมภีร์ คัมภีร– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ คัมภีร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด [คําพีระ–, คําพี] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์เป็นต้น; ลักษณนามเรียกหนังสือตําราเหล่านี้ เช่น คัมภีร์หนึ่ง คัมภีร์โหราศาสตร์ ๒ คัมภีร์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึกซึ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คัมภีร–, คัมภีร์ [คําพีระ–, คําพี] น. หนังสือตําราที่สําคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์เป็นต้น; ลักษณนามเรียกหนังสือตําราเหล่านี้ เช่น คัมภีร์หนึ่ง คัมภีร์โหราศาสตร์ ๒ คัมภีร์. ว. ลึกซึ้ง. (ป.).
คัมภีรภาพ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ความลึกซึ้ง.คัมภีรภาพ น. ความลึกซึ้ง.
คัล เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง[คัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง (ราชา) ก. เฝ้า เช่น พระโรงคัล ว่า ที่เฝ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร คาล่ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก.คัล [คัน] (กลอน) (ราชา) ก. เฝ้า เช่น พระโรงคัล ว่า ที่เฝ้า. (ข. คาล่).
คัว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สะอาด, ชําระล้าง, เช่น คัวปลา ว่า ขอดเกล็ดปลาแล้วผ่าท้องล้างให้สะอาด.คัว (ถิ่น–อีสาน) ก. ทําให้สะอาด, ชําระล้าง, เช่น คัวปลา ว่า ขอดเกล็ดปลาแล้วผ่าท้องล้างให้สะอาด.
คั่ว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งของใส่กระเบื้องหรือกระทะตั้งไฟให้ร้อนแล้วคนไปจนสุกหรือเกรียม เช่น คั่วถั่ว คั่วงา, เรียกของที่คั่วแล้ว เช่น ข้าวคั่ว ถั่วคั่ว; เรียกแกงกะทิชนิดหนึ่งคล้ายแกงเผ็ด แต่มีรสออกเปรี้ยว ว่า แกงคั่ว เช่น แกงคั่วผักบุ้ง แกงคั่วมะระ.คั่ว ๑ ก. เอาสิ่งของใส่กระเบื้องหรือกระทะตั้งไฟให้ร้อนแล้วคนไปจนสุกหรือเกรียม เช่น คั่วถั่ว คั่วงา, เรียกของที่คั่วแล้ว เช่น ข้าวคั่ว ถั่วคั่ว; เรียกแกงกะทิชนิดหนึ่งคล้ายแกงเผ็ด แต่มีรสออกเปรี้ยว ว่า แกงคั่ว เช่น แกงคั่วผักบุ้ง แกงคั่วมะระ.
คั่ว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง คอยกิน (ใช้ในการเล่นไพ่ผ่องไทยหรือไพ่ผ่องจีนเป็นต้น), โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สองคนนี้คั่วกันมาหลายปี ก็ยังไม่ได้แต่งงานกัน เขาคั่วตำแหน่งอธิบดีอยู่.คั่ว ๒ ก. คอยกิน (ใช้ในการเล่นไพ่ผ่องไทยหรือไพ่ผ่องจีนเป็นต้น), โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สองคนนี้คั่วกันมาหลายปี ก็ยังไม่ได้แต่งงานกัน เขาคั่วตำแหน่งอธิบดีอยู่.
คัสซี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง แชสซี.คัสซี (ปาก) น. แชสซี.
คา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจําคอนักโทษ ทําด้วยไม้.คา ๑ น. เครื่องจําคอนักโทษ ทําด้วยไม้.
คา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น ตายคาที่.คา ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น ตายคาที่.
คาราคาก่า, คาราคาซัง คาราคาก่า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา คาราคาซัง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่เสร็จ, ยังไม่แล้ว, ค้างอยู่, ติดอยู่.คาราคาก่า, คาราคาซัง ว. ยังไม่เสร็จ, ยังไม่แล้ว, ค้างอยู่, ติดอยู่.
คาหนังคาเขา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จับได้ในขณะที่กําลังกระทําผิดหรือพร้อมกับของกลาง, ใช้เพี้ยนว่า คาหลังคาเขา ก็มี.คาหนังคาเขา (สำ) ว. จับได้ในขณะที่กําลังกระทําผิดหรือพร้อมกับของกลาง, ใช้เพี้ยนว่า คาหลังคาเขา ก็มี.
คา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Imperata cylindrica Beauv. ในวงศ์ Gramineae ใบคาย แข็ง เอามากรองเป็นตับมุงหลังคา เหง้าใช้ทํายาได้.คา ๓ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Imperata cylindrica Beauv. ในวงศ์ Gramineae ใบคาย แข็ง เอามากรองเป็นตับมุงหลังคา เหง้าใช้ทํายาได้.
คากรอง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปกปิดร่างกายที่ทําด้วยหญ้า เช่น ควรหรือมานุ่งคากรอง ควรแต่เครื่องทองไพศาล. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง ศกุนตลา ในหนังสือศกุนตลา มัทนะพาธา ท้าวแสนปม ประมวลสุภาษิต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับโรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์ พ.ศ. ๒๕๑๓.คากรอง น. เครื่องปกปิดร่างกายที่ทําด้วยหญ้า เช่น ควรหรือมานุ่งคากรอง ควรแต่เครื่องทองไพศาล. (ศกุนตลา).
คาคบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คบ หรือ ค่าคบ ก็เรียก.คาคบ น. ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คบ หรือ ค่าคบ ก็เรียก.
ค่า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง มูลค่าหรือราคาของสิ่งใด ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีประโยชน์ในทางใช้สอย แลกเปลี่ยน หรือทางจิตใจเป็นต้น บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินได้ บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินไม่ได้ เช่น ทองคำเป็นของมีค่า เวลามีค่ามาก; จำนวนเงินที่เป็นราคาสิ่งของหรือบริการเป็นต้น เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ค่าโดยสาร ค่าอาหาร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง เรียกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีคุณค่ามากจนไม่อาจประเมินเป็นเงินได้ว่า เป็นสิ่งที่หาค่ามิได้.ค่า น. มูลค่าหรือราคาของสิ่งใด ๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ที่มีประโยชน์ในทางใช้สอย แลกเปลี่ยน หรือทางจิตใจเป็นต้น บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินได้ บางอย่างก็ประเมินเป็นเงินไม่ได้ เช่น ทองคำเป็นของมีค่า เวลามีค่ามาก; จำนวนเงินที่เป็นราคาสิ่งของหรือบริการเป็นต้น เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า ค่าโดยสาร ค่าอาหาร; (คณิต) จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร; (สำ) เรียกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีคุณค่ามากจนไม่อาจประเมินเป็นเงินได้ว่า เป็นสิ่งที่หาค่ามิได้.
ค่าขึ้นศาล เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าธรรมเนียมศาลในการยื่นคําฟ้อง.ค่าขึ้นศาล (กฎ) น. ค่าธรรมเนียมศาลในการยื่นคําฟ้อง.
ค่าครองชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีพ.ค่าครองชีพ น. ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีพ.
ค่าจ้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงานตามสัญญาจ้างสำหรับระยะเวลาการทำงานปรกติเป็นรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรือ ระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดยคำนวณตามผลงานที่ลูกจ้างทำได้ในเวลาทำงานปรกติของวันทำงาน และหมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาที่ลูกจ้างมิได้ทำงาน แต่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับตามกฎหมาย; เงินทุกประเภทที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปรกติ ไม่ว่าจะคำนวณตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานที่ลูกจ้างทำได้ และหมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจ้างไม่ได้ทำงานด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะกำหนด คำนวณ หรือจ่ายในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร.ค่าจ้าง (กฎ) น. เงินที่นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการทำงานตามสัญญาจ้างสำหรับระยะเวลาการทำงานปรกติเป็นรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรือ ระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดยคำนวณตามผลงานที่ลูกจ้างทำได้ในเวลาทำงานปรกติของวันทำงาน และหมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาที่ลูกจ้างมิได้ทำงาน แต่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับตามกฎหมาย; เงินทุกประเภทที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงานในวันและเวลาทำงานปรกติ ไม่ว่าจะคำนวณตามระยะเวลาหรือคำนวณตามผลงานที่ลูกจ้างทำได้ และหมายความรวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจ้างไม่ได้ทำงานด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะกำหนด คำนวณ หรือจ่ายในลักษณะใดหรือโดยวิธีการใด และไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร.
ค่าชดเชย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้าง นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งนายจ้างตกลงจ่ายให้แก่ลูกจ้าง.ค่าชดเชย (กฎ) น. เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้าง นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งนายจ้างตกลงจ่ายให้แก่ลูกจ้าง.
ค่าเช่า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าตอบแทนที่ผู้เช่าจ่ายให้แก่ผู้ให้เช่าเพื่อเป็นการตอบแทนที่ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าชั่วระยะเวลาอันมีจำกัด.ค่าเช่า (กฎ) น. ค่าตอบแทนที่ผู้เช่าจ่ายให้แก่ผู้ให้เช่าเพื่อเป็นการตอบแทนที่ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่าชั่วระยะเวลาอันมีจำกัด.
ค่าตัว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ราคาที่กําหนดขึ้นเพื่อซื้อขายทาสในสมัยโบราณ, ต่อมาหมายถึงราคาที่กําหนดขึ้นตามความสําคัญหรือความสามารถของบุคคล.ค่าตัว น. ราคาที่กําหนดขึ้นเพื่อซื้อขายทาสในสมัยโบราณ, ต่อมาหมายถึงราคาที่กําหนดขึ้นตามความสําคัญหรือความสามารถของบุคคล.
ค่าไถ่ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่เรียกเอา หรือให้เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง.ค่าไถ่ (กฎ) น. ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่เรียกเอา หรือให้เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง.
ค่าทดแทน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิ สำหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยหรือสูญหายของลูกจ้าง.ค่าทดแทน (กฎ) น. เงินที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิ สำหรับการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยหรือสูญหายของลูกจ้าง.
ค่าธรรมเนียม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าบริการที่เรียกเก็บตามกฎหมาย.ค่าธรรมเนียม (กฎ) น. ค่าบริการที่เรียกเก็บตามกฎหมาย.
ค่าธรรมเนียมศาล เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่ต้องชําระให้แก่ศาลในการดําเนินคดี.ค่าธรรมเนียมศาล (กฎ) น. ค่าธรรมเนียมที่ต้องชําระให้แก่ศาลในการดําเนินคดี.
ค่าน้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง อากรจับสัตว์นํ้า, เงินที่ต้องเสียภาษีในการที่มีเครื่องมือจับสัตว์นํ้า.ค่าน้ำ (โบ) น. อากรจับสัตว์นํ้า, เงินที่ต้องเสียภาษีในการที่มีเครื่องมือจับสัตว์นํ้า.
ค่าน้ำเงิน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนูดู น้ำเงิน เขียนว่า นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.ค่าน้ำเงิน ดู น้ำเงิน ๑.
ค่าน้ำนม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ฝ่ายชายต้องจ่ายให้แก่บิดามารดาฝ่ายหญิงในการสู่ขอเพื่อตอบแทนเป็นค่าที่ได้เลี้ยงดูมา, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ข้าวป้อน เป็น ค่าน้ำนมข้าวป้อน เช่น ให้คิดเอาค่าน้ำนมเข้าป้อนค่าเลี้ยงรักษาแก่มันแลชายซึ่งภาเอาหญิงไปเลี้ยงนั้นให้มันช่วยหญิงเสียกึ่งหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง; ปัจจุบันหมายถึงพระคุณของพ่อแม่ที่ได้เลี้ยงดูมา เช่น บวชตอบแทนค่าน้ำนม.ค่าน้ำนม น. เงินที่ฝ่ายชายต้องจ่ายให้แก่บิดามารดาฝ่ายหญิงในการสู่ขอเพื่อตอบแทนเป็นค่าที่ได้เลี้ยงดูมา, (โบ) นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ข้าวป้อน เป็น ค่าน้ำนมข้าวป้อน เช่น ให้คิดเอาค่าน้ำนมเข้าป้อนค่าเลี้ยงรักษาแก่มันแลชายซึ่งภาเอาหญิงไปเลี้ยงนั้นให้มันช่วยหญิงเสียกึ่งหนึ่ง. (สามดวง); ปัจจุบันหมายถึงพระคุณของพ่อแม่ที่ได้เลี้ยงดูมา เช่น บวชตอบแทนค่าน้ำนม.
ค่านิยม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง.ค่านิยม น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง.
ค่าป่วยการ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าชดเชยการงานหรือเวลาที่เสียไป.ค่าป่วยการ (กฎ) น. ค่าชดเชยการงานหรือเวลาที่เสียไป.
ค่าปากเรือ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากเรือบรรทุกสินค้าเข้ามาโดยวัดขนาดกว้างตอนกลางเรือเป็นกําหนด.ค่าปากเรือ (โบ) น. ค่าธรรมเนียมที่เก็บจากเรือบรรทุกสินค้าเข้ามาโดยวัดขนาดกว้างตอนกลางเรือเป็นกําหนด.
ค่าเผา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ค่าธรรมเนียมดูเงินโดยใช้วิธีเผาเงินตราเพื่อพิสูจน์.ค่าเผา (โบ) น. ค่าธรรมเนียมดูเงินโดยใช้วิธีเผาเงินตราเพื่อพิสูจน์.
ค่าภาคหลวง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าสิทธิซึ่งกฎหมายกําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ทําการหาประโยชน์จากทรัพยากรของชาติต้องชําระให้แก่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงไม้หวงห้าม.ค่าภาคหลวง (กฎ) น. ค่าสิทธิซึ่งกฎหมายกําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ทําการหาประโยชน์จากทรัพยากรของชาติต้องชําระให้แก่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงไม้หวงห้าม.
ค่าฤชาธรรมเนียม เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-รอ-รึ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[–รึชา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดําเนินคดี รวมถึงค่าป่วยการพยาน ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมในการส่งเอกสารและบังคับคดี และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ บรรดาที่กฎหมายบังคับให้เสีย.ค่าฤชาธรรมเนียม [–รึชา–] (กฎ) น. ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดําเนินคดี รวมถึงค่าป่วยการพยาน ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมในการส่งเอกสารและบังคับคดี และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ บรรดาที่กฎหมายบังคับให้เสีย.
ค่าล่วงเวลา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน.ค่าล่วงเวลา (กฎ) น. เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน.
ค่าสัมบูรณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ค่าของจํานวนจริงที่ไม่คำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น ค่าสัมบูรณ์ของ –๓ หรือ +๓ คือ ๓. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ absolute เขียนว่า เอ-บี-เอส-โอ-แอล-ยู-ที-อี value เขียนว่า วี-เอ-แอล-ยู-อี .ค่าสัมบูรณ์ (คณิต) น. ค่าของจํานวนจริงที่ไม่คำนึงถึงเครื่องหมาย เช่น ค่าสัมบูรณ์ของ –๓ หรือ +๓ คือ ๓. (อ. absolute value).
ค่าสินไหมทดแทน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ต้องชดใช้เพื่อทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินหรือแก่บุคคลอันเนื่องมาจากการละเมิด หรือการผิดสัญญา รวมทั้งทรัพย์สินที่ต้องคืนให้แก่ผู้เสียหายด้วย เช่น ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชำระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้.ค่าสินไหมทดแทน (กฎ) น. เงินที่ต้องชดใช้เพื่อทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สินหรือแก่บุคคลอันเนื่องมาจากการละเมิด หรือการผิดสัญญา รวมทั้งทรัพย์สินที่ต้องคืนให้แก่ผู้เสียหายด้วย เช่น ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด ค่าสินไหมทดแทนในการไม่ชำระหนี้ให้ต้องตามความประสงค์อันแท้จริงแห่งมูลหนี้.
ค่าเสมอภาค เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง มูลค่าหรือราคาของหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นตามที่ตราไว้; มูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราสกุลหนึ่ง ที่เทียบเท่ากับมูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราอีกสกุลหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ par เขียนว่า พี-เอ-อา value เขียนว่า วี-เอ-แอล-ยู-อี .ค่าเสมอภาค น. มูลค่าหรือราคาของหุ้น หรือหลักทรัพย์อื่นตามที่ตราไว้; มูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราสกุลหนึ่ง ที่เทียบเท่ากับมูลค่าแลกเปลี่ยนของหน่วยเงินตราอีกสกุลหนึ่ง. (อ. par value).
ค่าเสียหาย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่ชดใช้ให้แก่ผู้เสียหายเพื่อความเสียหายอันได้ก่อขึ้น.ค่าเสียหาย (กฎ) น. เงินที่ชดใช้ให้แก่ผู้เสียหายเพื่อความเสียหายอันได้ก่อขึ้น.
ค่าหน้าดิน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เงินกินเปล่าที่เจ้าของที่ดินเรียกจากผู้เช่าเป็นต้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนการใช้ที่ดิน.ค่าหน้าดิน น. เงินกินเปล่าที่เจ้าของที่ดินเรียกจากผู้เช่าเป็นต้น เพื่อเป็นค่าตอบแทนการใช้ที่ดิน.
ค่าหัว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ราคาที่กําหนดไว้เป็นค่าเอาชีวิต.ค่าหัว น. ราคาที่กําหนดไว้เป็นค่าเอาชีวิต.
ค้า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ซื้อขายสินค้าหรือบริการ.ค้า ๑ ก. ซื้อขายสินค้าหรือบริการ.
ค้าขาย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทํามาหากินในทางซื้อขาย.ค้าขาย ก. ทํามาหากินในทางซื้อขาย.
ค้าความ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบหาเรื่องขึ้นโรงศาล.ค้าความ ก. ชอบหาเรื่องขึ้นโรงศาล.
ค้าประเวณี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง กระทำการใด ๆ เพื่อสำเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้อื่นอันเป็นการสำส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด.ค้าประเวณี ก. กระทำการใด ๆ เพื่อสำเร็จความใคร่ในทางกามารมณ์ของผู้อื่นอันเป็นการสำส่อนเพื่อสินจ้างหรือประโยชน์อื่นใด.
ค้า ๒, ค้าค้า ค้า ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ค้าค้า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ออกแสดง เช่น บค้าอาตม์ออกรงค์. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, มีมือถือดาบกล้าอวดค้าค้าคําราม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.ค้า ๒, ค้าค้า (โบ) ก. ออกแสดง เช่น บค้าอาตม์ออกรงค์. (ตะเลงพ่าย), มีมือถือดาบกล้าอวดค้าค้าคําราม. (ม. คำหลวง กุมาร).
ค่าคบ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คบ หรือ คาคบ ก็เรียก.ค่าคบ น. ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คบ หรือ คาคบ ก็เรียก.
คาง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายที่สุดขากรรไตร อยู่ใต้ปาก, ราชาศัพท์ว่า พระหนุ.คาง ๑ น. ส่วนของร่างกายที่สุดขากรรไตร อยู่ใต้ปาก, ราชาศัพท์ว่า พระหนุ.
คางทูม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสทําให้ต่อมนํ้าลายบริเวณใต้หูอักเสบแล้วบวม.คางทูม น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสทําให้ต่อมนํ้าลายบริเวณใต้หูอักเสบแล้วบวม.
คางหมู เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านขนานกันคู่หนึ่ง อีกคู่หนึ่งสอบเข้ามา; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์โรหิณี มี ๗ ดวง, ดาวพราหมี หรือ ดาวปลาตะเพียน ก็เรียก.คางหมู น. ชื่อรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านขนานกันคู่หนึ่ง อีกคู่หนึ่งสอบเข้ามา; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์โรหิณี มี ๗ ดวง, ดาวพราหมี หรือ ดาวปลาตะเพียน ก็เรียก.
คางเหลือง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ป่วยหรือบาดเจ็บมากจนแทบเสียชีวิต, มักใช้ว่า ไม่ตายก็คางเหลือง.คางเหลือง (สำ) ว. ป่วยหรือบาดเจ็บมากจนแทบเสียชีวิต, มักใช้ว่า ไม่ตายก็คางเหลือง.
คาง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Albizia lebbeckoides Benth. ในวงศ์ Leguminosae ใบคล้ายใบกระถิน เนื้อไม้สีนํ้าตาลแก่ แข็ง, พายัพเรียก กาง.คาง ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Albizia lebbeckoides Benth. ในวงศ์ Leguminosae ใบคล้ายใบกระถิน เนื้อไม้สีนํ้าตาลแก่ แข็ง, พายัพเรียก กาง.
ค่าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Cercopithecidae ลักษณะคล้ายลิง ขนสีเทาหรือดํา ลําตัว แขน ขา และหางยาวกว่าลิงทั่ว ๆ ไป กินใบไม้และผลไม้ ในประเทศไทยมี ๔ ชนิด คือ ค่างดํา (Presbytis melalophos) ค่างแว่นถิ่นใต้ (P. obscura) ค่างหงอก หรือ ค่างเทา (P. cristata) และค่างแว่นถิ่นเหนือ (P. phayrei).ค่าง น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Cercopithecidae ลักษณะคล้ายลิง ขนสีเทาหรือดํา ลําตัว แขน ขา และหางยาวกว่าลิงทั่ว ๆ ไป กินใบไม้และผลไม้ ในประเทศไทยมี ๔ ชนิด คือ ค่างดํา (Presbytis melalophos) ค่างแว่นถิ่นใต้ (P. obscura) ค่างหงอก หรือ ค่างเทา (P. cristata) และค่างแว่นถิ่นเหนือ (P. phayrei).
ค้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลงมาหรือขึ้นไปติดอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, ติดอยู่กลางทาง, ติดอยู่, เช่น เรือค้างแห้ง ค้างหนี้, ยังไม่แล้วเสร็จตามที่กําหนด เช่น ทํางานค้าง; เหลือกหรืออ้าแล้วเอาลงหรือหุบไม่ได้ เช่น ตาค้าง อ้าปากค้าง ขากรรไตรค้าง; แรมคืน, ค้างคืน ก็ว่า. เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หลักสําหรับให้ไม้เถาขึ้นเกาะ เช่น ค้างพลู ค้างถั่ว.ค้าง ๑ ก. ตกลงมาหรือขึ้นไปติดอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, ติดอยู่กลางทาง, ติดอยู่, เช่น เรือค้างแห้ง ค้างหนี้, ยังไม่แล้วเสร็จตามที่กําหนด เช่น ทํางานค้าง; เหลือกหรืออ้าแล้วเอาลงหรือหุบไม่ได้ เช่น ตาค้าง อ้าปากค้าง ขากรรไตรค้าง; แรมคืน, ค้างคืน ก็ว่า. น. ไม้หลักสําหรับให้ไม้เถาขึ้นเกาะ เช่น ค้างพลู ค้างถั่ว.
ค้างคา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ยังไม่สิ้นไป, ยังไม่หมดไป, เช่น ค้างคาใจ ยังมีของค้างคาอยู่.ค้างคา ก. ยังไม่สิ้นไป, ยังไม่หมดไป, เช่น ค้างคาใจ ยังมีของค้างคาอยู่.
ค้างคืน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไปพักที่อื่นข้ามคืน, แรมคืน, ค้าง ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ข้ามคืน เช่น กับข้าวค้างคืน หมักของไว้ค้างคืน.ค้างคืน ก. ไปพักที่อื่นข้ามคืน, แรมคืน, ค้าง ก็ว่า. ว. ข้ามคืน เช่น กับข้าวค้างคืน หมักของไว้ค้างคืน.
ค้างเดือนค้างปี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล่วงเวลานานเป็นเดือนเป็นปี.ค้างเดือนค้างปี ว. ล่วงเวลานานเป็นเดือนเป็นปี.
ค้างเติ่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่สําเร็จลุล่วงไปได้.ค้างเติ่ง (สำ) ก. ไม่สําเร็จลุล่วงไปได้.
ค้างปี เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล่วงเวลานานเป็นปี เช่น เหล้าค้างปี ปลาร้าค้างปี.ค้างปี ว. ล่วงเวลานานเป็นปี เช่น เหล้าค้างปี ปลาร้าค้างปี.
ค้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของถั่วฝักยาว ซึ่งมีไม้ค้างปักเป็นหลักให้เถาเกาะ เรียกว่า ถั่วค้าง. ในวงเล็บ ดู ถั่วฝักยาว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ที่ ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.ค้าง ๒ น. ชื่อหนึ่งของถั่วฝักยาว ซึ่งมีไม้ค้างปักเป็นหลักให้เถาเกาะ เรียกว่า ถั่วค้าง. (ดู ถั่วฝักยาว ที่ ถั่ว ๑).
คางคก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Bufonidae รูปร่างคล้ายกบ ผิวหนังเป็นตุ่มขรุขระ เคลื่อนที่โดยการย่างเดินและกระโดดหย่ง ๆ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น คางคกบ้าน (Bufo melanostictus) คางคกป่า (B. macrotis).คางคก ๑ น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Bufonidae รูปร่างคล้ายกบ ผิวหนังเป็นตุ่มขรุขระ เคลื่อนที่โดยการย่างเดินและกระโดดหย่ง ๆ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น คางคกบ้าน (Bufo melanostictus) คางคกป่า (B. macrotis).
คางคกขึ้นวอ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-วอ-แหวน-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีฐานะตํ่าต้อย พอได้ดิบได้ดีก็มักแสดงกิริยาอวดดีลืมตัว.คางคกขึ้นวอ (สำ) น. คนที่มีฐานะตํ่าต้อย พอได้ดิบได้ดีก็มักแสดงกิริยาอวดดีลืมตัว.
คางคกไฟ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกชนิด Bufo parvus ในวงศ์ Bufonidae เป็นสัตว์สกุลเดียวกับคางคก แต่ตัวเล็กกว่ามาก ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะเปลี่ยนสีผิวหนังเป็นสีแดง จึงมีผู้เรียกว่า คางคกไฟ.คางคกไฟ น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกชนิด Bufo parvus ในวงศ์ Bufonidae เป็นสัตว์สกุลเดียวกับคางคก แต่ตัวเล็กกว่ามาก ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะเปลี่ยนสีผิวหนังเป็นสีแดง จึงมีผู้เรียกว่า คางคกไฟ.
คางคก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาไม่มีเกล็ดชนิด Batrachus grunniens และ Halophryne trispinosus ในวงศ์ Batrachoididae ปากกว้าง หัวทู่แบนลง ลําตัวกลมยาว มีสีนํ้าตาลเป็นด่างดวงทั่วไป ครีบท้องอยู่เยื้องไปข้างหน้าครีบอก หางกลม เฉพาะชนิดแรกมีรูที่มุมบนด้านในของครีบอก อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเล, กบ บู่ทะเล ผีหลอก หรือ อุบ ก็เรียก.คางคก ๒ น. ชื่อปลาไม่มีเกล็ดชนิด Batrachus grunniens และ Halophryne trispinosus ในวงศ์ Batrachoididae ปากกว้าง หัวทู่แบนลง ลําตัวกลมยาว มีสีนํ้าตาลเป็นด่างดวงทั่วไป ครีบท้องอยู่เยื้องไปข้างหน้าครีบอก หางกลม เฉพาะชนิดแรกมีรูที่มุมบนด้านในของครีบอก อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเล, กบ บู่ทะเล ผีหลอก หรือ อุบ ก็เรียก.
คางคก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและหัวเหมือนอุตพิด คันจัด ใช้เพื่อให้อยู่ยงคงกระพันชั่วเบา. ในวงเล็บ มาจาก ตำรากบิลว่าน ของ หลวงประพัฒสรรพากร.คางคก ๓ น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและหัวเหมือนอุตพิด คันจัด ใช้เพื่อให้อยู่ยงคงกระพันชั่วเบา. (กบิลว่าน).
ค้างคาว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดและหลายวงศ์ ลําตัวมีขนปุย ปีกเป็นแผ่นหนังขนาดใหญ่ เวลาเกาะจะห้อยหัวลง หากินในเวลากลางคืน เช่น ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Pteropus vampyrus) ในวงศ์ Pteropodidae, ค้างคาวลูกหนูบ้าน (Pipistrellus javanicus) ในวงศ์ Vespertilionidae.ค้างคาว ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดและหลายวงศ์ ลําตัวมีขนปุย ปีกเป็นแผ่นหนังขนาดใหญ่ เวลาเกาะจะห้อยหัวลง หากินในเวลากลางคืน เช่น ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Pteropus vampyrus) ในวงศ์ Pteropodidae, ค้างคาวลูกหนูบ้าน (Pipistrellus javanicus) ในวงศ์ Vespertilionidae.
ค้างคาว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Aglaia edulis (Roxb.) Wall. ในวงศ์ Meliaceae ผลคล้ายมะไฟ แต่เปลือกแข็งและหนา, มะก่อง ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora lunata Willd. ในวงศ์ Passifloraceae ใบคล้ายปีกค้างคาว ด้านล่างของใบมีจุด ๓–๔ จุด ดอกกินได้.ค้างคาว ๒ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Aglaia edulis (Roxb.) Wall. ในวงศ์ Meliaceae ผลคล้ายมะไฟ แต่เปลือกแข็งและหนา, มะก่อง ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora lunata Willd. ในวงศ์ Passifloraceae ใบคล้ายปีกค้างคาว ด้านล่างของใบมีจุด ๓–๔ จุด ดอกกินได้.
ค้างคาว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีผสมแป้งถั่วทอง นวดกับหัวกะทิและเกลือ แผ่เป็นแผ่นห่อไส้ทำด้วยกุ้งสับผัดกับรากผักชีตำ พริกไทย เกลือ แล้วทอดนํ้ามัน เรียกว่า ขนมค้างคาว.ค้างคาว ๓ น. ของว่างชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีผสมแป้งถั่วทอง นวดกับหัวกะทิและเกลือ แผ่เป็นแผ่นห่อไส้ทำด้วยกุ้งสับผัดกับรากผักชีตำ พริกไทย เกลือ แล้วทอดนํ้ามัน เรียกว่า ขนมค้างคาว.
ค้างคาว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ โตงเตง ก็เรียก.ค้างคาว ๔ น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ โตงเตง ก็เรียก.
คางโทน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.คางโทน น. ชื่อต้นไม้ใช้ทํายา. (พจน. ๒๔๙๓).
คางเบือน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ดชนิด Belodontichthys dinema ในวงศ์ Siluridae รูปร่างคล้ายปลาค้าว เว้นแต่มีขนาดเล็กกว่า คือ ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ปากเชิดขึ้น จะงอยปากสั้น ครีบหลังเล็ก ครีบอกใหญ่ ลําตัวแบนข้างมาก หลังกว้าง ลําตัวโดยเฉพาะด้านหลังสีเทาอมเขียว ข้างท้องสีเงิน มีชุกชุมตามแหล่งนํ้าใหญ่ทั่วไป, เบี้ยว อ้ายเบี้ยว หรือ ขบ ก็เรียก.คางเบือน น. ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ดชนิด Belodontichthys dinema ในวงศ์ Siluridae รูปร่างคล้ายปลาค้าว เว้นแต่มีขนาดเล็กกว่า คือ ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ปากเชิดขึ้น จะงอยปากสั้น ครีบหลังเล็ก ครีบอกใหญ่ ลําตัวแบนข้างมาก หลังกว้าง ลําตัวโดยเฉพาะด้านหลังสีเทาอมเขียว ข้างท้องสีเงิน มีชุกชุมตามแหล่งนํ้าใหญ่ทั่วไป, เบี้ยว อ้ายเบี้ยว หรือ ขบ ก็เรียก.
คาด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง พันโดยรอบแล้วทําอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นผูกหรือกลัดเป็นต้นเพื่อไม่ให้หลุด เช่น เอาผ้าคาดพุง คาดเตี่ยวใบตอง คาดเข็มขัด, พาดเป็นทางยาวไป เช่น พื้นขาวคาดแดง.คาด ๑ ก. พันโดยรอบแล้วทําอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นผูกหรือกลัดเป็นต้นเพื่อไม่ให้หลุด เช่น เอาผ้าคาดพุง คาดเตี่ยวใบตอง คาดเข็มขัด, พาดเป็นทางยาวไป เช่น พื้นขาวคาดแดง.
คาดเชือก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาด้ายดิบพันมือเตรียมชกมวย, เตรียมต่อสู้, คาดหมัด ก็เรียก. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการชกมวยแบบหนึ่งที่เอาด้ายดิบพันหมัดมาจนถึงข้อศอกว่า มวยคาดเชือก.คาดเชือก ก. เอาด้ายดิบพันมือเตรียมชกมวย, เตรียมต่อสู้, คาดหมัด ก็เรียก. น. เรียกการชกมวยแบบหนึ่งที่เอาด้ายดิบพันหมัดมาจนถึงข้อศอกว่า มวยคาดเชือก.
คาดหมัด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาด้ายดิบพันมือเตรียมชกมวย, เตรียมต่อสู้, คาดเชือก ก็เรียก.คาดหมัด ก. เอาด้ายดิบพันมือเตรียมชกมวย, เตรียมต่อสู้, คาดเชือก ก็เรียก.
คาด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง นึกไว้, หมายไว้, มักใช้เข้าคู่กับคํา คะเน หรือ หมาย เป็น คาดคะเน คาดหมาย.คาด ๒ ก. นึกไว้, หมายไว้, มักใช้เข้าคู่กับคํา คะเน หรือ หมาย เป็น คาดคะเน คาดหมาย.
คาดค่า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ตีราคา.คาดค่า ก. ตีราคา.
คาดโทษ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี เป็นคำกริยา หมายถึง หมายไว้ว่าถ้ากระทำผิดอีกจะลงโทษเท่าใด.คาดโทษ ก. หมายไว้ว่าถ้ากระทำผิดอีกจะลงโทษเท่าใด.
คาดไม่ถึง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่คิดว่าจะเป็นไปได้เช่นนั้น.คาดไม่ถึง ก. ไม่คิดว่าจะเป็นไปได้เช่นนั้น.
คาดหน้า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หมายหน้าเป็นเชิงดูหมิ่น.คาดหน้า ก. หมายหน้าเป็นเชิงดูหมิ่น.
คาดคั้น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาเป็นเชิงบังคับให้เป็นไปตามความประสงค์.คาดคั้น ก. แสดงกิริยาวาจาเป็นเชิงบังคับให้เป็นไปตามความประสงค์.
คาถา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คําประพันธ์ประเภทร้อยกรองในภาษาบาลี, อัตราของฉันท์ คือ ๔ บาท เรียกว่า คาถาหนึ่ง.คาถา ๑ น. คําประพันธ์ประเภทร้อยกรองในภาษาบาลี, อัตราของฉันท์ คือ ๔ บาท เรียกว่า คาถาหนึ่ง.
คาถาพัน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง บทประพันธ์เรื่องมหาเวสสันดรชาดกที่แต่งเป็นคาถาภาษาบาลีล้วน ๆ พันบท, เรียกการเทศน์มหาเวสสันดรชาดกที่เป็นคาถาล้วน ๆ อย่างนี้ว่า เทศน์คาถาพัน.คาถาพัน น. บทประพันธ์เรื่องมหาเวสสันดรชาดกที่แต่งเป็นคาถาภาษาบาลีล้วน ๆ พันบท, เรียกการเทศน์มหาเวสสันดรชาดกที่เป็นคาถาล้วน ๆ อย่างนี้ว่า เทศน์คาถาพัน.
คาถา ๒, คาถาอาคม คาถา ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา คาถาอาคม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําเสกที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์.คาถา ๒, คาถาอาคม น. คําเสกที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์.
คาทอลิก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนิกายหนึ่งของคริสต์ศาสนา มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข เชื่อถือในตรีเอกภาพ คือถือว่า พระบิดา พระบุตร และพระจิต เป็นพระเป็นเจ้าองค์เดียวกัน พระเยซูมี ๒ สภาวะ คือ สภาวะพระเป็นเจ้า กับ สภาวะมนุษย์ ยกย่องแม่พระและนักบุญ มีนักบวชเรียกว่า บาทหลวง, เรียกเต็มว่า โรมันคาทอลิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Catholic เขียนว่า ซี-เอ-ที-เอช-โอ-แอล-ไอ-ซี Roman เขียนว่า อา-โอ-เอ็ม-เอ-เอ็น Catholic เขียนว่า ซี-เอ-ที-เอช-โอ-แอล-ไอ-ซี .คาทอลิก น. ชื่อนิกายหนึ่งของคริสต์ศาสนา มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข เชื่อถือในตรีเอกภาพ คือถือว่า พระบิดา พระบุตร และพระจิต เป็นพระเป็นเจ้าองค์เดียวกัน พระเยซูมี ๒ สภาวะ คือ สภาวะพระเป็นเจ้า กับ สภาวะมนุษย์ ยกย่องแม่พระและนักบุญ มีนักบวชเรียกว่า บาทหลวง, เรียกเต็มว่า โรมันคาทอลิก. (อ. Catholic, Roman Catholic).
ค่าที่ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำสันธาน หมายถึง เพราะเหตุว่า เช่น เขาได้รับรางวัลค่าที่เป็นคนซื่อสัตย์.ค่าที่ สัน. เพราะเหตุว่า เช่น เขาได้รับรางวัลค่าที่เป็นคนซื่อสัตย์.
คาธ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง[คาด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จับ, กิน, เช่น จันทรคาธ สุริยคาธ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาบาลี คาห เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ และมาจากภาษาสันสกฤต คฺราห เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ.คาธ [คาด] (โบ) ก. จับ, กิน, เช่น จันทรคาธ สุริยคาธ. (เทียบ ป. คาห; ส. คฺราห).
คาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเรือนที่ยึดเสาและรองตง ทําด้วยไม้เป็นต้น, ไม้ทําอย่างรอดสําหรับรองรับของหนัก เช่น คานเรือ; ไม้สําหรับหาบหรือหามสิ่งของต่าง ๆ เรียกว่า ไม้คาน. เป็นคำกริยา หมายถึง รองรับหรือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองรับของหนักขึ้นไว้, ถ่วงนํ้าหนักกัน เช่น อํานาจของฝ่ายนิติบัญญัติกับอำนาจของฝ่ายบริหารคานกัน, โดยปริยายหมายความว่า ค้านกัน ยังตกลงกันไม่ได้.คาน น. เครื่องเรือนที่ยึดเสาและรองตง ทําด้วยไม้เป็นต้น, ไม้ทําอย่างรอดสําหรับรองรับของหนัก เช่น คานเรือ; ไม้สําหรับหาบหรือหามสิ่งของต่าง ๆ เรียกว่า ไม้คาน. ก. รองรับหรือเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งรองรับของหนักขึ้นไว้, ถ่วงนํ้าหนักกัน เช่น อํานาจของฝ่ายนิติบัญญัติกับอำนาจของฝ่ายบริหารคานกัน, โดยปริยายหมายความว่า ค้านกัน ยังตกลงกันไม่ได้.
คานขา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง แทนชั่วคราว เป็นการแก้ขัดในการเล่นไพ่เป็นต้น, ขัดขา หรือ คันขา ก็ว่า.คานขา ก. แทนชั่วคราว เป็นการแก้ขัดในการเล่นไพ่เป็นต้น, ขัดขา หรือ คันขา ก็ว่า.
คานคอดิน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คานที่วางบนเสาตอม่อ มักจะอยู่เสมอระดับดิน.คานคอดิน น. คานที่วางบนเสาตอม่อ มักจะอยู่เสมอระดับดิน.
คานหาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ที่นั่งที่มีคานสำหรับหาม, ถ้าใช้สำหรับเจ้านาย เรียกว่า แคร่คานหาม, เรียกสั้น ๆ ว่า แคร่ ก็มี, ถ้าใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชยานคานหาม.คานหาม น. ที่นั่งที่มีคานสำหรับหาม, ถ้าใช้สำหรับเจ้านาย เรียกว่า แคร่คานหาม, เรียกสั้น ๆ ว่า แคร่ ก็มี, ถ้าใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชยานคานหาม.
ค้าน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แย้งกัน เช่น ข้อความตอนหน้ากับตอนหลังค้านกัน, กล่าวแย้งไม่เห็นด้วย; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง หัก, พัง, ทําลาย, เช่น เครื่องบนกระบาลผุค้าน. (คําฤษฎี), สยงสรเทือนพ้ยงค้าน ค่นเมรุ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่เห็นด้วย, ที่ตรงกันข้าม, เช่น ฝ่ายค้าน.ค้าน ก. แย้งกัน เช่น ข้อความตอนหน้ากับตอนหลังค้านกัน, กล่าวแย้งไม่เห็นด้วย; (โบ; กลอน) หัก, พัง, ทําลาย, เช่น เครื่องบนกระบาลผุค้าน. (คําฤษฎี), สยงสรเทือนพ้ยงค้าน ค่นเมรุ. (ยวนพ่าย). ว. ที่ไม่เห็นด้วย, ที่ตรงกันข้าม, เช่น ฝ่ายค้าน.
คาน้า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อาดู คะน้า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา.คาน้า ดู คะน้า.
คาบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ครั้ง, หน, ระยะเวลาเวียนรอบ, ช่วงเวลา. เป็นคำกริยา หมายถึง กลั้นใจบริกรรมเวทมนตร์ครั้งหนึ่ง ๆ.คาบ ๑ น. ครั้ง, หน, ระยะเวลาเวียนรอบ, ช่วงเวลา. ก. กลั้นใจบริกรรมเวทมนตร์ครั้งหนึ่ง ๆ.
คาบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปากหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างปากงับหนีบไว้, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คาบข่าวไปบอก.คาบ ๒ ก. เอาปากหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างปากงับหนีบไว้, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คาบข่าวไปบอก.
คาบเกี่ยว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ติดต่อเกี่ยวเนื่องกัน เช่น ที่ดินคาบเกี่ยวกัน.คาบเกี่ยว ก. ติดต่อเกี่ยวเนื่องกัน เช่น ที่ดินคาบเกี่ยวกัน.
คาบชุด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปืนเล็กยาวอย่างโบราณ ใช้ชุดจุดดินหูเวลายิง.คาบชุด น. ชื่อปืนเล็กยาวอย่างโบราณ ใช้ชุดจุดดินหูเวลายิง.
คาบลูกคาบดอก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในระยะคับขันกำลังจะได้หรือเสียก้ำกึ่งกัน สำนวนนี้เปรียบกับต้นไม้ที่ออกดอกและกำลังจะเป็นลูกคาบเกี่ยวกัน จึงว่า คาบลูกคาบดอก.คาบลูกคาบดอก (สำ) ว. อยู่ในระยะคับขันกำลังจะได้หรือเสียก้ำกึ่งกัน สำนวนนี้เปรียบกับต้นไม้ที่ออกดอกและกำลังจะเป็นลูกคาบเกี่ยวกัน จึงว่า คาบลูกคาบดอก.
คาบศิลา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปืนเล็กยาวอย่างโบราณ มีนกเป็นเหล็กคาบหินเหล็กไฟหรือหินปากนกสับลงกับเหล็กให้เป็นประกายติดดินหู.คาบศิลา น. ชื่อปืนเล็กยาวอย่างโบราณ มีนกเป็นเหล็กคาบหินเหล็กไฟหรือหินปากนกสับลงกับเหล็กให้เป็นประกายติดดินหู.
คาบสมุทร เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมเกือบรอบ ตามปรกติมักต่อเนื่องกับผืนแผ่นดินใหญ่เป็นคอคอด หรือยื่นยาวออกไปในทะเล.คาบสมุทร น. ส่วนของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมเกือบรอบ ตามปรกติมักต่อเนื่องกับผืนแผ่นดินใหญ่เป็นคอคอด หรือยื่นยาวออกไปในทะเล.
คาบเส้น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ตรงเกณฑ์ที่กำหนดพอดี เช่น สอบไล่ได้คะแนนคาบเส้น.คาบเส้น ก. อยู่ตรงเกณฑ์ที่กำหนดพอดี เช่น สอบไล่ได้คะแนนคาบเส้น.
คาบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง พื้นหน้าเรียบ เช่น ราบคาบ. (ไทยขาว).คาบ ๓ น. พื้นหน้าเรียบ เช่น ราบคาบ. (ไทยขาว).
คาพยุต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า[คาพะยุด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คาวุต, มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว ( = ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คาวุต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต คฺวยูต เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า.คาพยุต [คาพะยุด] (แบบ) น. คาวุต, มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว ( = ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น). (ป. คาวุต; ส. คฺวยูต).
คาม, คาม– คาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า คาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า [คามะ–, คามมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง บ้าน, หมู่บ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คาม, คาม– [คามะ–, คามมะ–] (แบบ) น. บ้าน, หมู่บ้าน. (ป.).
คามณี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[คามะ–, คามมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน, หัวหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คามณี [คามะ–, คามมะ–] (แบบ) น. ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน, หัวหน้า. (ป.).
คามโภชก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่[คามะ–, คามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง นายบ้าน, นายตําบล, ผู้ใหญ่บ้าน, กํานัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คามโภชก [คามะ–, คามมะ–] น. นายบ้าน, นายตําบล, ผู้ใหญ่บ้าน, กํานัน. (ป.).
คามวาสี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[คามะ–, คามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ใช้สําหรับเรียกคณะสงฆ์ฝ่ายคันถธุระ, คู่กับ อรัญวาสี คณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คามวาสี [คามะ–, คามมะ–] น. ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ใช้สําหรับเรียกคณะสงฆ์ฝ่ายคันถธุระ, คู่กับ อรัญวาสี คณะสงฆ์ฝ่ายวิปัสสนาธุระ. (ป., ส.).
คามณีย์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[คามะนี] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ฝึกหัดม้าหรือช้าง, หมอช้าง, นายสารถี, เช่น พลคชคณผาดผ้าย คามณีย์ทาย จําทวยทวน. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คามณีย์ [คามะนี] น. ผู้ฝึกหัดม้าหรือช้าง, หมอช้าง, นายสารถี, เช่น พลคชคณผาดผ้าย คามณีย์ทาย จําทวยทวน. (สมุทรโฆษ). (ป.).
คามภีร์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[คามพี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลึกซึ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี คมฺภีร เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ.คามภีร์ [คามพี] ว. ลึกซึ้ง. (ส., ป. คมฺภีร).
คามี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อีใช้ประกอบท้ายคําอื่น แปลว่า ผู้ไป, ผู้ถึง, เช่น นิพพานคามี ว่า ผู้ถึงนิพพาน, วัฏคามี ว่า ผู้ไปในวัฏฏะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คามี ใช้ประกอบท้ายคําอื่น แปลว่า ผู้ไป, ผู้ถึง, เช่น นิพพานคามี ว่า ผู้ถึงนิพพาน, วัฏคามี ว่า ผู้ไปในวัฏฏะ. (ป.).
คาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยของที่ไม่ต้องการจะกลืนหรือกลืนไม่ได้ออกจากปาก เช่น คายชานอ้อย; ปล่อยออกมา เช่น คายความร้อน; โดยปริยายใช้หมายถึงอาการของสิ่งที่ติดแน่นเลื่อนออกจากที่เดิม เช่น เรือคายหมัน ลูกประสักคายตัว, เปิดเผย, แสดงออก, เช่น คายความลับ.คาย ๑ ก. ปล่อยของที่ไม่ต้องการจะกลืนหรือกลืนไม่ได้ออกจากปาก เช่น คายชานอ้อย; ปล่อยออกมา เช่น คายความร้อน; โดยปริยายใช้หมายถึงอาการของสิ่งที่ติดแน่นเลื่อนออกจากที่เดิม เช่น เรือคายหมัน ลูกประสักคายตัว, เปิดเผย, แสดงออก, เช่น คายความลับ.
คาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่มีลักษณะเป็นผงหรือขนละเอียดแหลมคมของบางสิ่งบางอย่าง เวลากระทบผิวหนังทําให้รู้สึกระคายคัน เช่น คายข้าว คายอ้อย คายไผ่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกว่าผงหรือขนเช่นนั้นกระทบตัวทําให้รู้สึกระคายคัน.คาย ๒ น. ส่วนที่มีลักษณะเป็นผงหรือขนละเอียดแหลมคมของบางสิ่งบางอย่าง เวลากระทบผิวหนังทําให้รู้สึกระคายคัน เช่น คายข้าว คายอ้อย คายไผ่. ว. อาการที่รู้สึกว่าผงหรือขนเช่นนั้นกระทบตัวทําให้รู้สึกระคายคัน.
ค่าย เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง (โบ) ที่ตั้งกองทหาร มีรั้วล้อมรอบ; ที่ตั้งกองทหาร, ที่พักกองทัพ; ที่พักแรมชั่วคราวของคนเป็นจํานวนมาก เช่น ค่ายลูกเสือ ค่ายผู้อพยพ; ฝ่ายที่มีความคิดเห็นแนวเดียวกัน เช่น ค่ายโลกเสรี. (อะหมว่า ล้อม).ค่าย น. (โบ) ที่ตั้งกองทหาร มีรั้วล้อมรอบ; ที่ตั้งกองทหาร, ที่พักกองทัพ; ที่พักแรมชั่วคราวของคนเป็นจํานวนมาก เช่น ค่ายลูกเสือ ค่ายผู้อพยพ; ฝ่ายที่มีความคิดเห็นแนวเดียวกัน เช่น ค่ายโลกเสรี. (อะหมว่า ล้อม).
ค่ายกักกัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่คุมขังเชลยศึกหรือนักโทษทางการเมือง.ค่ายกักกัน น. สถานที่คุมขังเชลยศึกหรือนักโทษทางการเมือง.
ค่ายผนบบ้านหล่อ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับหลังขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง เช่น ตั้งหัวถนนป่าตองตรงจวนคลัง ๑ ตั้งท้ายถนนป่าตองต่อถ้าช้างปตูไชย ๑ ค่ายผนบบ้านหล่อ ตั้งรอบพระราชวังหลวง ๑. ในวงเล็บ มาจาก อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยา กับ คำวินิจฉัย ของพระยาโบราณ ราชธานินทร์ ฉบับชำระครั้งที่ ๒ และ เรื่องศิลปและภูมิสถานอยุธยา ของ กรมศิลปากร ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. ๒๕๐๙, จังหล่อ จั้นหล่อ หรือ จำหล่อ ก็เรียก.ค่ายผนบบ้านหล่อ น. เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับหลังขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง เช่น ตั้งหัวถนนป่าตองตรงจวนคลัง ๑ ตั้งท้ายถนนป่าตองต่อถ้าช้างปตูไชย ๑ ค่ายผนบบ้านหล่อ ตั้งรอบพระราชวังหลวง ๑. (อธิบายแผนที่กรุงศรีอยุธยา), จังหล่อ จั้นหล่อ หรือ จำหล่อ ก็เรียก.
ค่ายเยาวชน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ซึ่งจัดขึ้นหรือใช้ฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จักการดํารงชีวิตเป็นหมู่คณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ให้รู้จักช่วยตัวเอง ช่วยหมู่คณะ รู้จักระเบียบวินัย.ค่ายเยาวชน น. สถานที่ซึ่งจัดขึ้นหรือใช้ฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จักการดํารงชีวิตเป็นหมู่คณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ให้รู้จักช่วยตัวเอง ช่วยหมู่คณะ รู้จักระเบียบวินัย.
ค่ายอาสาพัฒนา เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบําเพ็ญประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน.ค่ายอาสาพัฒนา น. ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบําเพ็ญประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน.
คายก, คายก– คายก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ คายก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ [–ยก, คายะกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ร้องเพลง, ผู้ขับร้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คายก, คายก– [–ยก, คายะกะ–] (แบบ) น. ผู้ร้องเพลง, ผู้ขับร้อง. (ป., ส.).
คายกคณะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[คายะกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่คนผู้ขับร้อง, พวกขับร้อง, ลูกคู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คายกคณะ [คายะกะ–] น. หมู่คนผู้ขับร้อง, พวกขับร้อง, ลูกคู่. (ป., ส.).
คายัน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น สยงสังคีตคายัน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คายัน (แบบ) ก. ร้องเพลง, ขับร้อง, เช่น สยงสังคีตคายัน. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส.).
คาร์บอน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖ สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สําคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งที่มีชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbon เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น.คาร์บอน น. ธาตุลําดับที่ ๖ สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สําคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งที่มีชีวิต. (อ. carbon).
คาร์บอนไดออกไซด์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทํานํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทําความเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbon เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น dioxide เขียนว่า ดี-ไอ-โอ-เอ็กซ์-ไอ-ดี-อี .คาร์บอนไดออกไซด์ น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทํานํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทําความเย็น. (อ. carbon dioxide).
คาร์บอนมอนอกไซด์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด[–มอน็อก–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbon เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น monoxide เขียนว่า เอ็ม-โอ-เอ็น-โอ-เอ็กซ์-ไอ-ดี-อี .คาร์บอนมอนอกไซด์ [–มอน็อก–] น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม. (อ. carbon monoxide).
คาร์บอเนต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติของกรดคาร์บอนิก เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสําคัญของหินปูน หินอ่อน กระดูก เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbonate เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น-เอ-ที-อี.คาร์บอเนต น. เกลือปรกติของกรดคาร์บอนิก เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสําคัญของหินปูน หินอ่อน กระดูก เป็นต้น. (อ. carbonate).
คาร์บอลิก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbolic เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-แอล-ไอ-ซี.คาร์บอลิก น. สารฟีนอล (phenol) มีสูตรเคมี C6H5OH ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีกลิ่น ละลายนํ้าได้บ้าง มีฤทธิ์กัด เป็นพิษ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก และสีย้อมผ้า มักเรียกคลาดเคลื่อนว่า กรดคาร์บอลิก. (อ. carbolic).
คาร์บูเรเตอร์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ประกอบในเครื่องยนต์ชนิดใช้นํ้ามันเผาไหม้ภายใน ใช้ประโยชน์เพื่อผสมอากาศเข้ากับไอนํ้ามันก่อนที่จะถูกเผาไหม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carburetor เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-ยู-อา-อี-ที-โอ-อา.คาร์บูเรเตอร์ น. อุปกรณ์ประกอบในเครื่องยนต์ชนิดใช้นํ้ามันเผาไหม้ภายใน ใช้ประโยชน์เพื่อผสมอากาศเข้ากับไอนํ้ามันก่อนที่จะถูกเผาไหม้. (อ. carburetor).
คาร์โบรันดัม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง สารสีดําแข็งมาก ชื่อเคมีว่า ซิลิคอนคาร์ไบด์ มีสูตร SiC ใช้ประโยชน์ทําหินสำหรับขัด ใช้ผสมกับคอนกรีตเพื่อทําขั้นบันไดตึก ใช้ทําวัสดุทนไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carborundum เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-อา-ยู-เอ็น-ดี-ยู-เอ็ม.คาร์โบรันดัม น. สารสีดําแข็งมาก ชื่อเคมีว่า ซิลิคอนคาร์ไบด์ มีสูตร SiC ใช้ประโยชน์ทําหินสำหรับขัด ใช้ผสมกับคอนกรีตเพื่อทําขั้นบันไดตึก ใช้ทําวัสดุทนไฟ. (อ. carborundum).
คาร์โบไฮเดรต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า[–เดฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาล และ พอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สําคัญมากประเภทหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ carbohydrate เขียนว่า ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอช-วาย-ดี-อา-เอ-ที-อี.คาร์โบไฮเดรต [–เดฺรด] น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาล และ พอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สําคัญมากประเภทหนึ่ง. (อ. carbohydrate).
คารพ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน[–รบ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเคารพ, ความนับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คารว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน.คารพ [–รบ] น. ความเคารพ, ความนับถือ. (ป. คารว).
คารม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า[–รม] เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่คมคาย, ฝีปาก.คารม [–รม] น. ถ้อยคําที่คมคาย, ฝีปาก.
คารวะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[คาระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเคารพ, ความนับถือ. เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คารวะ [คาระ–] น. ความเคารพ, ความนับถือ. ก. แสดงความเคารพ. (ป.).
คาราเต้ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า โดยการใช้อวัยวะต่าง ๆ เช่น มือ เท้า ศอก ศีรษะ ที่ฝึกจนแข็งแกร่งแล้ว มีแพร่หลายในญี่ปุ่นและเกาหลี. ในวงเล็บ มาจากภาษาญี่ปุ่น .คาราเต้ น. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่า โดยการใช้อวัยวะต่าง ๆ เช่น มือ เท้า ศอก ศีรษะ ที่ฝึกจนแข็งแกร่งแล้ว มีแพร่หลายในญี่ปุ่นและเกาหลี. (ญิ.).
คาราวาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หมู่คนหรือยานพาหนะเป็นต้นซึ่งเดินทางไกลร่วมกันเป็นขบวนยาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ caravan เขียนว่า ซี-เอ-อา-เอ-วี-เอ-เอ็น.คาราวาน น. หมู่คนหรือยานพาหนะเป็นต้นซึ่งเดินทางไกลร่วมกันเป็นขบวนยาว. (อ. caravan).
คาว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งอย่างกลิ่นปลาสดเนื้อสด; โดยปริยายหมายถึงความเสื่อมเสีย ความมัวหมอง มลทิน เช่น ราคีคาว คนนั้นยังมีคาว; เรียกกับข้าวว่า ของคาว, คู่กับ ขนม ว่า ของหวาน.คาว น. กลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งอย่างกลิ่นปลาสดเนื้อสด; โดยปริยายหมายถึงความเสื่อมเสีย ความมัวหมอง มลทิน เช่น ราคีคาว คนนั้นยังมีคาว; เรียกกับข้าวว่า ของคาว, คู่กับ ขนม ว่า ของหวาน.
คาวปลา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกของเหลวที่มีลักษณะคล้ายนํ้าเหลืองที่ขับถ่ายจากช่องคลอดภายหลังทารกคลอดแล้ว ปรกติมีกลิ่นคาวเล็กน้อยว่า นํ้าคาวปลา.คาวปลา ว. เรียกของเหลวที่มีลักษณะคล้ายนํ้าเหลืองที่ขับถ่ายจากช่องคลอดภายหลังทารกคลอดแล้ว ปรกติมีกลิ่นคาวเล็กน้อยว่า นํ้าคาวปลา.
ค่าว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง กลอนหรือกวีนิพนธ์แบบหนึ่ง มักใช้แต่งรําพันความรักหรือแต่งเป็นเรื่อง เช่น ค่าวเรื่องจําปาสี่ต้น หมายถึง คํากลอนเรื่องจําปาสี่ต้น.ค่าว (ถิ่น–พายัพ) น. กลอนหรือกวีนิพนธ์แบบหนึ่ง มักใช้แต่งรําพันความรักหรือแต่งเป็นเรื่อง เช่น ค่าวเรื่องจําปาสี่ต้น หมายถึง คํากลอนเรื่องจําปาสี่ต้น.
ค้าว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดในวงศ์ Siluridae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาคางเบือนซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า คือ ยาวได้ถึง ๑–๑.๕ เมตร หัวแหลม ปากกว้าง ฟันแหลมคม ครีบหลังตั้งเด่น ตัวยาวเรียวไปทางหาง แบนข้าง ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ ค้าวขาว (Wallagonia attu) และ ค้าวดํา คูน ทุกอีชุก อีทุก หรือ อีทุบ (W. miostoma) ซึ่งมีหนวดยาวกว่าชนิดแรก ลำตัวและครีบสีดำคล้ำ, ทั้ง ๒ ชนิด เค้า ก็เรียก.ค้าว น. ชื่อปลานํ้าจืดในวงศ์ Siluridae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาคางเบือนซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่มีขนาดใหญ่กว่า คือ ยาวได้ถึง ๑–๑.๕ เมตร หัวแหลม ปากกว้าง ฟันแหลมคม ครีบหลังตั้งเด่น ตัวยาวเรียวไปทางหาง แบนข้าง ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ ค้าวขาว (Wallagonia attu) และ ค้าวดํา คูน ทุกอีชุก อีทุก หรือ อีทุบ (W. miostoma) ซึ่งมีหนวดยาวกว่าชนิดแรก ลำตัวและครีบสีดำคล้ำ, ทั้ง ๒ ชนิด เค้า ก็เรียก.
คาวตอง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู[คาว–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Houttuynia cordata Thunb. ในวงศ์ Saururaceae ใบใช้เป็นอาหาร, พลูคาว ก็เรียก.คาวตอง [คาว–] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Houttuynia cordata Thunb. ในวงศ์ Saururaceae ใบใช้เป็นอาหาร, พลูคาว ก็เรียก.
คาวี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง วัว, วัวตัวเมีย, เช่น คชสารโคคาวี. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือกฎหมาย พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงรวบรวม ฉบับโรงพิมพ์กองลหุโทษ ร.ศ. ๑๒๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คาวี น. วัว, วัวตัวเมีย, เช่น คชสารโคคาวี. (กฎ. ราชบุรี). (ป.).
คาวุต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว (= ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น), คาพยุต ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คาวุต (แบบ) น. มาตราโบราณ สําหรับวัดความยาว (= ๔,๐๐๐ ทัณฑะ หรือ ๒ โกรศ หรือ ๑ ใน ๔ ของโยชน์ = ๑๐๐ เส้น), คาพยุต ก็ว่า. (ป.).
คาส เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[คาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง กิน, กัด, เช่น ริ้นร่านห่านยุง ยงงคาสคุงใจ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์สักบรรพ.คาส [คาด] (แบบ) ก. กิน, กัด, เช่น ริ้นร่านห่านยุง ยงงคาสคุงใจ. (ม. คำหลวง สักบรรพ).
ค่าหด เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Engelhardtia spicata Blume ในวงศ์ Juglandaceae เนื้อไม้ใช้ทําหีบชาหรือก้านไม้ขีดไฟ.ค่าหด น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Engelhardtia spicata Blume ในวงศ์ Juglandaceae เนื้อไม้ใช้ทําหีบชาหรือก้านไม้ขีดไฟ.
คำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ทองคํา เช่น หอคำ เชียงคำ.คำ ๑ น. ทองคํา เช่น หอคำ เชียงคำ.
คำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคําอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คํานาม คํากริยา คําบุรพบท; พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน; ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคําหนึ่ง, ลักษณนามบอกจําพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคําหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคํากลอนว่า คําหนึ่ง.คำ ๒ น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคําอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คํานาม คํากริยา คําบุรพบท; พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน; ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคําหนึ่ง, ลักษณนามบอกจําพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคําหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคํากลอนว่า คําหนึ่ง.
คำกร่อน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ.คำกร่อน (ไว) น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ.
คำขวัญ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล.คำขวัญ น. ถ้อยคําที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล.
คำขอ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําซึ่งคู่ความหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียขอให้ศาลมีคําสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง; หนังสือที่ยื่นต่อทางราชการเพื่อขอให้ทําการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ยื่น.คำขอ (กฎ) น. คําซึ่งคู่ความหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียขอให้ศาลมีคําสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง; หนังสือที่ยื่นต่อทางราชการเพื่อขอให้ทําการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ยื่น.
คำขาด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง คำบอกกล่าวอย่างเด็ดขาดครั้งที่สุดให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่มีการผ่อนผัน เช่น ยื่นคำขาดให้ผู้เช่าออกไปจากบ้านเช่าภายใน ๓ วัน, ข้อเสนอเด็ดขาด, ข้อเสนอที่ยื่นให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด เช่น เขายื่นคำขาดให้เธอปฏิบัติตาม.คำขาด น. คำบอกกล่าวอย่างเด็ดขาดครั้งที่สุดให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่มีการผ่อนผัน เช่น ยื่นคำขาดให้ผู้เช่าออกไปจากบ้านเช่าภายใน ๓ วัน, ข้อเสนอเด็ดขาด, ข้อเสนอที่ยื่นให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด เช่น เขายื่นคำขาดให้เธอปฏิบัติตาม.
คำขึ้นต้น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับแต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา; คำใช้ขึ้นต้นสำหรับร้อยกรองบางประเภท เช่น บัดนั้น เมื่อนั้น ครานั้น สักวา.คำขึ้นต้น น. คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับแต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา; คำใช้ขึ้นต้นสำหรับร้อยกรองบางประเภท เช่น บัดนั้น เมื่อนั้น ครานั้น สักวา.
คำคม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่หลักแหลมชวนให้คิด.คำคม น. ถ้อยคําที่หลักแหลมชวนให้คิด.
คำคู่ความ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาคําฟ้อง คําให้การหรือคําร้องทั้งหลายที่ยื่นต่อศาล เพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ.คำคู่ความ (กฎ) น. บรรดาคําฟ้อง คําให้การหรือคําร้องทั้งหลายที่ยื่นต่อศาล เพื่อตั้งประเด็นระหว่างคู่ความ.
คำตั้ง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ยกขึ้นตั้งเพื่อนิยามความหมายในการทําพจนานุกรม; คําที่เป็นหลักให้คําอื่นที่เติมเข้ามาต่อ จะเติมข้างหน้า ตรงกลาง หรือ ข้างหลังก็ได้ ในภาษาคําติดต่อ.คำตั้ง น. คําที่ยกขึ้นตั้งเพื่อนิยามความหมายในการทําพจนานุกรม; คําที่เป็นหลักให้คําอื่นที่เติมเข้ามาต่อ จะเติมข้างหน้า ตรงกลาง หรือ ข้างหลังก็ได้ ในภาษาคําติดต่อ.
คำตาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คําสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง และคําในมาตรา กก กด กบ.คำตาย น. คําสระสั้นที่ไม่มีตัวสะกดพวกหนึ่ง และคําในมาตรา กก กด กบ.
คำเติม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําที่เติมข้างหน้า ตรงกลาง หรือ ข้างหลัง ของคําตั้งในภาษาคําติดต่อ.คำเติม น. คําที่เติมข้างหน้า ตรงกลาง หรือ ข้างหลัง ของคําตั้งในภาษาคําติดต่อ.
คำแถลง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู[–ถะแหฺลง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.คำแถลง [–ถะแหฺลง] (กฎ) น. คําชี้แจงต่อศาลด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ เพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
คำแถลงการณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําแถลงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ ซึ่งคู่ความฝ่ายหนึ่งกระทําหรือยื่นต่อศาลด้วยมุ่งหมายที่จะเสนอความเห็นต่อศาลในข้อความในประเด็นที่ได้ยกขึ้นอ้างในคําคู่ความหรือในปัญหาข้อใดที่ศาลจะพึงมีคําสั่งหรือคําพิพากษา ซึ่งในข้อเหล่านี้คู่ความฝ่ายนั้นเพียงแต่แสดง หรือกล่าวทบทวนหรือยืนยันหรืออธิบายข้อความแห่งคำพยานหลักฐานและปัญหาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงทั้งปวง.คำแถลงการณ์ (กฎ) น. คําแถลงด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ ซึ่งคู่ความฝ่ายหนึ่งกระทําหรือยื่นต่อศาลด้วยมุ่งหมายที่จะเสนอความเห็นต่อศาลในข้อความในประเด็นที่ได้ยกขึ้นอ้างในคําคู่ความหรือในปัญหาข้อใดที่ศาลจะพึงมีคําสั่งหรือคําพิพากษา ซึ่งในข้อเหล่านี้คู่ความฝ่ายนั้นเพียงแต่แสดง หรือกล่าวทบทวนหรือยืนยันหรืออธิบายข้อความแห่งคำพยานหลักฐานและปัญหาข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงทั้งปวง.
คำทาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ปัญหาที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้ทายว่าได้แก่อะไร มีคําว่า อะไรเอ่ยอยู่ข้างหน้าเสมอ เช่นอะไรเอ่ย ต้นเท่าครก ใบปกดิน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปริศนา เป็น ปริศนาคำทาย.คำทาย น. ปัญหาที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้ทายว่าได้แก่อะไร มีคําว่า อะไรเอ่ยอยู่ข้างหน้าเสมอ เช่นอะไรเอ่ย ต้นเท่าครก ใบปกดิน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปริศนา เป็น ปริศนาคำทาย.
คำเทียบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แบบสอนอ่านที่แจกตามรูปตามมาตรา ก กา กง กน ฯลฯ เช่น ก กา กิ กี ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่ ก กา กง กัง กาง กิง ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่ กง.คำเทียบ น. แบบสอนอ่านที่แจกตามรูปตามมาตรา ก กา กง กน ฯลฯ เช่น ก กา กิ กี ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่ ก กา กง กัง กาง กิง ฯลฯ เป็นคำเทียบของแม่ กง.
คำโท เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน(ฉันทลักษณ์) น. คำที่มีเครื่องหมายวรรณยุกต์โทกำกับอยู่ไม่ว่าคำนั้นจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใด เป็นคำบังคับในการแต่งโคลง เช่น ข้า คว้า แล้ว.คำโท (ฉันทลักษณ์) น. คำที่มีเครื่องหมายวรรณยุกต์โทกำกับอยู่ไม่ว่าคำนั้นจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใด เป็นคำบังคับในการแต่งโคลง เช่น ข้า คว้า แล้ว.
คำนำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง คําอธิบายหรือชี้แจงเหตุที่เขียนหรือพิมพ์หนังสือเรื่องนั้นขึ้น.คำนำ น. คําอธิบายหรือชี้แจงเหตุที่เขียนหรือพิมพ์หนังสือเรื่องนั้นขึ้น.
คำนำหน้าชื่อ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้านาม ก็เรียก.คำนำหน้าชื่อ น. คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้านาม ก็เรียก.
คำนำหน้านาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้าชื่อ ก็เรียก.คำนำหน้านาม น. คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้าชื่อ ก็เรียก.
คำบอกกล่าว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งเป็นหนังสือ หรือแจ้งด้วยวาจา ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง แสดงเจตนาที่จะใช้สิทธิ สงวนสิทธิ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำบอกกล่าวสนองในการทำสัญญา คำบอกกล่าวเลิกสัญญา คำบอกกล่าวว่าจะบังคับจำนอง, การส่งตั๋วแลกเงินที่เขาไม่รับรองคืน ก็ถือว่า เป็นการให้คำบอกกล่าวอย่างหนึ่ง.คำบอกกล่าว (กฎ) น. ข้อความที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งเป็นหนังสือ หรือแจ้งด้วยวาจา ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง แสดงเจตนาที่จะใช้สิทธิ สงวนสิทธิ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คำบอกกล่าวสนองในการทำสัญญา คำบอกกล่าวเลิกสัญญา คำบอกกล่าวว่าจะบังคับจำนอง, การส่งตั๋วแลกเงินที่เขาไม่รับรองคืน ก็ถือว่า เป็นการให้คำบอกกล่าวอย่างหนึ่ง.
คำบังคับ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง.คำบังคับ (กฎ) น. คําสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง.
คำประสม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คําที่เกิดจากการนําคํามูลที่เกิดอิสระได้ตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคําใหม่ที่มีความหมายใหม่ขึ้นมาอีกคําหนึ่ง เช่น ลูกเสือ ลูกน้ำ แขกยาม เครื่องใน ไฟฟ้า.คำประสม น. คําที่เกิดจากการนําคํามูลที่เกิดอิสระได้ตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคําใหม่ที่มีความหมายใหม่ขึ้นมาอีกคําหนึ่ง เช่น ลูกเสือ ลูกน้ำ แขกยาม เครื่องใน ไฟฟ้า.
คำประสาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คำที่เกิดจากการนำคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประกอบกัน อาจเป็นคำที่เกิดอิสระไม่ได้ ๒ คำมาประกอบกัน เช่น ชดช้อย ครื้นเครง หรือเป็นคำที่เกิดอิสระไม่ได้คำหนึ่งประกอบกับคำที่เกิดอิสระได้อีกคำหนึ่ง เช่น ชาวไร่ อ่อนช้อย, คำผสาน ก็เรียก.คำประสาน น. คำที่เกิดจากการนำคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประกอบกัน อาจเป็นคำที่เกิดอิสระไม่ได้ ๒ คำมาประกอบกัน เช่น ชดช้อย ครื้นเครง หรือเป็นคำที่เกิดอิสระไม่ได้คำหนึ่งประกอบกับคำที่เกิดอิสระได้อีกคำหนึ่ง เช่น ชาวไร่ อ่อนช้อย, คำผสาน ก็เรียก.
คำผวน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คำที่พูดทวนกลับได้ เช่น ตกที่อิฐ ผวนเป็น ติดที่อก.คำผวน น. คำที่พูดทวนกลับได้ เช่น ตกที่อิฐ ผวนเป็น ติดที่อก.
คำผสาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู คำประสาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.คำผสาน ดู คำประสาน.
คำเผดียงสงฆ์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ญัตติ, คำประกาศให้สงฆ์ทราบเพื่อทำกิจของสงฆ์ร่วมกัน.คำเผดียงสงฆ์ น. ญัตติ, คำประกาศให้สงฆ์ทราบเพื่อทำกิจของสงฆ์ร่วมกัน.
คำปรารภ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา เป็นคำนาม หมายถึง คํากล่าวแสดงความดําริที่จัดพิมพ์หนังสือนั้น.คำปรารภ น. คํากล่าวแสดงความดําริที่จัดพิมพ์หนังสือนั้น.
คำเป็น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกด และคำในมาตรา กง กน กม เกย เกอว.คำเป็น น. คำสระยาวที่ไม่มีตัวสะกด และคำในมาตรา กง กน กม เกย เกอว.
คำพ้องความ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น โคกับวัว ควายกับกระบือ มนุษย์กับคน, ไวพจน์ ก็ว่า.คำพ้องความ น. คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น โคกับวัว ควายกับกระบือ มนุษย์กับคน, ไวพจน์ ก็ว่า.
คำพ้องรูป เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง คำที่เขียนเหมือนกันแต่มีความหมายต่างกัน เช่น ขัน (น้ำ) กับ (ไก่) ขัน คู (ร่องน้ำ) กับ (นกเขา) คู.คำพ้องรูป น. คำที่เขียนเหมือนกันแต่มีความหมายต่างกัน เช่น ขัน (น้ำ) กับ (ไก่) ขัน คู (ร่องน้ำ) กับ (นกเขา) คู.
คำพ้องเสียง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์.คำพ้องเสียง น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์.
คำพิพากษา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล.คำพิพากษา (กฎ) น. คําวินิจฉัยชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล.
คำพิพากษาฎีกา เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คำพิพากษาของศาลฎีกา.คำพิพากษาฎีกา (กฎ) น. คำพิพากษาของศาลฎีกา.
คำฟ้อง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาล ไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ ไม่ว่าจะเสนอต่อศาลชั้นต้นหรือชั้นอุทธรณ์หรือฎีกา ไม่ว่าจะได้เสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคำฟ้องหรือคำร้องขอหรือเสนอในภายหลังโดยคำฟ้องเพิ่มเติมหรือแก้ไขหรือฟ้องแย้ง หรือโดยสอดเข้ามาในคดี ไม่ว่าด้วยสมัครใจหรือถูกบังคับ หรือโดยมีคำขอให้พิจารณาใหม่.คำฟ้อง (กฎ) น. กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาล ไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ ไม่ว่าจะเสนอต่อศาลชั้นต้นหรือชั้นอุทธรณ์หรือฎีกา ไม่ว่าจะได้เสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคำฟ้องหรือคำร้องขอหรือเสนอในภายหลังโดยคำฟ้องเพิ่มเติมหรือแก้ไขหรือฟ้องแย้ง หรือโดยสอดเข้ามาในคดี ไม่ว่าด้วยสมัครใจหรือถูกบังคับ หรือโดยมีคำขอให้พิจารณาใหม่.
คำฟ้องแย้ง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คําฟ้องที่จําเลยฟ้องโจทก์มาในคําให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคําฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง.คำฟ้องแย้ง (กฎ) น. คําฟ้องที่จําเลยฟ้องโจทก์มาในคําให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคําฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง.
คำมั่น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงเจตนาฝ่ายเดียวของผู้ให้คำมั่นที่มีผลผูกพันผู้ให้คำมั่นเมื่อมีผู้แสดงเจตนารับรู้ที่สอดคล้องกับคำมั่น อันเป็นความผูกพันก่อนเกิดสัญญาที่มุ่งประสงค์จะทำระหว่างกัน เช่น คำมั่นว่าจะซื้อหรือขาย คำมั่นไม่จำเป็นต้องมีการเสนอให้มีการตกลงทำสัญญาเสมอไป อาจมีผู้แสดงเจตนารับรู้ที่สอดคล้องกับคำมั่นหรือไม่มีผู้แสดงเจตนารับรู้ก็นับว่าเป็นคำมั่นได้ เช่น คำมั่นว่าจะให้รางวัล.คำมั่น (กฎ) น. การแสดงเจตนาฝ่ายเดียวของผู้ให้คำมั่นที่มีผลผูกพันผู้ให้คำมั่นเมื่อมีผู้แสดงเจตนารับรู้ที่สอดคล้องกับคำมั่น อันเป็นความผูกพันก่อนเกิดสัญญาที่มุ่งประสงค์จะทำระหว่างกัน เช่น คำมั่นว่าจะซื้อหรือขาย คำมั่นไม่จำเป็นต้องมีการเสนอให้มีการตกลงทำสัญญาเสมอไป อาจมีผู้แสดงเจตนารับรู้ที่สอดคล้องกับคำมั่นหรือไม่มีผู้แสดงเจตนารับรู้ก็นับว่าเป็นคำมั่นได้ เช่น คำมั่นว่าจะให้รางวัล.
คำมั่นว่าจะให้รางวัล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คํามั่นที่บุคคลออกโฆษณาว่าจะให้รางวัลแก่ผู้ซึ่งกระทําการอันใดสําเร็จดังที่บ่งไว้ในคํามั่น.คำมั่นว่าจะให้รางวัล (กฎ) น. คํามั่นที่บุคคลออกโฆษณาว่าจะให้รางวัลแก่ผู้ซึ่งกระทําการอันใดสําเร็จดังที่บ่งไว้ในคํามั่น.
คำมูล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง คําคําเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคําอื่น เช่น ยาม แขก นาฬิกา.คำมูล น. คําคําเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคําอื่น เช่น ยาม แขก นาฬิกา.
คำเมือง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาถิ่นของคนในถิ่นพายัพของประเทศไทย.คำเมือง น. ภาษาถิ่นของคนในถิ่นพายัพของประเทศไทย.
คำร้อง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง (๑) คําขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทําการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง. (๒) คําขอที่คู่ความยื่นต่อศาล เพื่อขอให้ศาลมีคําสั่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง, คําร้องขอ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ request เขียนว่า อา-อี-คิว-ยู-อี-เอส-ที.คำร้อง ๑ (กฎ) น. (๑) คําขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทําการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง. (๒) คําขอที่คู่ความยื่นต่อศาล เพื่อขอให้ศาลมีคําสั่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง, คําร้องขอ ก็ว่า. (อ. request).
คำร้อง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คำประพันธ์สำหรับขับร้อง, เนื้อร้อง บทเพลง หรือ บทร้อง ก็ว่า.คำร้อง ๒ น. คำประพันธ์สำหรับขับร้อง, เนื้อร้อง บทเพลง หรือ บทร้อง ก็ว่า.
คำร้องขอ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู คําร้อง เขียนว่า คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑ (๒).คำร้องขอ (กฎ) ดู คําร้อง ๑ (๒).
คำร้องทุกข์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คํากล่าวหาที่ผู้เสียหายได้แจ้งต่อพนักงานสอบสวนว่า มีผู้กระทําความผิด ซึ่งกระทําให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย โดยเจตนาจะให้ผู้กระทําความผิดได้รับโทษ; เรื่องที่ผู้ร้องทุกข์ซึ่งได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยื่นต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา.คำร้องทุกข์ (กฎ) น. คํากล่าวหาที่ผู้เสียหายได้แจ้งต่อพนักงานสอบสวนว่า มีผู้กระทําความผิด ซึ่งกระทําให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย โดยเจตนาจะให้ผู้กระทําความผิดได้รับโทษ; เรื่องที่ผู้ร้องทุกข์ซึ่งได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายเนื่องมาจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยื่นต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา.
คำสกรรถ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุงดู สกรรถ เขียนว่า สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง.คำสกรรถ ดู สกรรถ.
คำสร้อย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมาย หรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นาเฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ.คำสร้อย น. คำหรือวลีที่ใช้ลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรือท้ายบทร้อยกรอง เพื่อความไพเราะของเสียงและความหมาย หรือเพื่อแสดงว่าจบตอน เช่น นาเฮย ฤๅ บารนี แก่แม่นา โสตถิ์เทอญ.
คำสุภาพ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน(ฉันทลักษณ์) น. คําที่ไม่ผันด้วยวรรณยุกต์ทั้ง ๔.คำสุภาพ (ฉันทลักษณ์) น. คําที่ไม่ผันด้วยวรรณยุกต์ทั้ง ๔.
คำหลวง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คําประพันธ์ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์กลอนปนกัน คือ มหาชาติคําหลวงและพระนลคําหลวง, คําประพันธ์ที่แต่งมีลักษณะอย่างมหาชาติคําหลวง คือ นันโทปนันทสูตรคําหลวง และพระมาลัยคําหลวง.คำหลวง น. คําประพันธ์ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ มีโคลงฉันท์กาพย์กลอนปนกัน คือ มหาชาติคําหลวงและพระนลคําหลวง, คําประพันธ์ที่แต่งมีลักษณะอย่างมหาชาติคําหลวง คือ นันโทปนันทสูตรคําหลวง และพระมาลัยคําหลวง.
ค่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกวันตามจันทรคติ เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง ขึ้น ๒ คํ่า, เวลามืดตอนต้นของกลางคืน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่อยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่เย็นจนถึงเวลามืดตอนต้นของกลางคืน เช่น รอบค่ำ. เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นแสงเมื่อดวงอาทิตย์ตกดินแล้ว เช่น จวนจะค่ำแล้ว.ค่ำ น. เรียกวันตามจันทรคติ เช่น ขึ้นคํ่าหนึ่ง ขึ้น ๒ คํ่า, เวลามืดตอนต้นของกลางคืน. ว. ที่อยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่เย็นจนถึงเวลามืดตอนต้นของกลางคืน เช่น รอบค่ำ. ก. สิ้นแสงเมื่อดวงอาทิตย์ตกดินแล้ว เช่น จวนจะค่ำแล้ว.
ค่ำคืน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กลางคืน.ค่ำคืน น. กลางคืน.
ค้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไม้ง่ามเป็นต้นยันไว้เพื่อไม่ให้ทรุด ไม่ให้ล้มหรือไม่ให้เข้ามา.ค้ำ ก. เอาไม้ง่ามเป็นต้นยันไว้เพื่อไม่ให้ทรุด ไม่ให้ล้มหรือไม่ให้เข้ามา.
ค้ำคอ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้อยู่ในฐานะจําใจต้องทําหรืองดเว้น.ค้ำคอ ก. ทําให้อยู่ในฐานะจําใจต้องทําหรืองดเว้น.
ค้ำเงิน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง คํ้าประกันเงินกู้, พระไอยการลักษณะกู้หนี้เรียกบุคคลซึ่งคํ้าประกันเงินกู้ว่า ผู้คํ้าเงิน.ค้ำเงิน (กฎ; โบ) ก. คํ้าประกันเงินกู้, พระไอยการลักษณะกู้หนี้เรียกบุคคลซึ่งคํ้าประกันเงินกู้ว่า ผู้คํ้าเงิน.
ค้ำจุน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อุดหนุนให้ดํารงอยู่ได้.ค้ำจุน ก. อุดหนุนให้ดํารงอยู่ได้.
ค้ำชู เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง บํารุงให้เจริญขึ้น, พยุงให้สูงขึ้น.ค้ำชู ก. บํารุงให้เจริญขึ้น, พยุงให้สูงขึ้น.
ค้ำประกัน เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้คํ้าประกัน ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง เพื่อชําระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชําระหนี้นั้น.ค้ำประกัน (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้คํ้าประกัน ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง เพื่อชําระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชําระหนี้นั้น.
ค้ำฟ้า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นานจนไม่มีกําหนด.ค้ำฟ้า ว. นานจนไม่มีกําหนด.
ค้ำหัว เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยืนชิดข้างหลังผู้ใหญ่ที่นั่งอยู่หรือด้านหัวผู้ใหญ่ที่นอนอยู่ ถือกันว่าขาดความเคารพ เรียกว่า ยืนคํ้าหัว.ค้ำหัว ก. ยืนชิดข้างหลังผู้ใหญ่ที่นั่งอยู่หรือด้านหัวผู้ใหญ่ที่นอนอยู่ ถือกันว่าขาดความเคารพ เรียกว่า ยืนคํ้าหัว.
คำดีควาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยักดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.คำดีควาย ดู กระดูกค่าง.
คำใต้ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Acacia farnesiana (L.) Willd. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลือง เป็นพุ่ม ต้นมีหนาม, กระถินหอม ก็เรียก.คำใต้ (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Acacia farnesiana (L.) Willd. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีเหลือง เป็นพุ่ม ต้นมีหนาม, กระถินหอม ก็เรียก.
คำนวณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-เนน เป็นคำกริยา หมายถึง กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข.คำนวณ ก. กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข.
คำนวร เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-รอ-เรือ[–นวน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควร, ถูกต้อง, เหมาะ, พอดี ๆ, ชอบ, เช่น คิดคิ้วคํานวรนวย คือธนูอันก่งยง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.คำนวร [–นวน] (แบบ) ว. ควร, ถูกต้อง, เหมาะ, พอดี ๆ, ชอบ, เช่น คิดคิ้วคํานวรนวย คือธนูอันก่งยง. (สมุทรโฆษ).
คำนับ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําความเคารพ, ทําความเคารพโดยก้มศีรษะให้. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ต้องนับถือ, หลักฐาน, เช่น ธก็ให้โกษาธิบดีลําดับคํานับนี้ไว้. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.คำนับ ๑ ก. ทําความเคารพ, ทําความเคารพโดยก้มศีรษะให้. (โบ) น. คําที่ต้องนับถือ, หลักฐาน, เช่น ธก็ให้โกษาธิบดีลําดับคํานับนี้ไว้. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
คำนับ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง มิดชิด เช่น บมิให้เห็นรูเห็นช่อง ที่ล่องลับคํานับนิแล้ว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.คำนับ ๒ ก. มิดชิด เช่น บมิให้เห็นรูเห็นช่อง ที่ล่องลับคํานับนิแล้ว. (ม. คำหลวง ชูชก).
คำนัล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าเจ้านาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร คํนาล่ เขียนว่า คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก.คำนัล (กลอน) ก. เฝ้าเจ้านาย. (ข. คํนาล่).
คำนึง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทบทวน, นึกตรอง, คะนึง ก็ว่า.คำนึง ก. คิดทบทวน, นึกตรอง, คะนึง ก็ว่า.
คำนูณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-นอ-เนน เป็นคำกริยา หมายถึง คูณ, ทบ, ทําให้มากขึ้นตามส่วน.คำนูณ ก. คูณ, ทบ, ทําให้มากขึ้นตามส่วน.
คำโบล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ลูบ, ลูบคลํา, ลูบไล้. ในวงเล็บ ดู กําโบล เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง.คำโบล (โบ) ก. ลูบ, ลูบคลํา, ลูบไล้. (ดู กําโบล).
คำฝอย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Carthamus tinctorius L. ในวงศ์ Compositae ดอกใช้ทํายาได้.คำฝอย น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Carthamus tinctorius L. ในวงศ์ Compositae ดอกใช้ทํายาได้.
คำเพลิง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[–เพฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง ปืน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กําเภลิง เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.คำเพลิง [–เพฺลิง] น. ปืน. (ข. กําเภลิง).
คำรน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง คําราม, กระหึม.คำรน ก. คําราม, กระหึม.
คำรบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ครั้งที่ เช่น เป็นคํารบ ๓.คำรบ น. ครั้งที่ เช่น เป็นคํารบ ๓.
คำราม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเสียงขู่ เช่น เสือคําราม.คำราม ก. ทําเสียงขู่ เช่น เสือคําราม.
คำแสด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Bixa orellana L. ในวงศ์ Bixaceae เมล็ดใช้ย้อมผ้า, แสด ก็เรียก. (๒) ดู แทงทวย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก.คำแสด น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Bixa orellana L. ในวงศ์ Bixaceae เมล็ดใช้ย้อมผ้า, แสด ก็เรียก. (๒) ดู แทงทวย.
คำแหง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-งอ-งู[–แหงฺ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กําแหง, แข็งแรง, กล้าแข็ง, เข้มแข็ง.คำแหง [–แหงฺ] ว. กําแหง, แข็งแรง, กล้าแข็ง, เข้มแข็ง.
คำโอง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โอ่โถง; อวดอ้าง.คำโอง ๑ ก. โอ่โถง; อวดอ้าง.
คำโอง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อตัวผู้.คำโอง ๒ น. เนื้อตัวผู้.
คิก ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงหัวเราะเบา ๆ.คิก ๆ ว. เสียงหัวเราะเบา ๆ.
คิง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกาย เช่น รทวยรแถ้ง คิงคมกล้องแกล้ง. (สุธนู).คิง (ถิ่น) น. ร่างกาย เช่น รทวยรแถ้ง คิงคมกล้องแกล้ง. (สุธนู).
คิด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ; ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่น คิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คํานวณ เช่น คิดเลขในใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ, เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย.คิด ก. ทําให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ; ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่น คิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คํานวณ เช่น คิดเลขในใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ, เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย.
คิดการใหญ่ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง คิดจะทําการใหญ่เกินตัว.คิดการใหญ่ ก. คิดจะทําการใหญ่เกินตัว.
คิดคด เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทรยศ.คิดคด ก. คิดทรยศ.
คิดค้น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตริตรองเพื่อหาความจริง.คิดค้น ก. ตริตรองเพื่อหาความจริง.
คิดตก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง พิจารณาจนเห็นจริงแล้วปล่อยไปตามสภาพ; คิดสําเร็จ.คิดตก ก. พิจารณาจนเห็นจริงแล้วปล่อยไปตามสภาพ; คิดสําเร็จ.
คิดถึง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง นึกถึง, นึกถึงด้วยใจผูกพัน.คิดถึง ก. นึกถึง, นึกถึงด้วยใจผูกพัน.
คิดมาก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง คิดเกินกว่าเหตุ, รู้สึกสะเทือนใจง่าย.คิดมาก ก. คิดเกินกว่าเหตุ, รู้สึกสะเทือนใจง่าย.
คิดลึก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง คิดไกลเกินกว่าธรรมดา.คิดลึก ก. คิดไกลเกินกว่าธรรมดา.
คิดเล็กคิดน้อย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง คิดละเอียดถี่ถ้วนเกินไป ไม่ยอมเสียเปรียบใคร.คิดเล็กคิดน้อย ก. คิดละเอียดถี่ถ้วนเกินไป ไม่ยอมเสียเปรียบใคร.
คิดไว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง คิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้รวดเร็ว.คิดไว ก. คิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้รวดเร็ว.
คิดสมบัติบ้า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง คิดมั่งมีอย่างเลื่อนลอย.คิดสมบัติบ้า ก. คิดมั่งมีอย่างเลื่อนลอย.
คิดสั้น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทําลายตนเองเพราะหาทางออกไม่ได้.คิดสั้น ก. คิดทําลายตนเองเพราะหาทางออกไม่ได้.
คิดหน้าคิดหลัง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง คิดอย่างรอบคอบ.คิดหน้าคิดหลัง ก. คิดอย่างรอบคอบ.
คิดเห็น เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าใจ.คิดเห็น ก. เข้าใจ.
คิดอ่าน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตริตรองหาทางแก้ไข.คิดอ่าน ก. ตริตรองหาทางแก้ไข.
คิมหะ, คิมหานะ คิมหะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ คิมหานะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [คิม–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูร้อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คิมหะ, คิมหานะ [คิม–] (แบบ) น. ฤดูร้อน. (ป.).
คิมหันต์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูร้อน.คิมหันต์ น. ฤดูร้อน.
คิริ, คิรี คิริ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ คิรี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คิริ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.คิริ, คิรี น. ภูเขา. (ป., ส. คิริ).
คิลาน–, คิลานะ คิลาน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู คิลานะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ [คิลานะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คนเจ็บ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คิลาน–, คิลานะ [คิลานะ–] น. คนเจ็บ. (ป.).
คิลานปัจจัย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ปัจจัยสําหรับคนไข้, วัตถุเป็นเครื่องอาศัยของผู้เจ็บไข้, ยารักษาโรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .คิลานปัจจัย น. ปัจจัยสําหรับคนไข้, วัตถุเป็นเครื่องอาศัยของผู้เจ็บไข้, ยารักษาโรค. (ป.).
คิลานเภสัช เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง เป็นคำนาม หมายถึง ยารักษาโรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คิลาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู + เภสชฺช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง .คิลานเภสัช น. ยารักษาโรค. (ป. คิลาน + เภสชฺช).
คิว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ลูกบาศก์ เช่น นํ้า ๕ คิว, เรียกเต็มว่า คิวบิก เช่น คิวบิกเมตร คิวบิกฟุต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cubic เขียนว่า ซี-ยู-บี-ไอ-ซี.คิว ๑ (ปาก) น. ลูกบาศก์ เช่น นํ้า ๕ คิว, เรียกเต็มว่า คิวบิก เช่น คิวบิกเมตร คิวบิกฟุต. (อ. cubic).
คิว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แถวตามลําดับก่อนหลัง เช่น เข้าคิว คิวรถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ queue เขียนว่า คิว-ยู-อี-ยู-อี.คิว ๒ น. แถวตามลําดับก่อนหลัง เช่น เข้าคิว คิวรถ. (อ. queue).
คิ้ว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนโค้งขอบกระบอกตาข้างบนซึ่งมีขนขึ้นที่โค้งนั้น; ไม้ที่ช่างลอกเป็นลวดสําหรับประกอบขอบหรือริมประตูหน้าต่างเป็นต้น, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คิ้วรถยนต์; เรียกพายที่ทําเป็นลวดในใบพายว่า พายคิ้ว.คิ้ว น. ส่วนโค้งขอบกระบอกตาข้างบนซึ่งมีขนขึ้นที่โค้งนั้น; ไม้ที่ช่างลอกเป็นลวดสําหรับประกอบขอบหรือริมประตูหน้าต่างเป็นต้น, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คิ้วรถยนต์; เรียกพายที่ทําเป็นลวดในใบพายว่า พายคิ้ว.
คิ้วนาง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Bauhinia winitii Craib ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบนกว้างและโค้ง ดอกสีขาว รากใช้กินกับหมากต่างสีเสียด, อรพิม ก็เรียก.คิ้วนาง น. ชื่อไม้เถาชนิด Bauhinia winitii Craib ในวงศ์ Leguminosae ฝักแบนกว้างและโค้ง ดอกสีขาว รากใช้กินกับหมากต่างสีเสียด, อรพิม ก็เรียก.
คี่ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จํานวนที่หารด้วย ๒ ไม่ลงตัว, เดี่ยว, ตรงข้ามกับ คู่.คี่ ว. จํานวนที่หารด้วย ๒ ไม่ลงตัว, เดี่ยว, ตรงข้ามกับ คู่.
คีต, คีต–, คีตกะ, คีตะ คีต เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า คีต– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า คีตกะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ คีตะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ [คีด, คีตะ–, คีตะกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เพลงขับ, การขับร้อง, เช่น แลคีตสําเนียงบรรสาน. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .คีต, คีต–, คีตกะ, คีตะ [คีด, คีตะ–, คีตะกะ] (แบบ) น. เพลงขับ, การขับร้อง, เช่น แลคีตสําเนียงบรรสาน. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
คีบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปลายสิ่งที่เป็นง่ามเช่นคีมหรือปลายไม้ ๒ อันจับสิ่งอื่นให้อยู่.คีบ ก. เอาปลายสิ่งที่เป็นง่ามเช่นคีมหรือปลายไม้ ๒ อันจับสิ่งอื่นให้อยู่.
คีม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือชนิดหนึ่งมี ๒ ขาคล้ายกรรไตรสําหรับคีบของต่างมือ ทําด้วยเหล็กเป็นต้น.คีม น. เครื่องมือชนิดหนึ่งมี ๒ ขาคล้ายกรรไตรสําหรับคีบของต่างมือ ทําด้วยเหล็กเป็นต้น.
คีรี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คิริ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.คีรี น. ภูเขา. (ป., ส. คิริ).
คีรีบูน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Fringillidae มีหลายชนิดและหลายสี ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปยุโรป กินเมล็ดพืช เป็นนกเลี้ยงใส่กรงไว้ฟังเสียงร้องซึ่งไพเราะ ที่นิยมคือ ชนิดสีเหลือง (Serinus pusillus) และชนิดสีชมพู (Carpodacus erythrinus).คีรีบูน น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Fringillidae มีหลายชนิดและหลายสี ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปยุโรป กินเมล็ดพืช เป็นนกเลี้ยงใส่กรงไว้ฟังเสียงร้องซึ่งไพเราะ ที่นิยมคือ ชนิดสีเหลือง (Serinus pusillus) และชนิดสีชมพู (Carpodacus erythrinus).
คึก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คะนอง, ลําพอง, ร่าเริง, ฮึก ก็ว่า.คึก ว. คะนอง, ลําพอง, ร่าเริง, ฮึก ก็ว่า.
คึ่ก, คึ่ก ๆ คึ่ก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-กอ-ไก่ คึ่ก ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงลมพัดคึ่ก ๆ.คึ่ก, คึ่ก ๆ ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงลมพัดคึ่ก ๆ.
คึกคัก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, มีชีวิตชีวา, เช่น ดูท่าทางคึกคัก; ลักษณะที่มีผู้คนพลุกพล่านเข้า ๆ ออก ๆ มากกว่าปรกติ เช่น บ้านนี้มีผู้คนคึกคัก.คึกคัก ว. แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, มีชีวิตชีวา, เช่น ดูท่าทางคึกคัก; ลักษณะที่มีผู้คนพลุกพล่านเข้า ๆ ออก ๆ มากกว่าปรกติ เช่น บ้านนี้มีผู้คนคึกคัก.
คึกคาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง คึกคะนอง.คึกคาม ก. คึกคะนอง.
คืน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ยํ่าคํ่าถึงยํ่ารุ่ง, เวลากลางคืน.คืน ๑ น. ระยะเวลาตั้งแต่ยํ่าคํ่าถึงยํ่ารุ่ง, เวลากลางคืน.
คืนยังรุ่ง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตลอดคืน.คืนยังรุ่ง ว. ตลอดคืน.
คืน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กลับเข้าสู่ภาวะหรือฐานะเดิม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลับดังเดิม เช่น ได้คืน กลับคืน ส่งคืน.คืน ๒ ก. กลับเข้าสู่ภาวะหรือฐานะเดิม. ว. กลับดังเดิม เช่น ได้คืน กลับคืน ส่งคืน.
คืนคำ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดว่าจะให้แล้วไม่ให้.คืนคำ ก. พูดว่าจะให้แล้วไม่ให้.
คืนชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำกริยา หมายถึง ตายแล้วกลับฟื้นขึ้นมาอีก.คืนชีพ ก. ตายแล้วกลับฟื้นขึ้นมาอีก.
คืนดี เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธกันแล้วกลับดีกัน.คืนดี ก. โกรธกันแล้วกลับดีกัน.
คืนตัว เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะที่สารละลายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ทําให้เป็นของแข็งแล้วกลับเป็นของเหลวอีก เช่น นํ้าตาลคืนตัว, ลักษณะที่ของแข็งที่ทําให้เป็นของเหลวแล้วกลับเป็นของแข็งอีก เช่น โลหะคืนตัว.คืนตัว ก. ลักษณะที่สารละลายของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ทําให้เป็นของแข็งแล้วกลับเป็นของเหลวอีก เช่น นํ้าตาลคืนตัว, ลักษณะที่ของแข็งที่ทําให้เป็นของเหลวแล้วกลับเป็นของแข็งอีก เช่น โลหะคืนตัว.
คืนให้ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง กลับให้แก่เจ้าของเดิม.คืนให้ ก. กลับให้แก่เจ้าของเดิม.
คืบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. เป็นคำกริยา หมายถึง เขยิบตัวไปข้างหน้าอย่างหนอน, ก้าวหน้า เช่น ข่าวคืบหน้า ทํางานไม่คืบหน้า.คืบ ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. ก. เขยิบตัวไปข้างหน้าอย่างหนอน, ก้าวหน้า เช่น ข่าวคืบหน้า ทํางานไม่คืบหน้า.
คืบก็ทะเล ศอกก็ทะเล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง สอ-สา-ลา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ออกทะเลอย่าประมาททะเล เพราะอาจเกิดอันตรายได้ทุกเมื่อ.คืบก็ทะเล ศอกก็ทะเล (สำ) ออกทะเลอย่าประมาททะเล เพราะอาจเกิดอันตรายได้ทุกเมื่อ.
คืบ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ว่านชนิดหนึ่ง ใบเหมือนผักอีแปะ ก้านเขียวเล็ก มีเมล็ดที่ปลายใบ เมื่อเมล็ดแก่และหางตกถึงดินแล้ว เมล็ดงอกเป็นต้นขึ้นมา ในตํารากบิลว่านกล่าวว่าใช้เมล็ดห่อผ้าไว้ ตีฟันไม่เข้า. ในวงเล็บ มาจาก ตำรากบิลว่าน ของ หลวงประพัฒสรรพากร.คืบ ๒ น. ว่านชนิดหนึ่ง ใบเหมือนผักอีแปะ ก้านเขียวเล็ก มีเมล็ดที่ปลายใบ เมื่อเมล็ดแก่และหางตกถึงดินแล้ว เมล็ดงอกเป็นต้นขึ้นมา ในตํารากบิลว่านกล่าวว่าใช้เมล็ดห่อผ้าไว้ ตีฟันไม่เข้า. (กบิลว่าน).
คือ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำสันธาน หมายถึง เท่ากับ, ได้แก่. เป็นคำกริยา หมายถึง เป็น เช่น โลกคือดาวดวงหนึ่ง.คือ สัน. เท่ากับ, ได้แก่. ก. เป็น เช่น โลกคือดาวดวงหนึ่ง.
คุ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหม้ระอุอยู่ข้างในอย่างไฟที่ไหม้ขอนไม้ระอุอยู่ข้างใน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดุ เช่น ถูกคุ.คุ ว. ไหม้ระอุอยู่ข้างในอย่างไฟที่ไหม้ขอนไม้ระอุอยู่ข้างใน. (ปาก) ก. ดุ เช่น ถูกคุ.
คุก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ขังนักโทษ, เรือนจํา.คุก น. ที่ขังนักโทษ, เรือนจํา.
คุกกี้ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลี ไข่ เนย น้ำตาล เป็นต้น ทําเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วอบให้กรอบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cookie เขียนว่า ซี-โอ-โอ-เค-ไอ-อี.คุกกี้ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลี ไข่ เนย น้ำตาล เป็นต้น ทําเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วอบให้กรอบ. (อ. cookie).
คุกเข่า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ย่อเข่าลงให้ติดพื้น.คุกเข่า ก. ย่อเข่าลงให้ติดพื้น.
คุกคลาน เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง คลานด้วยกิริยาที่ยอบตัวลงให้เตี้ยโดยใช้เข่าเดิน.คุกคลาน ก. คลานด้วยกิริยาที่ยอบตัวลงให้เตี้ยโดยใช้เข่าเดิน.
คุกคาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอํานาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทําให้หวาดกลัว เช่น ภัยคุกคาม, ในบทกลอนใช้ว่า คุก ก็มี เช่น ไป่ขู่ไป่คุก ไป่รุกรุมตี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.คุกคาม ก. แสดงอํานาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทําให้หวาดกลัว เช่น ภัยคุกคาม, ในบทกลอนใช้ว่า คุก ก็มี เช่น ไป่ขู่ไป่คุก ไป่รุกรุมตี. (สมุทรโฆษ).
คุกพาทย์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงปี่พาทย์เพลงหนึ่ง ใช้เป็นหน้าพาทย์ประกอบการรําในท่าที่ดุร้าย.คุกพาทย์ น. ชื่อเพลงปี่พาทย์เพลงหนึ่ง ใช้เป็นหน้าพาทย์ประกอบการรําในท่าที่ดุร้าย.
คุคะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถา ใช้ทํายาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.คุคะ น. ชื่อไม้เถา ใช้ทํายาได้. (พจน. ๒๔๙๓).
คุง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยาว, อ้อม, นาน, ตลอดไป, คุ้ง ก็ว่า. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสันธาน หมายถึง ตราบเท่า, คุ้ง คุ้ม หรือ คุ้มเท้า ก็ว่า.คุง (โบ) ว. ยาว, อ้อม, นาน, ตลอดไป, คุ้ง ก็ว่า. (โบ) สัน. ตราบเท่า, คุ้ง คุ้ม หรือ คุ้มเท้า ก็ว่า.
คุ้ง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนเว้าโค้งเข้าไปของฝั่งนํ้าด้านที่ตรงกันข้ามกับหัวแหลม. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยาว, อ้อม, นาน, ตลอดไป, คุง ก็ว่า. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสันธาน หมายถึง ตราบเท่า, คุง คุ้ม หรือ คุ้มเท้า ก็ว่า.คุ้ง น. ส่วนเว้าโค้งเข้าไปของฝั่งนํ้าด้านที่ตรงกันข้ามกับหัวแหลม. (โบ) ว. ยาว, อ้อม, นาน, ตลอดไป, คุง ก็ว่า. (โบ) สัน. ตราบเท่า, คุง คุ้ม หรือ คุ้มเท้า ก็ว่า.
คุณ ๑, คุณ คุณ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน คุณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน – [คุน, คุนนะ–] น. ความดีที่มีประจําอยู่ในสิ่งนั้น ๆ; ความเกื้อกูล เช่น รู้คุณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; คําที่ใช้เรียกนําหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่อง เช่น คุณพ่อ คุณแม่ คุณสมร; คํานําหน้าชื่อสตรีที่ยังไม่ได้สมรสและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้าถึงชั้นทุติยจุลจอมเกล้า, คำนำหน้าชื่อสตรีที่ยังไม่ได้สมรสและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายในชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง คําแต่งชื่อ. เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคําสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, เช่น คุณอยู่ไหม ช่วยไปเรียนว่ามีคนมาหา.คุณ ๑, คุณ – [คุน, คุนนะ–] น. ความดีที่มีประจําอยู่ในสิ่งนั้น ๆ; ความเกื้อกูล เช่น รู้คุณ. (ป., ส.); คําที่ใช้เรียกนําหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่อง เช่น คุณพ่อ คุณแม่ คุณสมร; คํานําหน้าชื่อสตรีที่ยังไม่ได้สมรสและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้าถึงชั้นทุติยจุลจอมเกล้า, คำนำหน้าชื่อสตรีที่ยังไม่ได้สมรสและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายในชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป; (ไว) คําแต่งชื่อ. ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นคําสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, (ปาก) คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึงด้วยความสุภาพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓, เช่น คุณอยู่ไหม ช่วยไปเรียนว่ามีคนมาหา.
คุณค่า เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[คุนค่า, คุนนะค่า] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีประโยชน์หรือมีมูลค่าสูง.คุณค่า [คุนค่า, คุนนะค่า] น. สิ่งที่มีประโยชน์หรือมีมูลค่าสูง.
คุณชาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ใช้เรียกหม่อมราชวงศ์ที่เป็นชาย.คุณชาย (ปาก) น. คําที่ใช้เรียกหม่อมราชวงศ์ที่เป็นชาย.
คุณธรรม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง สภาพคุณงามความดี.คุณธรรม [คุนนะ–] น. สภาพคุณงามความดี.
คุณนาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า[คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อที่ตั้งขึ้นโดยถือเอาความดีเป็นหลัก เช่น พระปิยมหาราช; (ไว; เลิก) คําคุณที่มาใช้เป็นนาม เช่น ความดีความชอบ.คุณนาม [คุนนะ–] น. ชื่อที่ตั้งขึ้นโดยถือเอาความดีเป็นหลัก เช่น พระปิยมหาราช; (ไว; เลิก) คําคุณที่มาใช้เป็นนาม เช่น ความดีความชอบ.
คุณนาย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง คํายกย่อง ใช้เรียกภรรยาข้าราชการชั้นสัญญาบัตรที่ยังมิได้เป็นคุณหญิง, ในปัจจุบันใช้เรียกยกย่องสตรีทั่ว ๆ ไปที่ผู้เรียกนับถือ.คุณนาย น. คํายกย่อง ใช้เรียกภรรยาข้าราชการชั้นสัญญาบัตรที่ยังมิได้เป็นคุณหญิง, ในปัจจุบันใช้เรียกยกย่องสตรีทั่ว ๆ ไปที่ผู้เรียกนับถือ.
คุณบท เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน[คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กลบทโบราณชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า “เดชกุศลผล ตนข้าแปล แก้คัมภีร์ ที่ชาดก, ยกจากอรรถ จัดปัญญาส ชาติโพธิสัตว์ คัดประจง”. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง ศิริวิบุลกิตติ ในหนังสือชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๕๐๔.คุณบท [คุนนะ–] น. กลบทโบราณชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า “เดชกุศลผล ตนข้าแปล แก้คัมภีร์ ที่ชาดก, ยกจากอรรถ จัดปัญญาส ชาติโพธิสัตว์ คัดประจง”. (ศิริวิบุลกิตติ).
คุณประโยชน์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[คุนนะปฺระโหฺยด, คุนปฺระโหฺยด] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่เป็นประโยชน์ เช่น สมุนไพรมีคุณประโยชน์ในการทำยารักษาโรคได้.คุณประโยชน์ [คุนนะปฺระโหฺยด, คุนปฺระโหฺยด] น. ลักษณะที่เป็นประโยชน์ เช่น สมุนไพรมีคุณประโยชน์ในการทำยารักษาโรคได้.
คุณพิเศษ, คุณวิเศษ คุณพิเศษ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สอ-รือ-สี คุณวิเศษ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สอ-รือ-สี [คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความดีแปลกกว่าสามัญ.คุณพิเศษ, คุณวิเศษ [คุนนะ–] น. ความดีแปลกกว่าสามัญ.
คุณภาพ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่ดีเด่นของบุคคลหรือสิ่งของ.คุณภาพ [คุนนะ–] น. ลักษณะที่ดีเด่นของบุคคลหรือสิ่งของ.
คุณลักษณะ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[คุนนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายหรือสิ่งที่ชี้ให้เห็นความดีหรือลักษณะประจํา.คุณลักษณะ [คุนนะ–] น. เครื่องหมายหรือสิ่งที่ชี้ให้เห็นความดีหรือลักษณะประจํา.
คุณวุฒิ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ[คุนนะวุดทิ, คุนนะวุด] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ความสามารถของบุคคล, ระดับการศึกษา, เช่น เขามีคุณวุฒิเหมาะจะเป็นครู.คุณวุฒิ [คุนนะวุดทิ, คุนนะวุด] น. ความรู้ความสามารถของบุคคล, ระดับการศึกษา, เช่น เขามีคุณวุฒิเหมาะจะเป็นครู.
คุณศัพท์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด[คุนนะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คําคุณ หรือ วิเศษณ์.คุณศัพท์ [คุนนะ–] (ไว) น. คําคุณ หรือ วิเศษณ์.
คุณสมบัติ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[คุนนะสมบัด, คุนสมบัด] เป็นคำนาม หมายถึง คุณงามความดี, คุณลักษณะประจําตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง.คุณสมบัติ [คุนนะสมบัด, คุนสมบัด] น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจําตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง.
คุณหญิง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อสตรีที่สมรสแล้วและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้าถึงชั้นทุติยจุลจอมเกล้า; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง คำนำหน้าชื่อสตรีที่เป็นเอกภรรยาของพระยา; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คำที่ใช้เรียกหม่อมราชวงศ์ที่เป็นหญิง.คุณหญิง น. คํานําหน้าชื่อสตรีที่สมรสแล้วและได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้าถึงชั้นทุติยจุลจอมเกล้า; (โบ) คำนำหน้าชื่อสตรีที่เป็นเอกภรรยาของพระยา; (ปาก) คำที่ใช้เรียกหม่อมราชวงศ์ที่เป็นหญิง.
คุณากร เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[คุนากอน] เป็นคำนาม หมายถึง บ่อเกิดแห่งความดี, ที่รวมแห่งความดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คุณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน + อากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ .คุณากร [คุนากอน] น. บ่อเกิดแห่งความดี, ที่รวมแห่งความดี. (ป. คุณ + อากร).
คุณูปการ, คุโณปการ คุณูปการ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ คุโณปการ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ [คุนูปะกาน, คุโน–] เป็นคำนาม หมายถึง การอุดหนุนทําความดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คุณ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน + อุปการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .คุณูปการ, คุโณปการ [คุนูปะกาน, คุโน–] น. การอุดหนุนทําความดี. (ป. คุณ + อุปการ).