เข้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทําให้เคลื่อนไปข้างใน เช่น เข้าบ้าน เข้าถํ้า เอาหนังสือเข้าตู้; เคลื่อนมาสู่ที่, มาถึง, เช่น รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เข้าหีบ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ; รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน; รวมเป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทําให้ลงรอยกัน, เหมาะเจาะ, เช่น เสียงเข้ากัน สีเข้ากัน เข้าไม้; เคลื่อนมาสู่ เช่น พระศุกร์เข้า; สิง เช่น เจ้าเข้า ผีเข้า; เริ่ม เช่น เข้าเรียน, เริ่มทํางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เริ่มอยู่ในภาวะ เช่น เข้าโรงเรียน เข้าทํางาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า; ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความหมายเร่งรัดหรือเน้นความว่า มากขึ้น เช่น เร็วเข้า คิดเข้า หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า.เข้า ๑ ก. อาการที่เคลื่อนไปข้างในหรือทําให้เคลื่อนไปข้างใน เช่น เข้าบ้าน เข้าถํ้า เอาหนังสือเข้าตู้; เคลื่อนมาสู่ที่, มาถึง, เช่น รถด่วนเข้า ๑๐ โมง; ใส่, บรรจุ, เช่น เข้าหีบ; ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ; รวม เช่น เข้าหุ้น เข้าทุน; รวมเป็นพวก เช่น เข้าพรรค เข้าแถว เข้าข้าง; ถูกกัน, ลงรอยกัน, ทําให้ลงรอยกัน, เหมาะเจาะ, เช่น เสียงเข้ากัน สีเข้ากัน เข้าไม้; เคลื่อนมาสู่ เช่น พระศุกร์เข้า; สิง เช่น เจ้าเข้า ผีเข้า; เริ่ม เช่น เข้าเรียน, เริ่มทํางาน เช่น โรงเรียนเข้า; เริ่มอยู่ในภาวะ เช่น เข้าโรงเรียน เข้าทํางาน. ว. ตรงข้ามกับ ออก เช่น ทางเข้า ขาเข้า; ใช้ประกอบคําอื่นแสดงความหมายเร่งรัดหรือเน้นความว่า มากขึ้น เช่น เร็วเข้า คิดเข้า หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า.
เข้ากรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ไฟ.เข้ากรรม (ถิ่น–อีสาน) ก. อยู่ไฟ.
เข้ากระโจม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปอยู่ในผ้าที่ทําเป็นกระโจมเพื่ออบให้เหงื่อออก, เข้าไปอบควันยาในกระโจม.เข้ากระโจม ก. เข้าไปอยู่ในผ้าที่ทําเป็นกระโจมเพื่ออบให้เหงื่อออก, เข้าไปอบควันยาในกระโจม.
เข้ากระดูกดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ติดแน่นจนถอนไม่ขึ้นหรือไม่รู้ลืม.เข้ากระดูกดำ ว. ติดแน่นจนถอนไม่ขึ้นหรือไม่รู้ลืม.
เข้าเกณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าหลักที่กําหนดไว้ เช่น อายุเข้าเกณฑ์.เข้าเกณฑ์ ก. เข้าหลักที่กําหนดไว้ เช่น อายุเข้าเกณฑ์.
เข้าเกียร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ผลักคันเกียร์ให้เข้าที่เพื่อเปลี่ยนระดับความเร็วของเครื่องยนต์.เข้าเกียร์ ก. ผลักคันเกียร์ให้เข้าที่เพื่อเปลี่ยนระดับความเร็วของเครื่องยนต์.
เข้าโกศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา เป็นคำกริยา หมายถึง บรรจุศพลงในโกศ, ลงโกศ ก็ว่า.เข้าโกศ ก. บรรจุศพลงในโกศ, ลงโกศ ก็ว่า.
เข้าข้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง อาการของโรคชนิดหนึ่งให้เมื่อยขัดอยู่ในข้อ; กามโรคที่เรื้อรังมาจนถึงทําให้ปวดตามข้อกระดูก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ออกดอก เป็น เข้าข้อออกดอก.เข้าข้อ น. อาการของโรคชนิดหนึ่งให้เมื่อยขัดอยู่ในข้อ; กามโรคที่เรื้อรังมาจนถึงทําให้ปวดตามข้อกระดูก, มักใช้เข้าคู่กับคำ ออกดอก เป็น เข้าข้อออกดอก.
เข้าขา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอดคล้องกัน, ไปกันได้ดี, เช่น นักเทนนิสคู่นี้เล่นเข้าขากันได้ดี.เข้าขา ว. สอดคล้องกัน, ไปกันได้ดี, เช่น นักเทนนิสคู่นี้เล่นเข้าขากันได้ดี.
เข้าข้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าเป็นฝ่าย.เข้าข้าง ก. เข้าเป็นฝ่าย.
เข้าคอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน.เข้าคอ ก. ประพฤติให้ถูกใจกันได้, มีความประพฤติถูกกัน, ไม่ขัดคอกัน.
เข้าคิว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าแถวตามลําดับมาก่อนมาหลัง.เข้าคิว ก. เข้าแถวตามลําดับมาก่อนมาหลัง.
เข้าคู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไพ่ตอง ๒ ใบที่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ คู่; ไปด้วยกันได้อย่างดี.เข้าคู่ ก. เอาไพ่ตอง ๒ ใบที่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ คู่; ไปด้วยกันได้อย่างดี.
เข้าเครื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สวมใส่เครื่องแต่งตัวโขน ละคร ลิเกตัวสําคัญ ๆ; คําพูดสําหรับว่าว หมายความว่า ผูกเหนียง ผูกติ่ง, ถ้าสายป่านของว่าวปักเป้าตรงช่วงสายเหนียงติดเครื่อง คือ ติดเหนียงและติ่ง เรียกว่า เหนียงเข้าเครื่อง, ถ้าสายป่านของว่าวจุฬาติดจำปา เรียกว่า ป่านเข้าเครื่อง.เข้าเครื่อง ก. สวมใส่เครื่องแต่งตัวโขน ละคร ลิเกตัวสําคัญ ๆ; คําพูดสําหรับว่าว หมายความว่า ผูกเหนียง ผูกติ่ง, ถ้าสายป่านของว่าวปักเป้าตรงช่วงสายเหนียงติดเครื่อง คือ ติดเหนียงและติ่ง เรียกว่า เหนียงเข้าเครื่อง, ถ้าสายป่านของว่าวจุฬาติดจำปา เรียกว่า ป่านเข้าเครื่อง.
เข้าเค้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เหมาะกับรูปร่าง เค้าหน้า หรือ กิริยาท่าทาง, เหมาะกับเรื่องราวหรือเหตุผล.เข้าเค้า ก. เหมาะกับรูปร่าง เค้าหน้า หรือ กิริยาท่าทาง, เหมาะกับเรื่องราวหรือเหตุผล.
เข้าไคล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะมะม่วงที่แก่มีนวล มีเมล็ดแข็ง, โดยปริยายหมายความว่า จวนจะรู้ผล, ใกล้จะสำเร็จ.เข้าไคล ก. ลักษณะมะม่วงที่แก่มีนวล มีเมล็ดแข็ง, โดยปริยายหมายความว่า จวนจะรู้ผล, ใกล้จะสำเร็จ.
เข้าเงียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติสงบจิตใจอยู่ในที่สงัดตามลัทธิคริสต์ศาสนา.เข้าเงียบ ก. ประพฤติสงบจิตใจอยู่ในที่สงัดตามลัทธิคริสต์ศาสนา.
เข้าแง่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกที่เหมาะ, ถูกที่สําคัญ.เข้าแง่ ก. ถูกที่เหมาะ, ถูกที่สําคัญ.
เข้าเจ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีให้เจ้ามาสิงในกาย, ตัวผู้ทําพิธีให้เจ้ามาสิงนั้น เรียกว่า “คนทรง”, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข้าทรง เป็น เข้าเจ้าเข้าทรง.เข้าเจ้า ก. ทําพิธีให้เจ้ามาสิงในกาย, ตัวผู้ทําพิธีให้เจ้ามาสิงนั้น เรียกว่า “คนทรง”, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข้าทรง เป็น เข้าเจ้าเข้าทรง.
เข้าเจ้าเข้านาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง รู้จักธรรมเนียมเข้าเฝ้าเจ้านาย และเข้าไปหาผู้หลักผู้ใหญ่อย่างเหมาะสม.เข้าเจ้าเข้านาย ก. รู้จักธรรมเนียมเข้าเฝ้าเจ้านาย และเข้าไปหาผู้หลักผู้ใหญ่อย่างเหมาะสม.
เข้าใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้เรื่อง, รู้ความหมาย.เข้าใจ ก. รู้เรื่อง, รู้ความหมาย.
เข้าชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ลงชื่อร่วมกันหลาย ๆ คน เพื่อร้องเรียนหรือแสดงความจํานง.เข้าชื่อ ก. ลงชื่อร่วมกันหลาย ๆ คน เพื่อร้องเรียนหรือแสดงความจํานง.
เข้าฌาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําใจให้สงบตามหลักทางศาสนา, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร. ในวงเล็บ ดู ฌาน เขียนว่า ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.เข้าฌาน ก. ทําใจให้สงบตามหลักทางศาสนา, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือนั่งเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร. (ดู ฌาน).
เข้าด้ายเข้าเข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จวนจะสำเร็จ ถ้าทำผิดพลาดหรือมีอะไรมาขัดจังหวะแม้เพียงเล็กน้อยก็เสียการ.เข้าด้ายเข้าเข็ม (สำ) ว. จวนจะสำเร็จ ถ้าทำผิดพลาดหรือมีอะไรมาขัดจังหวะแม้เพียงเล็กน้อยก็เสียการ.
เข้าเดือย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง นําไม้ ๒ อัน โดยอันหนึ่งทําให้เป็นเดือย อีกอันหนึ่งเจาะรูให้พอเหมาะกัน มาประกบให้ประสานกันพอดี.เข้าเดือย ก. นําไม้ ๒ อัน โดยอันหนึ่งทําให้เป็นเดือย อีกอันหนึ่งเจาะรูให้พอเหมาะกัน มาประกบให้ประสานกันพอดี.
เข้าตรีทูต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการหมดความรู้สึกเมื่อใกล้จะตาย, อาการหนักปางตาย.เข้าตรีทูต ว. มีอาการหมดความรู้สึกเมื่อใกล้จะตาย, อาการหนักปางตาย.
เข้าตอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไพ่ตอง ๓ ใบที่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ ตอง.เข้าตอง ก. เอาไพ่ตอง ๓ ใบที่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ ตอง.
เข้าตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่อาคม ของขลัง หรือถ้อยคําที่ปรารถนาจะกระทําหรือพูดให้ร้ายแก่ผู้อื่นแล้วย้อนกลับมาโดนตัวเอง, ไม่พ้นตัว เช่น พูดเข้าตัว.เข้าตัว ก. อาการที่อาคม ของขลัง หรือถ้อยคําที่ปรารถนาจะกระทําหรือพูดให้ร้ายแก่ผู้อื่นแล้วย้อนกลับมาโดนตัวเอง, ไม่พ้นตัว เช่น พูดเข้าตัว.
เข้าตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เห็นว่าดีและพอใจ เช่น เข้าตากรรมการ.เข้าตา ก. เห็นว่าดีและพอใจ เช่น เข้าตากรรมการ.
เข้าตาจน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หมดทางไป, หมดทางที่จะแก้ไข, หมดหนทางหากิน. (มาจากภาษาหมากรุก).เข้าตาจน ก. หมดทางไป, หมดทางที่จะแก้ไข, หมดหนทางหากิน. (มาจากภาษาหมากรุก).
เข้าตามตรอกออกตามประตู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําตามธรรมเนียมในเรื่องการสู่ขอ.เข้าตามตรอกออกตามประตู (สำ) ก. ทําตามธรรมเนียมในเรื่องการสู่ขอ.
เข้าตาร้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงคราวเดือดร้อน.เข้าตาร้าย ก. ถึงคราวเดือดร้อน.
เข้าตำรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกแบบแผน, ตรงตามแบบอย่างที่เคยมีมา, ถูกกับเรื่องราวที่เคยเล่ากันมา.เข้าตำรา ก. ถูกแบบแผน, ตรงตามแบบอย่างที่เคยมีมา, ถูกกับเรื่องราวที่เคยเล่ากันมา.
เข้าตู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า “วิชาเข้าตู้” ซึ่งหมายความว่า วิชาที่เคยจําได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ในตําราที่เก็บไว้ในตู้.เข้าตู้ (ปาก) ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา ใช้พูดว่า “วิชาเข้าตู้” ซึ่งหมายความว่า วิชาที่เคยจําได้นั้นบัดนี้ลืมหมดแล้ว ยังคงอยู่แต่ในตําราที่เก็บไว้ในตู้.
เข้าไต้เข้าไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เริ่มมืดต้องใช้แสงไฟ, พลบ, ใช้ว่า เวลาเข้าไต้เข้าไฟ.เข้าไต้เข้าไฟ ว. เริ่มมืดต้องใช้แสงไฟ, พลบ, ใช้ว่า เวลาเข้าไต้เข้าไฟ.
เข้าถ้ำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตะเข็บเย็บผ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งเย็บซ่อนตะเข็บไว้ข้างใน.เข้าถ้ำ น. ชื่อตะเข็บเย็บผ้าชนิดหนึ่ง ซึ่งเย็บซ่อนตะเข็บไว้ข้างใน.
เข้าถึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าใจอย่างซาบซึ้ง เช่น เข้าถึงบท เข้าถึงวรรณคดี, เข้าใกล้ชิดสนิทสนมเพื่อจะได้รู้ซึ้งถึงชีวิตจิตใจและความต้องการเป็นต้น เช่น เข้าถึงประชาชน.เข้าถึง ก. เข้าใจอย่างซาบซึ้ง เช่น เข้าถึงบท เข้าถึงวรรณคดี, เข้าใกล้ชิดสนิทสนมเพื่อจะได้รู้ซึ้งถึงชีวิตจิตใจและความต้องการเป็นต้น เช่น เข้าถึงประชาชน.
เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ให้มีความรอบคอบอย่าประมาท เช่นเดียวกับเวลาจะเข้าป่าจะต้องหามีดติดตัวไปด้วย.เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า (สำ) ก. ให้มีความรอบคอบอย่าประมาท เช่นเดียวกับเวลาจะเข้าป่าจะต้องหามีดติดตัวไปด้วย.
เข้าทรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เจ้าเข้าสิงในตัวคนทรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข้าเจ้า เป็น เข้าเจ้าเข้าทรง.เข้าทรง ก. อาการที่เจ้าเข้าสิงในตัวคนทรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข้าเจ้า เป็น เข้าเจ้าเข้าทรง.
เข้าท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง มีท่าทางดี, น่าดูไม่ขัดตา, เหมาะสม.เข้าท่า ก. มีท่าทางดี, น่าดูไม่ขัดตา, เหมาะสม.
เข้าทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ตรงตามที่ต้องการ, ตรงตามที่ถนัด.เข้าทาง ก. ตรงตามที่ต้องการ, ตรงตามที่ถนัด.
เข้าที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง มีท่วงทีดี, มีชั้นเชิงดี, มีท่าทีจะสําเร็จ.เข้าที ก. มีท่วงทีดี, มีชั้นเชิงดี, มีท่าทีจะสําเร็จ.
เข้าที่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง นั่งภาวนากรรมฐาน (ทางพระศาสนา); กลับเหมือนเดิม เช่น ซ้อมจนเข้าที่; นอน ใช้ในราชาศัพท์ พูดเต็มว่า เข้าที่บรรทม.เข้าที่ ก. นั่งภาวนากรรมฐาน (ทางพระศาสนา); กลับเหมือนเดิม เช่น ซ้อมจนเข้าที่; นอน ใช้ในราชาศัพท์ พูดเต็มว่า เข้าที่บรรทม.
เข้าที่เข้าทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง จัดให้เป็นระเบียบ, จัดให้เรียบร้อย, เช่น จัดข้าวของให้เข้าที่เข้าทาง.เข้าที่เข้าทาง ก. จัดให้เป็นระเบียบ, จัดให้เรียบร้อย, เช่น จัดข้าวของให้เข้าที่เข้าทาง.
เข้าทุน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รวมทุนกันเพื่อทํากิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง.เข้าทุน ก. รวมทุนกันเพื่อทํากิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
เข้านอกออกใน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สนิทสนมกับเจ้าของสถานที่เป็นพิเศษ จนสามารถเข้าไปถึงข้างในได้ตลอดเวลา.เข้านอกออกใน ก. สนิทสนมกับเจ้าของสถานที่เป็นพิเศษ จนสามารถเข้าไปถึงข้างในได้ตลอดเวลา.
เข้าเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดทุน, เสียทรัพย์ไป; เสียหาย, เสียเปรียบ, เช่น พูดให้เข้าเนื้อ; เข้าเลือด หรือ เข้าเลือดเข้าเนื้อ ก็ว่า.เข้าเนื้อ ก. ขาดทุน, เสียทรัพย์ไป; เสียหาย, เสียเปรียบ, เช่น พูดให้เข้าเนื้อ; เข้าเลือด หรือ เข้าเลือดเข้าเนื้อ ก็ว่า.
เข้าแบบ, เข้าแบบเข้าแผน เข้าแบบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ เข้าแบบเข้าแผน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกต้องตามแบบแผน, เป็นไปตามแบบ เช่น ตัวละครเข้าแบบ.เข้าแบบ, เข้าแบบเข้าแผน ก. ถูกต้องตามแบบแผน, เป็นไปตามแบบ เช่น ตัวละครเข้าแบบ.
เข้าปก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บปกหนังสือ.เข้าปก ก. เย็บปกหนังสือ.
เข้าปริวาส, เข้าปริวาสกรรม เข้าปริวาส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ เข้าปริวาสกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าปฏิบัติปริวาสกรรมให้ครบตามวันที่กำหนด (ใช้แก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส), อยู่กรรม หรือ อยู่ปริวาส ก็ว่า.เข้าปริวาส, เข้าปริวาสกรรม ก. เข้าปฏิบัติปริวาสกรรมให้ครบตามวันที่กำหนด (ใช้แก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส), อยู่กรรม หรือ อยู่ปริวาส ก็ว่า.
เข้าปากไม้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นมาบากหรือเจาะตรงปลายแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ใช้ลูกสลักไม้หรือปลิงเหล็กยึดปลายนั้นให้แน่น.เข้าปากไม้ ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นมาบากหรือเจาะตรงปลายแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ใช้ลูกสลักไม้หรือปลิงเหล็กยึดปลายนั้นให้แน่น.
เข้าปิ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ว่าวปักเป้าติดสายป่านว่าวจุฬาแล้วกระดิกไม่ไหว; อยู่ในความลําบากแก้ไขยาก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ถูกจับกุมคุมขัง, เข้าข่ายมีความผิดไปด้วย.เข้าปิ้ง ก. อาการที่ว่าวปักเป้าติดสายป่านว่าวจุฬาแล้วกระดิกไม่ไหว; อยู่ในความลําบากแก้ไขยาก, (ปาก) ถูกจับกุมคุมขัง, เข้าข่ายมีความผิดไปด้วย.
เข้าปีก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เอาต้นแขนของคนเมาเป็นต้นขึ้นพาดบ่าพยุงไป.เข้าปีก ก. อาการที่เอาต้นแขนของคนเมาเป็นต้นขึ้นพาดบ่าพยุงไป.
เข้าไป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบกิริยาแสดงการหนุนให้ทํา เช่น เตะเข้าไป กินเข้าไป.เข้าไป ว. ใช้ประกอบกิริยาแสดงการหนุนให้ทํา เช่น เตะเข้าไป กินเข้าไป.
เข้าผี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีให้ผีเข้าสิงในตัว.เข้าผี ก. ทําพิธีให้ผีเข้าสิงในตัว.
เข้าผู้เข้าคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ติดต่อกับคนอื่น ๆ ได้ดี.เข้าผู้เข้าคน ก. ติดต่อกับคนอื่น ๆ ได้ดี.
เข้าฝัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชํานาญจนอยู่ตัวแล้ว.เข้าฝัก ก. ชํานาญจนอยู่ตัวแล้ว.
เข้าฝัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มาบันดาลให้ฝันเห็น.เข้าฝัน ก. มาบันดาลให้ฝันเห็น.
เข้าเฝ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไปหาเจ้านาย.เข้าเฝ้า ก. ไปหาเจ้านาย.
เข้าเฝือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเฝือกประกับแขนหรือขาเป็นต้นที่เดาะหักเพื่อให้ปรกติ.เข้าเฝือก ก. เอาเฝือกประกับแขนหรือขาเป็นต้นที่เดาะหักเพื่อให้ปรกติ.
เข้าพกเข้าห่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไว้เป็นส่วนของตัว, รู้จักเก็บไว้บ้าง, รู้จักเก็บไม่ใช้สุรุ่ยสุร่าย.เข้าพกเข้าห่อ ก. เอาไว้เป็นส่วนของตัว, รู้จักเก็บไว้บ้าง, รู้จักเก็บไม่ใช้สุรุ่ยสุร่าย.
เข้าพรรษา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกวันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจําพรรษา คือ วันแรม ๑ คํ่า เดือน ๘ ว่า วันเข้าพรรษา. เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าอยู่ประจําที่ ๓ เดือนในฤดูฝน (ใช้แก่พระสงฆ์).เข้าพรรษา น. เรียกวันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจําพรรษา คือ วันแรม ๑ คํ่า เดือน ๘ ว่า วันเข้าพรรษา. ก. เข้าอยู่ประจําที่ ๓ เดือนในฤดูฝน (ใช้แก่พระสงฆ์).
เข้าพระเข้านาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงบทเกี้ยวพาราสี.เข้าพระเข้านาง ก. แสดงบทเกี้ยวพาราสี.
เข้าพุง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง (โบ) จําได้แม่นยําจนไม่ต้องอาศัยตําราสอบทาน; ใช้ในความว่า ลืมความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาหมด ก็มี.เข้าพุง (ปาก) ก. (โบ) จําได้แม่นยําจนไม่ต้องอาศัยตําราสอบทาน; ใช้ในความว่า ลืมความรู้ที่ได้เล่าเรียนมาหมด ก็มี.
เข้าม่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.เข้าม่าน น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง.
เข้ามุม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง นำไม้ ๒ ชิ้นมาประกอบเป็นมุม โดยตกแต่งอันหนึ่งให้เป็นเดือยรูปสามเหลี่ยม ๒ เดือย ส่วนอีกอันหนึ่งเจาะให้เป็นช่องรูปสามเหลี่ยม ๒ ช่อง มีขนาดพอที่จะสวมกันได้สนิท.เข้ามุม ก. นำไม้ ๒ ชิ้นมาประกอบเป็นมุม โดยตกแต่งอันหนึ่งให้เป็นเดือยรูปสามเหลี่ยม ๒ เดือย ส่วนอีกอันหนึ่งเจาะให้เป็นช่องรูปสามเหลี่ยม ๒ ช่อง มีขนาดพอที่จะสวมกันได้สนิท.
เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตนตามที่คนส่วนใหญ่ประพฤติกัน.เข้าเมืองตาหลิ่วต้องหลิ่วตาตาม (สำ) ก. ประพฤติตนตามที่คนส่วนใหญ่ประพฤติกัน.
เข้าไม้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง นําไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.เข้าไม้ ก. นําไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี.
เข้ายา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นประโยชน์, ใช้การได้, เปรียบกับวัตถุหรือพืชที่ทํายาได้.เข้ายา ก. เป็นประโยชน์, ใช้การได้, เปรียบกับวัตถุหรือพืชที่ทํายาได้.
เข้ารกเข้าพง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง พูดหรือทําไม่ถูกต้องกับเรื่อง เพราะขาดความชํานาญในเรื่องนั้น.เข้ารกเข้าพง (สำ) ก. พูดหรือทําไม่ถูกต้องกับเรื่อง เพราะขาดความชํานาญในเรื่องนั้น.
เข้ารหัส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนสารธรรมดาให้เป็นสารลับด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตัวอักษรอื่นแทนอักษรที่ต้องการจะใช้ หรือสลับตําแหน่งอักษรของข้อความนั้น หรือใช้สัญลักษณ์แทนซึ่งรู้กันเฉพาะผู้ที่รู้กุญแจรหัสเท่านั้น.เข้ารหัส ก. เปลี่ยนสารธรรมดาให้เป็นสารลับด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตัวอักษรอื่นแทนอักษรที่ต้องการจะใช้ หรือสลับตําแหน่งอักษรของข้อความนั้น หรือใช้สัญลักษณ์แทนซึ่งรู้กันเฉพาะผู้ที่รู้กุญแจรหัสเท่านั้น.
เข้าร่องเข้ารอย, เข้ารอย เข้าร่องเข้ารอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เข้ารอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถูกทาง.เข้าร่องเข้ารอย, เข้ารอย ว. ถูกทาง.
เข้ารอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าเกณฑ์ที่กําหนดไว้, ได้รับคัดเลือกไว้.เข้ารอบ ก. เข้าเกณฑ์ที่กําหนดไว้, ได้รับคัดเลือกไว้.
เข้ารางลิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดสั้น ๆ ว่า เข้าลิ้น.เข้ารางลิ้น ก. นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดสั้น ๆ ว่า เข้าลิ้น.
เข้าร้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ตกอยู่ในฐานะไม่ดี.เข้าร้าย (โบ) ก. ตกอยู่ในฐานะไม่ดี.
เข้ารีต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้เปลี่ยนไปถือคริสต์ศาสนาส่วนใหญ่เป็นนิกายโรมันคาทอลิกว่า ผู้เข้ารีต เช่น ญวนเข้ารีต.เข้ารีต ว. เปลี่ยนไปถือศาสนาอื่น. น. เรียกผู้เปลี่ยนไปถือคริสต์ศาสนาส่วนใหญ่เป็นนิกายโรมันคาทอลิกว่า ผู้เข้ารีต เช่น ญวนเข้ารีต.
เข้ารูป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง พอเหมาะ, พอดีตัว, เช่น เสื้อเข้ารูป.เข้ารูป ก. พอเหมาะ, พอดีตัว, เช่น เสื้อเข้ารูป.
เข้ารูปเข้ารอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกกับแบบแผน.เข้ารูปเข้ารอย ก. ถูกกับแบบแผน.
เข้าเรื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงประเด็นของเรื่อง; มีสาระ, ได้เรื่องได้ราว; มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น พูดไม่เข้าเรื่อง ทำไม่เข้าเรื่อง.เข้าเรื่อง ว. ตรงประเด็นของเรื่อง; มีสาระ, ได้เรื่องได้ราว; มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น พูดไม่เข้าเรื่อง ทำไม่เข้าเรื่อง.
เข้าโรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กลับเข้าไปหลังฉากเมื่อตัวละครแสดงจบบทแล้ว.เข้าโรง ก. กลับเข้าไปหลังฉากเมื่อตัวละครแสดงจบบทแล้ว.
เข้าล็อก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นไปตามที่คาดหมาย.เข้าล็อก ก. เป็นไปตามที่คาดหมาย.
เข้าลิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดเต็มว่า เข้ารางลิ้น.เข้าลิ้น ก. นำไม้อันหนึ่งที่ทำให้เป็นร่องยาวมาประกบกับไม้อีกอันหนึ่งที่ทำให้เป็นลิ้นยาวไปตามตัวไม้ให้เข้ากันสนิทพอดี, พูดเต็มว่า เข้ารางลิ้น.
เข้าลิลิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง สัมผัสคำระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กำหนดไว้ในตำราฉันทลักษณ์ เช่นคำ “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้

   จำใจจรจากสร้อย   อยู่แม่อย่าละห้อย
ห่อนช้าคืนสม   แม่แลฯ

   สามสนมสนองนารถไท้   ทูลสาร
พระจักจรจากสถาน   ถิ่นท้าว
เสด็จแดนทุระกันดาร   ใดราช
เสนอนาฤๅพระรานเสน่ห์ร้าว   ด่วนร้างแรมไฉนฯ

(ตะเลงพ่าย).; เรียกคำที่เติม เอศ ข้างท้ายเพื่อทำคำสุภาพให้เป็นคำเอกตามข้อบังคับโคลงว่า ศ เข้าลิลิต.
เข้าลิลิต ก. สัมผัสคำระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กำหนดไว้ในตำราฉันทลักษณ์ เช่นคำ “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้

   จำใจจรจากสร้อย   อยู่แม่อย่าละห้อย
ห่อนช้าคืนสม   แม่แลฯ

   สามสนมสนองนารถไท้   ทูลสาร
พระจักจรจากสถาน   ถิ่นท้าว
เสด็จแดนทุระกันดาร   ใดราช
เสนอนาฤๅพระรานเสน่ห์ร้าว   ด่วนร้างแรมไฉนฯ

(ตะเลงพ่าย).; เรียกคำที่เติม เอศ ข้างท้ายเพื่อทำคำสุภาพให้เป็นคำเอกตามข้อบังคับโคลงว่า ศ เข้าลิลิต.
เข้าเล่ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เรียงหน้าหนังสือให้เป็นลําดับเพื่อเย็บเป็นเล่ม เรียกว่า เข้าเล่มหนังสือ.เข้าเล่ม ก. เรียงหน้าหนังสือให้เป็นลําดับเพื่อเย็บเป็นเล่ม เรียกว่า เข้าเล่มหนังสือ.
เข้าเลือด, เข้าเลือดเข้าเนื้อ เข้าเลือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เข้าเลือดเข้าเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าเนื้อ.เข้าเลือด, เข้าเลือดเข้าเนื้อ ก. เข้าเนื้อ.
เข้าโลง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย.เข้าโลง (ปาก) ก. ตาย.
เข้าวัดเข้าวา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไปวัดเพื่อฟังเทศน์ฟังธรรม, ไปอยู่ที่วัดเพื่อปฏิบัติธรรม, ประพฤติตนอยู่ในศีลในธรรม.เข้าวัดเข้าวา ก. ไปวัดเพื่อฟังเทศน์ฟังธรรม, ไปอยู่ที่วัดเพื่อปฏิบัติธรรม, ประพฤติตนอยู่ในศีลในธรรม.
เข้าว่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นสำคัญ เช่น เอามากเข้าว่า.เข้าว่า ว. เป็นสำคัญ เช่น เอามากเข้าว่า.
เข้าเวร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าอยู่รักษาหน้าที่ตามเวลาที่กะกันไว้.เข้าเวร ก. เข้าอยู่รักษาหน้าที่ตามเวลาที่กะกันไว้.
เข้าแว่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงวัยหรือเวลาที่ต้องสวมแว่นตา.เข้าแว่น ก. ถึงวัยหรือเวลาที่ต้องสวมแว่นตา.
เข้าเศียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไพ่ตอง ๓ ใบพวกเดียวกันแต่ไม่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ เศียร.เข้าเศียร ก. เอาไพ่ตอง ๓ ใบพวกเดียวกันแต่ไม่เหมือนกันมาเข้าชุดกันเป็น ๑ เศียร.
เข้าสมาธิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[–สะมาทิ] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําจิตให้แน่วแน่อย่างเข้าฌาน.เข้าสมาธิ [–สะมาทิ] ก. ทําจิตให้แน่วแน่อย่างเข้าฌาน.
เข้าสิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เชื่อกันว่าผีเข้าแทรกอยู่ในตัวคน เช่น เขาถูกผีเข้าสิง, โดยปริยายหมายความว่า ครอบงำ เช่น เขาถูกผีการพนันเข้าสิง.เข้าสิง ก. อาการที่เชื่อกันว่าผีเข้าแทรกอยู่ในตัวคน เช่น เขาถูกผีเข้าสิง, โดยปริยายหมายความว่า ครอบงำ เช่น เขาถูกผีการพนันเข้าสิง.
เข้าสุหนัต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าพิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม.เข้าสุหนัต ก. เข้าพิธีขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายตามข้อกำหนดในศาสนาอิสลาม.
เข้าใส่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงเข้าไปโดยเร็ว เช่น กรากเข้าใส่ รี่เข้าใส่.เข้าใส่ ว. ตรงเข้าไปโดยเร็ว เช่น กรากเข้าใส่ รี่เข้าใส่.
เข้าไส้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถึงอกถึงใจ เช่น นักมวยคู่นี้ชกกันมันเข้าไส้; มากที่สุด เช่น เกลียดเข้าไส้.เข้าไส้ (ปาก) ว. ถึงอกถึงใจ เช่น นักมวยคู่นี้ชกกันมันเข้าไส้; มากที่สุด เช่น เกลียดเข้าไส้.
เข้าหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เผชิญหน้า เช่น ไม่กล้าเข้าหน้า.เข้าหน้า ก. เผชิญหน้า เช่น ไม่กล้าเข้าหน้า.
เข้าหม้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา.เข้าหม้อ (ปาก) ก. ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา.
เข้าหลัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกแบบ, ถูกตํารา, บางทีใช้ว่า เข้าหลักเข้าเกณฑ์.เข้าหลัก ก. ถูกแบบ, ถูกตํารา, บางทีใช้ว่า เข้าหลักเข้าเกณฑ์.
เข้าหา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ไปให้เห็นหน้า, ไปอ่อนน้อม เช่น เรื่องนี้ต้องเข้าหาผู้ใหญ่; ลอบเข้าห้องหญิงเพื่อการชู้สาว.เข้าหา ก. ไปให้เห็นหน้า, ไปอ่อนน้อม เช่น เรื่องนี้ต้องเข้าหาผู้ใหญ่; ลอบเข้าห้องหญิงเพื่อการชู้สาว.
เข้าหุ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รวมทุนเข้าด้วยกันเพื่อหาผลประโยชน์.เข้าหุ้น ก. รวมทุนเข้าด้วยกันเพื่อหาผลประโยชน์.
เข้าหู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำกริยา หมายถึง มาให้ได้ยิน (ใช้สําหรับเรื่องราวหรือข่าวคราว) เช่น เรื่องนี้เข้าหูฉันบ่อย ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าฟัง (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พูดไม่เข้าหู.เข้าหู ก. มาให้ได้ยิน (ใช้สําหรับเรื่องราวหรือข่าวคราว) เช่น เรื่องนี้เข้าหูฉันบ่อย ๆ. ว. น่าฟัง (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พูดไม่เข้าหู.
เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง บอกหรือสอนไม่ได้ผล.เข้าหูซ้ายทะลุหูขวา (สำ) ก. บอกหรือสอนไม่ได้ผล.
เข้าให้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เน้นความเพื่อแสดงกริยาข้างหน้าให้มีนํ้าหนักขึ้นและเฉพาะเจาะจง เช่น ด่าเข้าให้ ชกเข้าให้.เข้าให้ ว. เน้นความเพื่อแสดงกริยาข้างหน้าให้มีนํ้าหนักขึ้นและเฉพาะเจาะจง เช่น ด่าเข้าให้ ชกเข้าให้.
เข้าไหนเข้าได้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง สามารถติดต่อหรือคบหาสมาคมกับใคร ๆ ได้.เข้าไหนเข้าได้ ก. สามารถติดต่อหรือคบหาสมาคมกับใคร ๆ ได้.
เข้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ข้าว; ขวบปี.เข้า ๒ (โบ) น. ข้าว; ขวบปี.
เขากวาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน เขา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.เขากวาง ๑ ดูใน เขา ๒.
เขากวาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ดู ปะการัง เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู.เขากวาง ๒ ดู ปะการัง.
เขาแกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้ชนิด Rhynchostylis coelestis Rchb.f. ในวงศ์ Orchidaceae ใบโค้ง ๆ คล้ายเขาแกะ ดอกสีฟ้าอมม่วง.เขาแกะ น. ชื่อกล้วยไม้ชนิด Rhynchostylis coelestis Rchb.f. ในวงศ์ Orchidaceae ใบโค้ง ๆ คล้ายเขาแกะ ดอกสีฟ้าอมม่วง.
เข้าหมิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ขมิ้น.เข้าหมิ้น (โบ) น. ขมิ้น.
เขิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสานสําหรับร่อนสิ่งของหรือช้อนกุ้งปลาเป็นต้น มีลักษณะเป็นรูปกลม ก้นลึก ช่องตาถี่, ภาคกลางเรียกว่า ตะแกรง.เขิง (ถิ่น–อีสาน) น. เครื่องสานสําหรับร่อนสิ่งของหรือช้อนกุ้งปลาเป็นต้น มีลักษณะเป็นรูปกลม ก้นลึก ช่องตาถี่, ภาคกลางเรียกว่า ตะแกรง.
เขิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคนไทยใหญ่เผ่าหนึ่ง ส่วนมากอยู่ในแคว้นฉาน ประเทศพม่า; เครื่องสานที่ทำจากผิวไม้ไผ่ซึ่งนำมาเรียดแล้วทำเป็นโครง ฉาบด้วยรักสมุกหรือรักชาดเพื่อกันน้ำรั่วซึม ไทยได้รับวิธีการทำมาจากไทยเขินซึ่งอยู่ในยูนนานตอนใต้ จึงเรียกว่า เครื่องเขิน.เขิน ๑ น. ชื่อคนไทยใหญ่เผ่าหนึ่ง ส่วนมากอยู่ในแคว้นฉาน ประเทศพม่า; เครื่องสานที่ทำจากผิวไม้ไผ่ซึ่งนำมาเรียดแล้วทำเป็นโครง ฉาบด้วยรักสมุกหรือรักชาดเพื่อกันน้ำรั่วซึม ไทยได้รับวิธีการทำมาจากไทยเขินซึ่งอยู่ในยูนนานตอนใต้ จึงเรียกว่า เครื่องเขิน.
เขิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่นํ้า ลําคลอง หนอง บึง เป็นต้น), มักใช้ว่า ตื้นเขิน เช่น แม่นํ้าตื้นเขิน; สั้นหรือสูงเกินไปจนดูขัดตา เช่น นุ่งผ้าเขิน.เขิน ๒ ว. ตื้นสูงเป็นเนินขึ้นมา (ใช้แก่พื้นที่ในแม่นํ้า ลําคลอง หนอง บึง เป็นต้น), มักใช้ว่า ตื้นเขิน เช่น แม่นํ้าตื้นเขิน; สั้นหรือสูงเกินไปจนดูขัดตา เช่น นุ่งผ้าเขิน.
เขิน ๓, เขิน ๆ เขิน ความหมายที่ ๓ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เขิน ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย; เข้ากันไม่สนิท เช่น ข้อความตอนนี้ฟังเขิน ๆ อยู่.เขิน ๓, เขิน ๆ ว. วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย; เข้ากันไม่สนิท เช่น ข้อความตอนนี้ฟังเขิน ๆ อยู่.
เขิบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดอน, เขิน.เขิบ (ถิ่น) ว. ดอน, เขิน.
เขี่ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ไม้หรือสิ่งอื่น ๆ ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนที่ไป เช่น เขี่ยฟุตบอล เขี่ยสวะ; ค่อย ๆ สะกิดออก เช่น เขี่ยผงที่ลูกตา เอาก้านพลูเขี่ยตา; สะกิด เช่น เอานิ้วเขี่ยหลัง; คุ้ยเขี่ยให้ไฟกลับลุกขึ้นอีก เช่น เขี่ยขี้ไต้ เขี่ยขี้เถ้า, เอานิ้วเคาะหรือดีดบุหรี่หรือเอาบุหรี่เคาะที่สิ่งอื่นเพื่อให้ขี้บุหรี่ร่วง เรียกว่า เขี่ยบุหรี่; ขีดไปขีดมาหรือปัดไปปัดมาเพื่อให้กระจายออก เช่น เขี่ยดินเพื่อหาของที่ตกอยู่ในดิน ไก่เขี่ยดินหาอาหาร; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เขียนหรือวาดอย่างหวัด ๆ เช่น ช่วยเขี่ย ๆ ประวัติเรื่องนี้ให้หน่อยเถอะ ลายมือเป็นไก่เขี่ย; ปัดไปให้พ้น เช่น ถูกเขี่ยออกไป.เขี่ย ก. ใช้ไม้หรือสิ่งอื่น ๆ ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนที่ไป เช่น เขี่ยฟุตบอล เขี่ยสวะ; ค่อย ๆ สะกิดออก เช่น เขี่ยผงที่ลูกตา เอาก้านพลูเขี่ยตา; สะกิด เช่น เอานิ้วเขี่ยหลัง; คุ้ยเขี่ยให้ไฟกลับลุกขึ้นอีก เช่น เขี่ยขี้ไต้ เขี่ยขี้เถ้า, เอานิ้วเคาะหรือดีดบุหรี่หรือเอาบุหรี่เคาะที่สิ่งอื่นเพื่อให้ขี้บุหรี่ร่วง เรียกว่า เขี่ยบุหรี่; ขีดไปขีดมาหรือปัดไปปัดมาเพื่อให้กระจายออก เช่น เขี่ยดินเพื่อหาของที่ตกอยู่ในดิน ไก่เขี่ยดินหาอาหาร; (ปาก) เขียนหรือวาดอย่างหวัด ๆ เช่น ช่วยเขี่ย ๆ ประวัติเรื่องนี้ให้หน่อยเถอะ ลายมือเป็นไก่เขี่ย; ปัดไปให้พ้น เช่น ถูกเขี่ยออกไป.
เขียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รองรับการสับ หั่น มักเป็นแผ่นกลม ๆ; กระทงจำลองสร้างไว้บนบกสำหรับฝึกฝีพายที่พายเรือพระราชพิธี.เขียง น. ไม้รองรับการสับ หั่น มักเป็นแผ่นกลม ๆ; กระทงจำลองสร้างไว้บนบกสำหรับฝึกฝีพายที่พายเรือพระราชพิธี.
เขียงเท้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง รองเท้าไม้.เขียงเท้า น. รองเท้าไม้.
เขียงพระนางอี่, เขียงพร้า เขียงพระนางอี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เขียงพร้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ดู เฉียงพร้านางแอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง.เขียงพระนางอี่, เขียงพร้า ดู เฉียงพร้านางแอ.
เขียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Ranidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับกบแต่มักมีขนาดเล็กกว่า ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น เขียดอ๋อง (Rana nigrovittata) เขียดหลังขาว (R. limnocharis).เขียด น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Ranidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับกบแต่มักมีขนาดเล็กกว่า ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น เขียดอ๋อง (Rana nigrovittata) เขียดหลังขาว (R. limnocharis).
เขียดตะปาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็กดู ปาด เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒.เขียดตะปาด ดู ปาด ๒.
เขียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ.เขียน ก. ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ.
เขียนด้วยมือลบด้วยตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยกย่องแล้วกลับทําลายในภายหลัง.เขียนด้วยมือลบด้วยตีน (สำ) ก. ยกย่องแล้วกลับทําลายในภายหลัง.
เขียนทอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าลายแต้มทองสําหรับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายทรง.เขียนทอง น. เรียกผ้าลายแต้มทองสําหรับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายทรง.
เขียนไทย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง วิชาเขียนภาษาไทยตามคําบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า.เขียนไทย น. วิชาเขียนภาษาไทยตามคําบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า.
เขียนเสือให้วัวกลัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียขวัญหรือเกรงขาม.เขียนเสือให้วัวกลัว (สำ) ก. ทําอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียขวัญหรือเกรงขาม.
เขี่ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ข่วน, ขีด, เช่น ถูกหนามเขี่ยน.เขี่ยน ก. ข่วน, ขีด, เช่น ถูกหนามเขี่ยน.
เขียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประหยัด, กระเหม็ดกระแหม่. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เขียม (ปาก) ว. ประหยัด, กระเหม็ดกระแหม่. (จ.).
เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง รีบไป, รีบมา, เคียว หรือ เครียว ก็ใช้.เขียว ๑ (โบ) ก. รีบไป, รีบมา, เคียว หรือ เครียว ก็ใช้.
เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีอย่างสีใบไม้สด, บางทีหมายถึงเขียวครามด้วย เช่น สุดหล้าฟ้าเขียว โกรธจนหน้าเขียว; กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นใบไม้สดบางชนิด เรียกว่า เหม็นเขียว.เขียว ๒ ว. มีสีอย่างสีใบไม้สด, บางทีหมายถึงเขียวครามด้วย เช่น สุดหล้าฟ้าเขียว โกรธจนหน้าเขียว; กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นใบไม้สดบางชนิด เรียกว่า เหม็นเขียว.
เขียวขี้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีกากีแกมเขียว.เขียวขี้ม้า ว. สีกากีแกมเขียว.
เขียวไข่กา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชามสมัยก่อน สีเขียวปนครามอ่อน ๆ รูปก้นสอบ ปากผาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีอย่างสีเขียวปนครามอ่อน ๆ.เขียวไข่กา น. ชื่อชามสมัยก่อน สีเขียวปนครามอ่อน ๆ รูปก้นสอบ ปากผาย. ว. มีสีอย่างสีเขียวปนครามอ่อน ๆ.
เขียว ๆ แดง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มผู้หญิงที่แต่งตัวหลากสี เช่น ไปดูเขียว ๆ แดง ๆ นอกบ้านเสียบ้าง.เขียว ๆ แดง ๆ (สำ) น. กลุ่มผู้หญิงที่แต่งตัวหลากสี เช่น ไปดูเขียว ๆ แดง ๆ นอกบ้านเสียบ้าง.
เขียวหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงเผ็ดที่ใช้พริกขี้หนูสดแทนพริกแห้ง.เขียวหวาน ๑ น. ชื่อแกงเผ็ดที่ใช้พริกขี้หนูสดแทนพริกแห้ง.
เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูสีเขียวหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น เขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) ในวงศ์ Colubridae ลําตัวเรียวยาว อาศัยตามต้นไม้และชายคาบ้านเรือน ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อนมาก, เขียวหางไหม้ท้องเหลือง (Trimeresurus albolabris) ในวงศ์ Viperidae ลําตัวอ้วนสั้น หางแดง ออกหากินเวลากลางคืน มีพิษอ่อนแต่เป็นอันตราย.เขียว ๓ น. ชื่องูสีเขียวหลายชนิดและหลายวงศ์ เช่น เขียวพระอินทร์ (Chrysopelea ornata) ในวงศ์ Colubridae ลําตัวเรียวยาว อาศัยตามต้นไม้และชายคาบ้านเรือน ออกหากินเวลากลางวัน มีพิษอ่อนมาก, เขียวหางไหม้ท้องเหลือง (Trimeresurus albolabris) ในวงศ์ Viperidae ลําตัวอ้วนสั้น หางแดง ออกหากินเวลากลางคืน มีพิษอ่อนแต่เป็นอันตราย.
เขียวหางไหม้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูเขียวหลายชนิดในวงศ์ Viperidae ลําตัวอ้วนสั้น หัวโต คอเล็ก หลายชนิดปลายหางสีแดงหรือสีน้ำตาล ทุกชนิดออกหากินเวลากลางคืน มักมีนิสัยดุ มีพิษอ่อนแต่เป็นอันตราย เช่น เขียวหางไหม้ท้องเขียว (Trimeresurus popeorum).เขียวหางไหม้ น. ชื่องูเขียวหลายชนิดในวงศ์ Viperidae ลําตัวอ้วนสั้น หัวโต คอเล็ก หลายชนิดปลายหางสีแดงหรือสีน้ำตาล ทุกชนิดออกหากินเวลากลางคืน มักมีนิสัยดุ มีพิษอ่อนแต่เป็นอันตราย เช่น เขียวหางไหม้ท้องเขียว (Trimeresurus popeorum).
เขี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ฟันแหลมคมสําหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ระหว่างฟันหน้ากับกราม, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐะ หรือ พระทาฒะ, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง ฟัน.เขี้ยว น. ฟันแหลมคมสําหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ระหว่างฟันหน้ากับกราม, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐะ หรือ พระทาฒะ, (ถิ่น–พายัพ) ฟัน.
เขี้ยวแก้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เขี้ยวของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระเขี้ยวแก้ว; เขี้ยวของงูพิษ อยู่บริเวณส่วนหน้าของขากรรไกรบน มีขนาดใหญ่และยาว เช่น งูจงอาง งูเห่า งูเขียวหางไหม้, ถ้าอยู่บริเวณท้ายขากรรไกรบน เรียกว่า เขี้ยวแก้วใน หรือ เขี้ยวแก้วใต้ตา เช่น งูปล้องทอง งูเขียวหัวจิ้งจก; เขี้ยวที่งอกอยู่กลางเพดานปากของหนุมาน.เขี้ยวแก้ว น. เขี้ยวของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระเขี้ยวแก้ว; เขี้ยวของงูพิษ อยู่บริเวณส่วนหน้าของขากรรไกรบน มีขนาดใหญ่และยาว เช่น งูจงอาง งูเห่า งูเขียวหางไหม้, ถ้าอยู่บริเวณท้ายขากรรไกรบน เรียกว่า เขี้ยวแก้วใน หรือ เขี้ยวแก้วใต้ตา เช่น งูปล้องทอง งูเขียวหัวจิ้งจก; เขี้ยวที่งอกอยู่กลางเพดานปากของหนุมาน.
เขี้ยวตะขาบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กที่ทําเป็นหมุดแหลมโค้งอย่างเขี้ยวของตะขาบสําหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, ตะปลิง ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก; ชายผ้าสังฆาฏิของพระพุทธรูปในสมัยเชียงแสนและสุโขทัย มีลักษณะปลายผ้าย้อยต่ำแหลมลงมา ๒ ด้าน ปลายขมวดเข้าหากันคล้ายเขี้ยวของตะขาบ มีช่องตอนกลางยกสูง.เขี้ยวตะขาบ น. เหล็กที่ทําเป็นหมุดแหลมโค้งอย่างเขี้ยวของตะขาบสําหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, ตะปลิง ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก; ชายผ้าสังฆาฏิของพระพุทธรูปในสมัยเชียงแสนและสุโขทัย มีลักษณะปลายผ้าย้อยต่ำแหลมลงมา ๒ ด้าน ปลายขมวดเข้าหากันคล้ายเขี้ยวของตะขาบ มีช่องตอนกลางยกสูง.
เขี้ยวลากดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก.เขี้ยวลากดิน ว. มีเล่ห์เหลี่ยมมาก, มีประสบการณ์มาก.
เขี้ยวเล็บ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กําลัง, อํานาจ, ความเก่ง, เช่น ถอดเขี้ยวเล็บ หมดเขี้ยวเล็บ กองทัพต้องมีเขี้ยวเล็บ.เขี้ยวเล็บ น. กําลัง, อํานาจ, ความเก่ง, เช่น ถอดเขี้ยวเล็บ หมดเขี้ยวเล็บ กองทัพต้องมีเขี้ยวเล็บ.
เขี้ยวหนุมาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีรูปเป็นผลึกหกเหลี่ยม หัวท้ายแต่ละเหลี่ยมมีด้านสามเหลี่ยมเอนเข้าไปบรรจบกันเป็นยอดแหลมดูคล้ายฟันลิง แร่นี้มีแทบทุกสี ตั้งแต่ใสเหมือนกระจกจนขาวขุ่น ชมพู เขียว ม่วง ตลอดจนดํา.เขี้ยวหนุมาน น. แร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีรูปเป็นผลึกหกเหลี่ยม หัวท้ายแต่ละเหลี่ยมมีด้านสามเหลี่ยมเอนเข้าไปบรรจบกันเป็นยอดแหลมดูคล้ายฟันลิง แร่นี้มีแทบทุกสี ตั้งแต่ใสเหมือนกระจกจนขาวขุ่น ชมพู เขียว ม่วง ตลอดจนดํา.
เขี้ยวหมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือเหล็กทําคล้ายเดือยสําหรับเพลาะกระดาน ๒ แผ่นให้สนิท.เขี้ยวหมา น. ไม้หรือเหล็กทําคล้ายเดือยสําหรับเพลาะกระดาน ๒ แผ่นให้สนิท.
เขี้ยวกระแต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Coffea bengalensis Heyne ex Roem. et Schult. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว กลิ่นหอมแรงคล้ายพุทธชาด.เขี้ยวกระแต น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Coffea bengalensis Heyne ex Roem. et Schult. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว กลิ่นหอมแรงคล้ายพุทธชาด.
เขี้ยวงู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Jasminum วงศ์ Oleaceae ดอกสีขาว ออกที่ปลายกิ่ง กลิ่นหอม. (๒) ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Strychnos axillaris Colebr. ในวงศ์ Strychnaceae ดอกสีขาว ออกตามง่ามใบ.เขี้ยวงู น. (๑) ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Jasminum วงศ์ Oleaceae ดอกสีขาว ออกที่ปลายกิ่ง กลิ่นหอม. (๒) ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Strychnos axillaris Colebr. ในวงศ์ Strychnaceae ดอกสีขาว ออกตามง่ามใบ.
เขี้ยวเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Lagerstroemia undulata Koehne var. subangulata Craib ในวงศ์ Lythraceae ช่อดอกเรียวแหลม ดอกเล็ก สีชมพูคล้ำ.เขี้ยวเนื้อ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Lagerstroemia undulata Koehne var. subangulata Craib ในวงศ์ Lythraceae ช่อดอกเรียวแหลม ดอกเล็ก สีชมพูคล้ำ.
เขียวพระอินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Thalassoma lunare ในวงศ์ Labridae ลําตัวยาวรี แบนข้าง สีเขียว และมีริ้วสีนํ้าเงินพาดขวางตลอดตัว บริเวณหัวมีแถบลวดลายสีม่วงแดง ครีบหางใหญ่สีเหลือง ปลายขอบบนและล่างสีแดง พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง เมื่อขนาดยังเล็ก มีพื้นสีนํ้าตาลแดงที่บริเวณกลางครีบหลังและโคน ครีบหางมีจุดใหญ่สีดํา.เขียวพระอินทร์ ๑ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Thalassoma lunare ในวงศ์ Labridae ลําตัวยาวรี แบนข้าง สีเขียว และมีริ้วสีนํ้าเงินพาดขวางตลอดตัว บริเวณหัวมีแถบลวดลายสีม่วงแดง ครีบหางใหญ่สีเหลือง ปลายขอบบนและล่างสีแดง พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง เมื่อขนาดยังเล็ก มีพื้นสีนํ้าตาลแดงที่บริเวณกลางครีบหลังและโคน ครีบหางมีจุดใหญ่สีดํา.
เขียวพระอินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูเขียวชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๓.เขียวพระอินทร์ ๒ น. ชื่องูเขียวชนิดหนึ่ง. (ดู เขียว ๓).
เขียวเสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลสีเขียว รสมัน.เขียวเสวย น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลสีเขียว รสมัน.
เขียวหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒.เขียวหวาน ๑ ดูใน เขียว ๒.
เขียวหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อส้มพันธุ์หนึ่งของชนิด Citrus reticulata Blanco เปลือกบาง ผลเขียว รสหวาน.เขียวหวาน ๒ น. ชื่อส้มพันธุ์หนึ่งของชนิด Citrus reticulata Blanco เปลือกบาง ผลเขียว รสหวาน.
เขียะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระบองเพชร. ในวงเล็บ ดู กระบองเพชร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.เขียะ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกระบองเพชร. (ดู กระบองเพชร ๒).
เขือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาในสกุล Taenioides และ Brachyamblyopus วงศ์ Gobioididae ลําตัวยาวเรียว แบนข้าง และเป็นสีชมพูโดยตลอด ตาเล็กมากอยู่ในรูบริเวณปากแม่น้ำที่มีพื้นเป็นเลน.เขือ ๑ น. ชื่อปลาในสกุล Taenioides และ Brachyamblyopus วงศ์ Gobioididae ลําตัวยาวเรียว แบนข้าง และเป็นสีชมพูโดยตลอด ตาเล็กมากอยู่ในรูบริเวณปากแม่น้ำที่มีพื้นเป็นเลน.
เขือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน.เขือ ๒ (กลอน) น. เพื่อน.
เขือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.เขือ ๓ (กลอน) ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เช่น สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่. (ลอ).
เขือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Smilax วงศ์ Smilacaceae เถามีหนาม เหง้าแข็ง เช่น เขืองสร้อย (S. davidiana A. DC.) ดอกสีขาวอมเขียว ผลกลม สุกสีแดง. (๒) ดู กะตังใบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้.เขือง น. (๑) ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Smilax วงศ์ Smilacaceae เถามีหนาม เหง้าแข็ง เช่น เขืองสร้อย (S. davidiana A. DC.) ดอกสีขาวอมเขียว ผลกลม สุกสีแดง. (๒) ดู กะตังใบ.
เขื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้างใหญ่, ค่อนข้างโต.เขื่อง ๑ ว. ค่อนข้างใหญ่, ค่อนข้างโต.
เขื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งปลาช่อนปลาดุกอาศัยอยู่เวลาไข่.เขื่อง ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. ที่ซึ่งปลาช่อนปลาดุกอาศัยอยู่เวลาไข่.
เขื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องป้องกันไม่ให้ดินริมนํ้าพัง, สิ่งที่สร้างขึ้นขวางกั้นลํานํ้า เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ในทางชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กำแพงดินหรืออิฐที่ล้อมรอบต้นโพธิ์; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง รั้ว, กำแพง, คันดินกันตลิ่งพัง, เช่น ปิดประตูเมืองลง เขื่อนขว้าง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.เขื่อน น. เครื่องป้องกันไม่ให้ดินริมนํ้าพัง, สิ่งที่สร้างขึ้นขวางกั้นลํานํ้า เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ในทางชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กำแพงดินหรืออิฐที่ล้อมรอบต้นโพธิ์; (โบ) รั้ว, กำแพง, คันดินกันตลิ่งพัง, เช่น ปิดประตูเมืองลง เขื่อนขว้าง. (ยวนพ่าย).
เขื่อนเพชร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ตึกแถวมีผนังหลังตันหันออกมาข้างนอกในพระราชฐานเฉพาะตรงที่แบ่งข้างหน้ากับข้างในต่อกัน.เขื่อนเพชร น. ตึกแถวมีผนังหลังตันหันออกมาข้างนอกในพระราชฐานเฉพาะตรงที่แบ่งข้างหน้ากับข้างในต่อกัน.
เขือม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เข้มแข็ง เช่น ทั้งอกไหล่ก็ผายผึ่งผงาดเงื้อมเขือมขยัน. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.เขือม ก. เข้มแข็ง เช่น ทั้งอกไหล่ก็ผายผึ่งผงาดเงื้อมเขือมขยัน. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
แข เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง ดวงเดือน, พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .แข น. ดวงเดือน, พระจันทร์. (ข.).
แข้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง จระเข้ (ดู จระเข้).แข้ (ถิ่น–อีสาน) น. จระเข้ (ดู จระเข้).
แขก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มาหา, ผู้มาแต่อื่น, ผู้ที่มาร่วมงานพิธีของเจ้าภาพ, บางทีเรียกว่า แขกเหรื่อ; คนบ้านอื่นที่มาช่วยทํางาน.แขก ๑ น. ผู้มาหา, ผู้มาแต่อื่น, ผู้ที่มาร่วมงานพิธีของเจ้าภาพ, บางทีเรียกว่า แขกเหรื่อ; คนบ้านอื่นที่มาช่วยทํางาน.
แขกเมือง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แขกของบ้านเมือง.แขกเมือง น. แขกของบ้านเมือง.
แขกไม่ได้รับเชิญ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนหรือสัตว์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งเข้ามาทำให้เกิดความเสียหาย หรือเดือดร้อนรำคาญ มักหมายถึง ขโมยหรือสัตว์บางชนิด เช่น ก่อนนอนอย่าลืมปิดประตูหน้าต่าง มิฉะนั้นแขกไม่ได้รับเชิญจะขนของไปหมด กางเต็นท์นอนในป่าระวังแขกไม่ได้รับเชิญจะเข้ามา.แขกไม่ได้รับเชิญ (สำ) น. คนหรือสัตว์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งเข้ามาทำให้เกิดความเสียหาย หรือเดือดร้อนรำคาญ มักหมายถึง ขโมยหรือสัตว์บางชนิด เช่น ก่อนนอนอย่าลืมปิดประตูหน้าต่าง มิฉะนั้นแขกไม่ได้รับเชิญจะขนของไปหมด กางเต็นท์นอนในป่าระวังแขกไม่ได้รับเชิญจะเข้ามา.
แขก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร.แขก ๒ น. คําเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร.
แขก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า แขก เช่น แขกสาหร่าย แขกบรเทศ แขกกุลิต.แขก ๓ น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า แขก เช่น แขกสาหร่าย แขกบรเทศ แขกกุลิต.
แขกเต้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอชนิด Psittacula alexandri ในวงศ์ Psittacidae ที่หน้าผากมีเส้นสีดําลากผ่านไปจดหัวตาทั้ง ๒ ข้าง และมีแถบสีดําลากจากโคนปากลงไปทั้ง ๒ ข้างของคอคล้ายเคราตัวผู้ปากสีแดง ตัวเมียปากสีดํา อยู่เป็นฝูงใหญ่ กินผลไม้ ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอื่น ๆ บางอย่างได้.แขกเต้า น. ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอชนิด Psittacula alexandri ในวงศ์ Psittacidae ที่หน้าผากมีเส้นสีดําลากผ่านไปจดหัวตาทั้ง ๒ ข้าง และมีแถบสีดําลากจากโคนปากลงไปทั้ง ๒ ข้างของคอคล้ายเคราตัวผู้ปากสีแดง ตัวเมียปากสีดํา อยู่เป็นฝูงใหญ่ กินผลไม้ ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอื่น ๆ บางอย่างได้.
แขกเต้าเข้ารัง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ท่ารําท่าหนึ่ง.แขกเต้าเข้ารัง น. ท่ารําท่าหนึ่ง.
แข็ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระด้าง เช่น ลิ้นแข็ง; ไม่อ่อน, ไม่นิ่ม, เช่น เนื้อแข็ง ของแข็ง; กล้า เช่น แดดแข็ง; ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร, เช่น ใจแข็ง; แรง เช่น วันแข็ง ชะตาแข็ง, เข้มแข็ง, ทนทาน, เก่ง, เช่น ทํางานแข็ง วิ่งแข็ง; ว่ายาก เช่น เด็กคนนี้แข็ง; นิ่งไม่ไหวติง, ไม่กระดิกกระเดี้ย, เช่น ขาแข็ง ตัวแข็ง.แข็ง ว. กระด้าง เช่น ลิ้นแข็ง; ไม่อ่อน, ไม่นิ่ม, เช่น เนื้อแข็ง ของแข็ง; กล้า เช่น แดดแข็ง; ไม่ยอมง่าย ๆ, ไม่รู้สึกสงสาร, เช่น ใจแข็ง; แรง เช่น วันแข็ง ชะตาแข็ง, เข้มแข็ง, ทนทาน, เก่ง, เช่น ทํางานแข็ง วิ่งแข็ง; ว่ายาก เช่น เด็กคนนี้แข็ง; นิ่งไม่ไหวติง, ไม่กระดิกกระเดี้ย, เช่น ขาแข็ง ตัวแข็ง.
แข็งกร้าว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งกระด้าง, ไม่นุ่มนวล.แข็งกร้าว ว. แข็งกระด้าง, ไม่นุ่มนวล.
แข็งกล้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้ายิ่งนัก.แข็งกล้า ว. กล้ายิ่งนัก.
แข็งแกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อดทนไม่ท้อถอย.แข็งแกร่ง ว. อดทนไม่ท้อถอย.
แข็งข้อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ยอมตาม, ตั้งข้อสู้.แข็งข้อ ก. ไม่ยอมตาม, ตั้งข้อสู้.
แข็งขัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขยันไม่ย่อท้อ, เอาจริงเอาจัง, มีกําลังมาก.แข็งขัน ว. ขยันไม่ย่อท้อ, เอาจริงเอาจัง, มีกําลังมาก.
แข็งใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําใจให้กล้า, ทําใจให้เข้มแข็ง.แข็งใจ ก. ทําใจให้กล้า, ทําใจให้เข้มแข็ง.
แข็งตัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนสภาพไปมีลักษณะแข็ง.แข็งตัว ก. เปลี่ยนสภาพไปมีลักษณะแข็ง.
แข็งมือ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเต็มกําลังไม่ย่อท้อ.แข็งมือ ก. ทําเต็มกําลังไม่ย่อท้อ.
แข็งเมือง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กลับตั้งเป็นอิสระ, ไม่ยอมเป็นเมืองขึ้นอีกต่อไป.แข็งเมือง ก. กลับตั้งเป็นอิสระ, ไม่ยอมเป็นเมืองขึ้นอีกต่อไป.
แข็งแรง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกําลังมาก, ลํ่าสัน, มั่นคง, คงทน, อย่างเต็มกําลัง เช่น ทํางานแข็งแรง.แข็งแรง ว. มีกําลังมาก, ลํ่าสัน, มั่นคง, คงทน, อย่างเต็มกําลัง เช่น ทํางานแข็งแรง.
แข่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ชิงเอาชนะกัน, ชิงดี, ชิงขึ้นหน้า.แข่ง ก. ชิงเอาชนะกัน, ชิงดี, ชิงขึ้นหน้า.
แข่งกับเวลา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำอย่างรวดเร็ว เช่น ทำงานแข่งกับเวลา.แข่งกับเวลา (สำ) ก. ทำอย่างรวดเร็ว เช่น ทำงานแข่งกับเวลา.
แข่งขัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ชิงเอาชนะเพื่อรางวัล, ขันสู้เอาชนะกัน.แข่งขัน ก. ชิงเอาชนะเพื่อรางวัล, ขันสู้เอาชนะกัน.
แข่งเกมวิบาก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง ผู้เล่นต้องวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางหรือทำกิจกรรมที่ยาก ๆ เช่น ใช้ปากควานหาสตางค์ในแป้ง สนเข็ม เป่าลูกโป่งให้แตก ใครทำเสร็จและวิ่งถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ.แข่งเกมวิบาก น. การเล่นชนิดหนึ่ง ผู้เล่นต้องวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางหรือทำกิจกรรมที่ยาก ๆ เช่น ใช้ปากควานหาสตางค์ในแป้ง สนเข็ม เป่าลูกโป่งให้แตก ใครทำเสร็จและวิ่งถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ.
แข่งดี เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมลดราวาศอกให้แก่กัน, มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมผ่อนปรนให้แก่กัน.แข่งดี ก. มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมลดราวาศอกให้แก่กัน, มุ่งเอาชนะชิงดีชิงเด่นโดยไม่ยอมผ่อนปรนให้แก่กัน.
แข่งเรือแข่งแพแข่งได้ แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ประมาณความสามารถของตนไม่อาจเอื้อมเกินตัว.แข่งเรือแข่งแพแข่งได้ แข่งบุญแข่งวาสนาแข่งไม่ได้ (สำ) ก. รู้ประมาณความสามารถของตนไม่อาจเอื้อมเกินตัว.
แข้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหน้าของขา ใต้เข่าลงไปถึงข้อเท้า, หน้าแข้งก็ว่า, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์.แข้ง น. ส่วนหน้าของขา ใต้เข่าลงไปถึงข้อเท้า, หน้าแข้งก็ว่า, ราชาศัพท์ว่า พระชงฆ์.
แข้งสิงห์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหน้าของขาสิงห์ตรงที่เป็นสัน; เรียกการพันกระดาษซึ่งซอยให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ที่ด้ามธงว่า พันแข้งสิงห์.แข้งสิงห์ น. ส่วนหน้าของขาสิงห์ตรงที่เป็นสัน; เรียกการพันกระดาษซึ่งซอยให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ที่ด้ามธงว่า พันแข้งสิงห์.
แข้งไก่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอกดู หางแข็ง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู.แข้งไก่ ดู หางแข็ง.
แขน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะที่ต่อจากไหล่ทั้ง ๒ ข้าง, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง เรียกอวัยวะตั้งแต่ศอกไปถึงไหล่ว่า พระพาหา ตั้งแต่ศอกไปถึงมือว่า พระกร; เรียกสิ่งที่ยื่นออกไปจากส่วนใหญ่เหมือนรูปแขน เช่น แขนเสื้อ ไม้เท้าแขน.แขน ๑ น. อวัยวะที่ต่อจากไหล่ทั้ง ๒ ข้าง, (ราชา) เรียกอวัยวะตั้งแต่ศอกไปถึงไหล่ว่า พระพาหา ตั้งแต่ศอกไปถึงมือว่า พระกร; เรียกสิ่งที่ยื่นออกไปจากส่วนใหญ่เหมือนรูปแขน เช่น แขนเสื้อ ไม้เท้าแขน.
แขนขวา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง บริวารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงเปรียบเสมือนแขนข้างขวา.แขนขวา น. บริวารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงเปรียบเสมือนแขนข้างขวา.
แขนคู้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดาวฤกษ์อาศเลษา.แขนคู้ น. ชื่อดาวฤกษ์อาศเลษา.
แขนซ้ายแขนขวา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง บริวารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงเปรียบเสมือนแขนซ้ายแขนขวา.แขนซ้ายแขนขวา น. บริวารหรือผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงเปรียบเสมือนแขนซ้ายแขนขวา.
แขนทุกข์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ปลอกแขนสีดําสําหรับสวมติดแขนเสื้อข้างซ้ายเป็นการแสดงความไว้อาลัยต่อคนตาย.แขนทุกข์ น. ปลอกแขนสีดําสําหรับสวมติดแขนเสื้อข้างซ้ายเป็นการแสดงความไว้อาลัยต่อคนตาย.
แขนนาง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดาวฤกษ์วิศาขา.แขนนาง ๑ น. ชื่อดาวฤกษ์วิศาขา.
แขนนาง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องค้ำยันชายคาเรือนเครื่องสับ ทำด้วยไม้หรือเหล็ก.แขนนาง ๒ น. เครื่องค้ำยันชายคาเรือนเครื่องสับ ทำด้วยไม้หรือเหล็ก.
แขนพับ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของแขนตรงที่พับได้.แขนพับ น. ส่วนของแขนตรงที่พับได้.
แขน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสายเสื้อชั้นในของผู้หญิง.แขน ๒ น. เรียกสายเสื้อชั้นในของผู้หญิง.
แข่น, แข้น แข่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-นอ-หนู แข้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ข้นจวนแห้งจวนแข็ง เช่น เลือดแข้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็ง เช่น อาหารแข้น.แข่น, แข้น ก. ข้นจวนแห้งจวนแข็ง เช่น เลือดแข้น. ว. แข็ง เช่น อาหารแข้น.
แขนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-งอ-งู ความหมายที่ [ขะแหฺนง] เป็นคำนาม หมายถึง กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลําของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์.แขนง ๑ [ขะแหฺนง] น. กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แตกใหม่จากลําของไม้พวกไม้ไผ่, กิ่งไม้เล็ก ๆ ที่แยกออกจากกิ่งใหญ่, โดยปริยายหมายถึงส่วนย่อยที่แยกจากส่วนใหญ่ เช่น วิชาฟิสิกส์เป็นแขนงหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์.
แขนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-งอ-งู ความหมายที่ [ขะแหฺนง] เป็นคำกริยา หมายถึง แหนง, แคลง, เช่น และแขนงหฤทัยนาง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี; ใช้ในการต่อของให้ราคาตํ่า ถือเป็นลางบอกว่าจะขายไม่ได้ราคาดีต่อไป.แขนง ๒ [ขะแหฺนง] ก. แหนง, แคลง, เช่น และแขนงหฤทัยนาง. (ม. คำหลวง มัทรี); ใช้ในการต่อของให้ราคาตํ่า ถือเป็นลางบอกว่าจะขายไม่ได้ราคาดีต่อไป.
แขนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-งอ-งู ความหมายที่ ดู เต่าเหลือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ที่ เต่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.แขนง ๓ ดู เต่าเหลือง ที่ เต่า ๑.
แขนะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[ขะแหฺนะ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แกะ, สลัก, เจาะ. เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีในการสร้างงานประติมากรรมตกแต่ง หรือวิธีการทางช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดยใช้สมุกปั้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น ปั้นหน้ายักษ์หน้าลิงติดลงบนกะโหลกปิดกระดาษทำเป็นหัวโขน, กระแหนะ ก็ว่า.แขนะ [ขะแหฺนะ] (โบ) ก. แกะ, สลัก, เจาะ. น. กรรมวิธีในการสร้างงานประติมากรรมตกแต่ง หรือวิธีการทางช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดยใช้สมุกปั้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น ปั้นหน้ายักษ์หน้าลิงติดลงบนกะโหลกปิดกระดาษทำเป็นหัวโขน, กระแหนะ ก็ว่า.
แขม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า ความหมายที่ [แขมฺ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Saccharum arundinaceum Retz. ในวงศ์ Gramineae มักขึ้นตามชายนํ้า ชายป่า และชายเขาที่ชุ่มชื้น, พง ก็เรียก.แขม ๑ [แขมฺ] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Saccharum arundinaceum Retz. ในวงศ์ Gramineae มักขึ้นตามชายนํ้า ชายป่า และชายเขาที่ชุ่มชื้น, พง ก็เรียก.
แขม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า ความหมายที่ [ขะแม] เป็นคำนาม หมายถึง คนเขมร, เขียนเป็น แขมร์ ก็มี.แขม ๒ [ขะแม] น. คนเขมร, เขียนเป็น แขมร์ ก็มี.
แขม็บ, แขม็บ ๆ แขม็บ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ แขม็บ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก [ขะแหฺม็บ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หายใจแผ่ว ๆ แสดงว่าจวนจะหมดกําลัง, กระแหม็บ หรือ กระแหม็บ ๆ ก็ว่า.แขม็บ, แขม็บ ๆ [ขะแหฺม็บ] ว. หายใจแผ่ว ๆ แสดงว่าจวนจะหมดกําลัง, กระแหม็บ หรือ กระแหม็บ ๆ ก็ว่า.
แขม่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน[ขะแหฺม่ว] เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง, กระแหม่ว ก็ว่า.แขม่ว [ขะแหฺม่ว] ก. ผ่อนลมหายใจให้ท้องยุบลง, บังคับกล้ามเนื้อท้องให้ท้องยุบลง, กระแหม่ว ก็ว่า.
แขย็ก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก [ขะแหฺย็ก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ปีนขยับขึ้นไปทีละน้อย ๆ ขึ้นไปได้ไม่สะดวก เช่น ปีนต้นไม้แขย็ก ๆ, อาการที่ขยับไปทีละน้อย ๆ เพราะไปไม่ถนัด เช่น ถีบจักรยานแขย็ก ๆ เดินแขย็ก ๆ.แขย็ก ๆ [ขะแหฺย็ก] ว. อาการที่ปีนขยับขึ้นไปทีละน้อย ๆ ขึ้นไปได้ไม่สะดวก เช่น ปีนต้นไม้แขย็ก ๆ, อาการที่ขยับไปทีละน้อย ๆ เพราะไปไม่ถนัด เช่น ถีบจักรยานแขย็ก ๆ เดินแขย็ก ๆ.
แขยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [ขะแหฺยง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดแทบทุกชนิดในวงศ์ Bagridae ไม่มีเกล็ด มีหนวดยาว ๔ คู่ ครีบหลังตอนแรกมีก้านครีบแข็ง หยักเป็นหนามคมเช่นเดียวกับครีบอก ตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมันลักษณะเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กหรือใหญ่ขึ้นกับชนิดของปลา ครีบก้นสั้น รูปร่างคล้ายปลากดแต่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แขยงหิน (Leiocassis siamensis) แขยงใบข้าว (Mystus cavasius) แขยงธง หรือ แขยงหมู (Heterobagrus bocourti) แขยงวัง หรือ แขยงหนู (Bagroides macropterus).แขยง ๑ [ขะแหฺยง] น. ชื่อปลานํ้าจืดแทบทุกชนิดในวงศ์ Bagridae ไม่มีเกล็ด มีหนวดยาว ๔ คู่ ครีบหลังตอนแรกมีก้านครีบแข็ง หยักเป็นหนามคมเช่นเดียวกับครีบอก ตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมันลักษณะเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กหรือใหญ่ขึ้นกับชนิดของปลา ครีบก้นสั้น รูปร่างคล้ายปลากดแต่มีขนาดเล็กกว่า เช่น แขยงหิน (Leiocassis siamensis) แขยงใบข้าว (Mystus cavasius) แขยงธง หรือ แขยงหมู (Heterobagrus bocourti) แขยงวัง หรือ แขยงหนู (Bagroides macropterus).
แขยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [ขะแหฺยง] เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า.แขยง ๒ [ขะแหฺยง] ก. เกลียดเมื่อได้เห็นหรือถูกต้องสิ่งที่สกปรก น่ารังเกียจ หรือน่าเกลียดน่ากลัว หรือเมื่อนึกถึงสิ่งนั้น, ขยะแขยง ก็ว่า.
แขยงแขงขน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-งอ-งู-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สะอิดสะเอียนจนขนลุก.แขยงแขงขน ก. สะอิดสะเอียนจนขนลุก.
แขย่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู[ขะแหฺย่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แขย็ก ๆ, อาการที่ปีนขยับขึ้นไปทีละน้อย ๆ ขึ้นไปได้ไม่สะดวก, เช่น ผ้าคาดพุงผูกพันขยันตะแบง แขย่งเข่นฆ่าพร้าขัดเอว. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก, มักใช้พูดเข้าคู่กับคํา เขย้อ เป็น เขย้อแขย่ง.แขย่ง [ขะแหฺย่ง] ว. แขย็ก ๆ, อาการที่ปีนขยับขึ้นไปทีละน้อย ๆ ขึ้นไปได้ไม่สะดวก, เช่น ผ้าคาดพุงผูกพันขยันตะแบง แขย่งเข่นฆ่าพร้าขัดเอว. (ม. ร่ายยาว ชูชก), มักใช้พูดเข้าคู่กับคํา เขย้อ เป็น เขย้อแขย่ง.
แขยงหนู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู[ขะแหฺยง–] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลาแขยงชนิดหนึ่ง, แขยงวัง ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู แขยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๑. (๒) ดู มังกง เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-งอ-งู.แขยงหนู [ขะแหฺยง–] น. (๑) ชื่อปลาแขยงชนิดหนึ่ง, แขยงวัง ก็เรียก. (ดู แขยง ๑). (๒) ดู มังกง.
แขละ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[แขฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ลายเกลียวเส้นลวดเล็ก ๆ ส่วนมากนิยมทำไว้ตรงโคนกระเปาะที่ฝังหัวแหวนแบบโบราณชนิดเม้มหรือล้มขอบ.แขละ [แขฺละ] น. ลายเกลียวเส้นลวดเล็ก ๆ ส่วนมากนิยมทำไว้ตรงโคนกระเปาะที่ฝังหัวแหวนแบบโบราณชนิดเม้มหรือล้มขอบ.
แขวก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-กอ-ไก่[แขฺวก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Nycticorax nycticorax ในวงศ์ Ardeidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกยาง หัวค่อนข้างโต คอสั้น ขาสั้นกว่านกยางชนิดอื่น ลําตัวส่วนบนสีเขียวอมเทา ท้ายทอยมีเปียสีขาว ๒–๓ เส้น ลําตัวส่วนล่างสีขาว อยู่เป็นฝูง กินปลาและสัตว์เล็ก ๆ หากินในเวลากลางคืน.แขวก [แขฺวก] น. ชื่อนกชนิด Nycticorax nycticorax ในวงศ์ Ardeidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกยาง หัวค่อนข้างโต คอสั้น ขาสั้นกว่านกยางชนิดอื่น ลําตัวส่วนบนสีเขียวอมเทา ท้ายทอยมีเปียสีขาว ๒–๓ เส้น ลําตัวส่วนล่างสีขาว อยู่เป็นฝูง กินปลาและสัตว์เล็ก ๆ หากินในเวลากลางคืน.
แขวง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-งอ-งู[แขฺวง] เป็นคำนาม หมายถึง เขต, แดน, ส่วน, ฝ่าย, อาณาบริเวณที่กําหนดไว้เพื่อสะดวกในการปฏิบัติราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง.แขวง [แขฺวง] น. เขต, แดน, ส่วน, ฝ่าย, อาณาบริเวณที่กําหนดไว้เพื่อสะดวกในการปฏิบัติราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
แขวน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [แขฺวน] เป็นคำกริยา หมายถึง เกี่ยวห้อยอยู่.แขวน ๑ [แขฺวน] ก. เกี่ยวห้อยอยู่.
แขวนคอ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเชือกหรือผ้าเป็นต้นผูกคอห้อยไว้บนที่สูงเช่นบนต้นไม้ ไม่ให้เท้าถึงพื้นเพื่อให้ตาย เป็นการประหารชีวิตนักโทษแบบหนึ่งของชาวตะวันตกบางประเทศ.แขวนคอ ก. เอาเชือกหรือผ้าเป็นต้นผูกคอห้อยไว้บนที่สูงเช่นบนต้นไม้ ไม่ให้เท้าถึงพื้นเพื่อให้ตาย เป็นการประหารชีวิตนักโทษแบบหนึ่งของชาวตะวันตกบางประเทศ.
แขวนนวม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู-นอ-หนู-วอ-แหวน-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกชกมวย, โดยปริยายหมายถึง เลิก, หยุด.แขวนนวม (สำ) ก. เลิกชกมวย, โดยปริยายหมายถึง เลิก, หยุด.
แขวน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ [แขฺวน] เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, ค้างคาว หรือ โตงเตง ก็เรียก.แขวน ๒ [แขฺวน] น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, ค้างคาว หรือ โตงเตง ก็เรียก.
แขวนลอย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะที่อนุภาคซึ่งมีขนาดจํากัดแผ่กระจายอยู่ในของไหลหรือของแข็งโดยไม่ละลายหรือสลายตัวรวมเป็นเนื้อเดียวกับของไหลหรือของแข็งนั้น, สารที่อยู่ในภาวะเช่นนี้เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น ฝุ่นในอากาศ หยดนํ้าเล็ก ๆ ในแก๊ส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ suspension เขียนว่า เอส-ยู-เอส-พี-อี-เอ็น-เอส-ไอ-โอ-เอ็น.แขวนลอย (เคมี) น. ภาวะที่อนุภาคซึ่งมีขนาดจํากัดแผ่กระจายอยู่ในของไหลหรือของแข็งโดยไม่ละลายหรือสลายตัวรวมเป็นเนื้อเดียวกับของไหลหรือของแข็งนั้น, สารที่อยู่ในภาวะเช่นนี้เรียกว่า สารแขวนลอย เช่น ฝุ่นในอากาศ หยดนํ้าเล็ก ๆ ในแก๊ส. (อ. suspension).
แขวะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ[แขฺวะ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งมีคมแหวะคว้านให้กว้าง; พูดชวนวิวาท.แขวะ [แขฺวะ] ก. เอาสิ่งมีคมแหวะคว้านให้กว้าง; พูดชวนวิวาท.
แขสร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[ขะแส] เป็นคำนาม หมายถึง กระแส; เส้นเชือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .แขสร์ [ขะแส] น. กระแส; เส้นเชือก. (ข.).
โข เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก. (กร่อนมาจาก อักโข ซึ่งตัดมาจาก อักโขภิณี).โข (ปาก) ว. มาก. (กร่อนมาจาก อักโข ซึ่งตัดมาจาก อักโขภิณี).
โขก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ควํ่าภาชนะเป็นต้นแล้วเคาะลงที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง, กิริยาที่ควํ่าหน้าลงแล้วเอาหน้าผากกระแทกพื้นเป็นต้น เช่น เอาหน้าผากโขกพื้น.โขก ก. ควํ่าภาชนะเป็นต้นแล้วเคาะลงที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง, กิริยาที่ควํ่าหน้าลงแล้วเอาหน้าผากกระแทกพื้นเป็นต้น เช่น เอาหน้าผากโขกพื้น.
โขกสับ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ด่าว่าข่มขี่.โขกสับ ก. ด่าว่าข่มขี่.
โขง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขลง ก็ว่า.โขง ว. กลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขลง ก็ว่า.
โข่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยนํ้าจืดกาบเดี่ยวในวงศ์ Ampullariidae เปลือกสีเขียวคลํ้า มีขนาดเท่าหัวแม่มือจนถึงกําปั้น เวียนเป็นวง ยอดสั้น วงสุดท้ายค่อนข้างกลม มีหลายชนิดในสกุล Pila เช่น ชนิด P. ampullacea, P. polita.โข่ง ๑ น. ชื่อหอยนํ้าจืดกาบเดี่ยวในวงศ์ Ampullariidae เปลือกสีเขียวคลํ้า มีขนาดเท่าหัวแม่มือจนถึงกําปั้น เวียนเป็นวง ยอดสั้น วงสุดท้ายค่อนข้างกลม มีหลายชนิดในสกุล Pila เช่น ชนิด P. ampullacea, P. polita.
โข่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปิ่น, ไม่เข้าท่า; โค่ง.โข่ง ๒ (ปาก) ว. เปิ่น, ไม่เข้าท่า; โค่ง.
โข่งทะเล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิงดู เป๋าฮื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑.โข่งทะเล ดู เป๋าฮื้อ ๑.
โขด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ดินหรือหินที่สูงขึ้นเป็นโคกเป็นเนิน, ดิน หิน หรือทรายที่เป็นจอมสูงขึ้นพ้นนํ้าบ้าง อยู่ใต้นํ้าบ้าง.โขด น. ดินหรือหินที่สูงขึ้นเป็นโคกเป็นเนิน, ดิน หิน หรือทรายที่เป็นจอมสูงขึ้นพ้นนํ้าบ้าง อยู่ใต้นํ้าบ้าง.
โขดง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก-งอ-งู[ขะโดง] เป็นคำนาม หมายถึง กระโดง; ใบเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .โขดง [ขะโดง] น. กระโดง; ใบเรือ. (ข.).
โขน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรํา มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจําลองต่าง ๆ ที่เรียกว่า หัวโขน.โขน ๑ น. การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละครรํา มักเล่นเรื่องรามเกียรติ์ โดยผู้แสดงสวมหัวจําลองต่าง ๆ ที่เรียกว่า หัวโขน.
โขน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่ต่อเสริมหัวเรือท้ายเรือให้งอนเชิดขึ้นไป เรียกว่า โขนเรือ; เรียกเรือชนิดหนึ่งที่มีโขนว่า เรือโขน เช่น เรือโขนขนาดใหญ่น้อย เหลือหลาย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพยุหยาตรา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ; ส่วนสุดทั้ง ๒ ข้างของรางระนาดหรือฆ้องวงที่งอนขึ้น.โขน ๒ น. ไม้ที่ต่อเสริมหัวเรือท้ายเรือให้งอนเชิดขึ้นไป เรียกว่า โขนเรือ; เรียกเรือชนิดหนึ่งที่มีโขนว่า เรือโขน เช่น เรือโขนขนาดใหญ่น้อย เหลือหลาย. (ลิลิตพยุหยาตรา); ส่วนสุดทั้ง ๒ ข้างของรางระนาดหรือฆ้องวงที่งอนขึ้น.
โขนง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-งอ-งู[ขะโหฺนง] เป็นคำนาม หมายถึง ขนง, คิ้ว.โขนง [ขะโหฺนง] น. ขนง, คิ้ว.
โขม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ผักโขม. ในวงเล็บ ดู ขม เขียนว่า ขอ-ไข่-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ (๑).โขม น. ผักโขม. [ดู ขม ๒ (๑)].
โขม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า[โขมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง โกษม, ผ้าใยไหม (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน, ใช้เป็นศัพท์ประกอบว่า โขมพัตถ์ โขมพัสตร์ และแผลงเป็น โขษมพัสตร์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เกฺษาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า.โขม– [โขมะ–] (แบบ) น. โกษม, ผ้าใยไหม (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน, ใช้เป็นศัพท์ประกอบว่า โขมพัตถ์ โขมพัสตร์ และแผลงเป็น โขษมพัสตร์ ก็มี. (ป.; ส. เกฺษาม).
โขมง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-งอ-งู[ขะโหฺมง] เป็นคำกริยา หมายถึง พลุ่งออกมาพร้อมกันมาก ๆ เช่น ควันโขมง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง.โขมง [ขะโหฺมง] ก. พลุ่งออกมาพร้อมกันมาก ๆ เช่น ควันโขมง. ว. ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง.
โขมด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [ขะโหฺมด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผีชนิดหนึ่งในพวกผีกระสือหรือผีโพง เห็นเป็นแสงเรืองวาวในเวลากลางคืน ทําให้หลงผิดนึกว่ามีคนถือไฟหรือจุดไฟอยู่ข้างหน้า พอเข้าไปใกล้ก็หายไป ทางวิทยาศาสตร์อธิบายว่า ได้แก่แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โขฺมจ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-พิน-ทุ-มอ-ม้า-จอ-จาน ว่า ผี .โขมด ๑ [ขะโหฺมด] น. ชื่อผีชนิดหนึ่งในพวกผีกระสือหรือผีโพง เห็นเป็นแสงเรืองวาวในเวลากลางคืน ทําให้หลงผิดนึกว่ามีคนถือไฟหรือจุดไฟอยู่ข้างหน้า พอเข้าไปใกล้ก็หายไป ทางวิทยาศาสตร์อธิบายว่า ได้แก่แก๊สมีเทน (methane) ที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์แล้วติดไฟในอากาศ เป็นแสงวอบแวบในที่มืด. (ข. โขฺมจ ว่า ผี).
โขมด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [ขะโหฺมด] เป็นคำนาม หมายถึง กระหมวด; จอมประสาทหัวช้าง.โขมด ๒ [ขะโหฺมด] น. กระหมวด; จอมประสาทหัวช้าง.
โขมดยา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[ขะโหฺมด–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้นใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยนํ้ายาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลําสําหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคหรือเสด็จพระราชดําเนินลําลองทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้, ขมวดยา ก็ว่า.โขมดยา [ขะโหฺมด–] น. ชื่อเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้นใหญ่กว่าเรือกราบ รูปร่างค่อนข้างเพรียว หัวและท้ายเรือเสริมไม้ต่อเป็นโขนงอนเชิดขึ้น ด้านข้างหัวเรือเขียนลวดลายด้วยนํ้ายาสีต่าง ๆ วางกระทงขวางลําสําหรับคนนั่งพายได้ประมาณ ๕๐ คน เป็นเรือตามเสด็จในการเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคหรือเสด็จพระราชดําเนินลําลองทางชลมารค ใช้เป็นเรือกันหรือเรือพิฆาตได้, ขมวดยา ก็ว่า.
โขยก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[ขะโหฺยก] เป็นคำกริยา หมายถึง เดินหรือวิ่งด้วยอาการคล้ายกระโดด.โขยก [ขะโหฺยก] ก. เดินหรือวิ่งด้วยอาการคล้ายกระโดด.
โขยกเขยก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[–ขะเหฺยก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กะโผลกกะเผลก.โขยกเขยก [–ขะเหฺยก] ว. กะโผลกกะเผลก.
โขยง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-งอ-งู[ขะโหฺยง] เป็นคำนาม หมายถึง พวก, หมู่, ฝูง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดด้วยกัน.โขยง [ขะโหฺยง] น. พวก, หมู่, ฝูง. ว. หมดด้วยกัน.
โขย่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู[ขะโหฺย่ง] เป็นคำกริยา หมายถึง กระโหย่ง, ทําให้สูงขึ้น.โขย่ง [ขะโหฺย่ง] ก. กระโหย่ง, ทําให้สูงขึ้น.
โขยด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[ขะโหฺยด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วิ่งอย่างกระโดด เช่น ทั้งพระยากาสรตัวกล้าก็ลับเขาโขยดโลดลองเชิง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร.โขยด [ขะโหฺยด] ว. วิ่งอย่างกระโดด เช่น ทั้งพระยากาสรตัวกล้าก็ลับเขาโขยดโลดลองเชิง. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
โขยม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[ขะโหฺยม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ขยม, ข้า, บ่าว, เช่น ไว้โขยมวัดสามครัว. ในวงเล็บ มาจาก พงศาวดารโยนก ของ พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนาค) ฉบับโรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร พ.ศ. ๒๔๗๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ขฺญุํ เขียนว่า ขอ-ไข่-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-นิค-คะ-หิด.โขยม [ขะโหฺยม] (โบ) น. ขยม, ข้า, บ่าว, เช่น ไว้โขยมวัดสามครัว. (พงศ. โยนก). (ข. ขฺญุํ).
โขลก, โขลก ๆ โขลก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ โขลก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก [โขฺลก] เป็นคำกริยา หมายถึง ตําให้เข้ากัน หรือให้เหนียว หรือให้แหลก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงไอโขลก ๆ.โขลก, โขลก ๆ [โขฺลก] ก. ตําให้เข้ากัน หรือให้เหนียว หรือให้แหลก. ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงไอโขลก ๆ.
โขลง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-งอ-งู ความหมายที่ [โขฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง ฝูง (ใช้เฉพาะช้าง).โขลง ๑ [โขฺลง] น. ฝูง (ใช้เฉพาะช้าง).
โขลง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-งอ-งู ความหมายที่ [โขฺลง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขง ก็ว่า.โขลง ๒ [โขฺลง] ว. มีกลิ่นเหม็นอย่างเนื้อเน่าที่ค้างหลายวัน, โขง ก็ว่า.
โขลน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-นอ-หนู[โขฺลน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกรมซึ่งมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยในพระราชฐานชั้นใน, เจ้าพนักงานหญิงในกรมโขลน มีหน้าที่คล้ายตํารวจ; ตําแหน่งราชการฝ่ายทหาร. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.โขลน [โขฺลน] (โบ) น. ชื่อกรมซึ่งมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยในพระราชฐานชั้นใน, เจ้าพนักงานหญิงในกรมโขลน มีหน้าที่คล้ายตํารวจ; ตําแหน่งราชการฝ่ายทหาร. (จารึกสยาม).
โขลนทวาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[โขฺลนทะวาน] เป็นคำนาม หมายถึง ประตูป่า, ประตูป่าที่ทําตามตําราพราหมณ์ คือทําเป็นประตูสะด้วยใบไม้ให้ทหารผู้ไปทัพนั้นลอดไป มีพราหมณ์คู่หนึ่งนั่งบนร้านสูง ๒ ข้างประตูคอยประนํ้าเทพมนตร์ เพื่อเป็นชัยมงคลแก่กองทัพที่ยกไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โขฺลงทฺวาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ว่า ประตูใหญ่ที่มีเสาปัก ๒ ข้าง และมีไม้ขวางข้างบน .โขลนทวาร [โขฺลนทะวาน] น. ประตูป่า, ประตูป่าที่ทําตามตําราพราหมณ์ คือทําเป็นประตูสะด้วยใบไม้ให้ทหารผู้ไปทัพนั้นลอดไป มีพราหมณ์คู่หนึ่งนั่งบนร้านสูง ๒ ข้างประตูคอยประนํ้าเทพมนตร์ เพื่อเป็นชัยมงคลแก่กองทัพที่ยกไป. (ข. โขฺลงทฺวาร ว่า ประตูใหญ่ที่มีเสาปัก ๒ ข้าง และมีไม้ขวางข้างบน).
โขษม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า[ขะโสม] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าใยไหม (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โขม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต เกฺษาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. (แผลงมาจาก โขม).โขษม [ขะโสม] น. ผ้าใยไหม (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน. (ป. โขม; ส. เกฺษาม). (แผลงมาจาก โขม).
ไข เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง มันข้น, นํ้ามันที่ได้จากสัตว์ พืช หรือแร่ ที่แข็งตัวในอุณหภูมิปรกติ; น้ำมันที่มีสถานะเป็นของแข็งเนื่องจากอยู่ในอุณหภูมิต่ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ wax เขียนว่า ดับเบิลยู-เอ-เอ็กซ์.ไข ๑ น. มันข้น, นํ้ามันที่ได้จากสัตว์ พืช หรือแร่ ที่แข็งตัวในอุณหภูมิปรกติ; น้ำมันที่มีสถานะเป็นของแข็งเนื่องจากอยู่ในอุณหภูมิต่ำ. (อ. wax).
ไขกระดูก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อส่วนในของกระดูก บางแห่งเป็นที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ของร่างกาย.ไขกระดูก น. เนื้อส่วนในของกระดูก บางแห่งเป็นที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ของร่างกาย.
ไขข้อ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าหล่อลื่นข้อของร่างกาย.ไขข้อ น. นํ้าหล่อลื่นข้อของร่างกาย.
ไขมัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์จำพวกหนึ่งมีทั้งในสัตว์และพืช ไม่ละลายน้ำ, ถ้าเป็นของเหลวในอุณหภูมิปรกติเรียก น้ำมัน, ถ้าเป็นของแข็งในอุณหภูมิปรกติเรียก ไข. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fat เขียนว่า เอฟ-เอ-ที; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งในคนและสัตว์บางชนิดซึ่งสะสมสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าวไว้มากโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้องหรือในผนังหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ, มัน ก็ว่า.ไขมัน น. สารประกอบอินทรีย์จำพวกหนึ่งมีทั้งในสัตว์และพืช ไม่ละลายน้ำ, ถ้าเป็นของเหลวในอุณหภูมิปรกติเรียก น้ำมัน, ถ้าเป็นของแข็งในอุณหภูมิปรกติเรียก ไข. (อ. fat); (ปาก) เรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งในคนและสัตว์บางชนิดซึ่งสะสมสารประกอบอินทรีย์ดังกล่าวไว้มากโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้องหรือในผนังหน้าท้อง มีลักษณะนุ่ม ๆ หยุ่น ๆ, มัน ก็ว่า.
ไขสันหลัง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ประสาทส่วนกลางที่ต่อเนื่องจากประสาทส่วนปลาย มีความยาวจากระดับต้นคอถึงระดับเอว.ไขสันหลัง น. ประสาทส่วนกลางที่ต่อเนื่องจากประสาทส่วนปลาย มีความยาวจากระดับต้นคอถึงระดับเอว.
ไขสันหลังอักเสบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง โรคโปลิโอ.ไขสันหลังอักเสบ น. โรคโปลิโอ.
ไข เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กวดสิ่งที่ยังหลวมอยู่ให้แน่นหรือทําสิ่งที่แน่นอยู่ให้หลวม เช่น ไขตะปูควง ไขนอต, หมุน เช่น ไขลาน ไขกระจก; บอก, อธิบาย, ขยาย, เช่น ไขความ ไขข่าว ไขปัญหา.ไข ๒ ก. กวดสิ่งที่ยังหลวมอยู่ให้แน่นหรือทําสิ่งที่แน่นอยู่ให้หลวม เช่น ไขตะปูควง ไขนอต, หมุน เช่น ไขลาน ไขกระจก; บอก, อธิบาย, ขยาย, เช่น ไขความ ไขข่าว ไขปัญหา.
ไขควง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-คอ-ควาย-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเหล็กเครื่องมือมีด้าม ทางปลายแบนหรือเป็นแฉก ๆ สําหรับไขตะปูควง.ไขควง น. ชื่อเหล็กเครื่องมือมีด้าม ทางปลายแบนหรือเป็นแฉก ๆ สําหรับไขตะปูควง.
ไขดาล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ลูกดาลที่ลงไว้เปิดออก.ไขดาล ก. ทำให้ลูกดาลที่ลงไว้เปิดออก.
ไขน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยนํ้าที่ขังอยู่ให้ไหล เช่น ไขนํ้าเข้านา.ไขน้ำ ก. ปล่อยนํ้าที่ขังอยู่ให้ไหล เช่น ไขนํ้าเข้านา.
ไขพระวิสูตร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง เปิดม่าน, คู่กับ ปิดพระวิสูตร หมายความว่า ปิดม่าน.ไขพระวิสูตร (ราชา) ก. เปิดม่าน, คู่กับ ปิดพระวิสูตร หมายความว่า ปิดม่าน.
ไขย่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ม่านจีบ. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมพงศาวดาร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ, เลขบอกภาค.ไขย่น น. ม่านจีบ. (ประชุมพงศ.).
ไขลาน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สั่ง, บอกให้ทํา, เช่น ต้องไขลานกันอยู่เรื่อย ไม่อย่างนั้นไม่ทํา; หมดกําลัง, หมดแรง, เช่น พอขึ้นชกยกที่ ๕ นักมวยก็เริ่มไขลานแล้ว.ไขลาน (ปาก) ก. สั่ง, บอกให้ทํา, เช่น ต้องไขลานกันอยู่เรื่อย ไม่อย่างนั้นไม่ทํา; หมดกําลัง, หมดแรง, เช่น พอขึ้นชกยกที่ ๕ นักมวยก็เริ่มไขลานแล้ว.
ไขสือ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้แล้วทำเป็นไม่รู้.ไขสือ ว. รู้แล้วทำเป็นไม่รู้.
ไขแสง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่มส่องแสง เช่น พระอาทิตย์ไขแสง.ไขแสง ก. เริ่มส่องแสง เช่น พระอาทิตย์ไขแสง.
ไขหู เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทำเป็นว่าไม่ได้ยิน.ไขหู ว. ทำเป็นว่าไม่ได้ยิน.
ไขหูไขตา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ยินได้เห็นแล้วรู้สึกอายไม่อยากฟังไม่อยากเห็น, ขายหูขายตา ก็ว่า.ไขหูไขตา ก. ได้ยินได้เห็นแล้วรู้สึกอายไม่อยากฟังไม่อยากเห็น, ขายหูขายตา ก็ว่า.
ไข่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตัวสืบพันธุ์ประกอบด้วยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย อาหาร และสิ่งห่อหุ้มซึ่งอาจจะเป็นไข่ขาว วุ้น เยื่อถุงไข่ หรือเปลือก ส่วนมากมีรูปร่างกลม จะมีตัวอ่อนภายในหรือไม่ก็ได้, ฟอง ก็เรียก, ลักษณนามเรียก ฟอง ลูก หรือ ใบ; เรียกสิ่งที่เป็นเม็ดกลม ๆ เล็ก ๆ ที่มีอยู่ตามใบไม้บางชนิด เช่น ไข่ชะอม ไข่ปรง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ลูกอัณฑะ. เป็นคำกริยา หมายถึง ตกฟอง เช่น แม่ไก่ไข่ออกมา ๓ ฟอง.ไข่ ๑ น. ตัวสืบพันธุ์ประกอบด้วยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย อาหาร และสิ่งห่อหุ้มซึ่งอาจจะเป็นไข่ขาว วุ้น เยื่อถุงไข่ หรือเปลือก ส่วนมากมีรูปร่างกลม จะมีตัวอ่อนภายในหรือไม่ก็ได้, ฟอง ก็เรียก, ลักษณนามเรียก ฟอง ลูก หรือ ใบ; เรียกสิ่งที่เป็นเม็ดกลม ๆ เล็ก ๆ ที่มีอยู่ตามใบไม้บางชนิด เช่น ไข่ชะอม ไข่ปรง; (ปาก) ลูกอัณฑะ. ก. ตกฟอง เช่น แม่ไก่ไข่ออกมา ๓ ฟอง.
ไข่กบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ดูใน กินสี่ถ้วย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก.ไข่กบ ดูใน กินสี่ถ้วย.
ไข่ไก่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีเหลืองอมแดงน้อย ๆ ดังเปลือกไข่ไก่ เรียกว่า สีไข่ไก่.ไข่ไก่ ว. มีสีเหลืองอมแดงน้อย ๆ ดังเปลือกไข่ไก่ เรียกว่า สีไข่ไก่.
ไข่ขวัญ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี, ไข่ข้าว ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู ขวัญ เขียนว่า ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง; ไข่งูที่อยู่บนยอดกลางกองไข่, ไข่ลูกยอด ก็เรียก.ไข่ขวัญ น. ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี, ไข่ข้าว ก็เรียก. (ดู ขวัญ); ไข่งูที่อยู่บนยอดกลางกองไข่, ไข่ลูกยอด ก็เรียก.
ไข่ขาง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไข่แมลงวัน. (ดู ขาง).ไข่ขาง น. ไข่แมลงวัน. (ดู ขาง).
ไข่ขาว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน มีสีขาวใสอยู่รอบ ๆ ไข่แดง เป็นสารโปรตีนทําหน้าที่ป้องกันส่วนที่เป็นเซลล์ของไข่ เวลาเซลล์ของไข่แบ่งตัวเจริญเป็นตัวอ่อน ไข่ขาวจะเป็นอาหารของตัวอ่อนด้วย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี หมายถึง กลุ่มของโปรตีน ซึ่งมีนํ้าหนักโมเลกุลประมาณ ๖๕,๐๐๐ ถึง ๗๐,๐๐๐.ไข่ขาว น. ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน มีสีขาวใสอยู่รอบ ๆ ไข่แดง เป็นสารโปรตีนทําหน้าที่ป้องกันส่วนที่เป็นเซลล์ของไข่ เวลาเซลล์ของไข่แบ่งตัวเจริญเป็นตัวอ่อน ไข่ขาวจะเป็นอาหารของตัวอ่อนด้วย; (เคมี) กลุ่มของโปรตีน ซึ่งมีนํ้าหนักโมเลกุลประมาณ ๖๕,๐๐๐ ถึง ๗๐,๐๐๐.
ไข่ข้าว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ฟักไม่เป็นตัวต้มแล้วแข็งและเหนียวผิดปรกติ; ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี, ไข่ขวัญ ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู ขวัญ เขียนว่า ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง.ไข่ข้าว น. ไข่ที่ฟักไม่เป็นตัวต้มแล้วแข็งและเหนียวผิดปรกติ; ไข่ปอกที่เสียบไม้ปักไว้บนยอดบายศรี, ไข่ขวัญ ก็เรียก. (ดู ขวัญ).
ไข่เค็ม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ดองนํ้าเกลือ, ไข่ที่พอกด้วยขี้เถ้าหรือแกลบผสมเกลือ มักทําจากไข่เป็ด มีรสเค็ม, ไข่พอก ก็เรียก.ไข่เค็ม น. ไข่ที่ดองนํ้าเกลือ, ไข่ที่พอกด้วยขี้เถ้าหรือแกลบผสมเกลือ มักทําจากไข่เป็ด มีรสเค็ม, ไข่พอก ก็เรียก.
ไข่จระเข้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกของที่มีลักษณะคล้ายไข่จระเข้ เช่น โถไข่จระเข้.ไข่จระเข้ ว. เรียกของที่มีลักษณะคล้ายไข่จระเข้ เช่น โถไข่จระเข้.
ไข่จิ้งจก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-จอ-จาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ถั่วลิสงเคลือบนํ้าตาลหรือลูกกวาดสีต่าง ๆ ทําเม็ดเล็ก ๆ ขนาดไข่จิ้งจก.ไข่จิ้งจก น. ถั่วลิสงเคลือบนํ้าตาลหรือลูกกวาดสีต่าง ๆ ทําเม็ดเล็ก ๆ ขนาดไข่จิ้งจก.
ไข่จิ้งหรีด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยข้าวตากคั่วจนพองเหลืองกวนกับนํ้าตาลปีบที่เคี่ยวเหนียว บางทีโรยมะพร้าวขูดด้วย.ไข่จิ้งหรีด น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยข้าวตากคั่วจนพองเหลืองกวนกับนํ้าตาลปีบที่เคี่ยวเหนียว บางทีโรยมะพร้าวขูดด้วย.
ไข่เจียว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากันแล้วทอดนํ้ามัน, ถ้านํ้ามันมากจนไข่ที่เจียวฟู เรียก ไข่ฟู, ถ้ามีเนื้อหมูสับผสมด้วย เรียก ไข่เจียวหมูสับ.ไข่เจียว น. ไข่ที่ตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากันแล้วทอดนํ้ามัน, ถ้านํ้ามันมากจนไข่ที่เจียวฟู เรียก ไข่ฟู, ถ้ามีเนื้อหมูสับผสมด้วย เรียก ไข่เจียวหมูสับ.
ไข่ญี่ปุ่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ลูกเขย.ไข่ญี่ปุ่น (โบ) น. ไข่ลูกเขย.
ไข่ดาว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ทอดทั้งลูกโดยไม่ต้องตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากัน.ไข่ดาว น. ไข่ทอดทั้งลูกโดยไม่ต้องตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากัน.
ไข่แดง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน อยู่รอบส่วนที่จะเจริญเป็นตัวอ่อน มักมีสีเหลืองหรือแดง เป็นสารประเภทไขมันที่สะสมไว้สําหรับเลี้ยงตัวอ่อนขณะที่เติบโต.ไข่แดง น. ส่วนของไข่สัตว์ เช่น ไข่ของนก ไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน อยู่รอบส่วนที่จะเจริญเป็นตัวอ่อน มักมีสีเหลืองหรือแดง เป็นสารประเภทไขมันที่สะสมไว้สําหรับเลี้ยงตัวอ่อนขณะที่เติบโต.
ไข่ตายโคม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ตัวตายในระหว่างฟัก.ไข่ตายโคม น. ไข่ที่ตัวตายในระหว่างฟัก.
ไข่ตุ๋น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากันแล้วนึ่ง.ไข่ตุ๋น น. ไข่ที่ตีไข่แดงกับไข่ขาวให้เข้ากันแล้วนึ่ง.
ไข่เต่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยแป้งต้มกับกะทิ มีสีขาวรสมันเค็ม มักกินผสมกับขนมปลากริม.ไข่เต่า ๑ น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยแป้งต้มกับกะทิ มีสีขาวรสมันเค็ม มักกินผสมกับขนมปลากริม.
ไข่นกกระสา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-นอ-หนู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยสาคูเม็ดเล็กผสมนํ้าตาลปีบ ปั้นเป็นก้อน นึ่ง มีไส้ทําด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย.ไข่นกกระสา น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยสาคูเม็ดเล็กผสมนํ้าตาลปีบ ปั้นเป็นก้อน นึ่ง มีไส้ทําด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย.
ไข่น้ำค้าง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ขาวส่วนที่เป็นนํ้าใส ๆ ที่ติดอยู่กับเปลือกด้านป้าน.ไข่น้ำค้าง น. ไข่ขาวส่วนที่เป็นนํ้าใส ๆ ที่ติดอยู่กับเปลือกด้านป้าน.
ไข่ในหิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ของที่ต้องระมัดระวังทะนุถนอมอย่างยิ่ง.ไข่ในหิน (สำ) น. ของที่ต้องระมัดระวังทะนุถนอมอย่างยิ่ง.
ไข่ปลา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง จุดที่เรียงกันเป็นเส้น, ลายที่มีจุดเล็ก ๆ เป็นเส้นหรือเป็นกลุ่ม.ไข่ปลา น. จุดที่เรียงกันเป็นเส้น, ลายที่มีจุดเล็ก ๆ เป็นเส้นหรือเป็นกลุ่ม.
ไข่พอก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-พอ-พาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ไข่เค็ม.ไข่พอก น. ไข่เค็ม.
ไข่แมงดา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งลักษณะอย่างทองหยอดเม็ดเล็ก ๆ ใช้โรยหน้าข้าวเหนียวกระทงหรือข้าวเหนียวตัด.ไข่แมงดา น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งลักษณะอย่างทองหยอดเม็ดเล็ก ๆ ใช้โรยหน้าข้าวเหนียวกระทงหรือข้าวเหนียวตัด.
ไข่ยัดไส้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ไข่กรอกในกระทะให้บาง แล้วห่อไส้หมูสับผัดน้ำมันให้สุก ปรุงรสเค็มหวาน.ไข่ยัดไส้ น. ไข่กรอกในกระทะให้บาง แล้วห่อไส้หมูสับผัดน้ำมันให้สุก ปรุงรสเค็มหวาน.
ไข่เยี่ยวม้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไข่แช่นํ้าด่าง, ไข่สําเภา ก็เรียก.ไข่เยี่ยวม้า น. ไข่แช่นํ้าด่าง, ไข่สําเภา ก็เรียก.
ไข่ลม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่ไม่มีเชื้อตัวผู้ผสม.ไข่ลม น. ไข่ที่ไม่มีเชื้อตัวผู้ผสม.
ไข่ลูกเขย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง อาหารของคาวทําด้วยไข่ต้มทั้งลูก ปอกเปลือกแล้วทอดนํ้ามัน เคล้ากับนํ้าตาลนํ้าปลาที่เคี่ยวจนงวด, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ไข่ญี่ปุ่น.ไข่ลูกเขย น. อาหารของคาวทําด้วยไข่ต้มทั้งลูก ปอกเปลือกแล้วทอดนํ้ามัน เคล้ากับนํ้าตาลนํ้าปลาที่เคี่ยวจนงวด, (โบ) ไข่ญี่ปุ่น.
ไข่ลูกยอด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไข่งูที่อยู่บนยอดกลางกองไข่, ไข่ขวัญ ก็เรียก.ไข่ลูกยอด น. ไข่งูที่อยู่บนยอดกลางกองไข่, ไข่ขวัญ ก็เรียก.
ไข่สำเภา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไข่แช่นํ้าด่าง, สามัญเรียกว่า ไข่เยี่ยวม้า.ไข่สำเภา น. ไข่แช่นํ้าด่าง, สามัญเรียกว่า ไข่เยี่ยวม้า.
ไข่หงส์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทำด้วยแป้งทอด มีไส้ทำด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย เกลือกน้ำตาลจนแห้ง ลักษณะกลม, ไข่เหี้ย ก็ว่า.ไข่หงส์ น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทำด้วยแป้งทอด มีไส้ทำด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย เกลือกน้ำตาลจนแห้ง ลักษณะกลม, ไข่เหี้ย ก็ว่า.
ไข่หวาน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําโดยต่อยไข่ใส่ลงในนํ้าเชื่อมร้อน ๆ แล้วต้มให้สุก มักใส่ขิงด้วย.ไข่หวาน น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําโดยต่อยไข่ใส่ลงในนํ้าเชื่อมร้อน ๆ แล้วต้มให้สุก มักใส่ขิงด้วย.
ไข่หำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ลูกอัณฑะ.ไข่หำ (ถิ่น–อีสาน) น. ลูกอัณฑะ.
ไข่หิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ที่แข็งคล้ายหิน.ไข่หิน ๑ น. ไข่ที่แข็งคล้ายหิน.
ไข่เหา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราวัดโบราณ, ๘ เส้นผม เท่ากับ ๑ ไข่เหา ๘ ไข่เหา เท่ากับ ๑ ตัวเหา.ไข่เหา น. ชื่อมาตราวัดโบราณ, ๘ เส้นผม เท่ากับ ๑ ไข่เหา ๘ ไข่เหา เท่ากับ ๑ ตัวเหา.
ไข่เหี้ย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยแป้งทอด มีไส้ทำด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย เกลือกนํ้าตาลจนแห้งลักษณะกลมอย่างไข่เหี้ย, ไข่หงส์ ก็ว่า.ไข่เหี้ย น. ชื่อขนมอย่างหนึ่งทําด้วยแป้งทอด มีไส้ทำด้วยถั่วเขียวนึ่งผัดกับพริกไทย เกลือกนํ้าตาลจนแห้งลักษณะกลมอย่างไข่เหี้ย, ไข่หงส์ ก็ว่า.
ไข่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งซึ่งกลายมาจากกล้วยป่า (Musa acuminata Colla) ผลเล็ก เปลือกบาง ไม่มีเมล็ด บางพันธุ์มีกระที่เปลือก.ไข่ ๒ น. ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งซึ่งกลายมาจากกล้วยป่า (Musa acuminata Colla) ผลเล็ก เปลือกบาง ไม่มีเมล็ด บางพันธุ์มีกระที่เปลือก.
ไข้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ความเจ็บป่วย เช่น ไข้จับสั่น ไข้ทรพิษ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่; อาการที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดจากระดับปรกติเนื่องจากความเจ็บป่วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา pyrexia เขียนว่า พี-วาย-อา-อี-เอ็กซ์-ไอ-เอ pyrexy เขียนว่า พี-วาย-อา-อี-เอ็กซ์-วาย .ไข้ น. ความเจ็บป่วย เช่น ไข้จับสั่น ไข้ทรพิษ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่; อาการที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดจากระดับปรกติเนื่องจากความเจ็บป่วย. (อ. fever, pyrexia, pyrexy).
ไข้กาฬ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลาดู ไข้ผื่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู.ไข้กาฬ ดู ไข้ผื่น.
ไข้กาฬนกนางแอ่น, ไข้กาฬหลังแอ่น ไข้กาฬนกนางแอ่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-นอ-หนู-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู ไข้กาฬหลังแอ่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ติดเชื้อเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง มีอาการไข้ ซึม คอแข็ง หลังแอ่น และมีผื่นชนิดตกเลือดใต้ผิวหนัง ต่อมาสีของผื่นจะเปลี่ยนเป็นคลํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ meningococcal เขียนว่า เอ็ม-อี-เอ็น-ไอ-เอ็น-จี-โอ-ซี-โอ-ซี-ซี-เอ-แอล meningitis เขียนว่า เอ็ม-อี-เอ็น-ไอ-เอ็น-จี-ไอ-ที-ไอ-เอส .ไข้กาฬนกนางแอ่น, ไข้กาฬหลังแอ่น น. ไข้ติดเชื้อเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง มีอาการไข้ ซึม คอแข็ง หลังแอ่น และมีผื่นชนิดตกเลือดใต้ผิวหนัง ต่อมาสีของผื่นจะเปลี่ยนเป็นคลํ้า. (อ. meningococcal meningitis).
ไข้กำเดา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ชนิดหนึ่งที่เกิดจากหวัด.ไข้กำเดา (โบ) น. ไข้ชนิดหนึ่งที่เกิดจากหวัด.
ไข้ความร้อน, ไข้แดด ไข้ความร้อน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ไข้แดด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกความร้อนจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ heat เขียนว่า เอช-อี-เอ-ที stroke เขียนว่า เอส-ที-อา-โอ-เค-อี .ไข้ความร้อน, ไข้แดด น. ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกความร้อนจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. (อ. heat stroke).
ไข้จับสั่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียกัด มีอาการหนาวและสั่น, ไข้มาลาเรีย ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ malarial เขียนว่า เอ็ม-เอ-แอล-เอ-อา-ไอ-เอ-แอล fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา malaria เขียนว่า เอ็ม-เอ-แอล-เอ-อา-ไอ-เอ paludism เขียนว่า พี-เอ-แอล-ยู-ดี-ไอ-เอส-เอ็ม .ไข้จับสั่น น. ไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงก้นปล่องที่มีเชื้อมาลาเรียกัด มีอาการหนาวและสั่น, ไข้มาลาเรีย ก็ว่า. (อ. malarial fever, malaria, paludism).
ไข้ใจ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง ความระทมใจเนื่องจากผิดหวังในความรักเป็นต้น.ไข้ใจ น. ความระทมใจเนื่องจากผิดหวังในความรักเป็นต้น.
ไข้แดด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกแดดจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ solar เขียนว่า เอส-โอ-แอล-เอ-อา fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา sunstroke เขียนว่า เอส-ยู-เอ็น-เอส-ที-อา-โอ-เค-อี .ไข้แดด น. ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกแดดจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. (อ. solar fever, sunstroke).
ไข้ทรพิษ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ฝีดาษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ smallpox เขียนว่า เอส-เอ็ม-เอ-แอล-แอล-พี-โอ-เอ็กซ์ variola เขียนว่า วี-เอ-อา-ไอ-โอ-แอล-เอ .ไข้ทรพิษ น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไข้สูงแล้วมีผื่นขึ้นดาษตามใบหน้าและลำตัว ต่อมาผื่นจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ด ตามลำดับ เมื่อหายแล้วมีแผลเป็นเป็นรอยบุ๋ม, ฝีดาษ ก็เรียก, โบราณเรียก ไข้หัว. (อ. smallpox, variola).
ไข้ทับระดู เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ขณะที่กําลังมีระดูหรือระดูเพิ่งหยุด.ไข้ทับระดู น. ไข้ขณะที่กําลังมีระดูหรือระดูเพิ่งหยุด.
ไข้ป่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่รับจากป่าหรือดงดิบ เกิดเพราะถูกอายพิษดิน พิษแร่ หรือว่านยา หรือเชื้อไข้มาลาเรีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ jungle เขียนว่า เจ-ยู-เอ็น-จี-แอล-อี fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา .ไข้ป่า น. ไข้ที่รับจากป่าหรือดงดิบ เกิดเพราะถูกอายพิษดิน พิษแร่ หรือว่านยา หรือเชื้อไข้มาลาเรีย. (อ. jungle fever).
ไข้ผื่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่มีผื่นและการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นทางผิวหนัง มีลักษณะอาการและความรุนแรงต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เป็นเม็ดเล็ก ๆ เหมือนหัวเข็มหมุด จนถึงปื้นใหญ่ ๆ ในรายที่รุนแรงมากอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังบริเวณผื่นหรือปื้น และผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ, ไข้กาฬ หรือ ไข้ส่า ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ exanthematous เขียนว่า อี-เอ็กซ์-เอ-เอ็น-ที-เอช-อี-เอ็ม-เอ-ที-โอ-ยู-เอส fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา .ไข้ผื่น น. ไข้ที่มีผื่นและการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นทางผิวหนัง มีลักษณะอาการและความรุนแรงต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เป็นเม็ดเล็ก ๆ เหมือนหัวเข็มหมุด จนถึงปื้นใหญ่ ๆ ในรายที่รุนแรงมากอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังบริเวณผื่นหรือปื้น และผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ, ไข้กาฬ หรือ ไข้ส่า ก็เรียก. (อ. exanthematous fever).
ไข้พิษ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่มีพิษกล้าทําให้เชื่อมซึมไปไม่มีเวลาสร่าง.ไข้พิษ น. ไข้ที่มีพิษกล้าทําให้เชื่อมซึมไปไม่มีเวลาสร่าง.
ไข้มาลาเรีย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยักดู ไข้จับสั่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู.ไข้มาลาเรีย ดู ไข้จับสั่น.
ไข้เลือดออก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกกัด มักเกิดแก่เด็ก มีอาการเลือดออกใต้ผิวหนังเป็นจํ้า ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ haemorrhagic เขียนว่า เอช-เอ-อี-เอ็ม-โอ-อา-อา-เอช-เอ-จี-ไอ-ซี fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา .ไข้เลือดออก น. ไข้ที่เกิดเพราะถูกยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกกัด มักเกิดแก่เด็ก มีอาการเลือดออกใต้ผิวหนังเป็นจํ้า ๆ. (อ. haemorrhagic fever).
ไข้สันนิบาต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่มีอาการสั่นเทิ้มชักกระตุกและเพ้อ เช่น ไข้สันนิบาตลูกนก ไข้สันนิบาตหน้าเพลิง.ไข้สันนิบาต (โบ) น. ไข้ที่มีอาการสั่นเทิ้มชักกระตุกและเพ้อ เช่น ไข้สันนิบาตลูกนก ไข้สันนิบาตหน้าเพลิง.
ไข้ส่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อาดู ไข้ผื่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู.ไข้ส่า ดู ไข้ผื่น.
ไข้หวัด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่เป็นในขณะที่เป็นหวัด มีนํ้ามูกและเสมหะมาก บางทีก็ไอด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ common เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-โอ-เอ็น cold เขียนว่า ซี-โอ-แอล-ดี coryza เขียนว่า ซี-โอ-อา-วาย-แซด-เอ acute เขียนว่า เอ-ซี-ยู-ที-อี catarrhal เขียนว่า ซี-เอ-ที-เอ-อา-อา-เอช-เอ-แอล rhinitis เขียนว่า อา-เอช-ไอ-เอ็น-ไอ-ที-ไอ-เอส .ไข้หวัด น. ไข้ที่เป็นในขณะที่เป็นหวัด มีนํ้ามูกและเสมหะมาก บางทีก็ไอด้วย. (อ. common cold, coryza, acute catarrhal rhinitis).
ไข้หวัดใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดต่อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมีไข้สูงมาก มีอาการหนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อและอ่อนเพลีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ influenza เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอฟ-แอล-ยู-อี-เอ็น-แซด-เอ.ไข้หวัดใหญ่ น. โรคติดต่อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเชื้อไวรัส ผู้ป่วยมีไข้สูงมาก มีอาการหนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อและอ่อนเพลีย. (อ. influenza).
ไข้หัว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ทรพิษ, ฝีดาษ.ไข้หัว (โบ) น. ไข้ทรพิษ, ฝีดาษ.
ไข้หัวลม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ไข้ที่มักเกิดเพราะถูกอากาศเย็นต้นฤดูหนาว.ไข้หัวลม น. ไข้ที่มักเกิดเพราะถูกอากาศเย็นต้นฤดูหนาว.
ไข้เหลือง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มียุงเป็นพาหะ ผู้ป่วยมักมีอาการเวียนศีรษะ คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศีรษะ และปวดหลัง ไข้ขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว ชีพจรเต้นช้าลง ผิวและตาเหลือง อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตภายใน ๖–๗ วัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ yellow เขียนว่า วาย-อี-แอล-แอล-โอ-ดับเบิลยู fever เขียนว่า เอฟ-อี-วี-อี-อา .ไข้เหลือง น. โรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มียุงเป็นพาหะ ผู้ป่วยมักมีอาการเวียนศีรษะ คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศีรษะ และปวดหลัง ไข้ขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว ชีพจรเต้นช้าลง ผิวและตาเหลือง อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตภายใน ๖–๗ วัน. (อ. yellow fever).
ไข่ดัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ต่อมนํ้าเหลืองที่อยู่ใต้ผิวหนังของบริเวณขาหนีบ ซึ่งเป็นแนวต่อระหว่างลำตัวกับต้นขา มีหน้าที่กักและทําลายเชื้อโรคที่อาจผ่านเข้าในร่างกายท่อนบน.ไข่ดัน น. ต่อมนํ้าเหลืองที่อยู่ใต้ผิวหนังของบริเวณขาหนีบ ซึ่งเป็นแนวต่อระหว่างลำตัวกับต้นขา มีหน้าที่กักและทําลายเชื้อโรคที่อาจผ่านเข้าในร่างกายท่อนบน.
ไข่ดันหมู เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ไตหมู.ไข่ดันหมู น. ไตหมู.
ไข่เต่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดูใน ไข่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.ไข่เต่า ๑ ดูใน ไข่ ๑.
ไข่เต่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อมะเขือขื่นพันธุ์หนึ่ง สีขาว เนื้อกรอบ. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Polyalthia debilis (Pierre) Finet et Gagnep. ในวงศ์ Annonaceae ขึ้นตามป่าโปร่งดินทราย ผลเป็นข้อ ๆ.ไข่เต่า ๒ น. (๑) ชื่อมะเขือขื่นพันธุ์หนึ่ง สีขาว เนื้อกรอบ. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Polyalthia debilis (Pierre) Finet et Gagnep. ในวงศ์ Annonaceae ขึ้นตามป่าโปร่งดินทราย ผลเป็นข้อ ๆ.
ไข่น้ำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำดู ไข่แหน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-นอ-หนู.ไข่น้ำ ดู ไข่แหน.
ไข่เน่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Vitex glabrata R. Br. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าดิบและที่ราบลุ่มทั่ว ๆ ไป สูง ๘–๑๒ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๕ ใบ ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ผลรูปไข่ขนาดหัวแม่มือ สุกสีดํา กินได้ มีรสหวานเล็กน้อย เปลือกและรากใช้ทํายาได้.ไข่เน่า ๑ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Vitex glabrata R. Br. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าดิบและที่ราบลุ่มทั่ว ๆ ไป สูง ๘–๑๒ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๕ ใบ ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ผลรูปไข่ขนาดหัวแม่มือ สุกสีดํา กินได้ มีรสหวานเล็กน้อย เปลือกและรากใช้ทํายาได้.
ไข่เน่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า. ในวงเล็บ ดู ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า ก๊าซไข่เน่า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา แก๊สไข่เน่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา .ไข่เน่า ๒ น. ชื่อแก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า. (ดู ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า).
ไข่มุก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุมีค่า มักมีลักษณะกลม ๆ เกิดจากหอยบางชนิด ที่รู้จักกันทั่วไปมีสีขาว ที่เป็นสีขาวอมชมพูหรือสีดำก็มี ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ.ไข่มุก น. วัตถุมีค่า มักมีลักษณะกลม ๆ เกิดจากหอยบางชนิด ที่รู้จักกันทั่วไปมีสีขาว ที่เป็นสีขาวอมชมพูหรือสีดำก็มี ใช้ทำเป็นเครื่องประดับ.
ไขรา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของหลังคาอาคารสถาปัตยกรรมไทย เฉพาะตอนที่ยื่นพ้นผนังอาคารออกไปยังขอบหลังคา, ถ้าส่วนที่ยื่นนั้นอยู่ตรงหน้าจั่ว เรียก ไขราหน้าจั่ว, ถ้าอยู่ปลายหน้าบัน เรียก ไขราหน้าบัน, ถ้าเป็นหลังคาปีกนก เรียก ไขราปีกนก, ถ้าเป็นหลังคาบังสาดตามขนาดยาวของเต้า เรียก ไขราจันทันเต้า หรือ ไขราเต้า.ไขรา น. ส่วนของหลังคาอาคารสถาปัตยกรรมไทย เฉพาะตอนที่ยื่นพ้นผนังอาคารออกไปยังขอบหลังคา, ถ้าส่วนที่ยื่นนั้นอยู่ตรงหน้าจั่ว เรียก ไขราหน้าจั่ว, ถ้าอยู่ปลายหน้าบัน เรียก ไขราหน้าบัน, ถ้าเป็นหลังคาปีกนก เรียก ไขราปีกนก, ถ้าเป็นหลังคาบังสาดตามขนาดยาวของเต้า เรียก ไขราจันทันเต้า หรือ ไขราเต้า.
ไขว่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-เอก[ไขฺว่] เป็นคำกริยา หมายถึง ไขว้ เช่น ไขว่ชะลอม, ก่ายกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวไปมาอย่างสับสน เช่น เดินไขว่ โบกมือไขว่. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแผ่นกระดาษที่รองรับแผ่นทองคำเปลวสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ จำนวน ๒๐ แผ่น ว่า ๑ ไขว่.ไขว่ [ไขฺว่] ก. ไขว้ เช่น ไขว่ชะลอม, ก่ายกัน. ว. อาการที่เคลื่อนไหวไปมาอย่างสับสน เช่น เดินไขว่ โบกมือไขว่. น. เรียกแผ่นกระดาษที่รองรับแผ่นทองคำเปลวสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ จำนวน ๒๐ แผ่น ว่า ๑ ไขว่.
ไขว่คว้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, คว้าไขว่ ก็ว่า.ไขว่คว้า ก. เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, คว้าไขว่ ก็ว่า.
ไขว่ห้าง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นั่งหรือนอนเอาขาพาดบนเข่าซึ่งตั้งชันอยู่.ไขว่ห้าง ว. อาการที่นั่งหรือนอนเอาขาพาดบนเข่าซึ่งตั้งชันอยู่.
ไขว้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-โท[ไขฺว้] เป็นคำกริยา หมายถึง ขัด เช่น ไขว้เฉลว, สับกัน เช่น ส่งของไขว้ คือ เอาของคนหนึ่งไปส่งคืนให้อีกคนหนึ่ง, ก่ายสับกัน เช่น ไขว้ขา; กิริยาที่เตะตะกร้อด้วยบิดเท้าไปอีกข้างหนึ่ง เรียกว่า เตะไขว้.ไขว้ [ไขฺว้] ก. ขัด เช่น ไขว้เฉลว, สับกัน เช่น ส่งของไขว้ คือ เอาของคนหนึ่งไปส่งคืนให้อีกคนหนึ่ง, ก่ายสับกัน เช่น ไขว้ขา; กิริยาที่เตะตะกร้อด้วยบิดเท้าไปอีกข้างหนึ่ง เรียกว่า เตะไขว้.
ไขว้เขว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง สับกัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า เอาของไปจํานํา.ไขว้เขว ก. สับกัน; (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า เอาของไปจํานํา.
ไขว้โรง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กลับตรงกันข้าม (เดิมเป็นภาษาใช้ในการพนันหวย ก ข มีตัวโรงเช้า โรงคํ่า เมื่อผู้แทงระบุตัวแทงแล้ว ถ้าหากตัวออกกลับกันเสีย ก็เรียกว่า ขุนบาลกินอย่างไขว้โรง, ตรงกับว่า โอละพ่อ).ไขว้โรง ก. กลับตรงกันข้าม (เดิมเป็นภาษาใช้ในการพนันหวย ก ข มีตัวโรงเช้า โรงคํ่า เมื่อผู้แทงระบุตัวแทงแล้ว ถ้าหากตัวออกกลับกันเสีย ก็เรียกว่า ขุนบาลกินอย่างไขว้โรง, ตรงกับว่า โอละพ่อ).
ไขษย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก[ขะไส] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กษัย, การสิ้นไป, การหมดไป.ไขษย [ขะไส] (โบ) น. กษัย, การสิ้นไป, การหมดไป.
ไขเสนียด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[–สะเหฺนียด] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าครํา.ไขเสนียด [–สะเหฺนียด] น. นํ้าครํา.
ไข่หิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ดูใน ไข่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.ไข่หิน ๑ ดูใน ไข่ ๑.
ไข่หิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสาหร่ายสีเขียวชนิด Nostochopsis lobatus Wood ในวงศ์ Nostochopsidaceae ลักษณะรูปไข่ ค่อนข้างกลมเล็ก สีเขียวแก่ เกิดในนํ้าใสสะอาด เกาะอยู่กับหิน กินได้, ดอกหิน ก็เรียก.ไข่หิน ๒ น. ชื่อสาหร่ายสีเขียวชนิด Nostochopsis lobatus Wood ในวงศ์ Nostochopsidaceae ลักษณะรูปไข่ ค่อนข้างกลมเล็ก สีเขียวแก่ เกิดในนํ้าใสสะอาด เกาะอยู่กับหิน กินได้, ดอกหิน ก็เรียก.
ไข่แหน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-นอ-หนู[–แหฺน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Wolffia globosa (Roxb.) Hartog et Plas ในวงศ์ Lemnaceae เกาะกันเป็นกลุ่มลอยอยู่ในนํ้า ลักษณะเป็นเม็ดเขียว ๆ กลม ๆ เล็ก ๆ ขนาดเม็ดทราย ไม่มีราก เป็นพืชที่เล็กที่สุดในจําพวกพืชมีดอก กินได้, ไข่นํ้า หรือ ผํา ก็เรียก.ไข่แหน [–แหฺน] น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Wolffia globosa (Roxb.) Hartog et Plas ในวงศ์ Lemnaceae เกาะกันเป็นกลุ่มลอยอยู่ในนํ้า ลักษณะเป็นเม็ดเขียว ๆ กลม ๆ เล็ก ๆ ขนาดเม็ดทราย ไม่มีราก เป็นพืชที่เล็กที่สุดในจําพวกพืชมีดอก กินได้, ไข่นํ้า หรือ ผํา ก็เรียก.