กะอาน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กระอาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.กะอาน ดู กระอาน.
กะอาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง กะอวม เช่น กะอามลั่นทมชวน ใจรื่น รมย์นา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพงศาวดารเหนือ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศ วริยาลงกรณ์ ทรงพระนิพนธ์, ฉบับโรงพิมพ์ไท ร.ศ. ๑๒๗.กะอาม น. กะอวม เช่น กะอามลั่นทมชวน ใจรื่น รมย์นา. (พงศ. เหนือ).
กะอิด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็กดู ไก่ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท (๑).กะอิด ดู ไก่ไห้ (๑).
กะอูบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ผอบ เช่น จึงแก้เอาเสื้อและผ้าคาดศีรษะใส่ในกระอูบคำ. (ประชุมพงศ. ๑๐).กะอูบ (ถิ่น–พายัพ) น. ผอบ เช่น จึงแก้เอาเสื้อและผ้าคาดศีรษะใส่ในกระอูบคำ. (ประชุมพงศ. ๑๐).
กะเอว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เอว เช่น ถวัดเท้าท่าเตะมวย ตึงเมื่อย หายฮา แก้กะเอวขดค้อม เข่าคู้โขยกโขยง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒,สะเอว ก็ว่า.กะเอว น. เอว เช่น ถวัดเท้าท่าเตะมวย ตึงเมื่อย หายฮา แก้กะเอวขดค้อม เข่าคู้โขยกโขยง. (จารึกวัดโพธิ์),สะเอว ก็ว่า.
กะแอ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบังแดดมีคันปักดิน หมุนได้ตามต้องการ.กะแอ ๑ น. เครื่องบังแดดมีคันปักดิน หมุนได้ตามต้องการ.
กะแอ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อน, เล็ก, เรียกลูกควายตัวเล็ก ๆ ตามเสียงที่มันร้องว่า ลูกกะแอ, ลูกแหง่ ก็ว่า.กะแอ ๒ ว. อ่อน, เล็ก, เรียกลูกควายตัวเล็ก ๆ ตามเสียงที่มันร้องว่า ลูกกะแอ, ลูกแหง่ ก็ว่า.
กะแอน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระชาย. ในวงเล็บ ดู กระชาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.กะแอน (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกระชาย. (ดู กระชาย).
กัก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ให้ล่วงพ้นเขตที่กําหนดไว้, กำหนดเขตให้อยู่, เช่น กักตัว, กักกัน ก็ว่า; ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป, เช่น กักรถ กักนํ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยุดชะงัก เช่น หยุดกัก.กัก ก. ไม่ให้ล่วงพ้นเขตที่กําหนดไว้, กำหนดเขตให้อยู่, เช่น กักตัว, กักกัน ก็ว่า; ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป, เช่น กักรถ กักนํ้า. ว. หยุดชะงัก เช่น หยุดกัก.
กักกัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กําหนดเขตให้อยู่, กัก ก็ว่า. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งที่ศาลใช้ในกรณีที่ให้ควบคุมผู้กระทําความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกําหนด เพื่อป้องกันการกระทําความผิด เพื่อดัดนิสัย และเพื่อฝึกหัดอาชีพ.กักกัน ก. กําหนดเขตให้อยู่, กัก ก็ว่า. (กฎ) น. วิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งที่ศาลใช้ในกรณีที่ให้ควบคุมผู้กระทําความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกําหนด เพื่อป้องกันการกระทําความผิด เพื่อดัดนิสัย และเพื่อฝึกหัดอาชีพ.
กักขัง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับให้อยู่ในสถานที่อันจํากัด, เก็บตัวไว้ในสถานที่อันจํากัด. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ที่ให้กักตัวผู้ต้องโทษไว้ในสถานที่ซึ่งกําหนดไว้อันมิใช่เรือนจํา.กักขัง ก. บังคับให้อยู่ในสถานที่อันจํากัด, เก็บตัวไว้ในสถานที่อันจํากัด. (กฎ) น. โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ที่ให้กักตัวผู้ต้องโทษไว้ในสถานที่ซึ่งกําหนดไว้อันมิใช่เรือนจํา.
กักคุม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับให้อยู่ในอารักขา.กักคุม ก. บังคับให้อยู่ในอารักขา.
กักด่าน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กักกุมไว้เพื่อตรวจตรา เช่นตรวจโรคติดต่อ.กักด่าน ก. กักกุมไว้เพื่อตรวจตรา เช่นตรวจโรคติดต่อ.
กักตัว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป.กักตัว ก. ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป.
กักตุน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เก็บสินค้าไว้เป็นจํานวนมากเพื่อเก็งกําไร, ตุน ก็ว่า. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง มีโภคภัณฑ์ไว้ในครอบครองเกินปริมาณที่จําเป็นสําหรับใช้จ่ายส่วนตัว และไม่นําออกจําหน่ายตามวิถีทางการค้าปรกติ.กักตุน ก. เก็บสินค้าไว้เป็นจํานวนมากเพื่อเก็งกําไร, ตุน ก็ว่า. (กฎ) น. มีโภคภัณฑ์ไว้ในครอบครองเกินปริมาณที่จําเป็นสําหรับใช้จ่ายส่วนตัว และไม่นําออกจําหน่ายตามวิถีทางการค้าปรกติ.
กักบริเวณ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-เนน เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับให้อยู่ในบริเวณที่กําหนดไว้.กักบริเวณ ก. บังคับให้อยู่ในบริเวณที่กําหนดไว้.
กั๊ก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกทางสี่แยกว่า สี่กั๊ก; ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าเทหนึ่ง, ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าขวดใหญ่ขนาด ๗๕๐ ซีซี., ส่วน ๑ ใน ๔ ของนํ้าแข็งซองหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น ๔ มือ; เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต เรียกว่า เสื้อกั๊ก; วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง ถ้าลูกค้าแทงกั๊ก ๒ ประตูใด โปออกประตูใดประตูหนึ่งใน ๒ ประตูนั้น เจ้ามือใช้ ๑ ต่อ ถ้าโปออกประตูอื่นนอกจาก ๒ ประตูที่แทงไว้ เจ้ามือกิน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดติดอ่าง.กั๊ก น. เรียกทางสี่แยกว่า สี่กั๊ก; ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าเทหนึ่ง, ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าขวดใหญ่ขนาด ๗๕๐ ซีซี., ส่วน ๑ ใน ๔ ของนํ้าแข็งซองหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น ๔ มือ; เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต เรียกว่า เสื้อกั๊ก; วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง ถ้าลูกค้าแทงกั๊ก ๒ ประตูใด โปออกประตูใดประตูหนึ่งใน ๒ ประตูนั้น เจ้ามือใช้ ๑ ต่อ ถ้าโปออกประตูอื่นนอกจาก ๒ ประตูที่แทงไว้ เจ้ามือกิน. (ถิ่น–พายัพ) ก. พูดติดอ่าง.
กักกรา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–กฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง โกฐกักกรา. ในวงเล็บ ดู โกฐกักกรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ที่ โกฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน.กักกรา [–กฺรา] น. โกฐกักกรา. (ดู โกฐกักกรา ที่ โกฐ).
กักการุ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ดอกฟัก เช่น อิกกักการุดิเรกอเนกดิบุษปวัน อ้อยลำแลใหญ่ครัน คือหมาก. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กักการุ (แบบ) น. ดอกฟัก เช่น อิกกักการุดิเรกอเนกดิบุษปวัน อ้อยลำแลใหญ่ครัน คือหมาก. (สมุทรโฆษ). (ป.).
กักขฬะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อะ[กักขะหฺละ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบคายมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กกฺขฏ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-ตอ-ปะ-ตัก.กักขฬะ [กักขะหฺละ] ว. หยาบคายมาก. (ป.; ส. กกฺขฏ).
กัง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลิงชนิด Macaca nemestrina ในวงศ์ Cercopithecidae ขนสีน้ำตาลอมเทา หางสั้นงอโค้งขึ้นไปทางด้านหลัง ทางปักษ์ใต้ใช้เก็บมะพร้าว, กะบุด ก็เรียก.กัง น. ชื่อลิงชนิด Macaca nemestrina ในวงศ์ Cercopithecidae ขนสีน้ำตาลอมเทา หางสั้นงอโค้งขึ้นไปทางด้านหลัง ทางปักษ์ใต้ใช้เก็บมะพร้าว, กะบุด ก็เรียก.
กั้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Stomatopoda มีหลายวงศ์ ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Squillidae หายใจด้วยเหงือก ลําตัวแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๕ แต่ไม่ถึงปล้องที่ ๘ กรีมีลักษณะแบนราบ มี ๖ ขา, กั้งตั๊กแตน ก็เรียก.กั้ง ๑ น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Stomatopoda มีหลายวงศ์ ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Squillidae หายใจด้วยเหงือก ลําตัวแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ ๕ แต่ไม่ถึงปล้องที่ ๘ กรีมีลักษณะแบนราบ มี ๖ ขา, กั้งตั๊กแตน ก็เรียก.
กั้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กั้น.กั้ง ๒ (กลอน) ก. กั้น.
กั้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กะเหรี่ยง. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔.กั้ง ๓ (โบ) น. กะเหรี่ยง. (อนันตวิภาค).
กั้งกระดาน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กระดาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.กั้งกระดาน ดู กระดาน ๒.
กังกะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เหยี่ยว เช่น เกิดเป็นภักษแก่กังกโกรญจคฤธรกา บินมาวว่อนร่อน ก็ร้อง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กังกะ (แบบ) น. เหยี่ยว เช่น เกิดเป็นภักษแก่กังกโกรญจคฤธรกา บินมาวว่อนร่อน ก็ร้อง. (สมุทรโฆษ).
กังก้า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จังก้า, ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้ เช่น ถกเขมรกังก้าเรียกข้าไทย. (ขุนช้างขุนแผน–แจ้ง).กังก้า ว. จังก้า, ลักษณะยืนถ่างขาตั้งท่าเตรียมสู้ เช่น ถกเขมรกังก้าเรียกข้าไทย. (ขุนช้างขุนแผน–แจ้ง).
กังเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งูดู กางเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู.กังเกียง ดู กางเกียง.
กังขา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความเคลือบแคลง, ความสงสัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กังขา น. ความเคลือบแคลง, ความสงสัย. (ป.).
กังฉิน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คดโกง, ไม่ซื่อตรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน กังฉิน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ว่า อำมาตย์ทุจริต, อำมาตย์ทรยศ .กังฉิน ว. คดโกง, ไม่ซื่อตรง. (จ. กังฉิน ว่า อำมาตย์ทุจริต, อำมาตย์ทรยศ).
กั้งตั๊กแตน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนูดู กั้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑.กั้งตั๊กแตน ดู กั้ง ๑.
กังฟู เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบหนึ่งของจีน เน้นหนักไปในทางฝึกสมาธิและความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย.กังฟู น. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบหนึ่งของจีน เน้นหนักไปในทางฝึกสมาธิและความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย.
กังวล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ห่วงใย, มีใจพะวงอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .กังวล ก. ห่วงใย, มีใจพะวงอยู่. (ข.).
กังวาน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ก้องอยู่ได้นาน เช่น เสียงระฆังกังวาน, มีกระแสเสียงก้องและแจ่มใส.กังวาน ว. ก้องอยู่ได้นาน เช่น เสียงระฆังกังวาน, มีกระแสเสียงก้องและแจ่มใส.
กังเวียน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ขอบผ้าปกกระพองช้าง เช่น จัดพาดกังเวียนวาง ห่อได้. (ตําราช้างคําโคลง–วชิรญาณ เล่ม ๒๑).กังเวียน น. ขอบผ้าปกกระพองช้าง เช่น จัดพาดกังเวียนวาง ห่อได้. (ตําราช้างคําโคลง–วชิรญาณ เล่ม ๒๑).
กังสดาล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[–สะดาน] เป็นคำนาม หมายถึง ระฆังวงเดือน เช่น แว่วสําเนียงเสียงระฆังกังสดาล. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.กังสดาล [–สะดาน] น. ระฆังวงเดือน เช่น แว่วสําเนียงเสียงระฆังกังสดาล. (อิเหนา).
กังสะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สัมฤทธิ์ เช่น ดั่งดามพะกังสกล่อมเกลา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กังสะ (แบบ) น. สัมฤทธิ์ เช่น ดั่งดามพะกังสกล่อมเกลา. (สมุทรโฆษ). (ป.).
กังไส เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องถ้วยปั้นที่ทํามาจากแคว้นเกียงสีในประเทศจีน.กังไส น. เครื่องถ้วยปั้นที่ทํามาจากแคว้นเกียงสีในประเทศจีน.
กังหัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ประกอบด้วยใบพัดหมุนได้ด้วยกําลังลม, จังหัน ก็ว่า, โดยปริยายเรียกเครื่องหมุนบางชนิดมีรูปทํานองกังหัน ทําให้เกิดกําลังงาน เช่น กังหันนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกําลังนํ้า, กังหันลม คือเครื่องหมุนด้วยกําลังลม, กังหันไอนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกําลังไอนํ้า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง ใช้เรียกเครื่องจักรที่หมุนอย่างกังหัน; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดที่จุดแล้วหมุนอย่างกังหัน, ลักษณนามว่าต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กงฺหาร เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-พิน-ทุ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.กังหัน น. สิ่งที่ประกอบด้วยใบพัดหมุนได้ด้วยกําลังลม, จังหัน ก็ว่า, โดยปริยายเรียกเครื่องหมุนบางชนิดมีรูปทํานองกังหัน ทําให้เกิดกําลังงาน เช่น กังหันนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกําลังนํ้า, กังหันลม คือเครื่องหมุนด้วยกําลังลม, กังหันไอนํ้า คือเครื่องหมุนด้วยกําลังไอนํ้า; (วิทยา) ใช้เรียกเครื่องจักรที่หมุนอย่างกังหัน; ชื่อดอกไม้ไฟชนิดที่จุดแล้วหมุนอย่างกังหัน, ลักษณนามว่าต้น. (ข. กงฺหาร).
กังหันใบพัด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องยนต์ซึ่งใช้กังหันขับใบพัด.กังหันใบพัด น. เครื่องยนต์ซึ่งใช้กังหันขับใบพัด.
กังหันไอพ่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องยนต์ซึ่งใช้กังหันขับเครื่องอัดอากาศ, เครื่องยนต์ไอพ่น ก็ว่า.กังหันไอพ่น น. เครื่องยนต์ซึ่งใช้กังหันขับเครื่องอัดอากาศ, เครื่องยนต์ไอพ่น ก็ว่า.
กัจฉปะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ[กัดฉะปะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์จุลพน ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัจฉปะ [กัดฉะปะ] (แบบ) น. เต่า เช่น หมู่มัจฉกัจฉปะทุกสิ่งสรรพ์. (ม. ร่ายยาว จุลพน). (ป., ส.).
กัจฉะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อะ[กัดฉะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง รักแร้, ใช้ว่า พระกัจฉะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กกฺษ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.กัจฉะ [กัดฉะ] (ราชา) น. รักแร้, ใช้ว่า พระกัจฉะ. (ป.; ส. กกฺษ).
กัจฉา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา[กัดฉา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สายรัดท้องช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กกฺษา เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา กกฺษฺยา เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา .กัจฉา [กัดฉา] (แบบ) น. สายรัดท้องช้าง. (ป.; ส. กกฺษา, กกฺษฺยา).
กัญ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กันย์, ชื่อราศีหนึ่งใน ๑๒ ราศี เช่น อีกกัญเป็นชื่อราศี. ในวงเล็บ มาจาก ไวพจน์ประพันธ์ ในหนังสือภาษาไทย ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เล่ม ๑ ฉบับ ป. พิศนาคะ การพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๐๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กญฺา เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา.กัญ (แบบ) น. กันย์, ชื่อราศีหนึ่งใน ๑๒ ราศี เช่น อีกกัญเป็นชื่อราศี. (ไวพจน์ประพันธ์). (ป. กญฺา).
กัญจุก, กัญจุการา กัญจุก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ กัญจุการา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัญจุก, กัญจุการา (แบบ) น. เสื้อ. (ป., ส.).
กัญชา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cannabis sativa L. ในวงศ์ Cannabidaceae ใบมนแฉกลึกเข้าไปทางก้านหลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ใบและช่อดอกเพศเมียที่แห้งเรียก กะหลี่กัญชา ใช้สูบปนกับยาสูบ มีสรรพคุณทําให้มึนเมา เปลือกลําต้นใช้ทําเชือกป่าน และทอผ้า.กัญชา [กัน–] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Cannabis sativa L. ในวงศ์ Cannabidaceae ใบมนแฉกลึกเข้าไปทางก้านหลายแฉก ดอกสีเขียว ช่อดอกเพศผู้และช่อดอกเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน ใบและช่อดอกเพศเมียที่แห้งเรียก กะหลี่กัญชา ใช้สูบปนกับยาสูบ มีสรรพคุณทําให้มึนเมา เปลือกลําต้นใช้ทําเชือกป่าน และทอผ้า.
กัญญา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [กันยา] เป็นคำนาม หมายถึง สาวรุ่น, สาวน้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กนฺยา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา.กัญญา ๑ [กันยา] น. สาวรุ่น, สาวน้อย. (ป.; ส. กนฺยา).
กัญญา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [กันยา] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบังแดดรูปหลังคา ใช้สําหรับแคร่หามหรือเรือยาวเพื่อเป็นเกียรติยศ, เรียกแคร่หามหรือเรือยาวที่มีกัญญาว่า แคร่กัญญา เรือกัญญา.กัญญา ๒ [กันยา] น. เครื่องบังแดดรูปหลังคา ใช้สําหรับแคร่หามหรือเรือยาวเพื่อเป็นเกียรติยศ, เรียกแคร่หามหรือเรือยาวที่มีกัญญาว่า แคร่กัญญา เรือกัญญา.
กัญญา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [กันยา] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกข้าวเหนียวดําพันธุ์หนึ่งที่เมล็ดดําเป็นมันว่า ข้าวกัญญา.กัญญา ๓ [กันยา] น. เรียกข้าวเหนียวดําพันธุ์หนึ่งที่เมล็ดดําเป็นมันว่า ข้าวกัญญา.
กัฐ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กฏฺ; เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-??59?? ภาษาสันสกฤต กาษฺ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน .กัฐ (แบบ) น. ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). (ป., ส. กฏฺ; ส. กาษฺ).
กัณฏกะ, กัณฐกะ กัณฏกะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ กัณฐกะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ [กันตะกะ, กันถะกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หนาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กณฺฏก เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่.กัณฏกะ, กัณฐกะ [กันตะกะ, กันถะกะ] (แบบ) น. หนาม. (ป., ส. กณฺฏก).
กัณฐ–, กัณฐา กัณฐ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน กัณฐา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา [กันถะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัณฐ–, กัณฐา [กันถะ–] (แบบ) น. คอ. (ป.).
กัณฐชะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดจากเส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กณฺวฺย เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.กัณฐชะ (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดจากเส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. (ป.; ส. กณฺวฺย).
กัณฐกะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ[–ถะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ– ฐกก่องคือแสงสรวล. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัณฐกะ [–ถะกะ] น. เครื่องประดับคอ เช่น คางเพลาคือกลวิมลกัณ– ฐกก่องคือแสงสรวล. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
กัณฐัศ, กัณฐัศว์ กัณฐัศ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา กัณฐัศว์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด [กันถัด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อม้าตระกูลหนึ่ง, ในบทกลอนใช้เรียกม้าทั่วไป.กัณฐัศ, กัณฐัศว์ [กันถัด] น. ชื่อม้าตระกูลหนึ่ง, ในบทกลอนใช้เรียกม้าทั่วไป.
กัณฐี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อี[กันถี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับคอ เช่น แก้วกัณฐีถนิมมาศนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช.กัณฐี [กันถี] (แบบ) น. เครื่องประดับคอ เช่น แก้วกัณฐีถนิมมาศนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช).
กัณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[กัน] เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่แต่งเป็นคําเทศน์เรื่องหนึ่ง ๆ ที่จบลงคราวหนึ่ง ๆ, ตอนหนึ่ง ๆ ของคําเทศน์ที่เป็นเรื่องยาว เช่น มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ทศพร กัณฑ์หิมพานต์, ลักษณนามของเทศน์ เช่น เทศน์กัณฑ์หนึ่ง เทศน์ ๒ กัณฑ์; เรื่องหรือหมวด, ตอน, ส่วนของเรื่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัณฑ์ [กัน] น. ข้อความที่แต่งเป็นคําเทศน์เรื่องหนึ่ง ๆ ที่จบลงคราวหนึ่ง ๆ, ตอนหนึ่ง ๆ ของคําเทศน์ที่เป็นเรื่องยาว เช่น มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ทศพร กัณฑ์หิมพานต์, ลักษณนามของเทศน์ เช่น เทศน์กัณฑ์หนึ่ง เทศน์ ๒ กัณฑ์; เรื่องหรือหมวด, ตอน, ส่วนของเรื่อง. (ป.).
กัณฑ์เทศน์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องไทยธรรมถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, สิ่งของสําหรับถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า; เรียกการเอาเงินติดเทียนบูชากัณฑ์เทศน์หรือเรียกการเอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์ว่า ติดกัณฑ์เทศน์.กัณฑ์เทศน์ น. เครื่องไทยธรรมถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, สิ่งของสําหรับถวายพระผู้แสดงพระธรรมเทศนา, เครื่องกัณฑ์ ก็ว่า; เรียกการเอาเงินติดเทียนบูชากัณฑ์เทศน์หรือเรียกการเอาเงินหรือสิ่งของบูชาธรรมเนื่องในการเทศน์ว่า ติดกัณฑ์เทศน์.
กัณณ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กรฺณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน.กัณณ์ (แบบ) น. หู. (ป.; ส. กรฺณ).
กัณห– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ[กันหะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดํา, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กฺฤษฺณ เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน.กัณห– [กันหะ–] ว. ดํา, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. (ป.; ส. กฺฤษฺณ).
กัณหธรรม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมฝ่ายดํา คือ อกุศล.กัณหธรรม น. ธรรมฝ่ายดํา คือ อกุศล.
กัณหปักษ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ฝ่ายดํา คือ ข้างแรม.กัณหปักษ์ น. ฝ่ายดํา คือ ข้างแรม.
กัด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดไว้ให้อยู่ กัดไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไปให้ทะลุ ให้ฉีกขาดเป็นต้น เช่น สุนัขกัดเป็นแผลลึกเข้าไป หนูกัดผ้าเป็นรู ปากคันกัดเสียจนไม่มีชิ้นดี, โดยปริยายหมายความว่า ทําให้หมดไปสิ้นไป เช่น สนิมกัดเหล็กจนกร่อน กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด, ทําให้เปื่อยเป็นแผล เช่น ปูนกัดปาก; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คอยหาเรื่อง เช่น เขากัดฉันไม่เลิก, ทะเลาะวิวาท เช่น ๒ คนนี้กัดกันอยู่เสมอ. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับปลาทะเลชนิดอวน.กัด ๑ ก. เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดไว้ให้อยู่ กัดไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไปให้ทะลุ ให้ฉีกขาดเป็นต้น เช่น สุนัขกัดเป็นแผลลึกเข้าไป หนูกัดผ้าเป็นรู ปากคันกัดเสียจนไม่มีชิ้นดี, โดยปริยายหมายความว่า ทําให้หมดไปสิ้นไป เช่น สนิมกัดเหล็กจนกร่อน กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด, ทําให้เปื่อยเป็นแผล เช่น ปูนกัดปาก; (ปาก) คอยหาเรื่อง เช่น เขากัดฉันไม่เลิก, ทะเลาะวิวาท เช่น ๒ คนนี้กัดกันอยู่เสมอ. น. เครื่องมือจับปลาทะเลชนิดอวน.
กัดติด, กัดไม่ปล่อย กัดติด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก กัดไม่ปล่อย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตามอย่างไม่ละวาง, ทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างจริงจัง เช่น เขาทำงานแบบกัดไม่ปล่อย.กัดติด, กัดไม่ปล่อย ก. ติดตามอย่างไม่ละวาง, ทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างจริงจัง เช่น เขาทำงานแบบกัดไม่ปล่อย.
กัดฟัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาฟันต่อฟันกดกันไว้แน่น เป็นอาการแสดงถึงความอดกลั้น, โดยปริยายหมายความว่า มานะ; ขบฟันในเวลานอนหลับ.กัดฟัน ก. เอาฟันต่อฟันกดกันไว้แน่น เป็นอาการแสดงถึงความอดกลั้น, โดยปริยายหมายความว่า มานะ; ขบฟันในเวลานอนหลับ.
กัดลาก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู อวนลาก เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่.กัดลาก น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง. (ดู อวนลาก).
กัดวาง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู อวนลอย เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.กัดวาง น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง. (ดู อวนลอย).
กัดหางตัวเอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พูดวนไปวนมา.กัดหางตัวเอง (สำ) ว. พูดวนไปวนมา.
กัด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Betta splendens ในวงศ์ Anabantidae ทํารังเป็นหวอดที่ผิวนํ้า ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสวยงาม สามารถกางครีบและแผ่นปิดเหงือก เปล่งสีลำตัวให้เข้มขึ้น ในขณะต่อสู้มักกัดกัน จึงเรียกว่า ปลากัด.กัด ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กชนิด Betta splendens ในวงศ์ Anabantidae ทํารังเป็นหวอดที่ผิวนํ้า ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสวยงาม สามารถกางครีบและแผ่นปิดเหงือก เปล่งสีลำตัวให้เข้มขึ้น ในขณะต่อสู้มักกัดกัน จึงเรียกว่า ปลากัด.
กัดป่า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อาดู กริม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า.กัดป่า ดู กริม.
กัด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พิกัด. เป็นคำกริยา หมายถึง กะ เช่น ซ้นนกัดค่าพระราชกุมาร. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.กัด ๓ (โบ) น. พิกัด. ก. กะ เช่น ซ้นนกัดค่าพระราชกุมาร. (ม. คำหลวง กุมาร).
กัด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๖.กัด ๔ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๖.
กัตติกมาส เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[กัดติกะมาด] เป็นคำนาม หมายถึง เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์กัตติกา คือ เดือน ๑๒ ตามจันทรคติ ตกในราวเดือนพฤศจิกายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัตติกมาส [กัดติกะมาด] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์กัตติกา คือ เดือน ๑๒ ตามจันทรคติ ตกในราวเดือนพฤศจิกายน. (ป.).
กัตติกา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[กัด–] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๓ มี ๘ ดวง เห็นเป็นรูปธงสามเหลี่ยม มีหางเรียวยาว, ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่ ก็เรียก, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เขียนเป็น กฤติกา ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กตฺติกา เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต กฺฤตฺติกา เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.กัตติกา [กัด–] น. ดาวฤกษ์ที่ ๓ มี ๘ ดวง เห็นเป็นรูปธงสามเหลี่ยม มีหางเรียวยาว, ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่ ก็เรียก, (โบ) เขียนเป็น กฤติกา ก็มี. (ป. กตฺติกา; ส. กฺฤตฺติกา).
กัตติเกยา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง การตามเพลิงในพิธีพราหมณ์.กัตติเกยา น. การตามเพลิงในพิธีพราหมณ์.
กัตรทัณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[กัดตฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เท้าคนแก่ เช่น แล้วทรงธารพระกรกัตรทัณฑ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์วนปเวสน์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กตฺตร เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ = คนแก่ + ทณฺฑ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท = ไม้เท้า และมาจากภาษาสันสกฤต กรฺตฺร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ + ทณฺฑ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท .กัตรทัณฑ์ [กัดตฺระ–] (แบบ) น. ไม้เท้าคนแก่ เช่น แล้วทรงธารพระกรกัตรทัณฑ์. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). (ป. กตฺตร = คนแก่ + ทณฺฑ = ไม้เท้า; ส. กรฺตฺร + ทณฺฑ).
กัตรา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[กัดตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง เรือผีหลอก.กัตรา [กัดตฺรา] น. เรือผีหลอก.
กัทลี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[กัดทะลี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กล้วย เช่น คิดพ่างผลกัทลี ฆ่ากล้วย. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กทลี เขียนว่า กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี.กัทลี [กัดทะลี] (แบบ) น. กล้วย เช่น คิดพ่างผลกัทลี ฆ่ากล้วย. (โลกนิติ). (ป., ส. กทลี).
กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทํานองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.กัน ๑ (ปาก) ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้เสมอกันหรือผู้น้อยในทํานองกันเอง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
กันและกัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนชื่อในลักษณะที่มีการกระทําร่วมกันหรือต่อกันโดยมีบุรพบทประกอบหน้า เช่น รักซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของกันและกัน.กันและกัน ส. คําใช้แทนชื่อในลักษณะที่มีการกระทําร่วมกันหรือต่อกันโดยมีบุรพบทประกอบหน้า เช่น รักซึ่งกันและกัน เพื่อประโยชน์ของกันและกัน.
กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยาของผู้กระทําตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แสดงการกระทําร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เช่น คิดกัน หารือกัน.กัน ๒ ว. คําประกอบท้ายกริยาของผู้กระทําตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แสดงการกระทําร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เช่น คิดกัน หารือกัน.
กันเขากันเรา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พวกเขาพวกเรา.กันเขากันเรา (ปาก) ว. พวกเขาพวกเรา.
กันเอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นพวกเดียวกัน, สนิทสนมกัน, เช่น ราคากันเอง.กันเอง ว. เป็นพวกเดียวกัน, สนิทสนมกัน, เช่น ราคากันเอง.
กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จําเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, ช้างดั้ง ก็เรียก, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง และกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ ว่า เรือกัน.กัน ๓ ก. กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จําเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, ช้างดั้ง ก็เรียก, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง และกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ ว่า เรือกัน.
กันกง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อมวง, กันรอบ.กันกง ก. ล้อมวง, กันรอบ.
กันชน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องป้องกันการกระทบกระแทกด้านหน้าและด้านหลังรถยนต์, เรียกประเทศที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์ว่า ประเทศกันชน.กันชน น. เครื่องป้องกันการกระทบกระแทกด้านหน้าและด้านหลังรถยนต์, เรียกประเทศที่กั้นอยู่ระหว่างดินแดนของ ๒ ประเทศ เพื่อมิให้พิพาทกันในเรื่องดินแดนและผลประโยชน์ว่า ประเทศกันชน.
กันชีพ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง สายห้อยใช้สะพายเฉวียงบ่า ๒ ข้าง หรือข้างเดียว.กันชีพ น. สายห้อยใช้สะพายเฉวียงบ่า ๒ ข้าง หรือข้างเดียว.
กันแซง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กองทําหน้าที่แซงในพยุหยาตรา, คู่กันกับ กันแทรก คือ กองทําหน้าที่แทรกทั้งนี้เพื่อป้องกันจอมทัพ.กันแซง ๑ น. กองทําหน้าที่แซงในพยุหยาตรา, คู่กันกับ กันแทรก คือ กองทําหน้าที่แทรกทั้งนี้เพื่อป้องกันจอมทัพ.
กันแดด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมวกชนิดหนึ่ง ทรงคลุ่ม มีปีกแข็งโดยรอบ โครงทำด้วยไม้ก๊อกหรือไม้ฉำฉาหรือไม้โสน หุ้มด้วยผ้า, หมวกกะโล่ ก็เรียก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ลดความเข้มของแสง เช่น แว่นกันแดด หมวกกันแดด.กันแดด น. ชื่อหมวกชนิดหนึ่ง ทรงคลุ่ม มีปีกแข็งโดยรอบ โครงทำด้วยไม้ก๊อกหรือไม้ฉำฉาหรือไม้โสน หุ้มด้วยผ้า, หมวกกะโล่ ก็เรียก. ว. ที่ลดความเข้มของแสง เช่น แว่นกันแดด หมวกกันแดด.
กันตัว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ป้องกันตัว, รักษาตัว.กันตัว ก. ป้องกันตัว, รักษาตัว.
กันท่า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาอาการขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งได้สะดวก.กันท่า (ปาก) ก. แสดงกิริยาอาการขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งได้สะดวก.
กันแทรก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่[–แซก] เป็นคำนาม หมายถึง กองทําหน้าที่แทรก เพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแซง.กันแทรก [–แซก] น. กองทําหน้าที่แทรก เพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กันแซง.
กันพิรุณ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง กรรภิรมย์.กันพิรุณ น. กรรภิรมย์.
กันสาด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เพิงที่ต่อชายคาสําหรับกันฝน, บังสาด ก็เรียก.กันสาด น. เพิงที่ต่อชายคาสําหรับกันฝน, บังสาด ก็เรียก.
กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โกนให้เป็นเขตเสมอ เช่น กันคิ้ว กันคอ กันหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กาล่ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก.กัน ๔ ก. โกนให้เป็นเขตเสมอ เช่น กันคิ้ว กันคอ กันหน้า. (ข. กาล่).
กั่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ถัดจากโคนอาวุธหรือเครื่องมือเป็นต้น สําหรับหยั่งลงไปในด้าม.กั่น ๑ น. ส่วนที่ถัดจากโคนอาวุธหรือเครื่องมือเป็นต้น สําหรับหยั่งลงไปในด้าม.
กั่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง ดุ.กั่น ๒ (ถิ่น–พายัพ) ก. ดุ.
กั้น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กีดขวางหรือทําสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา เช่น กั้นกลด ภูเขากั้นเขตแดน กั้นถนน.กั้น ก. กีดขวางหรือทําสิ่งกีดขวางเพื่อบัง คั่น หรือกันไว้ไม่ให้เข้ามา เช่น กั้นกลด ภูเขากั้นเขตแดน กั้นถนน.
กั้นกาง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กางแขนออกขวางทางไว้, โดยปริยายหมายถึง ทําอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการขัดขวางเพื่อไม่ให้ไปดังประสงค์.กั้นกาง ก. กางแขนออกขวางทางไว้, โดยปริยายหมายถึง ทําอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการขัดขวางเพื่อไม่ให้ไปดังประสงค์.
กันเกรา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[–เกฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Fagraea fragrans Roxb. ในวงศ์ Gentianaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะทั่วไปในป่าดิบ ใบสีเขียวแก่ ค่อนข้างหนา ยาวราว ๕–๗ เซนติเมตร ดอกดก สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หอมมาก ออกเป็นช่อคล้ายช่อดอกเข็ม ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อสุกสีแดง เนื้อไม้สีเหลืองละเอียด แน่น เป็นมัน แข็งและทนทาน นิยมใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ, ตําเสา หรือ มันปลา ก็เรียก.กันเกรา [–เกฺรา] น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Fagraea fragrans Roxb. ในวงศ์ Gentianaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะทั่วไปในป่าดิบ ใบสีเขียวแก่ ค่อนข้างหนา ยาวราว ๕–๗ เซนติเมตร ดอกดก สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หอมมาก ออกเป็นช่อคล้ายช่อดอกเข็ม ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อสุกสีแดง เนื้อไม้สีเหลืองละเอียด แน่น เป็นมัน แข็งและทนทาน นิยมใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ, ตําเสา หรือ มันปลา ก็เรียก.
กันไกร, กันไตร กันไกร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ กันไตร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ [–ไกฺร,–ไตฺร]ดู กรรไตร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ.กันไกร, กันไตร [–ไกฺร,–ไตฺร] ดู กรรไตร.
กันฉิ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งูดู กรรชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.กันฉิ่ง ดู กรรชิง.
กันชิง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กรรชิง.กันชิง น. กรรชิง.
กันเชอ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก แต่สูงกว่า ก้นสอบ ปากกว้าง ใช้กระเดียด, กระเชอ ก็เรียก.กันเชอ น. ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก แต่สูงกว่า ก้นสอบ ปากกว้าง ใช้กระเดียด, กระเชอ ก็เรียก.
กั้นซู่ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง กล่าวกันว่ามีลักษณะเหมือนถุงอย่างเดียวกับโพงพาง หรือเป็นไม้ซึ่งปักเป็นปีกของเครื่องมือประจําที่ซึ่งเรียก กั้นซู่รั้วไซมาน หรือ ซู่กั้นรั้วไซมาน.กั้นซู่ (โบ) น. เครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง กล่าวกันว่ามีลักษณะเหมือนถุงอย่างเดียวกับโพงพาง หรือเป็นไม้ซึ่งปักเป็นปีกของเครื่องมือประจําที่ซึ่งเรียก กั้นซู่รั้วไซมาน หรือ ซู่กั้นรั้วไซมาน.
กันแซง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ความหมายที่ ดูใน กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.กันแซง ๑ ดูใน กัน ๓.
กันแซง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กระแชง เช่น หลังคากันแซง. (พงศ. ร. ๓/๘).กันแซง ๒ น. กระแชง เช่น หลังคากันแซง. (พงศ. ร. ๓/๘).
กันดอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ถ่องแถว เช่น เทเพนทรพฤกษนุกันดอง. ในวงเล็บ มาจาก บทกล่อมช้างของเก่า ในหนังสือชุมนุมฉันท์ดุษฎีสังเวย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๕๗.กันดอง (โบ) น. ถ่องแถว เช่น เทเพนทรพฤกษนุกันดอง. (กล่อมช้างของเก่า).
กันดาร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–ดาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อัตคัด, ฝืดเคือง, เช่น กันดารข้าว กันดารน้ำ, ลําบาก, แห้งแล้ง, คํานี้มักใช้แก่เวลา ท้องที่ หรือถิ่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น คราวกันดาร ทางกันดาร ที่กันดาร. เป็นคำนาม หมายถึง ป่าดง, ทางลําบาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กนฺตาร เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.กันดาร [–ดาน] ว. อัตคัด, ฝืดเคือง, เช่น กันดารข้าว กันดารน้ำ, ลําบาก, แห้งแล้ง, คํานี้มักใช้แก่เวลา ท้องที่ หรือถิ่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น คราวกันดาร ทางกันดาร ที่กันดาร. น. ป่าดง, ทางลําบาก. (ป. กนฺตาร).
กันดาล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[–ดาน] เป็นคำนาม หมายถึง กลาง, ท่ามกลาง, เช่น ในกันดาลท้าวทงงหลายผู้ก่อนน้นน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กณฺฎาล เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.กันดาล [–ดาน] น. กลาง, ท่ามกลาง, เช่น ในกันดาลท้าวทงงหลายผู้ก่อนน้นน. (ม. คำหลวง ทศพร). (ข. กณฺฎาล).
กันได เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง หลักฐานที่ยึดถือ เช่น กรมธรรม์กันได. (กฎหมาย เล่ม ๒).กันได น. หลักฐานที่ยึดถือ เช่น กรมธรรม์กันได. (กฎหมาย เล่ม ๒).
กันต์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด, โกน, เช่น เกศากันต์ (ตัดผม, โกนผม); ยินดี, พอใจ, เช่น สุนทรกันต์ มุทุกันต์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าใคร่, น่าพอใจ, งดงาม, เช่น กันตาภิรมย์ หมายถึง ยินดียิ่งในสิ่งที่น่าพอใจ.กันต์ ก. ตัด, โกน, เช่น เกศากันต์ (ตัดผม, โกนผม); ยินดี, พอใจ, เช่น สุนทรกันต์ มุทุกันต์. ว. น่าใคร่, น่าพอใจ, งดงาม, เช่น กันตาภิรมย์ หมายถึง ยินดียิ่งในสิ่งที่น่าพอใจ.
กันตัง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นมีใบคัน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กันตัง น. ชื่อไม้ต้นมีใบคัน. (พจน. ๒๔๙๓).
กันไตร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[–ไตฺร] เป็นคำนาม หมายถึง กรรไตร.กันไตร [–ไตฺร] น. กรรไตร.
กันทร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ[–ทอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ถํ้า, ซอกเขา (ที่เป็นเองหรือช่างทําขึ้น). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กันทร [–ทอน] (แบบ) น. ถํ้า, ซอกเขา (ที่เป็นเองหรือช่างทําขึ้น). (ป., ส.).
กันทรากร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–ทะรากอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กันทรากร [–ทะรากอน] (แบบ) น. ภูเขา. (ป., ส.).
กันทะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา. (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์).กันทะ (โบ) น. กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา. (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์).
กั้นบัง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ว่านกั้นบัง. ในวงเล็บ ดู กําบัง เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๓.กั้นบัง น. ว่านกั้นบัง. (ดู กําบัง ๓).
กันภัย, กันภัยมหิดล กันภัย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก กันภัยมหิดล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir. ในวงศ์ Leguminosae พบทางจังหวัดกาญจนบุรี ใบเป็นใบประกอบ ช่อหนึ่งมีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีนํ้าตาล ดอกเป็นช่อตั้ง สีขาวปนม่วง ฝักสั้นป้อมแบน ๆ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.กันภัย, กันภัยมหิดล น. ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia mahidolae Burtt et Chermsir. ในวงศ์ Leguminosae พบทางจังหวัดกาญจนบุรี ใบเป็นใบประกอบ ช่อหนึ่งมีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีนํ้าตาล ดอกเป็นช่อตั้ง สีขาวปนม่วง ฝักสั้นป้อมแบน ๆ ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี.
กันภิรมย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาดดู กรรภิรมย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด.กันภิรมย์ ดู กรรภิรมย์.
กันเมียง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เด็ก, โบราณเขียนเป็น กันมยง เช่น แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี อันกันมยงทักแท่ให้แต่งแง่ดูงาม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เกฺมง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-มอ-ม้า-งอ-งู = เด็ก .กันเมียง น. เด็ก, โบราณเขียนเป็น กันมยง เช่น แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี อันกันมยงทักแท่ให้แต่งแง่ดูงาม. (ม. คำหลวง ทศพร). (ข. เกฺมง = เด็ก).
กันย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สาวรุ่น, สาวน้อย; ชื่อกลุ่มดาวรูปหญิงสาวเรียกว่า ราศีกันย์ เป็นราศีที่ ๕ ในจักรราศี.กันย์ น. สาวรุ่น, สาวน้อย; ชื่อกลุ่มดาวรูปหญิงสาวเรียกว่า ราศีกันย์ เป็นราศีที่ ๕ ในจักรราศี.
กันยา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สาวรุ่น, สาวน้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กฺา เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา.กันยา น. สาวรุ่น, สาวน้อย. (ส.; ป. กฺา).
กันยายน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๙ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๐ วัน, ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๖ ตามสุริยคติซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กนฺยา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา = นางงาม, นางสาวน้อย + อายน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู = มา = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีกันย์ .กันยายน น. ชื่อเดือนที่ ๙ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๐ วัน, (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๖ ตามสุริยคติซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. (ส. กนฺยา = นางงาม, นางสาวน้อย + อายน = มา = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีกันย์).
กันลง, กันลอง กันลง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-งอ-งู กันลอง ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กนฺลง่ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ไม้-เอก; ของที่เหลือ, มูลฝอย; การกบฏ, การบุกรุก.กันลง, กันลอง ๑ น. แมลงภู่ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์. (ม. คำหลวง จุลพน). (ข. กนฺลง่); ของที่เหลือ, มูลฝอย; การกบฏ, การบุกรุก.
กันลอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระโดด, ข้าม, ผ่าน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลิศ, ยิ่ง; ล่วง, พ้น, เช่น มหาโพยมกันลอง. ในวงเล็บ มาจาก บทกล่อมช้างของเก่า ในหนังสือชุมนุมฉันท์ดุษฎีสังเวย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๕๗ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กนฺลง เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-งอ-งู.กันลอง ๒ ก. กระโดด, ข้าม, ผ่าน. ว. เลิศ, ยิ่ง; ล่วง, พ้น, เช่น มหาโพยมกันลอง. (กล่อมช้างของเก่า). (ข. กนฺลง).
กันลึง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน.กันลึง (โบ) ก. จับ เช่น กันลงกันลึงคลึงคนธ์. (ม. คำหลวง จุลพน).
กันแสง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระกันแสง หรือ ทรงกันแสง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กนฺแสง เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ว่า ผ้าเช็ดปาก, ผ้าเช็ดมือ, ผ้าเช็ดหน้า .กันแสง (ราชา) ก. ร้องไห้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระกันแสง หรือ ทรงกันแสง. (ข. กนฺแสง ว่า ผ้าเช็ดปาก, ผ้าเช็ดมือ, ผ้าเช็ดหน้า).
กั้นหยั่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง มีดปลายแหลม มีคม ๒ ข้าง ส่วนของใบมีดตั้งแต่กั่นถึงปลายใหญ่เท่ากัน เป็นอาวุธ ใช้เหน็บเอว, จีนใช้เป็นเครื่องหมายกันจัญไร เช่นในรูปสิงโตคาบกั้นหยั่น.กั้นหยั่น น. มีดปลายแหลม มีคม ๒ ข้าง ส่วนของใบมีดตั้งแต่กั่นถึงปลายใหญ่เท่ากัน เป็นอาวุธ ใช้เหน็บเอว, จีนใช้เป็นเครื่องหมายกันจัญไร เช่นในรูปสิงโตคาบกั้นหยั่น.
กันเอา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กรรเอา, กลมกล่อม, เช่น สรวญเสียงกันเอาเอา มโนเทพรังรักษ์. ในวงเล็บ มาจาก อนิรุทธ์คำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กันเอา ว. กรรเอา, กลมกล่อม, เช่น สรวญเสียงกันเอาเอา มโนเทพรังรักษ์. (อนิรุทธ์).
กับ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ.กับ ๑ น. เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ.
กับระเบิด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุระเบิดที่วางดักไว้ เมื่อไปเหยียบหรือกระทบเข้าก็จะระเบิดทันที.กับระเบิด น. วัตถุระเบิดที่วางดักไว้ เมื่อไปเหยียบหรือกระทบเข้าก็จะระเบิดทันที.
กับ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคําที่เชื่อมคําหรือความเข้าด้วยกัน มีความหมายว่า รวมกันหรือเกี่ยวข้องกัน เช่น ฟ้ากับดิน กินกับนอน หายวับไปกับตา.กับ ๒ เป็นคําที่เชื่อมคําหรือความเข้าด้วยกัน มีความหมายว่า รวมกันหรือเกี่ยวข้องกัน เช่น ฟ้ากับดิน กินกับนอน หายวับไปกับตา.
กับ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ลักษณนามเรียกใบลานซึ่งจัดเข้าแบบสําหรับจารหนังสือประมาณ ๘๐๐ ใบ.กับ ๓ ลักษณนามเรียกใบลานซึ่งจัดเข้าแบบสําหรับจารหนังสือประมาณ ๘๐๐ ใบ.
กับ ๔, กับข้าว กับ ความหมายที่ ๔ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ กับข้าว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง อาหารซึ่งปรกติใช้กินพร้อมข้าว.กับ ๔, กับข้าว น. อาหารซึ่งปรกติใช้กินพร้อมข้าว.
กับแก้ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกไร้ดอกชนิด Selaginella argentea (Wall. ex Hook. et Grev.) Spring ในวงศ์ Selaginellaceae ใช้ทำยาได้ ใบอ่อนใช้เป็นผัก, พ่อค้าตีเมีย ก็เรียก.กับแก้ ๑ (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้ล้มลุกไร้ดอกชนิด Selaginella argentea (Wall. ex Hook. et Grev.) Spring ในวงศ์ Selaginellaceae ใช้ทำยาได้ ใบอ่อนใช้เป็นผัก, พ่อค้าตีเมีย ก็เรียก.
กับแก้ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ตุ๊กแก. ในวงเล็บ ดู ตุ๊กแก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.กับแก้ ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. ตุ๊กแก. (ดู ตุ๊กแก ๑).
กับแกล้ม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า[–แกฺล้ม] เป็นคำนาม หมายถึง ของกินกับเหล้า, แกล้ม ก็ว่า.กับแกล้ม [–แกฺล้ม] น. ของกินกับเหล้า, แกล้ม ก็ว่า.
กับบุเรศ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา[–เรด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง การบูร เช่น กับบุเรศสมุลแว้งก็มี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปฺปุร เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ.กับบุเรศ [–เรด] (แบบ; กลอน) น. การบูร เช่น กับบุเรศสมุลแว้งก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน). (ป. กปฺปุร).
กัป เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา[กับ] เป็นคำนาม หมายถึง อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์มาล้างโลก, บางทีใช้เข้าคู่กับคํา กัลป์ เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปฺป เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา และมาจากภาษาสันสกฤต กลฺป เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ปอ-ปลา. ในวงเล็บ ดู กัลป–, กัลป์ กัลป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา กัลป์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด .กัป [กับ] น. อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์มาล้างโลก, บางทีใช้เข้าคู่กับคํา กัลป์ เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. (ป. กปฺป; ส. กลฺป). (ดู กัลป–, กัลป์).
กัปตัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง นายเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ captain เขียนว่า ซี-เอ-พี-ที-เอ-ไอ-เอ็น.กัปตัน น. นายเรือ. (อ. captain).
กัปนก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-นอ-หนู-กอ-ไก่[กับปะหฺนก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กําพร้า, น่าสงสาร, เช่น อันว่าพราหมณชรา ชีณกัปนก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปณก เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน-กอ-ไก่.กัปนก [กับปะหฺนก] (แบบ) ว. กําพร้า, น่าสงสาร, เช่น อันว่าพราหมณชรา ชีณกัปนก. (ม. คำหลวง ชูชก). (ป. กปณก).
กัปบาสิก, กัปปาสิก กัปบาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ กัปปาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อันทอด้วยฝ้าย. ในวงเล็บ ดู กรรบาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.กัปบาสิก, กัปปาสิก (แบบ) ว. อันทอด้วยฝ้าย. (ดู กรรบาสิก).
กัปปิย–, กัปปิยะ กัปปิย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก กัปปิยะ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [กับปิยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมควร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัปปิย–, กัปปิยะ [กับปิยะ] ว. สมควร. (ป.).
กัปปิยการก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่[–การก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย ๔ คือ จีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค.กัปปิยการก [–การก] น. ผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย ๔ คือ จีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค.
กัปปิยภัณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของที่ควรแก่ภิกษุ ได้แก่ ปัจจัย ๔ คือจีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และสิ่งอื่น ๆ เช่น ร่ม รองเท้า.กัปปิยภัณฑ์ น. สิ่งของที่ควรแก่ภิกษุ ได้แก่ ปัจจัย ๔ คือจีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และสิ่งอื่น ๆ เช่น ร่ม รองเท้า.
กัปปิยโวหาร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตรา ว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคําสํานวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ.กัปปิยโวหาร น. โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตรา ว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคําสํานวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ.
กัปปีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[กับปี] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กับข้าว (ใช้เฉพาะภิกษุสามเณร), มักใช้เข้าคู่กับคำ จังหัน ว่า กัปปีย์จังหัน.กัปปีย์ [กับปี] (ปาก) น. กับข้าว (ใช้เฉพาะภิกษุสามเณร), มักใช้เข้าคู่กับคำ จังหัน ว่า กัปปีย์จังหัน.
กัมบน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู[กําบน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง หวั่นไหว, กําบน ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กมฺปน เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู. (ม. คำหลวง กุมาร, หิมพานต์).กัมบน [กําบน] (แบบ) ก. หวั่นไหว, กําบน ก็ว่า. (ป. กมฺปน). (ม. คำหลวง กุมาร, หิมพานต์).
กัมป–, กัมปน– กัมป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา กัมปน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-นอ-หนู [กําปะ–, กําปะนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การหวั่นไหว, แผ่นดินไหว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัมป–, กัมปน– [กําปะ–, กําปะนะ–] น. การหวั่นไหว, แผ่นดินไหว. (ป., ส.).
กัมปนาการ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง อาการคือการหวั่นไหว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัมปนาการ น. อาการคือการหวั่นไหว. (ป.).
กัมปนาท เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง เสียงสนั่นหวั่นไหว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กมฺป เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา + นาท เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน .กัมปนาท น. เสียงสนั่นหวั่นไหว. (ป. กมฺป + นาท).
กัมประโด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําหน้าที่หาลูกค้าให้บริษัทหรือธนาคาร. (โปรตุเกส).กัมประโด น. ผู้ทําหน้าที่หาลูกค้าให้บริษัทหรือธนาคาร. (โปรตุเกส).
กัมปี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว เช่น อันว่ามหาปรัตพีผืนผไทแท่น แผ่นผเทศมณฑล สกลกัมปี ดุจครวีไหวหว่นนป่นนไปมาเมื่อน้นน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมฺป เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.กัมปี (แบบ) ก. ไหว เช่น อันว่ามหาปรัตพีผืนผไทแท่น แผ่นผเทศมณฑล สกลกัมปี ดุจครวีไหวหว่นนป่นนไปมาเมื่อน้นน. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). (ป., ส. กมฺป).
กัมพล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง[กํา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าทอด้วยขนสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัมพล [กํา–] (แบบ) น. ผ้าทอด้วยขนสัตว์. (ป.).
กัมพุช ๑, กัมพุช– กัมพุช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง กัมพุช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง [กําพุด, กําพุดชะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แคว้นเขมร, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้.กัมพุช ๑, กัมพุช– [กําพุด, กําพุดชะ–] น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมโพช ก็ใช้.
กัมพุชพากย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาเขมร.กัมพุชพากย์ น. ภาษาเขมร.
กัมพุช เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.กัมพุช ๒ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
กัมพู เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หอยสังข์; ทอง เช่น กัมพูหุ้มพู่พรรณจามรี. ในวงเล็บ มาจาก บุณโณวาทคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖, ทองสุคนธ์ปนสุวรรณ์กัมพู. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๒, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เขียนเป็น กําพู กําภู ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมฺพุ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ.กัมพู (แบบ) น. หอยสังข์; ทอง เช่น กัมพูหุ้มพู่พรรณจามรี. (บุณโณวาท), ทองสุคนธ์ปนสุวรรณ์กัมพู. (รามเกียรติ์ ร. ๒), (โบ) เขียนเป็น กําพู กําภู ก็มี. (ป., ส. กมฺพุ).
กัมพูชา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศเขมร.กัมพูชา น. ชื่อประเทศเขมร.
กัมโพช เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง[กําโพด] เป็นคำนาม หมายถึง แคว้นเขมร, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมพุช ก็ใช้.กัมโพช [กําโพด] น. แคว้นเขมร, (โบ) ชื่อแคว้นหนึ่งทางตอนเหนือของอินเดีย, กัมพุช ก็ใช้.
กัมมัชวาต เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[กํามัดชะวาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กรรมชวาต, ลมเบ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กัมมัชวาต [กํามัดชะวาด] (แบบ) น. กรรมชวาต, ลมเบ่ง. (ป.).
กัมมัฏฐาน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กรรมฐาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.กัมมัฏฐาน ดู กรรมฐาน.
กัมมันตภาพรังสี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[กํามันตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ radioactivity เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-โอ-เอ-ซี-ที-ไอ-วี-ไอ-ที-วาย.กัมมันตภาพรังสี [กํามันตะ–] น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. (อ. radioactivity).
กัมมันตรังสี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี[กํามันตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สามารถเกิดกัมมันตภาพรังสีได้ (ใช้แก่ธาตุหรือสาร). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ radioactive เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-โอ-เอ-ซี-ที-ไอ-วี-อี.กัมมันตรังสี [กํามันตะ–] ว. ที่สามารถเกิดกัมมันตภาพรังสีได้ (ใช้แก่ธาตุหรือสาร). (อ. radioactive).
กัมมาร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กํามาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กรรมาร, ช่างทอง, ช่างเหล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กรฺมาร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.กัมมาร [กํามาน] (แบบ) น. กรรมาร, ช่างทอง, ช่างเหล็ก. (ป.; ส. กรฺมาร).
กัมลาศ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา[กํามะลาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กมลาสน์ คือ พระพรหม เช่น เพียงกัมลาศลงมาดิน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมลาสน เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู.กัมลาศ [กํามะลาด] (แบบ) น. กมลาสน์ คือ พระพรหม เช่น เพียงกัมลาศลงมาดิน. (ม. คำหลวง กุมาร). (ป., ส. กมลาสน).
กัยวิกัย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[ไกยะวิไก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การซื้อและการขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กยวิกย เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก.กัยวิกัย [ไกยะวิไก] (แบบ) น. การซื้อและการขาย. (ป. กยวิกย).
กัลชาญ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง[กันละชาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลชาญ, เชี่ยวชาญ, เช่น แด่พระผู้กัลชาญพิเศษ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร.กัลชาญ [กันละชาน] ว. กลชาญ, เชี่ยวชาญ, เช่น แด่พระผู้กัลชาญพิเศษ. (ม. คำหลวง ทศพร).
กัลบก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่[กันละ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างตัดผม, ช่างโกนผม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กปฺปก เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่.กัลบก [กันละ–] (แบบ) น. ช่างตัดผม, ช่างโกนผม. (ส.; ป. กปฺปก).
กัลป–, กัลป์ กัลป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา กัลป์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด [กันละปะ–, กัน] เป็นคำนาม หมายถึง กัป, อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์ล้างโลก ซึ่งได้แก่ช่วงเวลากลางวัน วันหนึ่งของพระพรหม คือ ๑,๐๐๐ มหายุค (เท่ากับ ๔,๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนุษย์) เมื่อสิ้นกัลป์ พระอิศวรจะล้างโลกด้วยไฟประลัยกัลป์ โลกจะไร้สิ่งมีชีวิตและอยู่ในความมืดมนจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ แล้วพระพรหมก็จะสร้างโลกเป็นการขึ้นต้นกัลป์ใหม่ โลกจะถูกสร้างและถูกทำลายเช่นนี้สลับกันตลอดอายุของพระพรหม ทั้งนี้ตามคติของพราหมณ์, บางทีใช้เข้าคู่กับคํา กัป เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กปฺป เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา.กัลป–, กัลป์ [กันละปะ–, กัน] น. กัป, อายุของโลกตั้งแต่เมื่อพระพรหมสร้างเสร็จจนถึงเวลาที่ไฟประลัยกัลป์ล้างโลก ซึ่งได้แก่ช่วงเวลากลางวัน วันหนึ่งของพระพรหม คือ ๑,๐๐๐ มหายุค (เท่ากับ ๔,๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนุษย์) เมื่อสิ้นกัลป์ พระอิศวรจะล้างโลกด้วยไฟประลัยกัลป์ โลกจะไร้สิ่งมีชีวิตและอยู่ในความมืดมนจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ แล้วพระพรหมก็จะสร้างโลกเป็นการขึ้นต้นกัลป์ใหม่ โลกจะถูกสร้างและถูกทำลายเช่นนี้สลับกันตลอดอายุของพระพรหม ทั้งนี้ตามคติของพราหมณ์, บางทีใช้เข้าคู่กับคํา กัป เช่น ชั่วกัปชั่วกัลป์ นานนับกัปกัลป์พุทธันดร. (ส.; ป. กปฺป).
กัลปพฤกษ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [กันละปะพฺรึก] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลสําเร็จตามความปรารถนา; เรียกต้นไม้ที่ทําขึ้นเนื่องในการทิ้งทานในงานเมรุหลวง และมีลูกมะนาวบรรจุเงินตราห้อยอยู่ตามกิ่งต่าง ๆ ของต้นไม้นั้นว่าต้นกัลปพฤกษ์, เรียกลูกมะนาวที่บรรจุเหรียญเงินนั้นว่า ลูกกัลปพฤกษ์; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ใช้ว่า กํามพฤกษ์ ก็มี เช่น พวกประจํากํามพฤกษ์บังคมไหว้. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๒ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กปฺปรุกฺข เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่.กัลปพฤกษ์ ๑ [กันละปะพฺรึก] น. ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลสําเร็จตามความปรารถนา; เรียกต้นไม้ที่ทําขึ้นเนื่องในการทิ้งทานในงานเมรุหลวง และมีลูกมะนาวบรรจุเงินตราห้อยอยู่ตามกิ่งต่าง ๆ ของต้นไม้นั้นว่าต้นกัลปพฤกษ์, เรียกลูกมะนาวที่บรรจุเหรียญเงินนั้นว่า ลูกกัลปพฤกษ์; (โบ) ใช้ว่า กํามพฤกษ์ ก็มี เช่น พวกประจํากํามพฤกษ์บังคมไหว้. (รามเกียรติ์ ร. ๒). (ส.; ป. กปฺปรุกฺข).
กัลปาวสาน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[กันละปาวะสาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่สุดแห่งระยะเวลากัลป์หนึ่ง คือ ช่วงเวลา ๔,๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนุษย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กลฺป เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ปอ-ปลา + อวสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู .กัลปาวสาน [กันละปาวะสาน] น. ที่สุดแห่งระยะเวลากัลป์หนึ่ง คือ ช่วงเวลา ๔,๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐ ปีมนุษย์. (ส. กลฺป + อวสาน).
กัลปนา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[กันละปะนา] เป็นคำกริยา หมายถึง เจาะจงให้. เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดินหรือสิ่งอื่นเช่นอาคารซึ่งเจ้าของอุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดหรือศาสนา; ส่วนบุญที่ผู้ทําอุทิศให้แก่ผู้ตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กปฺปนา เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา.กัลปนา [กันละปะนา] ก. เจาะจงให้. น. ที่ดินหรือสิ่งอื่นเช่นอาคารซึ่งเจ้าของอุทิศผลประโยชน์ให้แก่วัดหรือศาสนา; ส่วนบุญที่ผู้ทําอุทิศให้แก่ผู้ตาย. (ส.; ป. กปฺปนา).
กัลปพฤกษ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [กันละปะพฺรึก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia bakeriana Craib ในวงศ์ Leguminosae มีมากทางภาคอีสานและภาคเหนือ ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อในระหว่างทิ้งใบหรือผลิใบใหม่ ฝักมีขนนุ่ม.กัลปพฤกษ์ ๒ [กันละปะพฺรึก] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia bakeriana Craib ในวงศ์ Leguminosae มีมากทางภาคอีสานและภาคเหนือ ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อในระหว่างทิ้งใบหรือผลิใบใหม่ ฝักมีขนนุ่ม.
กัลปังหา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา[กันละ–]ดู กะละปังหา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา.กัลปังหา [กันละ–] ดู กะละปังหา.
กัลปาวสาน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กัลป–, กัลป์ กัลป– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา กัลป์ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด .กัลปาวสาน ดู กัลป–, กัลป์.
กัลปิต เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[กันละปิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําเร็จแล้ว; ควรแล้ว; ตัดแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กปฺปิต เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า.กัลปิต [กันละปิด] (แบบ) ว. สําเร็จแล้ว; ควรแล้ว; ตัดแล้ว. (ส.; ป. กปฺปิต).
กัลพุม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[กันพุม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรรพุม, มือที่ประนม, เช่น ถวายกรกัลพุมบันสารโกสุม ศิโรจม์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์; พุ่ม เช่น จับพฤกษางกูรกัลพุม โดยกุสุมฤดูกาล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์.กัลพุม [กันพุม] (โบ) น. กรรพุม, มือที่ประนม, เช่น ถวายกรกัลพุมบันสารโกสุม ศิโรจม์. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์); พุ่ม เช่น จับพฤกษางกูรกัลพุม โดยกุสุมฤดูกาล. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
กัลเม็ด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก[กันละ–] เป็นคำนาม หมายถึง กลเม็ด, วิธีที่แยบคาย, สิ่งที่แยบคาย; แหวนที่มีก้านหัวเป็นเกลียวถอดออกจากเรือนได้ เรียกว่า แหวนกัลเม็ด, ขวดที่มีจุกเป็นเกลียวเรียกว่า ขวดกัลเม็ด.กัลเม็ด [กันละ–] น. กลเม็ด, วิธีที่แยบคาย, สิ่งที่แยบคาย; แหวนที่มีก้านหัวเป็นเกลียวถอดออกจากเรือนได้ เรียกว่า แหวนกัลเม็ด, ขวดที่มีจุกเป็นเกลียวเรียกว่า ขวดกัลเม็ด.
กัลยา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[กันละยา] เป็นคำนาม หมายถึง นางงาม. กัลยาเยี่ยมห้อง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.กัลยา [กันละยา] น. นางงาม. กัลยาเยี่ยมห้อง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
กัลยาณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-เนน[กันละยานะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, ดี, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น กัลยาณคุณ = คุณอันงาม กัลยาณธรรม = ธรรมอันดี กัลยาณมิตร = มิตรดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัลยาณ– [กันละยานะ–] ว. งาม, ดี, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น กัลยาณคุณ = คุณอันงาม กัลยาณธรรม = ธรรมอันดี กัลยาณมิตร = มิตรดี. (ป., ส.).
กัลยาณมิตร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[กันละยานะมิด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.กัลยาณมิตร [กันละยานะมิด] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
กัลยาณี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[กันละยานี] เป็นคำนาม หมายถึง นางงาม, หญิงงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กัลยาณี [กันละยานี] น. นางงาม, หญิงงาม. (ป., ส.).
กัลเว้า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[กันเว้า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พูดอ่อนหวาน, พูดเอาใจ, เช่น ก็มีพระราชโองการอนนกัลเว้า. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช.กัลเว้า [กันเว้า] ว. พูดอ่อนหวาน, พูดเอาใจ, เช่น ก็มีพระราชโองการอนนกัลเว้า. (ม. คำหลวง มหาราช).
กัลหาย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[กัน–] เป็นคำกริยา หมายถึง กรรหาย เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน.กัลหาย [กัน–] ก. กรรหาย เช่น ชายใดเดอรร้อนรนนจวนจวบสร้อยสรสวรก็หายกัลหายหื่นหรรษ์. (ม. คำหลวง จุลพน).
กัลโหย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก[กัน–] เป็นคำกริยา หมายถึง กรรโหย เช่น สารเสียงหงสกัลโหย. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กัลโหย [กัน–] ก. กรรโหย เช่น สารเสียงหงสกัลโหย. (สมุทรโฆษ).
กัลออม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[กันละ– ] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ ยาชัน รูปคล้ายกระบุง ไม่มีคอ ใช้ใส่น้ำ, กะออม กระออม หรือ กะละออม ก็ว่า.กัลออม [กันละ– ] น. ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ ยาชัน รูปคล้ายกระบุง ไม่มีคอ ใช้ใส่น้ำ, กะออม กระออม หรือ กะละออม ก็ว่า.
กัลเอา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา[กัน–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กรรเอา, กลมกล่อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กฺรเอา เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา.กัลเอา [กัน–] ว. กรรเอา, กลมกล่อม. (ข. กฺรเอา).
กัศมล เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง[กัดสะมน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าเกลียด, ไม่งาม, อุจาด, เช่น บพิตรพราหมณ์นี้กาจกัศมลร้ายพ้นคนในโลกย์นี้. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กัศมล [กัดสะมน] (แบบ) ว. น่าเกลียด, ไม่งาม, อุจาด, เช่น บพิตรพราหมณ์นี้กาจกัศมลร้ายพ้นคนในโลกย์นี้. (ม. คำหลวง กุมาร). (ส.).
กัศยป เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา[กัดสะหฺยบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เต่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กัศยป [กัดสะหฺยบ] (แบบ) น. เต่า. (ส.).
กัษณ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-รือ-สี-นอ-เนน[กัดสะหฺนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กษณะ, ขณะ, เช่น ในเมื่อกาลกัษณ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์สักบรรพ.กัษณ [กัดสะหฺนะ] (กลอน) น. กษณะ, ขณะ, เช่น ในเมื่อกาลกัษณ. (ม. คำหลวง สักบรรพ).
กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดํา ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กา ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดํา ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. (อภัย).
กาคาบพริก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่คนผิวดําแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสีแดง.กาคาบพริก (สำ) ว. ลักษณะที่คนผิวดําแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าสีแดง.
กาจับหลัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้แป้นวงกลม มีหลักปักอยู่ที่ริมแป้น ที่ปลายหลักมีวัตถุรูปกระจับสําหรับรับคางศพที่บรรจุโกศ; เครื่องดักทําร้ายของโบราณ มีของแหลมอยู่ข้างล่าง เมื่อคนนั่งกระทบไกเข้าก็ลัดขึ้นเสียบทวาร; ท่าถือขอช้างอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก ตำราขี่ช้าง ครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.กาจับหลัก ๑ น. ไม้แป้นวงกลม มีหลักปักอยู่ที่ริมแป้น ที่ปลายหลักมีวัตถุรูปกระจับสําหรับรับคางศพที่บรรจุโกศ; เครื่องดักทําร้ายของโบราณ มีของแหลมอยู่ข้างล่าง เมื่อคนนั่งกระทบไกเข้าก็ลัดขึ้นเสียบทวาร; ท่าถือขอช้างอย่างหนึ่ง. (ตําราขี่ช้าง).
กาฟักไข่ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง ผู้เล่นหาไม้หรือของอื่นมาคนละชิ้นสมมุติเป็นไข่ มอบให้แก่ผู้ที่ถูกจับสลาก สมมุติเป็นกา ผู้เป็นการักษาสิ่งนั้นไว้ในวงเขตที่กําหนด ผู้เล่นนอกนั้นคอยลักไข่.กาฟักไข่ น. ชื่อการเล่นอย่างหนึ่ง ผู้เล่นหาไม้หรือของอื่นมาคนละชิ้นสมมุติเป็นไข่ มอบให้แก่ผู้ที่ถูกจับสลาก สมมุติเป็นกา ผู้เป็นการักษาสิ่งนั้นไว้ในวงเขตที่กําหนด ผู้เล่นนอกนั้นคอยลักไข่.
กาลักน้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมืออย่างง่ายซึ่งอาศัยความดันของอากาศเพื่อใช้ถ่ายเทของเหลวออกจากภาชนะ โดยใช้หลอดหรือท่อที่ใช้ถ่ายเทของเหลวจากระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่ตํ่ากว่า โดยไหลผ่านระดับที่สูงกว่าระดับทั้ง ๒ นั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ siphon เขียนว่า เอส-ไอ-พี-เอช-โอ-เอ็น.กาลักน้ำ น. เครื่องมืออย่างง่ายซึ่งอาศัยความดันของอากาศเพื่อใช้ถ่ายเทของเหลวออกจากภาชนะ โดยใช้หลอดหรือท่อที่ใช้ถ่ายเทของเหลวจากระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่ตํ่ากว่า โดยไหลผ่านระดับที่สูงกว่าระดับทั้ง ๒ นั้น. (อ. siphon).
กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นกที่เชื่อกันว่าเป็นสัตว์กายสิทธิ์บินมาไม่เห็นตัว ถ้าได้ขนมันไว้ก็หายตัวได้.กาสัก ๑ น. นกที่เชื่อกันว่าเป็นสัตว์กายสิทธิ์บินมาไม่เห็นตัว ถ้าได้ขนมันไว้ก็หายตัวได้.
กาหลงรัง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ไปหลงติดอยู่ ณ บ้านใดบ้านหนึ่งแล้วไม่ยอมกลับบ้านของตน, ผู้เร่ร่อนไปไม่มีที่พักพิงเป็นหลักแหล่ง.กาหลงรัง (สำ) น. ผู้ที่ไปหลงติดอยู่ ณ บ้านใดบ้านหนึ่งแล้วไม่ยอมกลับบ้านของตน, ผู้เร่ร่อนไปไม่มีที่พักพิงเป็นหลักแหล่ง.
กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Morulius chrysophekadion ในวงศ์ Cyprinidae ปากงุ้มตํ่า ตาเล็ก ตลอดทั้งหัว ตัว และครีบมีสีม่วงจนดําทึบ เฉพาะเกล็ดมีจุดสีเหลืองประปราย, เพี้ย ก็เรียก.กา ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Morulius chrysophekadion ในวงศ์ Cyprinidae ปากงุ้มตํ่า ตาเล็ก ตลอดทั้งหัว ตัว และครีบมีสีม่วงจนดําทึบ เฉพาะเกล็ดมีจุดสีเหลืองประปราย, เพี้ย ก็เรียก.
กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับใส่นํ้าหรือต้มนํ้า มีพวยและหูสําหรับหิ้วหรือจับ, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก.กา ๓ น. ภาชนะสําหรับใส่นํ้าหรือต้มนํ้า มีพวยและหูสําหรับหิ้วหรือจับ, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก.
กาเวียน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กาต้มนํ้าชนิดหนึ่ง อยู่ในถังซึ่งมีเตาไฟ.กาเวียน น. กาต้มนํ้าชนิดหนึ่ง อยู่ในถังซึ่งมีเตาไฟ.
กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๐.กา ๔ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๐.
กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเครื่องหมายเป็นรูปกากบาท, ทำเครื่องหมายไว้ให้สังเกตได้ เช่น ดูเฉพาะที่กาไว้.กา ๕ ก. ทําเครื่องหมายเป็นรูปกากบาท, ทำเครื่องหมายไว้ให้สังเกตได้ เช่น ดูเฉพาะที่กาไว้.
กาชาด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายรูปกากบาท (+) สีแดงชาดบนพื้นขาว เป็นเครื่องหมายกาชาดสากล.กาชาด น. เครื่องหมายรูปกากบาท (+) สีแดงชาดบนพื้นขาว เป็นเครื่องหมายกาชาดสากล.
ก๋า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทําท่าว่าเก่ง เช่น ยืนก๋า เต้นก๋า.ก๋า ๑ (ปาก) ว. อาการที่ทําท่าว่าเก่ง เช่น ยืนก๋า เต้นก๋า.
ก๋ากั่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อวดกล้า (มักใช้แก่ผู้หญิง).ก๋ากั่น ว. อวดกล้า (มักใช้แก่ผู้หญิง).
ก๋า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดู หมอช้างเหยียบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้.ก๋า ๒ ดู หมอช้างเหยียบ.
กาก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เหลือเมื่อคั้นหรือคัดเอาส่วนดีออกแล้ว เช่น กากมะพร้าว; หยากเยื่อ; เดนเลือก (ใช้เป็นคําด่า) เช่น กากมนุษย์ คนกาก.กาก น. สิ่งที่เหลือเมื่อคั้นหรือคัดเอาส่วนดีออกแล้ว เช่น กากมะพร้าว; หยากเยื่อ; เดนเลือก (ใช้เป็นคําด่า) เช่น กากมนุษย์ คนกาก.
กากขยาก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง กากที่หยาบ, หยากเยื่อ.กากขยาก น. กากที่หยาบ, หยากเยื่อ.
กากข้าว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวเปลือกที่ปนอยู่ในข้าวสารหรือข้าวสุก.กากข้าว น. ข้าวเปลือกที่ปนอยู่ในข้าวสารหรือข้าวสุก.
กากเพชร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเพชรที่คัดออก; ผงแวววาวคล้ายกระจกสําหรับโรยแต่งเครื่องประดับเป็นต้น; เครื่องใช้ตัดกระจก; เครื่องใช้เจียระไนรัตนชาติ; เครื่องบดวาล์ว, เรียกเครื่องลับมีดเป็นต้นชนิดหนึ่งว่า หินกากเพชร.กากเพชร น. ส่วนของเพชรที่คัดออก; ผงแวววาวคล้ายกระจกสําหรับโรยแต่งเครื่องประดับเป็นต้น; เครื่องใช้ตัดกระจก; เครื่องใช้เจียระไนรัตนชาติ; เครื่องบดวาล์ว, เรียกเครื่องลับมีดเป็นต้นชนิดหนึ่งว่า หินกากเพชร.
กากรุน, กากกะรุน กากรุน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู กากกะรุน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผงของกะรุนที่เอามาผสมครั่งขัดของแข็งเช่นป้าน.กากรุน, กากกะรุน น. ผงของกะรุนที่เอามาผสมครั่งขัดของแข็งเช่นป้าน.
กากหมู เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง มันหมูที่เจียวเอานํ้ามันออกแล้ว.กากหมู น. มันหมูที่เจียวเอานํ้ามันออกแล้ว.
กาก–, กากะ กาก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ กากะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กา (นก). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กาก–, กากะ (แบบ) น. กา (นก). (ป., ส.).
กากคติ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[กากะคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง มีดําเนินกลอนอย่างกาที่บินไป เช่น สรรเพ็ชญ์เจ้าได้ ทรงฤทธิ์เรืองไกร ย่อมบำเพงทาน ให้พระวิมุติ โลกุดรญาณแสวงศีลาจาร ประเสริฐหนักหนา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กากคติ [กากะคะติ] น. ชื่อกาพย์ชนิดหนึ่ง มีดําเนินกลอนอย่างกาที่บินไป เช่น สรรเพ็ชญ์เจ้าได้ ทรงฤทธิ์เรืองไกร ย่อมบำเพงทาน ให้พระวิมุติ โลกุดรญาณแสวงศีลาจาร ประเสริฐหนักหนา. (ชุมนุมตํารากลอน).
กากณึก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่[กากะหฺนึก] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์มีค่าเท่าค่าแห่งชิ้นเนื้อพอกาพาไปได้; ชื่อมาตราเงินอย่างตํ่าที่สุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กากณิกา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.กากณึก [กากะหฺนึก] น. ทรัพย์มีค่าเท่าค่าแห่งชิ้นเนื้อพอกาพาไปได้; ชื่อมาตราเงินอย่างตํ่าที่สุด. (ป. กากณิกา).
กากบาท เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน[กากะบาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมายอย่างตีนกา มีรูป + หรือ x; ใช้ + เป็นเครื่องหมายวรรณยุกต์บอกเสียงจัตวา.กากบาท [กากะบาด] น. ชื่อเครื่องหมายอย่างตีนกา มีรูป + หรือ x; ใช้ + เป็นเครื่องหมายวรรณยุกต์บอกเสียงจัตวา.
กากภาษา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา[กากะพาสา] เป็นคำนาม หมายถึง ชาติกา เช่น ลางมารนิรมิตอินทรีย์เศียรเป็นอสุรี และกายเป็นกากภาษา. ในวงเล็บ มาจาก คำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๑.กากภาษา [กากะพาสา] น. ชาติกา เช่น ลางมารนิรมิตอินทรีย์เศียรเป็นอสุรี และกายเป็นกากภาษา. (คําพากย์).
กากะทิง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งูดู กระทิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๒.กากะทิง ดู กระทิง ๒.
กากะเยีย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับวางหนังสือใบลาน ทําด้วยไม้ ๘ อันร้อยเชือกไขว้กัน. ในวงเล็บ รูปภาพ กากะเยีย.กากะเยีย น. เครื่องสําหรับวางหนังสือใบลาน ทําด้วยไม้ ๘ อันร้อยเชือกไขว้กัน. (รูปภาพ กากะเยีย).
กากี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กาตัวเมีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กากี ๑ น. กาตัวเมีย. (ป., ส.).
กากี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หญิงมากชู้หลายผัว. (เป็นคําด่า มีเค้าเรื่องมาจาก กากาติชาดก).กากี ๒ น. หญิงมากชู้หลายผัว. (เป็นคําด่า มีเค้าเรื่องมาจาก กากาติชาดก).
กากี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีนํ้าตาลปนเหลือง, สีสนิมเหล็ก.กากี ๓ ว. สีนํ้าตาลปนเหลือง, สีสนิมเหล็ก.
กากีแกมเขียว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเขียวขี้ม้า.กากีแกมเขียว ว. สีเขียวขี้ม้า.
กาง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่างออก เช่น กางขา, คลี่ เช่น กางปีก, เหยียดออกไป เช่น กางแขน, ขึงออกไป เช่น กางใบ กางมุ้ง, แบะออก เช่น กางหนังสือ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ถ่างออก คลี่ออก เหยียดออก ขึงออก หรือ แบะออก เช่น หูกาง ท้องกาง.กาง ๑ ก. ถ่างออก เช่น กางขา, คลี่ เช่น กางปีก, เหยียดออกไป เช่น กางแขน, ขึงออกไป เช่น กางใบ กางมุ้ง, แบะออก เช่น กางหนังสือ. ว. ที่ถ่างออก คลี่ออก เหยียดออก ขึงออก หรือ แบะออก เช่น หูกาง ท้องกาง.
กางเวียน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสำหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, วงเวียน หรือ กงเวียน ก็ว่า; การหมุนเวียนชนิดหนึ่ง เช่น แล้วจับเท้าทั้งสองหันเวียนไปดั่งบุคคลทํากางเวียน. (กฎหมายเก่า).กางเวียน (โบ) น. เครื่องมือสำหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, วงเวียน หรือ กงเวียน ก็ว่า; การหมุนเวียนชนิดหนึ่ง เช่น แล้วจับเท้าทั้งสองหันเวียนไปดั่งบุคคลทํากางเวียน. (กฎหมายเก่า).
กาง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นคาง. ในวงเล็บ ดู คาง เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒.กาง ๒ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นคาง. (ดู คาง ๒).
กางขี้มอด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Acrocarpus fraxinifolius Wight et Arn. ในวงศ์ Leguminosae มีฝักแบน ๆ, ขางแดง หรือ แดงนํ้า ก็เรียก.กางขี้มอด (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Acrocarpus fraxinifolius Wight et Arn. ในวงศ์ Leguminosae มีฝักแบน ๆ, ขางแดง หรือ แดงนํ้า ก็เรียก.
ก้าง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนแข็งที่ประกอบเป็นโครงร่างของปลา โดยปรกติหมายเอาชิ้นที่แหลมเล็ก ๆ.ก้าง ๑ น. ส่วนแข็งที่ประกอบเป็นโครงร่างของปลา โดยปรกติหมายเอาชิ้นที่แหลมเล็ก ๆ.
ก้าง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa gachua ในวงศ์ Channidae คล้ายปลาช่อนหรือปลากระสงซึ่งเป็นปลาสกุลเดียวกัน เว้นแต่ปลาก้างนั้นเกล็ดข้างตัวมีราว ๔๑–๔๕ เกล็ด ขอบครีบต่าง ๆ เป็นสีส้ม, ขี้ก้าง ก็เรียก.ก้าง ๒ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa gachua ในวงศ์ Channidae คล้ายปลาช่อนหรือปลากระสงซึ่งเป็นปลาสกุลเดียวกัน เว้นแต่ปลาก้างนั้นเกล็ดข้างตัวมีราว ๔๑–๔๕ เกล็ด ขอบครีบต่าง ๆ เป็นสีส้ม, ขี้ก้าง ก็เรียก.
ก้าง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กั้ง, กั้น, ขวาง, เช่น สองท้าวยินสองสายใจ จักก้างกลใด บดีบันโดยดังถวิล. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.ก้าง ๓ (กลอน) ก. กั้ง, กั้น, ขวาง, เช่น สองท้าวยินสองสายใจ จักก้างกลใด บดีบันโดยดังถวิล. (สรรพสิทธิ์).
ก้างขวางคอ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ขัดขวางมิให้ทําการได้สะดวก, ผู้ขัดขวางให้ผู้อื่นเสียประโยชน์.ก้างขวางคอ น. ผู้ขัดขวางมิให้ทําการได้สะดวก, ผู้ขัดขวางให้ผู้อื่นเสียประโยชน์.
กางเกง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องนุ่งมี ๒ ขา.กางเกง น. เครื่องนุ่งมี ๒ ขา.
กางเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ลงรูป, ไม่ลงรอย, ไม่ลงที่, รวมกันไม่เข้า, ใช้ว่า กางเกี่ยง ก็มี เช่น เมื่อนั้น พระคาวีเห็นนางยังกางเกี่ยง ยิ้มพลางทางลงไปจากเตียง แล้วกล่าวเกลี้ยงแกล้งปลอบให้ชอบใจ. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙, กังเกียง หรือ กําเกียง ก็ว่า.กางเกียง ก. ไม่ลงรูป, ไม่ลงรอย, ไม่ลงที่, รวมกันไม่เข้า, ใช้ว่า กางเกี่ยง ก็มี เช่น เมื่อนั้น พระคาวีเห็นนางยังกางเกี่ยง ยิ้มพลางทางลงไปจากเตียง แล้วกล่าวเกลี้ยงแกล้งปลอบให้ชอบใจ. (คาวี), กังเกียง หรือ กําเกียง ก็ว่า.
กางเกี่ยง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งูดู กางเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู.กางเกี่ยง ดู กางเกียง.
กางของ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นปีบ. ในวงเล็บ ดู ปีบ เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑.กางของ (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นปีบ. (ดู ปีบ ๑).
กางเขน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Copsychus saularis ในวงศ์ Turdidae ตัวขนาดนกปรอด ส่วนบนลําตัวสีดํา ส่วนล่างตั้งแต่หน้าอกลงไปสีขาวหม่น ปีกมีลายพาดสีขาว มักอยู่เป็นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ กินแมลง, พายัพเรียก จีแจ๊บ, อีสานเรียก จี่จู้.กางเขน น. ชื่อนกชนิด Copsychus saularis ในวงศ์ Turdidae ตัวขนาดนกปรอด ส่วนบนลําตัวสีดํา ส่วนล่างตั้งแต่หน้าอกลงไปสีขาวหม่น ปีกมีลายพาดสีขาว มักอยู่เป็นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ กินแมลง, พายัพเรียก จีแจ๊บ, อีสานเรียก จี่จู้.
ก้างปลา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Phyllanthus และ Securinega วงศ์ Euphorbiaceae ใบยาวรี ปลายใบทู่ ออกดอกเป็นกลุ่มอยู่ตามง่ามใบแถวปลายกิ่ง ชนิดผลสีขาว เรียก ก้างปลาขาว (S. virosa Baill.) ชนิดผลสีคลํ้า เรียก ก้างปลาแดง (S. leucopyrus Muell. Arg.) และชนิด P. reticulatus Poir. ชนิดหลังนี้เรียกกันว่า ก้างปลาเครือ ใช้ทํายาได้.ก้างปลา น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Phyllanthus และ Securinega วงศ์ Euphorbiaceae ใบยาวรี ปลายใบทู่ ออกดอกเป็นกลุ่มอยู่ตามง่ามใบแถวปลายกิ่ง ชนิดผลสีขาว เรียก ก้างปลาขาว (S. virosa Baill.) ชนิดผลสีคลํ้า เรียก ก้างปลาแดง (S. leucopyrus Muell. Arg.) และชนิด P. reticulatus Poir. ชนิดหลังนี้เรียกกันว่า ก้างปลาเครือ ใช้ทํายาได้.
กาจับหลัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดูใน กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.กาจับหลัก ๑ ดูใน กา ๑.
กาจับหลัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ (๑) ดู กาสามปีก (๑).(๒) ดู ราชดัด เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก.กาจับหลัก ๒ (๑) ดู กาสามปีก (๑).(๒) ดู ราชดัด.
ก๊าซ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่ เป็นคำนาม หมายถึง อากาศธาตุ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทําปฏิกิริยากับนํ้าว่า ไฟก๊าซ, แก๊ส ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gas เขียนว่า จี-เอ-เอส.ก๊าซ น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทําปฏิกิริยากับนํ้าว่า ไฟก๊าซ, แก๊ส ก็ว่า. (อ. gas).
ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า ก๊าซไข่เน่า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา แก๊สไข่เน่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า มีสูตร H2S เกิดขึ้นจากการเสื่อมสลายของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกํามะถัน ในธรรมชาติมักมีปรากฏละลายอยู่ในบ่อนํ้าร้อนและในแหล่งนํ้าแร่บางแห่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น sulphide เขียนว่า เอส-ยู-แอล-พี-เอช-ไอ-ดี-อี .ก๊าซไข่เน่า, แก๊สไข่เน่า น. แก๊สพิษชนิดหนึ่ง มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า มีสูตร H2S เกิดขึ้นจากการเสื่อมสลายของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกํามะถัน ในธรรมชาติมักมีปรากฏละลายอยู่ในบ่อนํ้าร้อนและในแหล่งนํ้าแร่บางแห่ง. (อ. hydrogen sulphide).
ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย ก๊าซเฉื่อย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก แก๊สเฉื่อย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูล, แก๊สมีตระกูล (noble gases) หรือ ก๊าซหายาก, แก๊สหายาก (rare gases). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ inert เขียนว่า ไอ-เอ็น-อี-อา-ที gases เขียนว่า จี-เอ-เอส-อี-เอส .ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูล, แก๊สมีตระกูล (noble gases) หรือ ก๊าซหายาก, แก๊สหายาก (rare gases). (อ. inert gases).
ก๊าซชีวภาพ, แก๊สชีวภาพ ก๊าซชีวภาพ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน แก๊สชีวภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สที่เกิดจากการเสื่อมสลายผุพังของสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งที่สืบเนื่องจากสิ่งมีชีวิต ติดไฟได้ ใช้เป็นเชื้อเพลิงเป็นต้น.ก๊าซชีวภาพ, แก๊สชีวภาพ น. แก๊สที่เกิดจากการเสื่อมสลายผุพังของสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งที่สืบเนื่องจากสิ่งมีชีวิต ติดไฟได้ ใช้เป็นเชื้อเพลิงเป็นต้น.
ก๊าซน้ำตา, แก๊สน้ำตา ก๊าซน้ำตา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา แก๊สน้ำตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง สารที่อยู่ในสภาพที่แพร่กระจายเป็นไอหรือควันทําให้ระคายเคืองนัยน์ตาอย่างรุนแรง นํ้าตาไหล และมองไม่เห็นชั่วขณะหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tear เขียนว่า ที-อี-เอ-อา gas เขียนว่า จี-เอ-เอส .ก๊าซน้ำตา, แก๊สน้ำตา น. สารที่อยู่ในสภาพที่แพร่กระจายเป็นไอหรือควันทําให้ระคายเคืองนัยน์ตาอย่างรุนแรง นํ้าตาไหล และมองไม่เห็นชั่วขณะหนึ่ง. (อ. tear gas).
ก๊าซหุงต้ม, แก๊สหุงต้ม ก๊าซหุงต้ม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า แก๊สหุงต้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่ติดไฟได้ง่าย ใช้ในการหุงต้มเป็นต้น.ก๊าซหุงต้ม, แก๊สหุงต้ม น. แก๊สที่ประกอบด้วยสารอินทรีย์ที่ติดไฟได้ง่าย ใช้ในการหุงต้มเป็นต้น.
กาซะลอง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นปีบ. ในวงเล็บ ดู ปีบ เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑.กาซะลอง (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นปีบ. (ดู ปีบ ๑).
กาซะลองคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Radermachera ignea (Kurz) Steenis ในวงศ์ Bignoniaceae ชอบขึ้นตามที่ค่อนข้างชุ่มชื้นทางภาคเหนือ เปลือกเรียบสีเทา ดอกสีเหลืองทอง, อ้อยช้าง ก็เรียก.กาซะลองคำ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Radermachera ignea (Kurz) Steenis ในวงศ์ Bignoniaceae ชอบขึ้นตามที่ค่อนข้างชุ่มชื้นทางภาคเหนือ เปลือกเรียบสีเทา ดอกสีเหลืองทอง, อ้อยช้าง ก็เรียก.
กาญจน–, กาญจนา กาญจน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู กาญจนา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา [กานจะนะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ทอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กญฺจน เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-จอ-จาน-นอ-หนู.กาญจน–, กาญจนา [กานจะนะ–] (แบบ) น. ทอง. (ส.; ป. กญฺจน).
กาญจนาภิเษก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินกระทำเมื่อครองราชสมบัติได้ ๕๐ ปี.กาญจนาภิเษก น. พระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินกระทำเมื่อครองราชสมบัติได้ ๕๐ ปี.
กาฐ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ถอ-ถาน[กาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ฟืน เช่น คือโกยกาฐอันกองแลนองธรณิภาค กลาดกล่นถกลหลาก อนันต์. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, กาษฐะ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กฏฺ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาสันสกฤต กาษฺ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.กาฐ [กาด] (แบบ) น. ไม้ฟืน เช่น คือโกยกาฐอันกองแลนองธรณิภาค กลาดกล่นถกลหลาก อนันต์. (สรรพสิทธิ์), กาษฐะ ก็ใช้. (ป. กฏฺ; ส. กาษฺ).
กาด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุล บางชนิดใช้ใบ บางชนิดใช้หัวเป็นผัก เช่น ผักกาดกวางตุ้ง (Brassica chinensis Jusl.) ผักกาดขม หรือ ผักกาดเขียว (B. juncea Czern. et Coss.) ผักกาดขาว หรือ แป๊ะช่าย (B. chinensis Jusl. var. pekinensis Rupr.) ผักกาดหัว หรือ ไช้เท้า (Raphanus sativus L.) ในวงศ์ Cruciferae, ผักกาดหอม (Lactuca sativa L.) ในวงศ์ Compositae, ผักเหล่านี้เป็นพรรณไม้ที่นําเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร.กาด ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุล บางชนิดใช้ใบ บางชนิดใช้หัวเป็นผัก เช่น ผักกาดกวางตุ้ง (Brassica chinensis Jusl.) ผักกาดขม หรือ ผักกาดเขียว (B. juncea Czern. et Coss.) ผักกาดขาว หรือ แป๊ะช่าย (B. chinensis Jusl. var. pekinensis Rupr.) ผักกาดหัว หรือ ไช้เท้า (Raphanus sativus L.) ในวงศ์ Cruciferae, ผักกาดหอม (Lactuca sativa L.) ในวงศ์ Compositae, ผักเหล่านี้เป็นพรรณไม้ที่นําเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร.
กาด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ตลาด.กาด ๒ (ถิ่น–พายัพ) น. ตลาด.
ก๊าด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกนํ้ามันชนิดหนึ่งที่ใช้ตามตะเกียงว่า นํ้ามันก๊าด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ kerosene เขียนว่า เค-อี-อา-โอ-เอส-อี-เอ็น-อี.ก๊าด น. เรียกนํ้ามันชนิดหนึ่งที่ใช้ตามตะเกียงว่า นํ้ามันก๊าด. (อ. kerosene).
กาน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดเพื่อให้แตกใหม่ เช่น กานต้นมะขาม, ตัดเพื่อให้ลําต้นเปลา เช่น กานต้นสน; ควั่นเปลือกและกระพี้ต้นไม้เพื่อให้ยืนต้นตาย เช่น กานต้นสัก, ควั่นเปลือกและกระพี้ต้นไม้เพื่อให้มีลูก เช่น กานต้นมะพร้าว.กาน ก. ตัดเพื่อให้แตกใหม่ เช่น กานต้นมะขาม, ตัดเพื่อให้ลําต้นเปลา เช่น กานต้นสน; ควั่นเปลือกและกระพี้ต้นไม้เพื่อให้ยืนต้นตาย เช่น กานต้นสัก, ควั่นเปลือกและกระพี้ต้นไม้เพื่อให้มีลูก เช่น กานต้นมะพร้าว.
ก่าน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ด่าง, ผ่าน, มีลายพาด, เช่น พนคณนกหค ก่านแกม ปีกหางนวยแนม นนวยนเนียร้องริน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน; เก่ง, กล้า, กั่น, เช่น ปางเมื่อเจ้าเข้าดงด่าน ตววก่านกาจชาติชัฏขน สัตวตนสื่อชื่อมนนหมี ได้ทีทำนำความเข็ญ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ก่าน ว. ด่าง, ผ่าน, มีลายพาด, เช่น พนคณนกหค ก่านแกม ปีกหางนวยแนม นนวยนเนียร้องริน. (ม. คำหลวง มหาพน); เก่ง, กล้า, กั่น, เช่น ปางเมื่อเจ้าเข้าดงด่าน ตววก่านกาจชาติชัฏขน สัตวตนสื่อชื่อมนนหมี ได้ทีทำนำความเข็ญ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ก้าน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ต่อดอก หรือใบ หรือผล กับกิ่งไม้, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้านตุ้มหู ก้านไม้ขีด; กระดูกกลางแห่งใบไม้บางอย่าง เช่น มะพร้าวจาก.ก้าน ๑ น. ส่วนที่ต่อดอก หรือใบ หรือผล กับกิ่งไม้, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้านตุ้มหู ก้านไม้ขีด; กระดูกกลางแห่งใบไม้บางอย่าง เช่น มะพร้าวจาก.
ก้านขด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่งที่เขียนเป็นลายขดไปขดมา.ก้านขด น. ชื่อลายชนิดหนึ่งที่เขียนเป็นลายขดไปขดมา.
ก้านแข็ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกําไลชนิดหนึ่งว่า กําไลก้านแข็ง.ก้านแข็ง น. เรียกกําไลชนิดหนึ่งว่า กําไลก้านแข็ง.
ก้านคอ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ลําคอด้านหลัง.ก้านคอ น. ลําคอด้านหลัง.
ก้านตอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ขนาบข้างเรือรูปกลม ๆ คล้ายทางกล้วย.ก้านตอง น. ไม้ขนาบข้างเรือรูปกลม ๆ คล้ายทางกล้วย.
ก้านต่อดอก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวิธีร้อยดอกไม้เป็นตาข่าย; ชื่อลายชนิดหนึ่ง; ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง เช่น แสนถวิลเทวษว้าอาวรณ์สมร ทุกข์ระทมกรมทรวงดั่งศรรอน จะนั่งนอนมีแต่พรํ่ากําสรวลครวญ.ก้านต่อดอก น. ชื่อวิธีร้อยดอกไม้เป็นตาข่าย; ชื่อลายชนิดหนึ่ง; ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง เช่น แสนถวิลเทวษว้าอาวรณ์สมร ทุกข์ระทมกรมทรวงดั่งศรรอน จะนั่งนอนมีแต่พรํ่ากําสรวลครวญ.
ก้านบัว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง กําไลเท้า.ก้านบัว น. กําไลเท้า.
ก้านแย่ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปโครงเป็นตาข่ายแย่งดอกแย่งก้านกัน.ก้านแย่ง น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมีรูปโครงเป็นตาข่ายแย่งดอกแย่งก้านกัน.
ก้าน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ก่าน, กล้า, เช่น รู้ไป่ทันแก่ก้าน กล่าวถ้อยกลางสนาม. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.ก้าน ๒ น. ก่าน, กล้า, เช่น รู้ไป่ทันแก่ก้าน กล่าวถ้อยกลางสนาม. (โลกนิติ).
ก๊าน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง ค้าน, แพ้, สู้ไม่ได้, เช่น ก๊านพ่ายหนี.ก๊าน (ถิ่น–พายัพ) ก. ค้าน, แพ้, สู้ไม่ได้, เช่น ก๊านพ่ายหนี.
กานดา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่รัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กานฺตา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี กนฺตา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา.กานดา น. หญิงที่รัก. (ส. กานฺตา; ป. กนฺตา).
กานต์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น จันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กานต์ (แบบ) ว. เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น จันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟได้. (ส.).
กานท, กานท์ กานท เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน กานท์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง บทกลอน เช่น สารสยามภาคพร้อง กลกานท นี้ฤๅ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.กานท, กานท์ (โบ) น. บทกลอน เช่น สารสยามภาคพร้อง กลกานท นี้ฤๅ. (ยวนพ่าย).
กานน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู ความหมายที่ [–นน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กานน ๑ [–นน] (แบบ) น. ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). (ป., ส.).
กานน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู ความหมายที่ [–นน]ดู ตีนนก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-นอ-หนู-กอ-ไก่ (๑).กานน ๒ [–นน] ดู ตีนนก (๑).
ก้านพร้าว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง โกฐก้านพร้าว. ในวงเล็บ ดู โกฐก้านพร้าว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ที่ โกฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน.ก้านพร้าว น. โกฐก้านพร้าว. (ดู โกฐก้านพร้าว ที่ โกฐ).
กานพลู เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู[–พฺลู] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Syzygium aromaticum (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ดอกตูมมีรสเผ็ดร้อน ตากแห้งแล้วใช้เป็นเครื่องเทศและทํายา. (ทมิฬ กิรามบู).กานพลู [–พฺลู] น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Syzygium aromaticum (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ดอกตูมมีรสเผ็ดร้อน ตากแห้งแล้วใช้เป็นเครื่องเทศและทํายา. (ทมิฬ กิรามบู).
ก้านมะพร้าว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู ทางมะพร้าว เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน.ก้านมะพร้าว ดู ทางมะพร้าว.
ก้านยาว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ผู้ที่มีรูปร่างผอมสูงกว่าปรกติ.ก้านยาว น. ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง; (ปาก) ผู้ที่มีรูปร่างผอมสูงกว่าปรกติ.
ก้านเหลือง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Nauclea orientalis (L.) L. ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระทุ่ม ขึ้นตามริมนํ้า เนื้อไม้สีเหลือง ละเอียด ใช้ในการก่อสร้าง.ก้านเหลือง น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Nauclea orientalis (L.) L. ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระทุ่ม ขึ้นตามริมนํ้า เนื้อไม้สีเหลือง ละเอียด ใช้ในการก่อสร้าง.
กาน้า เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Canarium album (Lour.) Raeusch. ในวงศ์ Burseraceae ผลคล้ายสมอบางชนิด กินได้ มีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน, สมอจีน ก็เรียก.กาน้า น. ชื่อไม้ต้นชนิด Canarium album (Lour.) Raeusch. ในวงศ์ Burseraceae ผลคล้ายสมอบางชนิด กินได้ มีถิ่นกําเนิดในประเทศจีน, สมอจีน ก็เรียก.
กาน้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Phalacrocoracidae ตัวสีดํา คอยาว ว่ายนํ้าเหมือนเป็ด ดํานํ้าจับปลากินเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ กานํ้าใหญ่ (Phalacrocorax carbo) กานํ้าปากยาว (P. fuscicollis) และ กานํ้าเล็ก (P. niger).กาน้ำ น. ชื่อนกในวงศ์ Phalacrocoracidae ตัวสีดํา คอยาว ว่ายนํ้าเหมือนเป็ด ดํานํ้าจับปลากินเป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ กานํ้าใหญ่ (Phalacrocorax carbo) กานํ้าปากยาว (P. fuscicollis) และ กานํ้าเล็ก (P. niger).
กาบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกหุ้มชั้นนอกของผล ช่อดอก หรือลําต้นของต้นไม้บางชนิด ลอกออกได้ เช่น กาบมะพร้าว กาบหมาก กาบกล้วย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น.กาบ ๑ น. เปลือกหุ้มชั้นนอกของผล ช่อดอก หรือลําต้นของต้นไม้บางชนิด ลอกออกได้ เช่น กาบมะพร้าว กาบหมาก กาบกล้วย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น.
กาบเขียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่หุ้มจั่นหมาก จั่นมะพร้าว.กาบเขียง น. ส่วนที่หุ้มจั่นหมาก จั่นมะพร้าว.
กาบปูเล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนล่างของทางใบที่หุ้มรอบลําต้นหมากเมื่อแก่จัดแล้วหลุดลงมา.กาบปูเล น. ส่วนล่างของทางใบที่หุ้มรอบลําต้นหมากเมื่อแก่จัดแล้วหลุดลงมา.
กาบพรหมศร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกาบกระหนกชนิดหนึ่งที่ประกอบกับโคนเสา เช่น เสาบุษบก มีลักษณะคล้ายอินทรธนูละคร.กาบพรหมศร น. ชื่อกาบกระหนกชนิดหนึ่งที่ประกอบกับโคนเสา เช่น เสาบุษบก มีลักษณะคล้ายอินทรธนูละคร.
กาบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่หลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Unionidae และ Amblemidae เปลือกบางหรือหนาแล้วแต่ชนิดและวัย มีหลายขนาด ผิวนอกเป็นสีเขียวคลํ้าหรือนํ้าตาลเข้ม ด้านในเป็นมุก เช่น ชนิด Chamberlainia hainesiana, กาบนํ้าจืด ก็เรียก.กาบ ๒ น. ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่หลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Unionidae และ Amblemidae เปลือกบางหรือหนาแล้วแต่ชนิดและวัย มีหลายขนาด ผิวนอกเป็นสีเขียวคลํ้าหรือนํ้าตาลเข้ม ด้านในเป็นมุก เช่น ชนิด Chamberlainia hainesiana, กาบนํ้าจืด ก็เรียก.
กาบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือตรงกับเลข ๑.กาบ ๓ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือตรงกับเลข ๑.
ก้าบ ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องของเป็ด.ก้าบ ๆ ว. เสียงร้องของเป็ด.
กาบกี้ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่ชนิด Uniandra contradens ในวงศ์ Amblemidae เป็นหอยกาบขนาดกลาง, กี ก็เรียก.กาบกี้ น. ชื่อหอยนํ้าจืดกาบคู่ชนิด Uniandra contradens ในวงศ์ Amblemidae เป็นหอยกาบขนาดกลาง, กี ก็เรียก.
กาบคู่ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกหอยในชั้น Bivalvia หรือ Pelecypoda เปลือกหุ้มตัวมีลักษณะเป็น ๒ กาบ ปิดและเปิดได้.กาบคู่ น. ชื่อเรียกหอยในชั้น Bivalvia หรือ Pelecypoda เปลือกหุ้มตัวมีลักษณะเป็น ๒ กาบ ปิดและเปิดได้.
กาบเดียว, กาบเดี่ยว กาบเดียว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน กาบเดี่ยว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกหอยในชั้น Gastropoda มีเปลือกต่อกันเป็นชิ้นเดียวโดยเวียนเป็นวงซ้อนกัน และมีช่องให้ตัวหอยโผล่ออกมาจากเปลือกได้.กาบเดียว, กาบเดี่ยว น. ชื่อเรียกหอยในชั้น Gastropoda มีเปลือกต่อกันเป็นชิ้นเดียวโดยเวียนเป็นวงซ้อนกัน และมีช่องให้ตัวหอยโผล่ออกมาจากเปลือกได้.
กาบน้ำจืด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็กดู กาบ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒.กาบน้ำจืด ดู กาบ ๒.
กาบบัว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Mycteria leucocephala ในวงศ์ Ciconiidae ตัวใหญ่ คอและขายาว ลําตัว หัว และคอสีขาว มีแถบดําคาดขวางหน้าอก ขนคลุมปีกตอนปลายสีชมพู ปากยาวสีเหลือง อาศัยอยู่ตามบึงและหนองนํ้า กินปลา.กาบบัว น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Mycteria leucocephala ในวงศ์ Ciconiidae ตัวใหญ่ คอและขายาว ลําตัว หัว และคอสีขาว มีแถบดําคาดขวางหน้าอก ขนคลุมปีกตอนปลายสีชมพู ปากยาวสีเหลือง อาศัยอยู่ตามบึงและหนองนํ้า กินปลา.
กาบหอยแครง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งูดู ว่านกาบหอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ที่ ว่าน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.กาบหอยแครง ดู ว่านกาบหอย ที่ ว่าน.
กาบุรุษ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี[กาบุหฺรุด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คนเลว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กาปุรุษ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี กาปุริส เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ.กาบุรุษ [กาบุหฺรุด] (แบบ) น. คนเลว. (ส. กาปุรุษ; ป. กาปุริส).
กาบู เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง กระเบื้องมุงหลังคาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นกระเบื้อง ๒ แผ่นวางคร่อมกัน แผ่นคว่ำมีรูปร่างเหมือนกาบกล้วย ข้างใต้ตอนบนมีงวงหรือขอสำหรับยึดกับระแนง ส่วนแผ่นหงายที่อยู่ข้างล่างนั้นเป็นแผ่นแบน งอริมขึ้นทั้ง ๒ ข้าง มีขออยู่ตอนบนเพื่อเกี่ยวกับระแนง ปัจจุบันนิยมทำให้กระเบื้องแผ่นคว่ำและแผ่นหงายติดเป็นแผ่นเดียวกันเพื่อให้มีความคงทนมากขึ้น, กระเบื้องกาบกล้วย ก็เรียก.กาบู น. กระเบื้องมุงหลังคาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นกระเบื้อง ๒ แผ่นวางคร่อมกัน แผ่นคว่ำมีรูปร่างเหมือนกาบกล้วย ข้างใต้ตอนบนมีงวงหรือขอสำหรับยึดกับระแนง ส่วนแผ่นหงายที่อยู่ข้างล่างนั้นเป็นแผ่นแบน งอริมขึ้นทั้ง ๒ ข้าง มีขออยู่ตอนบนเพื่อเกี่ยวกับระแนง ปัจจุบันนิยมทำให้กระเบื้องแผ่นคว่ำและแผ่นหงายติดเป็นแผ่นเดียวกันเพื่อให้มีความคงทนมากขึ้น, กระเบื้องกาบกล้วย ก็เรียก.
กาเปี้ยด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง ต้นหนอนตายหยาก. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กาเปี้ยด (ถิ่น) น. ต้นหนอนตายหยาก. (พจน. ๒๔๙๓).
กาฝาก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชเบียนหลายชนิดในหลายวงศ์ที่อาศัยเกาะดูดนํ้าและแร่ธาตุ หรือสารอาหารที่สังเคราะห์แล้วจากพรรณไม้อื่น ส่วนใหญ่มักใช้เรียกไม้พุ่มที่อาศัยเกาะเบียนไม้ต้นชนิดต่าง ๆ ในวงศ์ Loranthaceae, Santalaceae และ Viscaceae.กาฝาก น. ชื่อพืชเบียนหลายชนิดในหลายวงศ์ที่อาศัยเกาะดูดนํ้าและแร่ธาตุ หรือสารอาหารที่สังเคราะห์แล้วจากพรรณไม้อื่น ส่วนใหญ่มักใช้เรียกไม้พุ่มที่อาศัยเกาะเบียนไม้ต้นชนิดต่าง ๆ ในวงศ์ Loranthaceae, Santalaceae และ Viscaceae.
กาพย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง คําร้อยกรองประเภทหนึ่ง มีหลายชนิด เช่น กาพย์ฉบัง กาพย์สุรางคนางค์ กาพย์ยานี กาพย์ขับไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กาวฺย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.กาพย์ น. คําร้อยกรองประเภทหนึ่ง มีหลายชนิด เช่น กาพย์ฉบัง กาพย์สุรางคนางค์ กาพย์ยานี กาพย์ขับไม้. (ส. กาวฺย).
กาพย์กลอน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง คําร้อยกรอง.กาพย์กลอน น. คําร้อยกรอง.
กาเฟอีน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C8H10O2N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส caféine เขียนว่า ซี-เอ-เอฟ-undefined-ไอ-เอ็น-อี.กาเฟอีน น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทพิวรีน มีสูตรเคมี C8H10O2N4 ลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีในใบชา เมล็ดกาแฟ เป็นยาเสพติดอย่างอ่อน มีฤทธิ์อย่างแรงต่อหัวใจ ใช้ในการแพทย์. (ฝ. caféine).
กาแฟ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ทํามาจากเมล็ดต้นกาแฟ.กาแฟ ๑ น. ชื่อเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ทํามาจากเมล็ดต้นกาแฟ.
กาแฟ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Coffea วงศ์ Rubiaceae เช่น ชนิด C. arabica L., C. canephora Pierre ex Froehner และ C. liberica Bull. ex Hiern ชนิดหลังนี้ กาแฟใบใหญ่ ก็เรียก, กาแฟเป็นพืชแถบทวีปแอฟริกา ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เมล็ดแก่คั่วแล้วบด ใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม ในเมล็ดกาแฟมีสารเคมีชนิดหนึ่ง เรียกว่า กาเฟอีน.กาแฟ ๒ น. ชื่อไม้พุ่มหลายชนิดในสกุล Coffea วงศ์ Rubiaceae เช่น ชนิด C. arabica L., C. canephora Pierre ex Froehner และ C. liberica Bull. ex Hiern ชนิดหลังนี้ กาแฟใบใหญ่ ก็เรียก, กาแฟเป็นพืชแถบทวีปแอฟริกา ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เมล็ดแก่คั่วแล้วบด ใช้ชงเป็นเครื่องดื่ม ในเมล็ดกาแฟมีสารเคมีชนิดหนึ่ง เรียกว่า กาเฟอีน.
กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า [กามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความใคร่, ความใคร่ทางเมถุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กาม, กาม– [กามมะ–] น. ความใคร่, ความใคร่ทางเมถุน. (ป., ส.).
กามกรีฑา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชั้นเชิงในทางกาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กามกรีฑา น. ชั้นเชิงในทางกาม. (ส.).
กามกิจ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง การร่วมประเวณี.กามกิจ น. การร่วมประเวณี.
กามคุณ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนามี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส; ความปรารถนาในเมถุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กามคุณ น. สิ่งที่น่าปรารถนามี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส; ความปรารถนาในเมถุน. (ป., ส.).
กามฉันท์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ความพอใจในกามคุณทั้ง ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กามฉันท์ น. ความพอใจในกามคุณทั้ง ๕. (ป.).
กามตัณหา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความอยากในกามคุณทั้ง ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กามตัณหา น. ความอยากในกามคุณทั้ง ๕. (ป.).
กามท– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน[กามมะทะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้ให้ตามที่ปรารถนา เช่น หนึ่งโสดกามทราช จักประพาศยลราชี ตามวิถีแนวไม้ไพรระเรียง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์หิมพานต์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กามท– [กามมะทะ–] ว. ผู้ให้ตามที่ปรารถนา เช่น หนึ่งโสดกามทราช จักประพาศยลราชี ตามวิถีแนวไม้ไพรระเรียง. (ม. คำหลวง หิมพานต์). (ป., ส.).
กามเทพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง เทพเจ้าแห่งความรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กามเทพ น. เทพเจ้าแห่งความรัก. (ป.).
กามน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู[กา–มน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มไปด้วยกาม เช่น ฤๅโฉมพระศรีศริ อภิลาศกามน. ในวงเล็บ มาจาก สูตรธนูคำฉันท์ จากวชิรญาณรายเดือน ปีที่ ๒๐ ตอนที่ ๗๔ และ ๗๕ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กามน [กา–มน] ว. เต็มไปด้วยกาม เช่น ฤๅโฉมพระศรีศริ อภิลาศกามน. (สุธน). (ป., ส.).
กามภพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ที่เกิดของผู้ที่ยังเกี่ยวด้วยกาม, โลกเป็นที่อยู่อาศัยของผู้เสพกาม ได้แก่ อบายภูมิ ๔ (นรกภูมิ ติรัจฉานภูมิ เปรตวิสัยภูมิ อสุรกายภูมิ) มนุษยโลก ๑ และสวรรค์ ๖ ชั้น (จาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานนรดี ปรนิมมิตวสวัตดี) รวมเป็น ๑๑, กามภูมิ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กามภพ น. ที่เกิดของผู้ที่ยังเกี่ยวด้วยกาม, โลกเป็นที่อยู่อาศัยของผู้เสพกาม ได้แก่ อบายภูมิ ๔ (นรกภูมิ ติรัจฉานภูมิ เปรตวิสัยภูมิ อสุรกายภูมิ) มนุษยโลก ๑ และสวรรค์ ๖ ชั้น (จาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานนรดี ปรนิมมิตวสวัตดี) รวมเป็น ๑๑, กามภูมิ ก็ว่า. (ป.).
กามราค, กามราคะ กามราค เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย กามราคะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ [กามมะราก, กามมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความกําหนัดในกาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กามราค, กามราคะ [กามมะราก, กามมะ–] น. ความกําหนัดในกาม. (ป., ส.).
กามโรค เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการประกอบกามกิจหรือติดต่อกันโดยใช้สิ่งของร่วมกับคนเป็นกามโรคเป็นต้น, เรียกเป็นสามัญว่า โรคบุรุษ หรือ โรคผู้หญิง.กามโรค น. โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการประกอบกามกิจหรือติดต่อกันโดยใช้สิ่งของร่วมกับคนเป็นกามโรคเป็นต้น, เรียกเป็นสามัญว่า โรคบุรุษ หรือ โรคผู้หญิง.
กามวิตก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ความครุ่นคิดในกาม, ความคิดคำนึงในทางกาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กามวิตก น. ความครุ่นคิดในกาม, ความคิดคำนึงในทางกาม. (ป.).
กามวิตถาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กามวิดถาน] เป็นคำนาม หมายถึง การประกอบกามกิจที่ผิดปรกติวิสัย เช่น รักร่วมเพศ, การทรมานตนหรือผู้อื่นก่อนหรือในระหว่างร่วมเพศ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผิดปรกติทางเพศเช่นนั้น.กามวิตถาร [กามวิดถาน] น. การประกอบกามกิจที่ผิดปรกติวิสัย เช่น รักร่วมเพศ, การทรมานตนหรือผู้อื่นก่อนหรือในระหว่างร่วมเพศ. ว. ผิดปรกติทางเพศเช่นนั้น.
กามสมังคี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อมด้วยกามคุณ เช่น เสด็จเสวยอุฬาริกราชกามสมังคีศรีสุขุมสุข. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน นครกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + สมงฺคี เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี = มีความพร้อมเพรียง .กามสมังคี ว. พร้อมด้วยกามคุณ เช่น เสด็จเสวยอุฬาริกราชกามสมังคีศรีสุขุมสุข. (ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์). (ป. กาม + สมงฺคี = มีความพร้อมเพรียง).
กามัช เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกิดแต่กาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กามัช ว. เกิดแต่กาม. (ป., ส.).
กามา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กาม เช่น เข้าแต่หอล่อกามา. ในวงเล็บ มาจาก มูลบทบรรพกิจ วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์ พิศาลการันต์ แบบสอนหนังสือไทย ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ฉบับโรงพิมพ์ประเสริฐอักษร พ.ศ. ๒๕๐๑.กามา (กลอน) น. กาม เช่น เข้าแต่หอล่อกามา. (มูลบท).
กามาทีนพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง โทษแห่งกาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + อาทีนว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-วอ-แหวน .กามาทีนพ น. โทษแห่งกาม. (ป. กาม + อาทีนว).
กามาพจร, กามาวจร กามาพจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-จอ-จาน-รอ-เรือ กามาวจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยังข้องอยู่ในกาม, ที่ท่องเที่ยวอยู่ในกามภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + อวจร เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-จอ-จาน-รอ-เรือ .กามาพจร, กามาวจร ว. ที่ยังข้องอยู่ในกาม, ที่ท่องเที่ยวอยู่ในกามภพ. (ป. กาม + อวจร).
กามามิศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง อามิสคือกาม เช่น ฝ่ายเจ้าช้างจงจม ตมเปือกกามามิศ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + ภาษาสันสกฤต อามิษ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี .กามามิศ น. อามิสคือกาม เช่น ฝ่ายเจ้าช้างจงจม ตมเปือกกามามิศ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. กาม + ส. อามิษ).
กามารมณ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง กามคุณ, อารมณ์ที่น่าใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + อารฺมณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-เนน .กามารมณ์ น. กามคุณ, อารมณ์ที่น่าใคร่. (ป. กาม + อารฺมณ).
กามิศ, กาเมศ กามิศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา กาเมศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มไปด้วยกาม เช่น ชงครากามิศน้อง ยังยังติดแม่. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, โกมลมิ่งโกมุท กาเมศ เรียมเอย. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.กามิศ, กาเมศ ว. เต็มไปด้วยกาม เช่น ชงครากามิศน้อง ยังยังติดแม่. (ทวาทศมาส), โกมลมิ่งโกมุท กาเมศ เรียมเอย. (ทวาทศมาส).
กาโมทย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก[–โมด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่ตั้งขึ้นแห่งความรัก, น่ารัก, เป็นที่เกิดแห่งความรัก, เช่น พรมงคลน้นนโสด แก่แก้วกาโมทยมหิษี กัลยาณีสาวสวรรค์ประเสริฐนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า + อุทย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก .กาโมทย [–โมด] (แบบ) ว. เป็นที่ตั้งขึ้นแห่งความรัก, น่ารัก, เป็นที่เกิดแห่งความรัก, เช่น พรมงคลน้นนโสด แก่แก้วกาโมทยมหิษี กัลยาณีสาวสวรรค์ประเสริฐนั้น. (ม. คำหลวง ทศพร). (ป. กาม + อุทย).
ก้าม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะของสัตว์บางชนิดเช่นปูและกุ้ง สําหรับหนีบอาหารเป็นต้น.ก้าม น. อวัยวะของสัตว์บางชนิดเช่นปูและกุ้ง สําหรับหนีบอาหารเป็นต้น.
ก้ามกราม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งนํ้าจืดชนิด Macrobrachium rosenbergii ในวงศ์ Palaemonidae ตัวโต เปลือกสีครามปนเขียว ก้ามสีฟ้า มีหนาม วางไข่ในนํ้ากร่อย, กุ้งหลวง ก็เรียก, เพศเมียเรียก กุ้งนาง.ก้ามกราม น. ชื่อกุ้งนํ้าจืดชนิด Macrobrachium rosenbergii ในวงศ์ Palaemonidae ตัวโต เปลือกสีครามปนเขียว ก้ามสีฟ้า มีหนาม วางไข่ในนํ้ากร่อย, กุ้งหลวง ก็เรียก, เพศเมียเรียก กุ้งนาง.
ก้ามกุ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งูดู ผกากรอง เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู.ก้ามกุ้ง ดู ผกากรอง.
ก้ามเกลี้ยง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งนํ้าจืดชนิด Macrobrachium sintangense ในวงศ์ Palaemonidae ตัวเล็กกว่ากุ้งก้ามกราม ก้ามเล็กเรียบไม่มีหนาม.ก้ามเกลี้ยง น. ชื่อกุ้งนํ้าจืดชนิด Macrobrachium sintangense ในวงศ์ Palaemonidae ตัวเล็กกว่ากุ้งก้ามกราม ก้ามเล็กเรียบไม่มีหนาม.
ก้ามดาบ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ดู เปี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.ก้ามดาบ ดู เปี้ยว ๑.
ก้ามปู เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Albizia saman (Jacq.) F. Muell. ในวงศ์ Leguminosae เรือนยอดทึบแบนแผ่สาขากว้างใหญ่จึงให้ร่มเงาได้ดี ช่อดอกเป็นพู่สีชมพูแก่ ฝักแก่สีนํ้าตาลไหม้ ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร รสหวาน เป็นไม้ที่นําเข้ามาปลูก เดิมเรียก จามจุรีแดง แต่มักเรียกสั้น ๆ ว่า จามจุรี, พายัพเรียก ฉำฉา หรือ สำสา.ก้ามปู น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Albizia saman (Jacq.) F. Muell. ในวงศ์ Leguminosae เรือนยอดทึบแบนแผ่สาขากว้างใหญ่จึงให้ร่มเงาได้ดี ช่อดอกเป็นพู่สีชมพูแก่ ฝักแก่สีนํ้าตาลไหม้ ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร รสหวาน เป็นไม้ที่นําเข้ามาปลูก เดิมเรียก จามจุรีแดง แต่มักเรียกสั้น ๆ ว่า จามจุรี, พายัพเรียก ฉำฉา หรือ สำสา.
ก้ามปูหลุด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia zebrina Hort. ex Bosse ในวงศ์ Commelinaceae ลําต้นเรียว และเป็นปล้อง ๆ เลื้อยไปตามดิน ใบสีเขียวหม่น ใบด้านบนมีแถบสีเทาคาดตามยาว ด้านล่างสีม่วงแดง ดอกสีชมพู.ก้ามปูหลุด น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia zebrina Hort. ex Bosse ในวงศ์ Commelinaceae ลําต้นเรียว และเป็นปล้อง ๆ เลื้อยไปตามดิน ใบสีเขียวหม่น ใบด้านบนมีแถบสีเทาคาดตามยาว ด้านล่างสีม่วงแดง ดอกสีชมพู.
กามัช เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้างดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามัช ดู กาม, กาม–.
กามา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อาดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามา ดู กาม, กาม–.
กามาทีนพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-พอ-พานดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามาทีนพ ดู กาม, กาม–.
กามาพจร, กามาวจร กามาพจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-จอ-จาน-รอ-เรือ กามาวจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-จอ-จาน-รอ-เรือ ดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามาพจร, กามาวจร ดู กาม, กาม–.
กามามิศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลาดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามามิศ ดู กาม, กาม–.
กามารมณ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาดดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามารมณ์ ดู กาม, กาม–.
กามินี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง หญิง เช่น จงกามินีปน รสร่วม กันนา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ว่า หญิงมีความใคร่ .กามินี น. หญิง เช่น จงกามินีปน รสร่วม กันนา. (ลอ). (ป. ว่า หญิงมีความใคร่).
กามิศ, กาเมศ กามิศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา กาเมศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา ดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กามิศ, กาเมศ ดู กาม, กาม–.
กาเมสุมิจฉาจาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–มิดฉาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง การประพฤติผิดในประเวณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาเมสุมิจฉาจาร [–มิดฉาจาน] น. การประพฤติผิดในประเวณี. (ป.).
กาโมทย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยักดู กาม, กาม– กาม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า กาม– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า .กาโมทย ดู กาม, กาม–.
กาย, กาย– กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก กาย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก [กายยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ตัว เช่น ไม่มีผ้าพันกาย, และมักใช้เข้าคู่กับคํา ร่าง เป็น ร่างกาย, ใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า หมู่, พวก, เช่น พลกาย = หมู่ทหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กาย, กาย– [กายยะ–] น. ตัว เช่น ไม่มีผ้าพันกาย, และมักใช้เข้าคู่กับคํา ร่าง เป็น ร่างกาย, ใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า หมู่, พวก, เช่น พลกาย = หมู่ทหาร. (ป., ส.).
กายกรรม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การทําทางกาย; การดัดตนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง, การเล่นห้อยโหนโยนตัวเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก + กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก + กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า .กายกรรม น. การทําทางกาย; การดัดตนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง, การเล่นห้อยโหนโยนตัวเป็นต้น. (ส. กาย + กรฺม; ป. กาย + กมฺม).
กายทวาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ทางกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก + ทฺวาร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .กายทวาร น. ทางกาย. (ป., ส. กาย + ทฺวาร).
กายทุจริต เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[กายยะทุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ ๑ การลักทรัพย์ ๑ การประพฤติผิดในกาม ๑.กายทุจริต [กายยะทุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชั่วทางกาย ได้แก่ การฆ่าสัตว์ ๑ การลักทรัพย์ ๑ การประพฤติผิดในกาม ๑.
กายบริหาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กายบอริหาน] เป็นคำนาม หมายถึง การบริหารร่างกาย, การออกกำลังกาย.กายบริหาร [กายบอริหาน] น. การบริหารร่างกาย, การออกกำลังกาย.
กายพันธน์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องรัดตัว คือ รัดประคด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กายพันธน์ น. เครื่องรัดตัว คือ รัดประคด. (ป., ส.).
กายภาพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต, เกี่ยวกับสสารและพลังงาน, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพ (physical science) ศึกษาเกี่ยวกับสสารและพลังงาน; เกี่ยวกับลักษณะตามธรรมชาติของโลก เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ (physical geography) ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของผิวดิน บรรยากาศ อากาศ พืช และสัตว์ในถิ่นต่าง ๆ.กายภาพ ว. เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต, เกี่ยวกับสสารและพลังงาน, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพ (physical science) ศึกษาเกี่ยวกับสสารและพลังงาน; เกี่ยวกับลักษณะตามธรรมชาติของโลก เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ (physical geography) ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของผิวดิน บรรยากาศ อากาศ พืช และสัตว์ในถิ่นต่าง ๆ.
กายภาพบำบัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง การรักษาโรคโดยอาศัยวิธีการทางฟิสิกส์แทนการใช้ยา เช่น โดยการนวด การฉายรังสี การใช้กระแสไฟฟ้า การใช้กระแสนํ้า ความร้อน หรือการออกกําลังกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ physical เขียนว่า พี-เอช-วาย-เอส-ไอ-ซี-เอ-แอล therapy เขียนว่า ที-เอช-อี-อา-เอ-พี-วาย .กายภาพบำบัด น. การรักษาโรคโดยอาศัยวิธีการทางฟิสิกส์แทนการใช้ยา เช่น โดยการนวด การฉายรังสี การใช้กระแสไฟฟ้า การใช้กระแสนํ้า ความร้อน หรือการออกกําลังกาย. (อ. physical therapy).
กายวิภาคศาสตร์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[–วิพากคะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ anatomy เขียนว่า เอ-เอ็น-เอ-ที-โอ-เอ็ม-วาย.กายวิภาคศาสตร์ [–วิพากคะสาด] น. วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. (อ. anatomy).
กายสิทธิ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีฤทธิ์เดชต่าง ๆ อยู่ในตัว.กายสิทธิ์ ว. มีฤทธิ์เดชต่าง ๆ อยู่ในตัว.
กายสุจริต เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[กายยะสุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชอบทางกาย ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ ๑ การไม่ลักทรัพย์ ๑ การไม่ประพฤติผิดในกาม ๑.กายสุจริต [กายยะสุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชอบทางกาย ได้แก่ การไม่ฆ่าสัตว์ ๑ การไม่ลักทรัพย์ ๑ การไม่ประพฤติผิดในกาม ๑.
กายาพยพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พาน[กายาพะยบ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น มือ เท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก + อวยว เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-วอ-แหวน .กายาพยพ [กายาพะยบ] น. ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น มือ เท้า. (ป., ส. กาย + อวยว).
กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ กายินทรีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด กาเยนทรีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกายซึ่งเป็นใหญ่ในการรับสัมผัส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก + อินฺทฺริย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก .กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ น. ร่างกายซึ่งเป็นใหญ่ในการรับสัมผัส. (ป. กาย + อินฺทฺริย).
ก่าย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง พาด, พาดไขว้กัน, เช่น เอาฟืนก่ายกัน, พาดเกยอยู่หรือค้างอยู่ เช่น เอามือก่ายหน้าผาก นอนเอาขาก่ายกัน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคํา เกย เป็น ก่ายเกย หรือ เกยก่าย.ก่าย ก. พาด, พาดไขว้กัน, เช่น เอาฟืนก่ายกัน, พาดเกยอยู่หรือค้างอยู่ เช่น เอามือก่ายหน้าผาก นอนเอาขาก่ายกัน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคํา เกย เป็น ก่ายเกย หรือ เกยก่าย.
ก่ายกอง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มักใช้เข้าคู่กับคํา มากมาย เป็น มากมายก่ายกอง หมายความว่า มากเกิน, ล้นหลาม.ก่ายกอง ว. มักใช้เข้าคู่กับคํา มากมาย เป็น มากมายก่ายกอง หมายความว่า มากเกิน, ล้นหลาม.
กายาพยพ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พานดู กาย, กาย– กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก กาย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก .กายาพยพ ดู กาย, กาย–.
กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ กายินทรีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด กาเยนทรีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ดู กาย, กาย– กาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก กาย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก .กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ ดู กาย, กาย–.
กาเยน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ยางไม้ชนิดหนึ่ง สีเหลืองแก่ ใสคล้ายแก้ว.กาเยน น. ยางไม้ชนิดหนึ่ง สีเหลืองแก่ ใสคล้ายแก้ว.
การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทํา, มักใช้เข้าคู่กับคํา งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทํากริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน.การ ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทํา, มักใช้เข้าคู่กับคํา งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทํากริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน.
การกลั่นทำลาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีที่ให้ความร้อนสูงแก่สารอินทรีย์โดยไม่ให้อากาศเข้า เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นแก่สารนั้น ให้ผลเป็นสารที่ระเหยได้และแยกตัวออกมา เช่น การกลั่นทําลายขี้เลื่อย ให้ผลเป็นเมทิลแอลกอฮอล์ กรดนํ้าส้ม และสารอื่นอีก, การกลั่นทําลายถ่านหิน ให้ผลเป็นแก๊สถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นํ้ามันเบนซิน ลูกเหม็นกันแมลงสาบ และสารอื่นที่มีประโยชน์อีกมาก กากที่เหลือเรียกว่า ถ่านโค้ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ destructive เขียนว่า ดี-อี-เอส-ที-อา-ยู-ซี-ที-ไอ-วี-อี distillation เขียนว่า ดี-ไอ-เอส-ที-ไอ-แอล-แอล-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น .การกลั่นทำลาย น. กรรมวิธีที่ให้ความร้อนสูงแก่สารอินทรีย์โดยไม่ให้อากาศเข้า เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นแก่สารนั้น ให้ผลเป็นสารที่ระเหยได้และแยกตัวออกมา เช่น การกลั่นทําลายขี้เลื่อย ให้ผลเป็นเมทิลแอลกอฮอล์ กรดนํ้าส้ม และสารอื่นอีก, การกลั่นทําลายถ่านหิน ให้ผลเป็นแก๊สถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ นํ้ามันเบนซิน ลูกเหม็นกันแมลงสาบ และสารอื่นที่มีประโยชน์อีกมาก กากที่เหลือเรียกว่า ถ่านโค้ก. (อ. destructive distillation).
การขนส่งมวลชน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ระบบการขนส่งผู้โดยสารครั้งละมาก ๆ.การขนส่งมวลชน น. ระบบการขนส่งผู้โดยสารครั้งละมาก ๆ.
การครัว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง การหุงหาอาหาร.การครัว น. การหุงหาอาหาร.
การคลัง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง การจัดการเงิน, การคลังแผ่นดิน หรือ การคลังสาธารณะ คือ การจัดการเงินของประเทศ, การคลังเอกชน คือ การจัดการเงินของบุคคล เช่น บริษัท; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอํานาจดําเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อํานาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ.การคลัง น. การจัดการเงิน, การคลังแผ่นดิน หรือ การคลังสาธารณะ คือ การจัดการเงินของประเทศ, การคลังเอกชน คือ การจัดการเงินของบุคคล เช่น บริษัท; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอํานาจดําเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อํานาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ.
การเงิน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กิจการเกี่ยวกับเงิน, เรื่องเกี่ยวกับเงิน เช่น เดือนนี้การเงินไม่ค่อยดี.การเงิน น. กิจการเกี่ยวกับเงิน, เรื่องเกี่ยวกับเงิน เช่น เดือนนี้การเงินไม่ค่อยดี.
การจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-จอ-จาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง งานซึ่งไม่ได้ทําเป็นประจําหรือที่คาดไม่ถึง.การจร น. งานซึ่งไม่ได้ทําเป็นประจําหรือที่คาดไม่ถึง.
การต่างประเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศ.การต่างประเทศ น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศ.
การทะเบียนราษฎร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง งานทะเบียนต่าง ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เช่น ทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร.การทะเบียนราษฎร (กฎ) น. งานทะเบียนต่าง ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เช่น ทะเบียนบ้าน ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร.
การนำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนําหรือฉนวน; (ความร้อน) การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก.การนำ (ไฟฟ้า) น. การเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนําหรือฉนวน; (ความร้อน) การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก.
การบ้าน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง งานที่ครูกําหนดให้นักเรียนไปทําที่บ้าน (เฉพาะโรงเรียน), งานที่เกี่ยวกับบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคําอื่น เช่น การบ้านการเมือง การบ้านการเรือน.การบ้าน น. งานที่ครูกําหนดให้นักเรียนไปทําที่บ้าน (เฉพาะโรงเรียน), งานที่เกี่ยวกับบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคําอื่น เช่น การบ้านการเมือง การบ้านการเรือน.
การบ้านการเมือง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กิจการบ้านเมืองทั่ว ๆ ไป.การบ้านการเมือง น. กิจการบ้านเมืองทั่ว ๆ ไป.
การบ้านการเรือน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนูดู การเรือน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู.การบ้านการเรือน ดู การเรือน.
การบุเรียน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง การเปรียญ.การบุเรียน (โบ) น. การเปรียญ.
การประกอบโรคศิลปะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ.การประกอบโรคศิลปะ (กฎ) น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ.
การเปรียญ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง[–ปะเรียน] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกศาลาวัดสําหรับพระสงฆ์แสดงธรรมว่า ศาลาการเปรียญ.การเปรียญ [–ปะเรียน] น. เรียกศาลาวัดสําหรับพระสงฆ์แสดงธรรมว่า ศาลาการเปรียญ.
การแผ่รังสี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี(ความร้อน) น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อนเป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม.การแผ่รังสี (ความร้อน) น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อนเป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม.
การพา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา(ความร้อน) น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านของเหลวหรือแก๊สโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของของเหลวหรือแก๊สเคลื่อนที่ไป.การพา (ความร้อน) น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านของเหลวหรือแก๊สโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของของเหลวหรือแก๊สเคลื่อนที่ไป.
การเมือง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดําเนินการแห่งรัฐ. (๒) การบริหารประเทศเฉพาะที่เกี่ยวกับนโยบายในการบริหารประเทศ เช่น การเมืองระหว่างประเทศ ได้แก่การดําเนินนโยบายระหว่างประเทศ. (๓) กิจการอํานวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ตําแหน่งการเมือง ได้แก่ตําแหน่งซึ่งมีหน้าที่อํานวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผู้แทนราษฎร) การบริหารแผ่นดิน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเงื่อนงํา, มีการกระทําอันมีเจตนาอื่นแอบแฝงอยู่, เช่น ป่วยการเมือง.การเมือง น. (๑) งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดําเนินการแห่งรัฐ. (๒) การบริหารประเทศเฉพาะที่เกี่ยวกับนโยบายในการบริหารประเทศ เช่น การเมืองระหว่างประเทศ ได้แก่การดําเนินนโยบายระหว่างประเทศ. (๓) กิจการอํานวยหรือควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ตําแหน่งการเมือง ได้แก่ตําแหน่งซึ่งมีหน้าที่อํานวย (คณะรัฐมนตรี) หรือควบคุม (สภาผู้แทนราษฎร) การบริหารแผ่นดิน. (ปาก) ว. มีเงื่อนงํา, มีการกระทําอันมีเจตนาอื่นแอบแฝงอยู่, เช่น ป่วยการเมือง.
การเรือน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง งานของแม่บ้าน เช่น หุงต้มอาหาร เย็บปักถักร้อย, การบ้านการเรือน ก็ว่า.การเรือน น. งานของแม่บ้าน เช่น หุงต้มอาหาร เย็บปักถักร้อย, การบ้านการเรือน ก็ว่า.
การสื่อสาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือเป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง.การสื่อสาร น. วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือเป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง.
–การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทํา, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคําบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคําอื่นที่ไม่ใช่คําศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ.–การ ๒ น. ผู้ทํา, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคําบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคําอื่นที่ไม่ใช่คําศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ.
–การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ คําประกอบท้ายสมาสคําบาลีและสันสกฤต มีความหมายเหมือน การ ๑ เช่น ราชการ พาณิชยการ.–การ ๓ คําประกอบท้ายสมาสคําบาลีและสันสกฤต มีความหมายเหมือน การ ๑ เช่น ราชการ พาณิชยการ.
การก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่[กา–รก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทํา. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาที่ทําหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .การก [กา–รก] น. ผู้ทํา. (ไว) ก. กริยาที่ทําหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก. (ป., ส.).
การณ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[กาน] เป็นคำนาม หมายถึง เหตุ, เค้า, มูล, เช่น รู้เท่าไม่ถึงการณ์ สังเกตการณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .การณ์ [กาน] น. เหตุ, เค้า, มูล, เช่น รู้เท่าไม่ถึงการณ์ สังเกตการณ์. (ป., ส.).
การ์ด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง บัตรเชิญในโอกาสต่าง ๆ เช่น การ์ดแต่งงาน การ์ดงานศพ.การ์ด (ปาก) น. บัตรเชิญในโอกาสต่าง ๆ เช่น การ์ดแต่งงาน การ์ดงานศพ.
การ์ตูน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย.การ์ตูน ๑ น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย.
การ์ตูน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Amphiprion วงศ์ Pomacentridae ลําตัวสั้นและแบนข้าง สีเหลือง แสด หรือแดง บางชนิดมีส่วนบนรวมทั้งครีบหลังดําคลํ้า มักมีแถบสีขาวเด่นพาดขวางบนหัวและลําตัว ๑–๒ แนว แล้วแต่ชนิดหรือขนาด พบอาศัยตามแนวปะการัง โดยเฉพาะอยู่กับดอกไม้ทะเลในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน.การ์ตูน ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Amphiprion วงศ์ Pomacentridae ลําตัวสั้นและแบนข้าง สีเหลือง แสด หรือแดง บางชนิดมีส่วนบนรวมทั้งครีบหลังดําคลํ้า มักมีแถบสีขาวเด่นพาดขวางบนหัวและลําตัว ๑–๒ แนว แล้วแต่ชนิดหรือขนาด พบอาศัยตามแนวปะการัง โดยเฉพาะอยู่กับดอกไม้ทะเลในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน.
การเต เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า[กาน–] เป็นคำนาม หมายถึง กานดา เช่น ธรณีธรณิศแก้ว การเต. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.การเต [กาน–] น. กานดา เช่น ธรณีธรณิศแก้ว การเต. (ทวาทศมาส).
การบูร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[การะบูน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cinnamomum camphora (L.) J.S. Presl ในวงศ์ Lauraceae เนื้อไม้มีสารสีขาว กลิ่นฉุนร้อน ซึ่งกลั่นแยกออกมาได้ เรียกว่า การบูร หรือ กรบูร ใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺรบูร เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ.การบูร [การะบูน] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cinnamomum camphora (L.) J.S. Presl ในวงศ์ Lauraceae เนื้อไม้มีสารสีขาว กลิ่นฉุนร้อน ซึ่งกลั่นแยกออกมาได้ เรียกว่า การบูร หรือ กรบูร ใช้ทํายา. (ส. กฺรบูร).
การบูรป่า เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Adenosma indiana (Lour.) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ต้นสูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ขอบใบจักถี่ ใบมีกลิ่นคล้ายกลิ่นใบกะเพรา โหระพา แต่อ่อนกว่า ดอกเล็ก สีม่วงออกเป็นช่อเรียวยาวตามง่ามใบและที่ปลายยอด, กระต่ายจาม ข้าวคํา หรือ พริกกระต่าย ก็เรียก.การบูรป่า น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Adenosma indiana (Lour.) Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ต้นสูงประมาณ ๓๐ เซนติเมตร ใบเดี่ยวออกตรงข้ามกัน ขอบใบจักถี่ ใบมีกลิ่นคล้ายกลิ่นใบกะเพรา โหระพา แต่อ่อนกว่า ดอกเล็ก สีม่วงออกเป็นช่อเรียวยาวตามง่ามใบและที่ปลายยอด, กระต่ายจาม ข้าวคํา หรือ พริกกระต่าย ก็เรียก.
การย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[กาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หน้าที่, กิจ, ธุระ, งาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .การย์ [กาน] (แบบ) น. หน้าที่, กิจ, ธุระ, งาน. (ส.).
การละเล่น เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง มหรสพต่าง ๆ, การแสดงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง.การละเล่น น. มหรสพต่าง ๆ, การแสดงต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง.
การวิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[การะวิก] เป็นคำนาม หมายถึง นกการเวก เช่น การวิกรวังวนกุณาล พเพรียกพร้องกระแสงใส. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กรวีก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต กรวีก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ กลวิงฺก เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่ .การวิก [การะวิก] น. นกการเวก เช่น การวิกรวังวนกุณาล พเพรียกพร้องกระแสงใส. (สมุทรโฆษ). (ป. กรวีก; ส. กรวีก, กลวิงฺก).
การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [การะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในเรื่องปรัมปรา เชื่อกันว่ามีอยู่ในป่าหิมพานต์ บินสูงเหนือเมฆ ร้องเพราะ สัตว์ทั้งหลายได้ยินก็หยุดชะงักไป.การเวก ๑ [การะ–] น. ชื่อนกในเรื่องปรัมปรา เชื่อกันว่ามีอยู่ในป่าหิมพานต์ บินสูงเหนือเมฆ ร้องเพราะ สัตว์ทั้งหลายได้ยินก็หยุดชะงักไป.
การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [การะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Paradisaeidae มีหลายสกุล หลายชนิด ทุกชนิดมีสีสันสวยงาม พบเฉพาะในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย ที่รู้จักกันมากที่สุด คือ ชนิด Paradisaea apoda.การเวก ๒ [การะ–] น. ชื่อนกในวงศ์ Paradisaeidae มีหลายสกุล หลายชนิด ทุกชนิดมีสีสันสวยงาม พบเฉพาะในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลีย ที่รู้จักกันมากที่สุด คือ ชนิด Paradisaea apoda.
การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [การะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys siamensis Miq. ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอมอ่อน กลีบดอกคล้ายกระดังงาจีนแต่ขนาดเล็กกว่า, กระดังงัว กระดังงาเถา หรือ หนามควายนอน ก็เรียก.การเวก ๓ [การะ–] น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys siamensis Miq. ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอมอ่อน กลีบดอกคล้ายกระดังงาจีนแต่ขนาดเล็กกว่า, กระดังงัว กระดังงาเถา หรือ หนามควายนอน ก็เรียก.
การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ [การะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยชนิดหนึ่ง เรียกว่า การเวกตัวผู้ การเวกตัวเมีย หรือ การเวกใหญ่.การเวก ๔ [การะ–] น. ชื่อเพลงไทยชนิดหนึ่ง เรียกว่า การเวกตัวผู้ การเวกตัวเมีย หรือ การเวกใหญ่.
การะเกด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มเพศผู้ชนิด Pandanus tectorius Blume ในวงศ์ Pandanaceae มักขึ้นในที่ชื้นแฉะและริมนํ้า ใบแคบและยาว ขอบใบมีหนามห่าง ๆ ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม, ลําเจียกหนู ก็เรียก.การะเกด น. ชื่อไม้พุ่มเพศผู้ชนิด Pandanus tectorius Blume ในวงศ์ Pandanaceae มักขึ้นในที่ชื้นแฉะและริมนํ้า ใบแคบและยาว ขอบใบมีหนามห่าง ๆ ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม, ลําเจียกหนู ก็เรียก.
การะบุหนิง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ดอกแก้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .การะบุหนิง น. ดอกแก้ว. (ช.).
การัณย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[การัน] เป็นคำนาม หมายถึง กรณีย์, กิจ, เช่น ชี้แจงแถลงเรื่องการัณย์ ส่งคชสำคัญ ทั้งหมอแลควาญมาถวาย. ในวงเล็บ มาจาก คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.การัณย์ [การัน] น. กรณีย์, กิจ, เช่น ชี้แจงแถลงเรื่องการัณย์ ส่งคชสำคัญ ทั้งหมอแลควาญมาถวาย. (ดุษฎีสังเวย).
การันต์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[การัน] เป็นคำนาม หมายถึง “ที่สุดอักษร”, ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกํากับไว้ เช่นตัว “ต์” ในคําว่า “การันต์”, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ เช่น ล์ ว่า ล การันต์ ค์ ว่า ค การันต์.การันต์ [การัน] น. “ที่สุดอักษร”, ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกํากับไว้ เช่นตัว “ต์” ในคําว่า “การันต์”, (ปาก) เรียกตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ เช่น ล์ ว่า ล การันต์ ค์ ว่า ค การันต์.
การางหัวขวาน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กะรางหัวขวาน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.การางหัวขวาน ดู กะรางหัวขวาน.
การิตการก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่[การิดตะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถูกใช้ให้ทํา, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก–ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทํางานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทํางาน นายจ้างให้ลูกจ้างทํางาน.การิตการก [การิดตะ–] (ไว) น. ผู้ถูกใช้ให้ทํา, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก–ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทํางานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทํางาน นายจ้างให้ลูกจ้างทํางาน.
การิตวาจก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่[การิดตะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก–ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทํางาน.การิตวาจก [การิดตะ–] (ไว) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก–ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทํางาน.
การุญ, การุณย์ การุญ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง การุณย์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด [การุน] เป็นคำนาม หมายถึง ความกรุณา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .การุญ, การุณย์ [การุน] น. ความกรุณา. (ป., ส.).
กาเรการ่อน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกะเรกะร่อน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กาเรการ่อน น. ต้นกะเรกะร่อน. (พจน. ๒๔๙๓).
กาเรียน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนูดู กระเรียน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.กาเรียน ดู กระเรียน ๑.
กาเรียนทอง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู กระเรียน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๒.กาเรียนทอง น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ดู กระเรียน ๒).
กาล ๑, กาล– กาล ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง กาล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง [กาน, กาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง เวลา, คราว, ครั้ง, หน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กาล ๑, กาล– [กาน, กาละ–] น. เวลา, คราว, ครั้ง, หน. (ป., ส.).
กาลกิริยา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[กาละ–, กาน–] เป็นคำนาม หมายถึง ความตาย เช่น ถึงซึ่งกาลกิริยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาลกิริยา [กาละ–, กาน–] น. ความตาย เช่น ถึงซึ่งกาลกิริยา. (ป.).
กาลเทศะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ[กาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาและสถานที่; ความควรไม่ควร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาลเทศะ [กาละ–] น. เวลาและสถานที่; ความควรไม่ควร. (ส.).
กาลโยค เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย[กาละ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง การกําหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ.กาลโยค [กาละ–] (โหร) น. การกําหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ.
กาลสมุตถาน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[กาละสะหฺมุด–] เป็นคำนาม หมายถึง กองโรคที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามเวลาปรกติ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในแพทยศาสตร์ .กาลสมุตถาน [กาละสะหฺมุด–] น. กองโรคที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามเวลาปรกติ. (แพทย์).
กาล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ [กาน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง คําประพันธ์.กาล ๒ [กาน] (โบ) น. คําประพันธ์.
กาลกรรณี, กาลกิณี กาลกรรณี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี กาลกิณี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี [กาละกันนี, กานละกันนี, กาละกินี, กานละกินี] เป็นคำนาม หมายถึง เสนียดจัญไร, ลักษณะที่เป็นอัปมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กาลกรฺณี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี กาลกณฺณี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี.กาลกรรณี, กาลกิณี [กาละกันนี, กานละกันนี, กาละกินี, กานละกินี] น. เสนียดจัญไร, ลักษณะที่เป็นอัปมงคล. (ส. กาลกรฺณี; ป. กาลกณฺณี).
กาลจักร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพิธีกรรมในลัทธิตันตระ ซึ่งมีข้อปฏิบัติเบื้องต้น ๕ อย่าง คือ ดื่มนํ้าเมา กินเนื้อสัตว์ พรํ่ามนตร์ แสดงท่ายั่วยวน และ เสพเมถุน ซึ่งปฏิบัติในเวลากลางคืนหรือที่มืด, กาฬจักร ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาลจักร [กาละ–] น. ชื่อพิธีกรรมในลัทธิตันตระ ซึ่งมีข้อปฏิบัติเบื้องต้น ๕ อย่าง คือ ดื่มนํ้าเมา กินเนื้อสัตว์ พรํ่ามนตร์ แสดงท่ายั่วยวน และ เสพเมถุน ซึ่งปฏิบัติในเวลากลางคืนหรือที่มืด, กาฬจักร ก็ว่า. (ส.).
กาลัญญุตา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[กาลันยุตา] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้รู้กาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาลัญญุตา [กาลันยุตา] น. ความเป็นผู้รู้กาล. (ป.).
กาลัญญู เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู[กาลันยู] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้กาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาลัญญู [กาลันยู] น. ผู้รู้กาล. (ป.).
กาลัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แก้วหุง; สายหยุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .กาลัด น. แก้วหุง; สายหยุด. (ช.).
กาลานุกาล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง งานบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมอัฐิและพระอัฐิในกาลใดกาลหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง + อนุกาล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง .กาลานุกาล (โบ) น. งานบำเพ็ญกุศลถวายพระบรมอัฐิและพระอัฐิในกาลใดกาลหนึ่ง. (ป. กาล + อนุกาล).
กาลิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้ตามเวลาที่กําหนดให้ มี ๓ อย่าง คือ ๑. ยาวกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน ได้แก่ข้าวปลาอาหาร ๒. ยามกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียงวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่นํ้าอัฐบาน ๓. สัตตาหกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาลิก น. ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้ตามเวลาที่กําหนดให้ มี ๓ อย่าง คือ ๑. ยาวกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน ได้แก่ข้าวปลาอาหาร ๒. ยามกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียงวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่นํ้าอัฐบาน ๓. สัตตาหกาลิก–ของที่เก็บไว้ฉันได้ชั่วคราวเพียง ๗ วัน ได้แก่ เภสัชทั้ง ๕. (ป.).
กาลี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วร้าย, เสนียดจัญไร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กลิ เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ.กาลี ๑ ว. ชั่วร้าย, เสนียดจัญไร. (ส. กลิ).
กาลี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระอุมา ชายาพระอิศวร เรียกว่า เจ้าแม่กาลี, ปรกติสร้างรูปเป็นหญิงผิวดำ (ส. กาลี ว่า หญิงดำ), และว่ามีอำนาจเสมือน กาล (เวลา) ที่ไม่มีผู้ใดเอาชนะได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาลี ๒ น. ชื่อหนึ่งของพระอุมา ชายาพระอิศวร เรียกว่า เจ้าแม่กาลี, ปรกติสร้างรูปเป็นหญิงผิวดำ (ส. กาลี ว่า หญิงดำ), และว่ามีอำนาจเสมือน กาล (เวลา) ที่ไม่มีผู้ใดเอาชนะได้. (ส.).
กาแล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เครื่องเรือนที่ต่อจากปั้นลมทั้ง ๒ ด้านไปไขว้กัน อยู่ตอนบนสุดของหลังคาที่ยื่นจากหน้าจั่ว อาจสลักลวดลายตามแต่จะเห็นงาม, เรียก กะแล หรือ แกแล ก็มี.กาแล (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้เครื่องเรือนที่ต่อจากปั้นลมทั้ง ๒ ด้านไปไขว้กัน อยู่ตอนบนสุดของหลังคาที่ยื่นจากหน้าจั่ว อาจสลักลวดลายตามแต่จะเห็นงาม, เรียก กะแล หรือ แกแล ก็มี.
กาแล็กซี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ระบบขนาดใหญ่ของดาวฤกษ์ ประกอบด้วยกลุ่มดาวฤกษ์ เนบิวลา และเทห์ฟากฟ้าอื่น ๆ กาแล็กซีมากกว่า ๑,๐๐๐ ล้านกาแล็กซีรวมกันเป็นเอกภพ, ทางช้างเผือก ถือเป็นกาแล็กซีหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ galaxy เขียนว่า จี-เอ-แอล-เอ-เอ็กซ์-วาย.กาแล็กซี น. ระบบขนาดใหญ่ของดาวฤกษ์ ประกอบด้วยกลุ่มดาวฤกษ์ เนบิวลา และเทห์ฟากฟ้าอื่น ๆ กาแล็กซีมากกว่า ๑,๐๐๐ ล้านกาแล็กซีรวมกันเป็นเอกภพ, ทางช้างเผือก ถือเป็นกาแล็กซีหนึ่ง. (อ. galaxy).
กาแล็กโทส เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดแอลโดเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย หลอมละลายที่ ๑๖๕°ซ-๑๖๘°ซ. โมเลกุลของกาแล็กโทสเชื่อมโยงกับโมเลกุลของกลูโคสเป็นโมเลกุลของแล็กโทสซึ่งมีในนํ้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ galactose เขียนว่า จี-เอ-แอล-เอ-ซี-ที-โอ-เอส-อี.กาแล็กโทส (วิทยา) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดแอลโดเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย หลอมละลายที่ ๑๖๕°ซ-๑๖๘°ซ. โมเลกุลของกาแล็กโทสเชื่อมโยงกับโมเลกุลของกลูโคสเป็นโมเลกุลของแล็กโทสซึ่งมีในนํ้านม. (อ. galactose).
กาว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของเหนียวที่เคี่ยวมาจากเอ็น หนัง กีบสัตว์ เป็นต้น สําหรับใช้ติดหรือผนึกสิ่งของ.กาว ๑ น. ของเหนียวที่เคี่ยวมาจากเอ็น หนัง กีบสัตว์ เป็นต้น สําหรับใช้ติดหรือผนึกสิ่งของ.
กาว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเทียนกิ่ง. ในวงเล็บ ดู เทียนกิ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู.กาว ๒ (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นเทียนกิ่ง. (ดู เทียนกิ่ง).
ก้าว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ระยะทางชั่วยกเท้าย่างไปครั้งหนึ่ง. เป็นคำกริยา หมายถึง ยกเท้าย่างไป.ก้าว น. ระยะทางชั่วยกเท้าย่างไปครั้งหนึ่ง. ก. ยกเท้าย่างไป.
ก้าวก่าย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ล่วงลํ้าเข้าไปยุ่งเกี่ยวหน้าที่ผู้อื่น, เหลื่อมลํ้าไม่เป็นระเบียบ เช่น งานก้าวก่ายกัน.ก้าวก่าย ก. ล่วงลํ้าเข้าไปยุ่งเกี่ยวหน้าที่ผู้อื่น, เหลื่อมลํ้าไม่เป็นระเบียบ เช่น งานก้าวก่ายกัน.
ก้าวเฉียง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เดินเป็นฟันปลา (ใช้แก่การแล่นเรือ); โดยปริยายใช้แก่การพูดไม่ตรงหรือพูดเลี่ยง เช่น นงลักษณ์แกล้งกล่าวก้าวเฉียง. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.ก้าวเฉียง ก. เดินเป็นฟันปลา (ใช้แก่การแล่นเรือ); โดยปริยายใช้แก่การพูดไม่ตรงหรือพูดเลี่ยง เช่น นงลักษณ์แกล้งกล่าวก้าวเฉียง. (อิเหนา).
ก้าวร้าว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกะกะระราน (ใช้แก่กิริยาและวาจาที่กระด้างและล่วงเกินผู้อื่น).ก้าวร้าว ว. เกะกะระราน (ใช้แก่กิริยาและวาจาที่กระด้างและล่วงเกินผู้อื่น).
ก้าวล่วง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ละเมิด เช่น ภิกษุก้าวล่วงสิกขาบท.ก้าวล่วง ก. ละเมิด เช่น ภิกษุก้าวล่วงสิกขาบท.
ก้าวหน้า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนแปลงของเดิมให้ดีขึ้นตามลําดับ, เจริญวัฒนาเร็วกว่าปรกติ.ก้าวหน้า ก. เปลี่ยนแปลงของเดิมให้ดีขึ้นตามลําดับ, เจริญวัฒนาเร็วกว่าปรกติ.
กาววาว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แวววาว, ฉูดฉาด, บาดตา, (ใช้แก่สี).กาววาว ว. แวววาว, ฉูดฉาด, บาดตา, (ใช้แก่สี).
กาวาง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะปรางพันธุ์หนึ่ง รสเปรี้ยวจัด.กาวาง น. ชื่อมะปรางพันธุ์หนึ่ง รสเปรี้ยวจัด.
กาแวน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Crypsirina temia ในวงศ์ Corvidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับกา รูปร่างคล้ายนกแซงแซวแต่ปลายหางกว้างกว่า, กระแวน ก็เรียก.กาแวน น. ชื่อนกชนิด Crypsirina temia ในวงศ์ Corvidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับกา รูปร่างคล้ายนกแซงแซวแต่ปลายหางกว้างกว่า, กระแวน ก็เรียก.
กาศิก, กาศิก– กาศิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ กาศิก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ [กาสิกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มาจากแคว้นกาสี, เหมือนไหม, แกมไหม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.กาศิก, กาศิก– [กาสิกะ–] (แบบ) ว. ที่มาจากแคว้นกาสี, เหมือนไหม, แกมไหม. (ส.; ป. กาสิก).
กาศิกพัสตร์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าเนื้อละเอียดมาจากแคว้นกาสี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาศิกพัสตร์ น. ผ้าเนื้อละเอียดมาจากแคว้นกาสี. (ส.).
กาษฐะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อะ[กาดสะถะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กฏฺ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.กาษฐะ [กาดสะถะ] (แบบ) น. ไม้ฟืน; ไม้วัด (คือใช้ในมาตราวัด). (ส.; ป. กฏฺ).
กาษา, กาสา กาษา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา กาสา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าชนิดหนึ่ง เช่น คลังถวายผ้ากาษา. (กฎ. ราชบุรี ๒/๑๐๗), และพระไตรภูวนาทิตยวงศ์ก็ให้ผ้าลายและเสื้อกาสาคนละสํารับ. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ พ.ศ. ๒๔๙๘, ฝันว่าห่มผ้าขาวกาสา. ในวงเล็บ มาจาก ตำราทำนายฝัน ใน หนังสือตำราโชคต่าง ๆ เลือกคัดจากฉบับของโบราณ นาวาตรีหลวงวุฒิวารีรณ ร.น. พิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๗. (ทมิฬและมลายู กาสา ว่า ผ้าดิบ, ผ้าหยาบ).กาษา, กาสา ๑ น. ผ้าชนิดหนึ่ง เช่น คลังถวายผ้ากาษา. (กฎ. ราชบุรี ๒/๑๐๗), และพระไตรภูวนาทิตยวงศ์ก็ให้ผ้าลายและเสื้อกาสาคนละสํารับ. (พงศ. กรุงเก่า), ฝันว่าห่มผ้าขาวกาสา. (ตําราทํานายฝัน). (ทมิฬและมลายู กาสา ว่า ผ้าดิบ, ผ้าหยาบ).
กาสร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-รอ-เรือ[–สอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ควาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาสร [–สอน] (แบบ) น. ควาย. (ส.).
กาสะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง การไอ, ใช้ว่า พระกาสะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กาสะ (ราชา) น. การไอ, ใช้ว่า พระกาสะ. (ป., ส.).
กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดูใน กา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.กาสัก ๑ ดูใน กา ๑.
กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Leea macrophylla Roxb. ex Hornem. ในวงศ์ Leeaceae ใบใหญ่ ใช้ทํายาได้, พญากาสัก เสือนั่งร่ม หรือ ตาลปัตรฤๅษี ก็เรียก.กาสัก ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Leea macrophylla Roxb. ex Hornem. ในวงศ์ Leeaceae ใบใหญ่ ใช้ทํายาได้, พญากาสัก เสือนั่งร่ม หรือ ตาลปัตรฤๅษี ก็เรียก.
กาสา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง แร่ชนิดหนึ่งมีสีเขียว.กาสา ๒ น. แร่ชนิดหนึ่งมีสีเขียว.
กาสามปีก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Vitex peduncularis Wall. ex Schauer ในวงศ์ Labiatae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทํายาได้, กาจับหลัก หรือ ตีนนก ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Flemingia sootepensis Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทํายาได้. (๓) ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Pueraria striata Kurz ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ดอกเล็กมาก สีม่วง รูปดอกถั่ว ฝักมี ๘–๑๐ เมล็ด. (๔) ดู ตีนนก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-นอ-หนู-กอ-ไก่ (๑).กาสามปีก น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Vitex peduncularis Wall. ex Schauer ในวงศ์ Labiatae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทํายาได้, กาจับหลัก หรือ ตีนนก ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Flemingia sootepensis Craib ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ใช้ทํายาได้. (๓) ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Pueraria striata Kurz ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ดอกเล็กมาก สีม่วง รูปดอกถั่ว ฝักมี ๘–๑๐ เมล็ด. (๔) ดู ตีนนก (๑).
กาสาร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–สาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สระ, บ่อ, ทะเลสาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กาสาร [–สาน] (แบบ) น. สระ, บ่อ, ทะเลสาบ. (ส.).
กาสาว–, กาสาวะ กาสาว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน กาสาวะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [กาสาวะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าย้อมฝาด, เขียนเป็น กาสาว์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาสาว–, กาสาวะ [กาสาวะ–] น. ผ้าย้อมฝาด, เขียนเป็น กาสาว์ ก็มี. (ป.).
กาสาวพัสตร์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าย้อมฝาด คือผ้าเหลืองพระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาสาว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน + ภาษาสันสกฤต วสฺตร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ = ผ้า .กาสาวพัสตร์ น. ผ้าย้อมฝาด คือผ้าเหลืองพระ. (ป. กาสาว + ส. วสฺตร = ผ้า).
กาสิโน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง สถานการพนันขนาดใหญ่และโอ่โถง มีการพนันหลายชนิด เช่น รูเล็ตต์ ไพ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส casino เขียนว่า ซี-เอ-เอส-ไอ-เอ็น-โอ.กาสิโน น. สถานการพนันขนาดใหญ่และโอ่โถง มีการพนันหลายชนิด เช่น รูเล็ตต์ ไพ่. (ฝ. casino).
กาหล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง[–หน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แตรงอน เช่น หมื่นกาหลวิชัยมีหน้าที่ประโคมแตรงอน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอะอะอื้ออึง เช่น แตกตื่นกันกาหลอลหม่าน, ยามพลบสยงกึกก้อง กาหล แม่ฮา. (กำสรวล).กาหล [–หน] (แบบ) น. แตรงอน เช่น หมื่นกาหลวิชัยมีหน้าที่ประโคมแตรงอน. ว. เอะอะอื้ออึง เช่น แตกตื่นกันกาหลอลหม่าน, ยามพลบสยงกึกก้อง กาหล แม่ฮา. (กำสรวล).
กาหลง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Bauhinia acuminata L. ในวงศ์ Leguminosae ปลายใบหยักเว้าลึก ดอกใหญ่ สีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ.กาหลง น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Bauhinia acuminata L. ในวงศ์ Leguminosae ปลายใบหยักเว้าลึก ดอกใหญ่ สีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ.
กาหลา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ [–หฺลา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .กาหลา ๑ [–หฺลา] ว. เหมือนดอกไม้. (ช.).
กาหลา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ดู กะลา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.กาหลา ๒ ดู กะลา ๒.
กาหัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง นกเงือก. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กาหัก น. นกเงือก. (พจน. ๒๔๙๓).
กาเหว่า เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อาดู ดุเหว่า เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา.กาเหว่า ดู ดุเหว่า.
กาไหล่ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง กะไหล่.กาไหล่ ก. กะไหล่.
กาฬ, กาฬ– กาฬ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา กาฬ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา [กาน, กาละ–, กานละ–] เป็นคำนาม หมายถึง รอยดําหรือแดงที่ผุดตามร่างกายคนเมื่อตายแล้ว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดํา, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาฬ, กาฬ– [กาน, กาละ–, กานละ–] น. รอยดําหรือแดงที่ผุดตามร่างกายคนเมื่อตายแล้ว. ว. ดํา, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส. (ป.).
กาฬจักร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กาละจัก] เป็นคำนาม หมายถึง กาลจักร.กาฬจักร [กาละจัก] น. กาลจักร.
กาฬปักษ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด[กาละ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฝ่ายดํา คือ ข้างแรม.กาฬปักษ์ [กาละ–] ว. ฝ่ายดํา คือ ข้างแรม.
กาฬปักษี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี[กาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เป็นเมื่อมารดาออกไฟแล้วได้ ๕ เดือน ยังอยู่ในเขตเรือนไฟ มีอาการร้องไห้แล้วหอบ หรือร้องไห้เมื่อหลับ สะดุ้งผวาตื่นตกใจ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในแพทยศาสตร์ .กาฬปักษี [กาละ–] น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เป็นเมื่อมารดาออกไฟแล้วได้ ๕ เดือน ยังอยู่ในเขตเรือนไฟ มีอาการร้องไห้แล้วหอบ หรือร้องไห้เมื่อหลับ สะดุ้งผวาตื่นตกใจ. (แพทย์).
กาฬมุข เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง เกียรติมุข.กาฬมุข น. เกียรติมุข.
กาฬโรค เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย[กานละ–, กาละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น.กาฬโรค [กานละ–, กาละ–] น. ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น.
กาฬวาต เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[กานละ–] เป็นคำนาม หมายถึง ลมพายุใหญ่อย่างหนึ่ง เช่น ด้วยกําลังกาฬวาตโบกเบียน.กาฬวาต [กานละ–] น. ลมพายุใหญ่อย่างหนึ่ง เช่น ด้วยกําลังกาฬวาตโบกเบียน.
กาฬพฤกษ์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia grandis L.f. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นดํา ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็ก สีแดงคล้ำแล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมส้ม ฝักใหญ่อ้วนสั้น ผิวขรุขระ ด้านข้างมีสัน เป็นพรรณไม้ที่นําเข้ามาปลูก.กาฬพฤกษ์ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia grandis L.f. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นดํา ใบอ่อนสีแดง ดอกเล็ก สีแดงคล้ำแล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมส้ม ฝักใหญ่อ้วนสั้น ผิวขรุขระ ด้านข้างมีสัน เป็นพรรณไม้ที่นําเข้ามาปลูก.
กาฬาวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่[–วะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีดํา, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี สีดํา ๒. คังไคยหัตถี สีเหมือนสีนํ้าไหล ๓. ปัณฑรหัตถี สีขาวดังเขาไกรลาส ๔. ตามพหัตถี สีทองแดง ๕. ปิงคลหัตถี สีทองอ่อนดั่งสีตาแมว ๖. คันธหัตถี สีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม ๗. มงคลหัตถี สีนิลอัญชัน มีกิริยาท่าทางเดินงดงาม ๘. เหมหัตถี สีเหลืองดั่งทอง ๙. อุโบสถหัตถี สีทองคํา ๑๐. ฉัททันตหัตถี กายสีขาวบริสุทธิ์ดั่งสีเงินยวง แต่ปากและเท้าสีแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กาฬาวก [–วะกะ] น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีดํา, ช้าง ๑๐ ตระกูล คือ ๑. กาฬาวกหัตถี สีดํา ๒. คังไคยหัตถี สีเหมือนสีนํ้าไหล ๓. ปัณฑรหัตถี สีขาวดังเขาไกรลาส ๔. ตามพหัตถี สีทองแดง ๕. ปิงคลหัตถี สีทองอ่อนดั่งสีตาแมว ๖. คันธหัตถี สีไม้กฤษณา มีกลิ่นตัวหอม ๗. มงคลหัตถี สีนิลอัญชัน มีกิริยาท่าทางเดินงดงาม ๘. เหมหัตถี สีเหลืองดั่งทอง ๙. อุโบสถหัตถี สีทองคํา ๑๐. ฉัททันตหัตถี กายสีขาวบริสุทธิ์ดั่งสีเงินยวง แต่ปากและเท้าสีแดง. (ป.).
กาฮัง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งูดู กะวะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒.กาฮัง ดู กะวะ ๒.
กำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง งอนิ้วมือทั้ง ๔ ให้จดอุ้งมือ, เอานิ้วมือทั้ง ๕ โอบรอบสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, อาการที่งอนิ้วมือทั้ง ๕ รวบสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้. เป็นคำนาม หมายถึง มือที่กําเข้า; ปริมาณของเต็มมือที่กําเข้า, กำมือ ก็ว่า; มาตราวัดรอบของกลม เมื่อวัดได้เท่าไร แล้วทบกึ่งได้ยาวราว ๑๐ เซนติเมตร เช่น ของกลมวัดรอบได้ยาว ๒๐ เซนติเมตร ของกลมนั้นเรียกว่ามีขนาด ๑ กํา, มี ๓ ชนิด คือ ๑. กําสลึง (ยาว ๔ นิ้ว ๑ กระเบียด หรือ ๑๐.๗๕ เซนติเมตร) ๒. กําเฟื้อง (ยาว ๔ นิ้วครึ่งกระเบียด หรือ ๑๐.๕ เซนติเมตร) ๓. กําสองไพ (ยาว ๔ นิ้ว ๒ หุน หรือ ๑๐.๒๕ เซนติเมตร); ลักษณนามเรียกผักหรือหญ้าที่มัดไว้ เช่น ผักกําหนึ่ง หญ้า ๒ กํา.กำ ๑ ก. งอนิ้วมือทั้ง ๔ ให้จดอุ้งมือ, เอานิ้วมือทั้ง ๕ โอบรอบสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, อาการที่งอนิ้วมือทั้ง ๕ รวบสิ่งใดสิ่งหนึ่งไว้. น. มือที่กําเข้า; ปริมาณของเต็มมือที่กําเข้า, กำมือ ก็ว่า; มาตราวัดรอบของกลม เมื่อวัดได้เท่าไร แล้วทบกึ่งได้ยาวราว ๑๐ เซนติเมตร เช่น ของกลมวัดรอบได้ยาว ๒๐ เซนติเมตร ของกลมนั้นเรียกว่ามีขนาด ๑ กํา, มี ๓ ชนิด คือ ๑. กําสลึง (ยาว ๔ นิ้ว ๑ กระเบียด หรือ ๑๐.๗๕ เซนติเมตร) ๒. กําเฟื้อง (ยาว ๔ นิ้วครึ่งกระเบียด หรือ ๑๐.๕ เซนติเมตร) ๓. กําสองไพ (ยาว ๔ นิ้ว ๒ หุน หรือ ๑๐.๒๕ เซนติเมตร); ลักษณนามเรียกผักหรือหญ้าที่มัดไว้ เช่น ผักกําหนึ่ง หญ้า ๒ กํา.
กำเกรียก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันใช้กําเบี้ยหรือเม็ดอื่น ๆ แล้วทายกัน.กำเกรียก น. ชื่อการพนันใช้กําเบี้ยหรือเม็ดอื่น ๆ แล้วทายกัน.
กำขี้ดีกว่ากำตด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ได้บ้างดีกว่าไม่ได้อะไรเลย.กำขี้ดีกว่ากำตด (สำ) ได้บ้างดีกว่าไม่ได้อะไรเลย.
กำตัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นของเด็กชนิดหนึ่ง; การพนันชนิดหนึ่ง ลักษณะเหมือนกําถั่ว ใช้กําเบี้ย ต่างคนต่างถือแต้ม ไม่มีเจ้ามือ กําแล้วจะเติมหรือชักออกก็ได้.กำตัด น. ชื่อการเล่นของเด็กชนิดหนึ่ง; การพนันชนิดหนึ่ง ลักษณะเหมือนกําถั่ว ใช้กําเบี้ย ต่างคนต่างถือแต้ม ไม่มีเจ้ามือ กําแล้วจะเติมหรือชักออกก็ได้.
กำถั่ว เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันอย่างเดียวกับโปกำ แต่ใช้มือกำเบี้ยแทนการใช้ถ้วยครอบ. ในวงเล็บ ดู โปกำ ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .กำถั่ว น. ชื่อการพนันอย่างเดียวกับโปกำ แต่ใช้มือกำเบี้ยแทนการใช้ถ้วยครอบ. (ดู โปกำ ประกอบ).
กำปั้น เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง มือที่กําเข้าให้แน่นเพื่อจะทุบเป็นต้น.กำปั้น น. มือที่กําเข้าให้แน่นเพื่อจะทุบเป็นต้น.
กำมา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ศอกตูม คือ ศอกที่กํานิ้วมือ, กํา ก็เรียก เช่น ๒ ศอกกํา คือ ๒ ศอกกับอีกศอกตูมหนึ่ง.กำมา น. ศอกตูม คือ ศอกที่กํานิ้วมือ, กํา ก็เรียก เช่น ๒ ศอกกํา คือ ๒ ศอกกับอีกศอกตูมหนึ่ง.
กำมือ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง มือที่กําเข้า; ปริมาณของเต็มมือที่กําเข้า; กำ ก็ว่า; มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๔ หยิบมือ = ๑ กำมือ ๔ กำมือ = ๑ ฟายมือ และอีกแบบหนึ่ง ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ ๘ กำมือ = ๑ จังออน.กำมือ น. มือที่กําเข้า; ปริมาณของเต็มมือที่กําเข้า; กำ ก็ว่า; มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๔ หยิบมือ = ๑ กำมือ ๔ กำมือ = ๑ ฟายมือ และอีกแบบหนึ่ง ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ ๘ กำมือ = ๑ จังออน.
กำหมัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง มือที่กําเข้าให้แน่นเพื่อจะชกหรือต่อย.กำหมัด น. มือที่กําเข้าให้แน่นเพื่อจะชกหรือต่อย.
กำ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ซี่ล้อรถหรือเกวียน.กำ ๒ น. ซี่ล้อรถหรือเกวียน.
กำ ๓, กำม กำ ความหมายที่ ๓ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ กำม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรรม เช่น ไข้เจ็บหมอตั้งกําไว้, ท่านว่าเป็นกํามของเขาเอง. ในวงเล็บ มาจาก Lois Siamoises Code de 1805 A.D. XIV พระอัยการเบ็ดเสร็จ.กำ ๓, กำม (โบ) น. กรรม เช่น ไข้เจ็บหมอตั้งกําไว้, ท่านว่าเป็นกํามของเขาเอง. (อัยการเบ็ดเสร็จ).
ก่ำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใส, เข้ม, จัด, (มักใช้แก่สีแดงหรือทองที่สุก).ก่ำ ว. สุกใส, เข้ม, จัด, (มักใช้แก่สีแดงหรือทองที่สุก).
ก้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ด้าน, ฝ่าย, ทิศ.ก้ำ (โบ) น. ด้าน, ฝ่าย, ทิศ.
กำกวม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นกขนปีกสีเขียว ปากแดง กินกุ้งและปลา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กำกวม ๑ น. นกขนปีกสีเขียว ปากแดง กินกุ้งและปลา. (พจน. ๒๔๙๓).
กำกวม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลือบคลุม, คลุมเครือ, มีความหมายได้หลายนัย.กำกวม ๒ ว. เคลือบคลุม, คลุมเครือ, มีความหมายได้หลายนัย.
กำกัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง จํากัดเข้า, จํากัดให้แคบเข้า.กำกัด ก. จํากัดเข้า, จํากัดให้แคบเข้า.
กำกับ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแล, ควบคุม; ควบ ในความเช่น มีหนังสือกํากับมาด้วย.กำกับ ก. ดูแล, ควบคุม; ควบ ในความเช่น มีหนังสือกํากับมาด้วย.
ก้ำกึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกือบเท่า ๆ กัน, พอ ๆ กัน, ไล่เลี่ยกัน, เช่น ฝีมือกํ้ากึ่งกัน.ก้ำกึ่ง ว. เกือบเท่า ๆ กัน, พอ ๆ กัน, ไล่เลี่ยกัน, เช่น ฝีมือกํ้ากึ่งกัน.
กำกูน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง เช่น คูนกํากูนกํายาน. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, กําคูน ก็ว่า.กำกูน น. ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง เช่น คูนกํากูนกํายาน. (ลอ), กําคูน ก็ว่า.
ก้ำเกิน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล่วงเกิน, เกินเลย.ก้ำเกิน ว. ล่วงเกิน, เกินเลย.
กำเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งูดู กางเกียง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู.กำเกียง ดู กางเกียง.
กำคูน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กํากูน เช่น กรรบูรแกมกําคูนคันธ์. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กำคูน น. กํากูน เช่น กรรบูรแกมกําคูนคันธ์. (สมุทรโฆษ).
ก่ำเคือ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นมะกลํ่าตาหนู. ในวงเล็บ ดู มะกลํ่า เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นิก-คะ-หิด-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา.ก่ำเคือ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นมะกลํ่าตาหนู. (ดู มะกลํ่า).
กำจร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-รอ-เรือ[–จอน] เป็นคำกริยา หมายถึง ฟุ้งไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ขจร เขียนว่า ขอ-ไข่-จอ-จาน-รอ-เรือ ว่า ไปในอากาศ .กำจร [–จอน] ก. ฟุ้งไป. (ส. ขจร ว่า ไปในอากาศ).
กำจัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. ในวงศ์ Rutaceae ต้นและกิ่งก้านเป็นหนาม ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๕–๘ คู่ ผลเล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๖–๗ มิลลิเมตร ผิวขรุขระ มีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นลูกผักชี เมล็ดกลมดําเป็นมัน ผลใช้เป็นเครื่องแกงเพื่อชูรส, พายัพเรียก มะข่วง หรือ หมากข่วง.กำจัด ๑ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. ในวงศ์ Rutaceae ต้นและกิ่งก้านเป็นหนาม ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๕–๘ คู่ ผลเล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๖–๗ มิลลิเมตร ผิวขรุขระ มีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นลูกผักชี เมล็ดกลมดําเป็นมัน ผลใช้เป็นเครื่องแกงเพื่อชูรส, พายัพเรียก มะข่วง หรือ หมากข่วง.
กำจัด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขับไล่, ปราบ, ทําให้สิ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ขฺจาต่ เขียนว่า ขอ-ไข่-พิน-ทุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก ว่า พลัด, แยก .กำจัด ๒ ก. ขับไล่, ปราบ, ทําให้สิ้นไป. (ข. ขฺจาต่ ว่า พลัด, แยก).
กำจาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระจาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ขฺจาย เขียนว่า ขอ-ไข่-พิน-ทุ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.กำจาย ๑ ก. กระจาย. (ข. ขฺจาย).
กำจาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Caesalpinia digyna Rottler ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ฝักพองหนา มีรสฝาด ใช้ย้อมหนังได้ เมล็ดสีดําให้นํ้ามันจุดไฟ. (๒) ดู ขี้อ้าย เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก (๑).กำจาย ๒ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Caesalpinia digyna Rottler ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นมีหนาม ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ฝักพองหนา มีรสฝาด ใช้ย้อมหนังได้ เมล็ดสีดําให้นํ้ามันจุดไฟ. (๒) ดู ขี้อ้าย (๑).
กำจาย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกงาช้างที่หักติดอยู่ในไม้หรือสิ่งอื่น ๆ ว่า งากําจาย. ในวงเล็บ มาจาก อักขราภิธานศรับท์ ของ หมอปรัดเล.กำจาย ๓ น. เรียกงาช้างที่หักติดอยู่ในไม้หรือสิ่งอื่น ๆ ว่า งากําจาย. (ปรัดเล).
กำชับ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง สั่งยํ้าให้แน่นอน.กำชับ ก. สั่งยํ้าให้แน่นอน.
กำชับกำชา เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ยํ้าแล้วยํ้าอีก เช่น แล้วกําชับกําชาข้าไท. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.กำชับกำชา ก. ยํ้าแล้วยํ้าอีก เช่น แล้วกําชับกําชาข้าไท. (คาวี).