กระกวด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงชัน, กรวด, กรกวด ก็ว่า เช่น อยู่จอมด้วยกรกวด กิ่งก้านรวดรยงงามอยู่น้นน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี.กระกวด (โบ; กลอน) ว. สูงชัน, กรวด, กรกวด ก็ว่า เช่น อยู่จอมด้วยกรกวด กิ่งก้านรวดรยงงามอยู่น้นน. (ม. คำหลวง มัทรี).
กระกอง, ตระกอง กระกอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู ตระกอง เขียนว่า ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง กอด, เกี่ยวพัน, เช่น เกษแก้วกระกองกลม แลกทดกทันงาม. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.กระกอง, ตระกอง (แบบ) ก. กอด, เกี่ยวพัน, เช่น เกษแก้วกระกองกลม แลกทดกทันงาม. (เสือโค).
กระกัด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา. ในวงเล็บ มาจาก พระมาลัยคำหลวง พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ฉบับหอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๗๘, ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, เขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.กระกัด (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา. (มาลัยคําหลวง), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, เขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
กระกัติ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น อย่ายักษ์มลักกรีฑาดล ด้าวอำเภอพลลการกระกัติกามา. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กระกัติ (โบ) ก. กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น อย่ายักษ์มลักกรีฑาดล ด้าวอำเภอพลลการกระกัติกามา. (สรรพสิทธิ์).
กระกี้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ต้นตะเคียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .กระกี้ น. ต้นตะเคียน. (ข.).
กระกูล เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตระกูล. ในวงเล็บ มาจาก Lois Siamoises Code de 1805 A.D. XIV พระอัยการเบ็ดเสร็จ.กระกูล (เลิก) น. ตระกูล. (อัยการเบ็ดเสร็จ).
กระเกรอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[–เกฺริก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระเกริก, เสียงดังอึกทึก, เช่น กระเกรอกทงงท้องธรณี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กระเกรอก [–เกฺริก] (กลอน) ว. กระเกริก, เสียงดังอึกทึก, เช่น กระเกรอกทงงท้องธรณี. (สมุทรโฆษ).
กระเกริก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอึกทึก เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา. ในวงเล็บ มาจาก อุเทนคำฉันท์ พระยาอิศรานุภาพ (อ้น) แต่ง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กระเกริก (กลอน) ว. เสียงดังอึกทึก เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา. (อุเทน).
กระเกริ่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระบือ เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา. ในวงเล็บ มาจาก อุเทนคำฉันท์ พระยาอิศรานุภาพ (อ้น) แต่ง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กระเกริ่น (กลอน) ว. ระบือ เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา. (อุเทน).
–กระเกรียบ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ใช้เข้าคู่กับคำ กระกรับ เป็น กระกรับกระเกรียบ.–กระเกรียบ ใช้เข้าคู่กับคำ กระกรับ เป็น กระกรับกระเกรียบ.
กระเกรียม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำกริยา หมายถึง ตระเตรียม, จัดไว้ให้บริบูรณ์, เช่น กระเกรียมพร้อมเสร็จสําเร็จการ. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.กระเกรียม (โบ; เลิก) ก. ตระเตรียม, จัดไว้ให้บริบูรณ์, เช่น กระเกรียมพร้อมเสร็จสําเร็จการ. (คาวี).
กระเกรียว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเกรียว ๆ เช่น ก็ร้องกระเกรียวเฉียวฉาว. ในวงเล็บ มาจาก สูตรธนูคำฉันท์ จากวชิรญาณรายเดือน ปีที่ ๒๐ ตอนที่ ๗๔ และ ๗๕.กระเกรียว (โบ; กลอน) ว. เสียงดังเกรียว ๆ เช่น ก็ร้องกระเกรียวเฉียวฉาว. (สุธน).
กระเกรี้ยว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์.กระเกรี้ยว (โบ; กลอน) ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
กระเกลือก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เกลือกไปมา เช่น กลํ่าตากระเลือก กระเกลือกกลอกตากลม. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.กระเกลือก (โบ; กลอน) ก. เกลือกไปมา เช่น กลํ่าตากระเลือก กระเกลือกกลอกตากลม. (ลอ).
กระคน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ประโคน คือ สายรัดจากใต้สัปคับไปที่อกช้างหลังขาหน้าแล้วลอดมาบรรจบกัน โยงใต้ท้องช้างและที่หน้าขาหน้าไปจากสายชนักที่คอช้าง. ในวงเล็บ รูปภาพ กระคน.กระคน (กลอน) น. ประโคน คือ สายรัดจากใต้สัปคับไปที่อกช้างหลังขาหน้าแล้วลอดมาบรรจบกัน โยงใต้ท้องช้างและที่หน้าขาหน้าไปจากสายชนักที่คอช้าง. (รูปภาพ กระคน).
กระคาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระคาย เช่นบุกแฝกกระคายคา ละเลาะลัดลดาดอน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ กัณฑ์มหาราช.กระคาย (กลอน) ว. ระคาย เช่นบุกแฝกกระคายคา ละเลาะลัดลดาดอน. (ม. ฉันท์ มหาราช).
กระคุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง คุกคลาน เช่น ทั้งล้มทั้งลุกกระคุกหัวเข่า. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑.กระคุก (โบ) ก. คุกคลาน เช่น ทั้งล้มทั้งลุกกระคุกหัวเข่า. (ไตรภูมิ).
กระงกกระงัน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งก ๆ งัน ๆ เช่น ถึงว่าจะกระงกกระงันงมเงื่อนเหงาหง่อยพี่ก็ไม่คิด. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.กระงกกระงัน (โบ) ว. งก ๆ งัน ๆ เช่น ถึงว่าจะกระงกกระงันงมเงื่อนเหงาหง่อยพี่ก็ไม่คิด. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
กระงกกระเงิ่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งก ๆ เงิ่น ๆ.กระงกกระเงิ่น ว. งก ๆ เงิ่น ๆ.
กระง่องกระแง่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรง ทําให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระย่องกระแย่ง หรือ ง่องแง่ง ก็ว่า.กระง่องกระแง่ง ว. อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรง ทําให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระย่องกระแย่ง หรือ ง่องแง่ง ก็ว่า.
–กระงอด มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ออ-อ่าง-ดอ-เด็กใช้เข้าคู่กับคำ กระเง้า เป็น กระเง้ากระงอด.–กระงอด ใช้เข้าคู่กับคำ กระเง้า เป็น กระเง้ากระงอด.
กระง่อนกระแง่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-งอ-งู-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า.กระง่อนกระแง่น ว. คลอนแคลน, ไม่แน่น, ไม่มั่นคง, ง่อนแง่น ก็ว่า.
กระเง้ากระงอด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กะบึงกะบอน, โกรธอย่างแสนงอน, เง้างอด หรือ เง้า ๆ งอด ๆ ก็ว่า.กระเง้ากระงอด ว. กะบึงกะบอน, โกรธอย่างแสนงอน, เง้างอด หรือ เง้า ๆ งอด ๆ ก็ว่า.
กระโงก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-งอ-งู-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นกยูง, กุโงก ก็ว่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร โกฺงก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-งอ-งู-กอ-ไก่.กระโงก (กลอน) น. นกยูง, กุโงก ก็ว่า. (เทียบ ข. โกฺงก).
กระจก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง แก้วที่ทําเป็นแผ่น; โรคต้อชนิดหนึ่ง เรียกว่า ต้อกระจก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กาจ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน = แก้ว, ดินที่ใช้ทำแก้ว .กระจก น. แก้วที่ทําเป็นแผ่น; โรคต้อชนิดหนึ่ง เรียกว่า ต้อกระจก. (ป., ส. กาจ = แก้ว, ดินที่ใช้ทำแก้ว).
กระจกเงา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นกระจกฉาบด้านหลังด้วยแผ่นบาง ๆ ของโลหะเงินหรือโลหะเจือปรอทแล้วทาสีทับ ใช้สําหรับส่องหน้าเป็นต้น, มักเรียกสั้น ๆ ว่า กระจก, ลักษณนามว่า บาน, ราชาศัพท์ว่า พระฉาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง วัตถุที่มีผิวมันสามารถส่งภาพหรือแสงสะท้อนกลับได้.กระจกเงา น. แผ่นกระจกฉาบด้านหลังด้วยแผ่นบาง ๆ ของโลหะเงินหรือโลหะเจือปรอทแล้วทาสีทับ ใช้สําหรับส่องหน้าเป็นต้น, มักเรียกสั้น ๆ ว่า กระจก, ลักษณนามว่า บาน, ราชาศัพท์ว่า พระฉาย; (วิทยา) วัตถุที่มีผิวมันสามารถส่งภาพหรือแสงสะท้อนกลับได้.
กระจกตา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนใสของตา มีรูปกลมแบน สีใส พื้นหน้านูนออกพื้นหลังหวำ หนาประมาณ ๑ มิลลิเมตร ประกอบอยู่เบื้องหน้าของดวงตา.กระจกตา น. ส่วนใสของตา มีรูปกลมแบน สีใส พื้นหน้านูนออกพื้นหลังหวำ หนาประมาณ ๑ มิลลิเมตร ประกอบอยู่เบื้องหน้าของดวงตา.
กระจกนูน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่มีผิวมัน ลักษณะกลีบบัวควํ่า สามารถสะท้อนแสงให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งมองเห็นได้ที่ผิวกระจกนั้น.กระจกนูน น. วัตถุที่มีผิวมัน ลักษณะกลีบบัวควํ่า สามารถสะท้อนแสงให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งมองเห็นได้ที่ผิวกระจกนั้น.
กระจกฝ้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กระจกโปร่งแสงคือแสงลอดผ่านได้บ้าง แต่ตาไม่สามารถมองทะลุผ่านไปเห็นวัตถุอีกข้างหนึ่งได้.กระจกฝ้า น. กระจกโปร่งแสงคือแสงลอดผ่านได้บ้าง แต่ตาไม่สามารถมองทะลุผ่านไปเห็นวัตถุอีกข้างหนึ่งได้.
กระจกเว้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่มีผิวมัน ลักษณะกลีบบัวหงาย สามารถสะท้อนแสงให้เกิดภาพจริงหัวกลับได้บนจอที่ขวางรับแสงสะท้อน.กระจกเว้า น. วัตถุที่มีผิวมัน ลักษณะกลีบบัวหงาย สามารถสะท้อนแสงให้เกิดภาพจริงหัวกลับได้บนจอที่ขวางรับแสงสะท้อน.
กระจกหุง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระจกสีชนิดบาง ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมมีสีต่าง ๆ ใช้ประดับอาคาร วัตถุ หรือเครื่องใช้เป็นต้น.กระจกหุง น. กระจกสีชนิดบาง ลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมมีสีต่าง ๆ ใช้ประดับอาคาร วัตถุ หรือเครื่องใช้เป็นต้น.
กระจง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Tragulidae ที่เล็กที่สุด รูปร่างคล้ายกวาง แต่ไม่มีเขา ตัวผู้มีเขี้ยวแหลมคมงอกออกมาซึ่งมีผู้นิยมใช้เป็นเครื่องราง มี ๒ ชนิด คือ กระจงควาย (Tragulus napu) สูงราว ๓๕ เซนติเมตร และกระจงเล็ก (T. javanicus) สูงราว ๒๕ เซนติเมตร, พายัพเรียก ไก้. (มลายู กันจิล).กระจง น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องในวงศ์ Tragulidae ที่เล็กที่สุด รูปร่างคล้ายกวาง แต่ไม่มีเขา ตัวผู้มีเขี้ยวแหลมคมงอกออกมาซึ่งมีผู้นิยมใช้เป็นเครื่องราง มี ๒ ชนิด คือ กระจงควาย (Tragulus napu) สูงราว ๓๕ เซนติเมตร และกระจงเล็ก (T. javanicus) สูงราว ๒๕ เซนติเมตร, พายัพเรียก ไก้. (มลายู กันจิล).
กระจร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-รอ-เรือ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ต้นสลิด เช่น กระทุ่มกระจรแล้ คชน้าวกาหลง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพงศาวดารเหนือ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศ วริยาลงกรณ์ ทรงพระนิพนธ์, ฉบับโรงพิมพ์ไท ร.ศ. ๑๒๗. (แผลงมาจาก ขจร).กระจร ๑ (กลอน) น. ต้นสลิด เช่น กระทุ่มกระจรแล้ คชน้าวกาหลง. (พงศ. เหนือ). (แผลงมาจาก ขจร).
กระจร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-รอ-เรือ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ฟุ้งไป เช่น ให้กระจรกิจจาในนุสนธิ์. ในวงเล็บ มาจาก พาลีสอนน้อง ของ นรินทร์อินทร์. (แผลงมาจาก ขจร).กระจร ๒ (กลอน) ก. ฟุ้งไป เช่น ให้กระจรกิจจาในนุสนธิ์. (พาลีสอนน้อง). (แผลงมาจาก ขจร).
กระจอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Passeridae ตัวลาย มี ๔ ชนิด ชนิดที่มีชุกชุมอาศัยตามชายคาบ้านเรือน เรียก กระจอกบ้าน (Passer montanus) อีก ๓ ชนิด คือ กระจอกตาล (P. flaveolus) กระจอกป่าท้องเหลือง (P. rutilans) และกระจอกใหญ่ (P. domesticus).กระจอก ๑ น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Passeridae ตัวลาย มี ๔ ชนิด ชนิดที่มีชุกชุมอาศัยตามชายคาบ้านเรือน เรียก กระจอกบ้าน (Passer montanus) อีก ๓ ชนิด คือ กระจอกตาล (P. flaveolus) กระจอกป่าท้องเหลือง (P. rutilans) และกระจอกใหญ่ (P. domesticus).
กระจอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เล็บ เช่น กระจอกสอกายใหญ่หน้า เล็กลาน หล็อนแฮ. ในวงเล็บ มาจาก โคลงตำราช้าง พระบวรราชนิพนธ์ ในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๑๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กฺรจก เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-จอ-จาน-กอ-ไก่ ว่า เล็บ .กระจอก ๒ (โบ) น. เล็บ เช่น กระจอกสอกายใหญ่หน้า เล็กลาน หล็อนแฮ. (ตําราช้างคําโคลง). (ข. กฺรจก ว่า เล็บ).
กระจอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เขยก (ใช้แก่ขา). ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ขฺจก เขียนว่า ขอ-ไข่-พิน-ทุ-จอ-จาน-กอ-ไก่ ว่า ขาพิการ ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, เช่น เรื่องกระจอก, ต่ำต้อย เช่น คนกระจอก.กระจอก ๓ ว. เขยก (ใช้แก่ขา). (ข. ขฺจก ว่า ขาพิการ); (ปาก) ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, เช่น เรื่องกระจอก, ต่ำต้อย เช่น คนกระจอก.
กระจอกงอกง่อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากจนเข็ญใจ.กระจอกงอกง่อย ว. ยากจนเข็ญใจ.
กระจอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะแมวอย่างหนึ่ง สีตัวดําทั้งหมดมีขนสีเทาล้อมรอบปาก ตาสีเหลือง เรียกว่า แมวกระจอก. (โชค–โบราณ).กระจอก ๔ น. ลักษณะแมวอย่างหนึ่ง สีตัวดําทั้งหมดมีขนสีเทาล้อมรอบปาก ตาสีเหลือง เรียกว่า แมวกระจอก. (โชค–โบราณ).
กระจอกชวา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Padda oryzivora ในวงศ์ Estrildidae มีถิ่นกําเนิดในเกาะชวาและเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เคยนํามาเลี้ยงใช้เสี่ยงทาย จึงเรียกว่า นกหมอดู.กระจอกชวา น. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Padda oryzivora ในวงศ์ Estrildidae มีถิ่นกําเนิดในเกาะชวาและเกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เคยนํามาเลี้ยงใช้เสี่ยงทาย จึงเรียกว่า นกหมอดู.
กระจอกเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Struthio camelus ในวงศ์ Struthionidae ขาใหญ่แข็งแรง ตีนมี ๒ นิ้ว วิ่งเร็ว แต่บินไม่ได้ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา.กระจอกเทศ น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Struthio camelus ในวงศ์ Struthionidae ขาใหญ่แข็งแรง ตีนมี ๒ นิ้ว วิ่งเร็ว แต่บินไม่ได้ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกา.
กระจองงอง, กระจองงอง ๆ กระจองงอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-งอ-งู-ออ-อ่าง-งอ-งู กระจองงอง ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-งอ-งู-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องเช่นนั้นพร้อมตีฆ้องป่าวประกาศว่า กระจองงอง ๆ เจ้าข้าเอ๊ย.กระจองงอง, กระจองงอง ๆ ว. เสียงร้องเช่นนั้นพร้อมตีฆ้องป่าวประกาศว่า กระจองงอง ๆ เจ้าข้าเอ๊ย.
กระจองหง่อง, กระจ๋องหง่อง กระจองหง่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู กระจ๋องหง่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นั่งยอง ๆ จ้องดู.กระจองหง่อง, กระจ๋องหง่อง ว. อาการที่นั่งยอง ๆ จ้องดู.
กระจองอแง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเด็กที่ร้องไห้ ก่อให้เกิดความรําคาญ, ใช้เรียกลูกเด็กเล็กแดงหรือที่ยังต้องอุ้มต้องจูงอยู่ว่า ลูกกระจองอแง.กระจองอแง ว. เสียงเด็กที่ร้องไห้ ก่อให้เกิดความรําคาญ, ใช้เรียกลูกเด็กเล็กแดงหรือที่ยังต้องอุ้มต้องจูงอยู่ว่า ลูกกระจองอแง.
กระจ้อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Menetes berdmorei ในวงศ์ Sciuridae เป็นสัตว์จำพวกกระรอก ตัวสีนํ้าตาล มีลายสีดําและนํ้าตาลอ่อนตามยาวข้าง ๆ ตัว หางเป็นพวง วิ่งหากินตามพื้นดิน.กระจ้อน ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Menetes berdmorei ในวงศ์ Sciuridae เป็นสัตว์จำพวกกระรอก ตัวสีนํ้าตาล มีลายสีดําและนํ้าตาลอ่อนตามยาวข้าง ๆ ตัว หางเป็นพวง วิ่งหากินตามพื้นดิน.
กระจ้อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก, ไม่โต.กระจ้อน ๒ ว. เล็ก, ไม่โต.
กระจอนหู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง ตุ้มหู. (ลัทธิ. ภาค ๑๘ ตอน ๑).กระจอนหู (ถิ่น) น. ตุ้มหู. (ลัทธิ. ภาค ๑๘ ตอน ๑).
กระจ้อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จ้อย, เล็กน้อย, เช่น เดินร่อยเรี่ยงามตรู กระจ้อย. ในวงเล็บ มาจาก กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖.กระจ้อย ว. จ้อย, เล็กน้อย, เช่น เดินร่อยเรี่ยงามตรู กระจ้อย. (ประพาสธารทองแดง).
กระจ้อยร่อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จ้อย, น้อย ๆ, เล็กนิด.กระจ้อยร่อย ว. จ้อย, น้อย ๆ, เล็กนิด.
กระจ๋อหวอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เปิด, โจ่งแจ้ง.กระจ๋อหวอ (ปาก) ก. เปิด, โจ่งแจ้ง.
กระจะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แจ่มแจ้ง, ชัดเจน.กระจะ ว. แจ่มแจ้ง, ชัดเจน.
กระจัก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นจัก ๆ เช่น กระจักกระจังบัลลังก์บัวหงาย ธูปรองทองทราย สลับด้วยแก้วแกมนิล. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมคำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กระจัก (กลอน) ก. เป็นจัก ๆ เช่น กระจักกระจังบัลลังก์บัวหงาย ธูปรองทองทราย สลับด้วยแก้วแกมนิล. (พากย์).
กระจัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายอย่างหนึ่ง ใช้เป็นลวดลายสําหรับเครื่องประดับที่อยู่บนชั้นหรือตามขอบของสิ่งบางอย่าง เช่น ชั้นฐานธรรมาสน์ กระจังมีหลายแบบ เช่น กระจังตาอ้อย กระจังเจิม กระจังปฏิญาณ, เครื่องประดับที่มีลวดลายชนิดนี้ เรียกว่า ตัวกระจัง ใช้ประดับหลังเฟี้ยมลับแลและอื่น ๆ.กระจัง ๑ น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง ใช้เป็นลวดลายสําหรับเครื่องประดับที่อยู่บนชั้นหรือตามขอบของสิ่งบางอย่าง เช่น ชั้นฐานธรรมาสน์ กระจังมีหลายแบบ เช่น กระจังตาอ้อย กระจังเจิม กระจังปฏิญาณ, เครื่องประดับที่มีลวดลายชนิดนี้ เรียกว่า ตัวกระจัง ใช้ประดับหลังเฟี้ยมลับแลและอื่น ๆ.
กระจัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri ในวงศ์ Periophthalmidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหวและความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทํารูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้, เขียนเป็น กะจัง ก็มี.กระจัง ๒ น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri ในวงศ์ Periophthalmidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหวและความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทํารูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้, เขียนเป็น กะจัง ก็มี.
กระจังหลังเบี้ย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ใบไม้เล็ก ๆ เป็นหยัก ๆ. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระจังหลังเบี้ย น. ใบไม้เล็ก ๆ เป็นหยัก ๆ. (ปาเลกัว).
กระจัด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขับไล่; แยกย้ายออกไป เช่น ลูกหลานกระจัดพลัดพราย. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙. (แผลงมาจาก ขจัด).กระจัด ๑ ก. ขับไล่; แยกย้ายออกไป เช่น ลูกหลานกระจัดพลัดพราย. (คาวี). (แผลงมาจาก ขจัด).
กระจัดกระจาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรี่ยรายไป, แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน. (แผลงมาจาก ขจัดขจาย).กระจัดกระจาย ว. เรี่ยรายไป, แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน. (แผลงมาจาก ขจัดขจาย).
กระจัดพลัดพราย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน.กระจัดพลัดพราย ก. แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน.
กระจัด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจะ, จะจะ, ชัด, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กระจัด ๒ ว. กระจะ, จะจะ, ชัด, เช่น ฝ่ายล่ามบอกออกอรรถกระจัดแจ้ง. (อภัย).
กระจับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Trapa bicornis Osbeck ในวงศ์ Trapaceae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้าโดยอาศัยก้านใบเป็นทุ่น ฝักแก่สีดําแข็ง มี ๒ เขา คล้ายเขาควาย เนื้อในขาว รสหวานมัน; ชื่อขวากมีรูปคล้ายกระจับ; เรียกพานขนาดเล็ก ปากเป็นรูปวงรี ทําเป็นรูปกลีบบัวคลี่ออกคล้ายฝักกระจับ ว่า พานปากกระจับ; วัตถุที่มีรูปอย่างฝักกระจับสําหรับยันคางศพที่บรรจุโกศ; นวมหรือวัตถุรูปร่างคล้ายฝักกระจับใช้ใส่ป้องกันอวัยวะที่หว่างขาเวลาชกมวยไทย.กระจับ ๑ น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Trapa bicornis Osbeck ในวงศ์ Trapaceae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้าโดยอาศัยก้านใบเป็นทุ่น ฝักแก่สีดําแข็ง มี ๒ เขา คล้ายเขาควาย เนื้อในขาว รสหวานมัน; ชื่อขวากมีรูปคล้ายกระจับ; เรียกพานขนาดเล็ก ปากเป็นรูปวงรี ทําเป็นรูปกลีบบัวคลี่ออกคล้ายฝักกระจับ ว่า พานปากกระจับ; วัตถุที่มีรูปอย่างฝักกระจับสําหรับยันคางศพที่บรรจุโกศ; นวมหรือวัตถุรูปร่างคล้ายฝักกระจับใช้ใส่ป้องกันอวัยวะที่หว่างขาเวลาชกมวยไทย.
กระจับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมข้อตีนม้าสําหรับหัดให้เต้นสะบัดตีน ทําด้วยหวายหรือไม้ไผ่เหลาให้กลมขดรอบข้อตีนม้า ขัดเป็นเกลียวปล่อยชายทั้ง ๒ ข้างเสี้ยมแหลมยื่นออกจากวงราว ๒ นิ้ว เพื่อกันมิให้ตีนกระทบกันเอง.กระจับ ๒ น. เครื่องสวมข้อตีนม้าสําหรับหัดให้เต้นสะบัดตีน ทําด้วยหวายหรือไม้ไผ่เหลาให้กลมขดรอบข้อตีนม้า ขัดเป็นเกลียวปล่อยชายทั้ง ๒ ข้างเสี้ยมแหลมยื่นออกจากวงราว ๒ นิ้ว เพื่อกันมิให้ตีนกระทบกันเอง.
กระจับบก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งขึ้นในป่าตํ่าตามที่นํ้าท่วม มักขึ้นปะปนกับเถากรด ซึ่งดูผาด ๆ คล้ายคลึงกัน ใบคู่ ขอบใบตอนบนที่ใกล้หรือติดกับก้านมีต่อมข้างละต่อม ผลนัยว่าแบน ๆ รูปสามเหลี่ยม ไม้ใช้ทําฟืน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กระจับบก น. ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งขึ้นในป่าตํ่าตามที่นํ้าท่วม มักขึ้นปะปนกับเถากรด ซึ่งดูผาด ๆ คล้ายคลึงกัน ใบคู่ ขอบใบตอนบนที่ใกล้หรือติดกับก้านมีต่อมข้างละต่อม ผลนัยว่าแบน ๆ รูปสามเหลี่ยม ไม้ใช้ทําฟืน. (พจน. ๒๔๙๓).
กระจับปิ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทำด้วยเงิน ทอง หรือนากเป็นต้น, จะปิ้ง จับปิ้ง ตะปิ้ง หรือ ตับปิ้ง ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู จะปิ้ง เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู.กระจับปิ้ง น. เครื่องปิดของลับของเด็กหญิง ทำด้วยเงิน ทอง หรือนากเป็นต้น, จะปิ้ง จับปิ้ง ตะปิ้ง หรือ ตับปิ้ง ก็เรียก. (ม. จะปิ้ง).
กระจับปี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง พิณ ๔ สาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา จาก เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ภาษาสันสกฤต กจฺฉปี เขียนว่า กอ-ไก่-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี อธิบายว่า เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา มีรูปคล้ายเต่า เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา .กระจับปี่ น. พิณ ๔ สาย. (ช. จาก ส. กจฺฉปี, อธิบายว่า มีรูปคล้ายเต่า).
กระจ่า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้าว ทําด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ, จวัก จ่า หรือ ตวัก ก็ว่า.กระจ่า น. เครื่องใช้ตักแกงหรือตักข้าว ทําด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ, จวัก จ่า หรือ ตวัก ก็ว่า.
กระจ่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สว่าง, สุกใส, ชัดเจน, แจ่ม.กระจ่าง ก. สว่าง, สุกใส, ชัดเจน, แจ่ม.
กระจาด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสาน รูปเตี้ย ๆ ปากกว้าง ก้นสอบ, โดยปริยายเรียกเครื่องสานที่ทําเป็นตาโต ๆ ขอบปากแบบพานปากกระจับ สําหรับใส่ของเครื่องกัณฑ์เทศน์มหาชาติ.กระจาด น. ภาชนะสาน รูปเตี้ย ๆ ปากกว้าง ก้นสอบ, โดยปริยายเรียกเครื่องสานที่ทําเป็นตาโต ๆ ขอบปากแบบพานปากกระจับ สําหรับใส่ของเครื่องกัณฑ์เทศน์มหาชาติ.
กระจาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นตะกั่วหรือโลหะแผ่นเล็ก ๆ บาง ๆ ที่ติดอยู่เหนือเบ็ดสําหรับล่อปลา.กระจาน น. แผ่นตะกั่วหรือโลหะแผ่นเล็ก ๆ บาง ๆ ที่ติดอยู่เหนือเบ็ดสําหรับล่อปลา.
กระจาบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Ploceidae มี ๓ ชนิด คือ กระจาบธรรมดา หรือ กระจาบอกเรียบ (Ploceus philippinus) กระจาบอกลาย (P. manyar) ทำรังด้วยหญ้าห้อยอยู่กับกิ่งไม้หรือพืชน้ำ ปากรังอยู่ด้านล่าง และ กระจาบทอง (P. hypoxanthus) ทํารังด้วยหญ้าโอบหุ้มกิ่งไม้หรือใบพืชน้ำ ปากรังอยู่ด้านล่าง มักอยู่รวมกันเป็นหมู่ กินเมล็ดพืช.กระจาบ น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Ploceidae มี ๓ ชนิด คือ กระจาบธรรมดา หรือ กระจาบอกเรียบ (Ploceus philippinus) กระจาบอกลาย (P. manyar) ทำรังด้วยหญ้าห้อยอยู่กับกิ่งไม้หรือพืชน้ำ ปากรังอยู่ด้านล่าง และ กระจาบทอง (P. hypoxanthus) ทํารังด้วยหญ้าโอบหุ้มกิ่งไม้หรือใบพืชน้ำ ปากรังอยู่ด้านล่าง มักอยู่รวมกันเป็นหมู่ กินเมล็ดพืช.
–กระจาม มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้าใช้เข้าคู่กับคำ กระโจม เป็น กระโจมกระจาม.–กระจาม ใช้เข้าคู่กับคำ กระโจม เป็น กระโจมกระจาม.
กระจาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แพร่หรือแตกแยกออกจากกันไปในที่ต่าง ๆ, แพร่หรือแตกแยกออกจากกันไปในที่ต่าง ๆ; แผ่ซ่าน, จางออก, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระจัด กระจุย เป็น กระจัดกระจาย กระจุยกระจาย. (แผลงมาจาก ขจาย).กระจาย ก. ทําให้แพร่หรือแตกแยกออกจากกันไปในที่ต่าง ๆ, แพร่หรือแตกแยกออกจากกันไปในที่ต่าง ๆ; แผ่ซ่าน, จางออก, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระจัด กระจุย เป็น กระจัดกระจาย กระจุยกระจาย. (แผลงมาจาก ขจาย).
กระจายนะมณฑล เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบท วรรคต้นใช้อักษรสูงนําหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรตํ่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กําจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กระจายนะมณฑล (โบ) น. ชื่อกลบท วรรคต้นใช้อักษรสูงนําหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรตํ่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กําจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา. (ชุมนุมตํารากลอน).
กระจายเสียง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสียงแพร่ไกลออกไป.กระจายเสียง ก. ส่งเสียงแพร่ไกลออกไป.
กระจายหางดอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและใบดังเถาผักบุ้งเทศ แต่ไม่มีหัว มีดอกและฝักอย่างผักบุ้งเทศ เชื่อกันว่าว่านชนิดนี้ใช้เมล็ดตําละลายกับเหล้าแก้พิษเสือ พิษจระเข้ และพิษสุนัขบ้า. ในวงเล็บ มาจาก ตำรากบิลว่าน ของ หลวงประพัฒสรรพากร.กระจายหางดอก น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและใบดังเถาผักบุ้งเทศ แต่ไม่มีหัว มีดอกและฝักอย่างผักบุ้งเทศ เชื่อกันว่าว่านชนิดนี้ใช้เมล็ดตําละลายกับเหล้าแก้พิษเสือ พิษจระเข้ และพิษสุนัขบ้า. (กบิลว่าน).
กระจาว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง กระเจา. ในวงเล็บ ดู กระเชา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา.กระจาว น. กระเจา. (ดู กระเชา).
–กระจิก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุก เป็น กระจุกกระจิก.–กระจิก ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุก เป็น กระจุกกระจิก.
–กระจิ๋ง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระจุ๋ง เป็น กระจุ๋งกระจิ๋ง.–กระจิ๋ง ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุ๋ง เป็น กระจุ๋งกระจิ๋ง.
กระจิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กน้อย เช่น ตัวกระจิดนิดกว่าแมว. ในวงเล็บ มาจาก กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖.กระจิด ว. เล็กน้อย เช่น ตัวกระจิดนิดกว่าแมว. (ประพาสธารทองแดง).
–กระจิบ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุบ เป็น กระจุบกระจิบ.–กระจิบ ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุบ เป็น กระจุบกระจิบ.
กระจิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Sylviidae ร้องเสียงจิบ ๆ มีหลายชนิด เช่น กระจิบธรรมดา (Orthotomus sutorius) กระจิบคอดํา (O. atrogularis) กระจิบหัวแดง (O. sepium) กินแมลง.กระจิบ ๑ น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Sylviidae ร้องเสียงจิบ ๆ มีหลายชนิด เช่น กระจิบธรรมดา (Orthotomus sutorius) กระจิบคอดํา (O. atrogularis) กระจิบหัวแดง (O. sepium) กินแมลง.
กระจิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ถ้วยขนาดเล็กที่สุดสําหรับจิบ.กระจิบ ๒ น. ถ้วยขนาดเล็กที่สุดสําหรับจิบ.
–กระจิ๋ม มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-มอ-ม้าใช้เข้าคู่กับคํา กระจุ๋ม เป็น กระจุ๋มกระจิ๋ม.–กระจิ๋ม ใช้เข้าคู่กับคํา กระจุ๋ม เป็น กระจุ๋มกระจิ๋ม.
กระจิริด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[กฺระจิหฺริด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กนิด. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู เกาะจิลฺ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ เกะจิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ = เล็ก .กระจิริด [กฺระจิหฺริด] ว. เล็กนิด. (เทียบมลายู เกาะจิลฺ, เกะจิก = เล็ก).
กระจิ๋ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก ๆ, จิ๋ว.กระจิ๋ว ว. เล็ก ๆ, จิ๋ว.
กระจิ๋วหลิว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กมาก.กระจิ๋วหลิว (ปาก) ว. เล็กมาก.
กระจี้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นโคราช เป็นคำนาม หมายถึง เมล็ดของต้นแสลงใจ.กระจี้ (ถิ่น–โคราช) น. เมล็ดของต้นแสลงใจ.
–กระจี๋ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วาใช้เข้าคู่กับคํา กระจู๋ เป็น กระจู๋กระจี๋.–กระจี๋ ใช้เข้าคู่กับคํา กระจู๋ เป็น กระจู๋กระจี๋.
กระจุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่รวมกันอยู่เป็นกลุ่ม, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มัดรวมกันเป็นกลุ่ม เช่น หอม ๒ กระจุก กระเทียม ๓ กระจุก. เป็นคำกริยา หมายถึง รวมกันอยู่เป็นกลุ่ม เช่น ธุรกิจใหญ่ ๆ กระจุกกันอยู่ในตัวเมือง.กระจุก น. สิ่งที่รวมกันอยู่เป็นกลุ่ม, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มัดรวมกันเป็นกลุ่ม เช่น หอม ๒ กระจุก กระเทียม ๓ กระจุก. ก. รวมกันอยู่เป็นกลุ่ม เช่น ธุรกิจใหญ่ ๆ กระจุกกันอยู่ในตัวเมือง.
กระจุกกระจิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก ๆ น้อย ๆ, เบ็ดเตล็ดคละกัน, เช่น ในกระเป๋าถือมีแต่ของกระจุกกระจิก, จุกจิก ก็ว่า.กระจุกกระจิก ว. เล็ก ๆ น้อย ๆ, เบ็ดเตล็ดคละกัน, เช่น ในกระเป๋าถือมีแต่ของกระจุกกระจิก, จุกจิก ก็ว่า.
กระจุกกระจุย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจายจากกันอย่างสับสนไม่เป็นระเบียบ.กระจุกกระจุย ว. กระจายจากกันอย่างสับสนไม่เป็นระเบียบ.
กระจุ๋งกระจิ๋ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันเบา ๆ ทําเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดกันเบา ๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า.กระจุ๋งกระจิ๋ง ก. พูดกันเบา ๆ ทําเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า. ว. อาการที่พูดกันเบา ๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อยน่าเอ็นดู, จุ๋งจิ๋ง ก็ว่า.
กระจุบ, กระจุ๊บ กระจุบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ กระจุ๊บ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของโคมตรงที่สวมหลอด; ส่วนหนึ่งของตะเกียงที่ไส้ผ่านสําหรับจุดไฟ.กระจุบ, กระจุ๊บ น. ส่วนของโคมตรงที่สวมหลอด; ส่วนหนึ่งของตะเกียงที่ไส้ผ่านสําหรับจุดไฟ.
กระจุบกระจิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จุบจิบ.กระจุบกระจิบ (โบ) ว. จุบจิบ.
กระจุ๋มกระจิ๋ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-จัด-ตะ-วา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-จัด-ตะ-วา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก ๆ น้อย ๆ น่าเอ็นดู, จุ๋มจิ๋ม ก็ว่า.กระจุ๋มกระจิ๋ม ว. เล็ก ๆ น้อย ๆ น่าเอ็นดู, จุ๋มจิ๋ม ก็ว่า.
กระจุย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจายออกยุ่งไม่เป็นระเบียบ, นิยมใช้เข้าคู่กับ กระจุก เป็น กระจุกกระจุย.กระจุย ว. กระจายออกยุ่งไม่เป็นระเบียบ, นิยมใช้เข้าคู่กับ กระจุก เป็น กระจุกกระจุย.
กระจุยกระจาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจายยุ่งเหยิง.กระจุยกระจาย ว. กระจายยุ่งเหยิง.
กระจู้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, เรียกว่า อีจู้ หรือ จู้ ก็มี.กระจู้ น. เครื่องดักปลาไหลชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ รูปคล้ายหม้อคอสูง มีงาแซงอยู่ริมก้น ห้อยเหยื่อไว้ภายใน, เรียกว่า อีจู้ หรือ จู้ ก็มี.
กระจู๋กระจี๋ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ไม้-จัด-ตะ-วา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันเบา ๆ ด้วยอาการสนิทสนม, จู๋จี๋ ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดกันเบา ๆ ด้วยความสนิทสนม,จู๋จี๋ ก็ว่า.กระจู๋กระจี๋ ก. พูดกันเบา ๆ ด้วยอาการสนิทสนม, จู๋จี๋ ก็ว่า. ว. อาการที่พูดกันเบา ๆ ด้วยความสนิทสนม,จู๋จี๋ ก็ว่า.
กระจูด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lepironia articulata (Retz.) Domin ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นกลม ภายในกลวง และมีเยื่ออ่อนหยุ่นคั่นเป็นข้อ ๆ ใช้สานเสื่อหรือกระสอบ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู kerchut เขียนว่า เค-อี-อา-ซี-เอช-ยู-ที.กระจูด น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Lepironia articulata (Retz.) Domin ในวงศ์ Cyperaceae ลําต้นกลม ภายในกลวง และมีเยื่ออ่อนหยุ่นคั่นเป็นข้อ ๆ ใช้สานเสื่อหรือกระสอบ. (เทียบมลายู kerchut).
กระเจอะกระเจิง, กระเจิดกระเจิง กระเจอะกระเจิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู กระเจิดกระเจิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น เฒ่าก็เที่ยวสัญจรกระเจอะกระเจิง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก, กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป.กระเจอะกระเจิง, กระเจิดกระเจิง ว. แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น เฒ่าก็เที่ยวสัญจรกระเจอะกระเจิง. (ม. ร่ายยาว ชูชก), กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป.
กระเจา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Corchorus วงศ์ Tiliaceae ขึ้นอยู่ในที่ลุ่ม เปลือกต้นเหนียว เมื่อลอกออกแล้ว เรียกว่า ปอ เช่น ปอกระเจาฝักกลม (C. capsularis L.) ผลป้อม เปลือกย่นเป็นตุ่ม ๆ ใบใช้เป็นอาหารได้, พายัพเรียก เส้ง, และปอกระเจาฝักยาว (C. olitorius L.) ฝักยาวเรียวมีสันตามยาว, เมล็ดของปอทั้ง ๒ ชนิดนี้มีพิษ ปอใช้ทํากระสอบ. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู กระเชา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา.กระเจา น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Corchorus วงศ์ Tiliaceae ขึ้นอยู่ในที่ลุ่ม เปลือกต้นเหนียว เมื่อลอกออกแล้ว เรียกว่า ปอ เช่น ปอกระเจาฝักกลม (C. capsularis L.) ผลป้อม เปลือกย่นเป็นตุ่ม ๆ ใบใช้เป็นอาหารได้, พายัพเรียก เส้ง, และปอกระเจาฝักยาว (C. olitorius L.) ฝักยาวเรียวมีสันตามยาว, เมล็ดของปอทั้ง ๒ ชนิดนี้มีพิษ ปอใช้ทํากระสอบ. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง. (ดู กระเชา).
กระเจ่า, กระเจ้า กระเจ่า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา กระเจ้า ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง นกยาง เช่น กระจาบกระเจ้าจับ ซ้องศัพทอึงอล.กระเจ่า, กระเจ้า ๑ (ถิ่น) น. นกยาง เช่น กระจาบกระเจ้าจับ ซ้องศัพทอึงอล.
กระเจ้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระเชา. ในวงเล็บ ดู กระเชา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา.กระเจ้า ๒ (ถิ่น–พายัพ, ปักษ์ใต้) น. ต้นกระเชา. (ดู กระเชา).
กระเจาะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแผลเป็นที่ลูกตา เรียกว่า ตากระเจาะ.กระเจาะ ๑ ว. มีแผลเป็นที่ลูกตา เรียกว่า ตากระเจาะ.
กระเจาะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เบี้ยเล็ก ๆ. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระเจาะ ๒ น. เบี้ยเล็ก ๆ. (ปาเลกัว).
กระเจิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลยไป, หลงไป, แตกจากหมู่ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระเจอะ กระเจิด เป็น กระเจอะกระเจิง กระเจิดกระเจิง.กระเจิง ว. เลยไป, หลงไป, แตกจากหมู่ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระเจอะ กระเจิด เป็น กระเจอะกระเจิง กระเจิดกระเจิง.
กระเจิดกระเจิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป. ในวงเล็บ ดู กระเจอะกระเจิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.กระเจิดกระเจิง ว. แตกหมู่เพ่นพ่านไป, เตลิดไป, เช่น กองทัพข้าศึกถูกตีแตกกระเจิดกระเจิงไป. (ดู กระเจอะกระเจิง).
กระเจี้ยง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกใหญ่ ทั้งกลีบนอกและกลีบในสีเหลืองประแดง, เอื้องศรีเที่ยง ก็เรียก.กระเจี้ยง น. ชื่อกล้วยไม้อิงอาศัยชนิด Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกใหญ่ ทั้งกลีบนอกและกลีบในสีเหลืองประแดง, เอื้องศรีเที่ยง ก็เรียก.
กระเจี๊ยบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Abelmoschus esculentus (L.) Moench ในวงศ์ Malvaceae ผลสีเขียว ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้เป็นผัก, กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย หรือ มะเขือมอญ ก็เรียก.กระเจี๊ยบ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Abelmoschus esculentus (L.) Moench ในวงศ์ Malvaceae ผลสีเขียว ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร ใช้เป็นผัก, กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย หรือ มะเขือมอญ ก็เรียก.
กระเจี๊ยบเปรี้ยว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hibiscus sabdariffa L. ในวงศ์ Malvaceae เปลือกต้นมีปอเหนียวทนทาน ผลสีแดง ใช้ทําแยม, กระเจี๊ยบแดง ก็เรียก, พายัพเรียก เกงเขง หรือ เกงเคง.กระเจี๊ยบเปรี้ยว น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Hibiscus sabdariffa L. ในวงศ์ Malvaceae เปลือกต้นมีปอเหนียวทนทาน ผลสีแดง ใช้ทําแยม, กระเจี๊ยบแดง ก็เรียก, พายัพเรียก เกงเขง หรือ เกงเคง.
กระเจียว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma sessilis Gage ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย มีหัวใต้ดิน ขณะออกดอกไม่มีใบ ช่อดอกเป็นช่อตั้ง ดอกสีขาว อยู่ระหว่างกาบสีขาวปลายสีม่วง ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก อาวแดง.กระเจียว น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma sessilis Gage ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย มีหัวใต้ดิน ขณะออกดอกไม่มีใบ ช่อดอกเป็นช่อตั้ง ดอกสีขาว อยู่ระหว่างกาบสีขาวปลายสีม่วง ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก อาวแดง.
กระเจี๊ยว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะสืบพันธุ์เด็กชายเล็ก ๆ, เจี๊ยว หรือ อ้ายเจี๊ยว ก็ว่า.กระเจี๊ยว (ปาก) น. อวัยวะสืบพันธุ์เด็กชายเล็ก ๆ, เจี๊ยว หรือ อ้ายเจี๊ยว ก็ว่า.
กระแจะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผงเครื่องหอมต่าง ๆ ที่ประสมกันสําหรับทาหรือเจิม โดยปรกติมีเครื่องประสม คือไม้จันทน์ แก่นไม้หอม ชะมดเชียง หญ้าฝรั่น.กระแจะ ๑ น. ผงเครื่องหอมต่าง ๆ ที่ประสมกันสําหรับทาหรือเจิม โดยปรกติมีเครื่องประสม คือไม้จันทน์ แก่นไม้หอม ชะมดเชียง หญ้าฝรั่น.
กระแจะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นและกิ่งมีหนามเปลือกขรุขระสีเทา ดอกเล็กสีขาวเป็นช่อสั้น ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ท่อนไม้ฝนกับนํ้าใช้เป็นเครื่องประทิ่นผิว รากใช้ทํายา, กะแจะ ขะแจะ ตุมตัง หรือ พญายา ก็เรียก.กระแจะ ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นและกิ่งมีหนามเปลือกขรุขระสีเทา ดอกเล็กสีขาวเป็นช่อสั้น ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ท่อนไม้ฝนกับนํ้าใช้เป็นเครื่องประทิ่นผิว รากใช้ทํายา, กะแจะ ขะแจะ ตุมตัง หรือ พญายา ก็เรียก.
กระแจะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อรูปปลอกเหล็กสําหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกําลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทําด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สําหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สําหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกําลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง โซ่หรือกำไลเหล็กที่ทำเป็นปลอกสวมเท้าหน้าช้างทั้งคู่ให้ชิดกัน เพื่อมิให้ช้างเดินได้เร็วจนไกลถิ่นเกินควร ใช้เมื่อปล่อยช้างให้หากินในป่า.กระแจะ ๓ น. ชื่อรูปปลอกเหล็กสําหรับจับช้างดุ ทางปลายสัณฐานปากเปิดอย่างคีมคีบเบ้าทองเหลือง มีกําลังหดตัวให้ปลายจดเข้าหากันได้ ที่ริมปากมีงาแซงทําด้วยเหล็กปลายแหลมข้างละอัน ที่โคนปลอกมีที่สําหรับสวมคันไม้ไผ่ที่ทะลวงให้กลวง ร้อยเชือกซึ่งผูกจากปลอกลอดออกมาจากคันไม้ ใช้สําหรับพุ่งเข้าไปเกาะขาช้างข้างใดข้างหนึ่งไว้ เมื่อเกาะได้แล้ว โรยปลายไปผูกกับขอนไม้ไว้เพื่อช้างจะได้ลาก ช้างกําลังดุก็ลากไป งาแซงก็จะฝังลึกเข้าไปทุกทีจนไม่สามารถจะก้าวขาได้ ก็เป็นอันจับได้; (ถิ่น–พายัพ) โซ่หรือกำไลเหล็กที่ทำเป็นปลอกสวมเท้าหน้าช้างทั้งคู่ให้ชิดกัน เพื่อมิให้ช้างเดินได้เร็วจนไกลถิ่นเกินควร ใช้เมื่อปล่อยช้างให้หากินในป่า.
กระโจน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระโดดพุ่งไปโดยเร็ว, เผ่นข้ามไป, โจน ก็ว่า.กระโจน ก. กระโดดพุ่งไปโดยเร็ว, เผ่นข้ามไป, โจน ก็ว่า.
กระโจม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกําบังแดดลมเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง (๑) สิ่งที่รวมกันเข้าเป็นลอม เช่น กระโจมปืน. (๒) สิ่งที่ผูกรวบยอดให้รวมกัน เช่น ปากผูกกระโจม. (๓) ผ้าที่ทําเป็นลอมเพื่อเข้าไปอยู่ให้เหงื่อออก เช่น เข้ากระโจม; กูบที่มีด้านเปิดโล่ง ๔ ด้าน, โจม ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น หมายถึง เครื่องสวมศีรษะอย่างหนึ่ง เช่น กระจอนหูแปงประดับแก้วเครื่องเลิศอุดมกระโจมคำสุบเก้าเกษ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือมหาเวสสันดรชาดก คำกลอน ฉบับโรงพิมพ์กิมหลีหงวน พ.ศ. ๒๔๗๒ นครก์ณฑ์.กระโจม ๑ น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกําบังแดดลมเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง (๑) สิ่งที่รวมกันเข้าเป็นลอม เช่น กระโจมปืน. (๒) สิ่งที่ผูกรวบยอดให้รวมกัน เช่น ปากผูกกระโจม. (๓) ผ้าที่ทําเป็นลอมเพื่อเข้าไปอยู่ให้เหงื่อออก เช่น เข้ากระโจม; กูบที่มีด้านเปิดโล่ง ๔ ด้าน, โจม ก็ว่า; (ถิ่น) เครื่องสวมศีรษะอย่างหนึ่ง เช่น กระจอนหูแปงประดับแก้วเครื่องเลิศอุดมกระโจมคำสุบเก้าเกษ. (ม. ภาคอีสาน นครกัณฑ์).
กระโจมทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกันแดดและฝนเปิดโล่ง ๔ ด้าน อยู่บนสัปคับหลังช้างพระที่นั่ง เขียนลายปิดทองรดน้ำ.กระโจมทอง น. เครื่องกันแดดและฝนเปิดโล่ง ๔ ด้าน อยู่บนสัปคับหลังช้างพระที่นั่ง เขียนลายปิดทองรดน้ำ.
กระโจมไฟ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง หอสูงซึ่งตามไฟฉายแสงอย่างแรงไว้บนยอดเพื่อใช้บอกสัญญาณในการเดินเรือเป็นต้น, ประภาคาร หรือ เรือนตะเกียง ก็เรียก.กระโจมไฟ น. หอสูงซึ่งตามไฟฉายแสงอย่างแรงไว้บนยอดเพื่อใช้บอกสัญญาณในการเดินเรือเป็นต้น, ประภาคาร หรือ เรือนตะเกียง ก็เรียก.
กระโจมอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง นุ่งผ้าสูงปิดอก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นุ่งผ้าสูงปิดอก ในความว่า นุ่งผ้ากระโจมอก.กระโจมอก ก. นุ่งผ้าสูงปิดอก. ว. อาการที่นุ่งผ้าสูงปิดอก ในความว่า นุ่งผ้ากระโจมอก.
กระโจม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง โถมเข้าไป เช่น ไม่ได้ทีอย่ากระโจมเข้าโรมรัน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๒; ข้ามลําดับไป ในความว่า กินข้าวต้มกระโจมกลาง.กระโจม ๒ ก. โถมเข้าไป เช่น ไม่ได้ทีอย่ากระโจมเข้าโรมรัน. (รามเกียรติ์ ร. ๒); ข้ามลําดับไป ในความว่า กินข้าวต้มกระโจมกลาง.
กระโจมกระจาม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้าก.พรวดพราดอย่างลุกลน (เป็นคําใช้ในทางที่ติ).กระโจมกระจาม ก.พรวดพราดอย่างลุกลน (เป็นคําใช้ในทางที่ติ).
กระฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงประเภทมวนพวกหนึ่ง ดูดกินเมล็ดอ่อนบนรวงข้าว ทําให้ข้าวลีบ ลําตัวแคบยาวประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร สีนํ้าตาล, ในสกุล Leptocorisa วงศ์ Alydidae มี ๕–๖ ชนิดด้วยกัน ที่สําคัญ ได้แก่ ชนิด L. varicornis และชนิด L. acuta, ฉง สิง หรือ สิงห์ ก็เรียก.กระฉง น. ชื่อแมลงประเภทมวนพวกหนึ่ง ดูดกินเมล็ดอ่อนบนรวงข้าว ทําให้ข้าวลีบ ลําตัวแคบยาวประมาณ ๑.๕ เซนติเมตร สีนํ้าตาล, ในสกุล Leptocorisa วงศ์ Alydidae มี ๕–๖ ชนิดด้วยกัน ที่สําคัญ ได้แก่ ชนิด L. varicornis และชนิด L. acuta, ฉง สิง หรือ สิงห์ ก็เรียก.
กระฉอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นในภาชนะกระเพื่อมอย่างแรงเพราะความสั่นสะเทือน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แหว่ง, เว้า, (ใช้กับลักษณะของผม), ฉอก ก็เรียก.กระฉอก ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นในภาชนะกระเพื่อมอย่างแรงเพราะความสั่นสะเทือน. ว. แหว่ง, เว้า, (ใช้กับลักษณะของผม), ฉอก ก็เรียก.
กระฉอกกระแฉก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กระฉอก, กระเพื่อมออกมา.กระฉอกกระแฉก (ปาก) ก. กระฉอก, กระเพื่อมออกมา.
กระฉ่อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อื้อฉาว, แพร่สนั่นไป, อึงไปทั่ว.กระฉ่อน ว. อื้อฉาว, แพร่สนั่นไป, อึงไปทั่ว.
กระฉับกระเฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล่องแคล่ว, กระปรี้กระเปร่าเหมาะแก่การ, ตรงข้ามกับ เงื่องหงอย, เฉื่อยชา.กระฉับกระเฉง ว. คล่องแคล่ว, กระปรี้กระเปร่าเหมาะแก่การ, ตรงข้ามกับ เงื่องหงอย, เฉื่อยชา.
กระฉิ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู กรรชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.กระฉิ่ง น. เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง. (ดู กรรชิง).
กระฉีก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ของหวานทําด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด กวนกับนํ้าตาลปึกให้เข้ากัน อบด้วยควันเทียนให้หอม ใช้เป็นไส้หรือหน้าขนม เรียกว่า หน้ากระฉีก เช่น ขนมใส่ไส้ มีไส้เป็นหน้ากระฉีก ข้าวเหนียวหน้ากระฉีก.กระฉีก น. ของหวานทําด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด กวนกับนํ้าตาลปึกให้เข้ากัน อบด้วยควันเทียนให้หอม ใช้เป็นไส้หรือหน้าขนม เรียกว่า หน้ากระฉีก เช่น ขนมใส่ไส้ มีไส้เป็นหน้ากระฉีก ข้าวเหนียวหน้ากระฉีก.
กระฉูด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง พุ่งออกโดยแรง (ใช้แก่ของเหลว) เช่น น้ำกระฉูด; ไสไปโดยแรง เช่น ช้างกระฉูดเท้า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กญฺฌูส เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ ว่า เตะดิน, ตะกุยดิน, เตะไสดินให้ฝุ่นฟุ้ง .กระฉูด ก. พุ่งออกโดยแรง (ใช้แก่ของเหลว) เช่น น้ำกระฉูด; ไสไปโดยแรง เช่น ช้างกระฉูดเท้า. (เทียบ ข. กญฺฌูส ว่า เตะดิน, ตะกุยดิน, เตะไสดินให้ฝุ่นฟุ้ง).
กระเฉก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เขยก. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระเฉก ว. เขยก. (ปาเลกัว).
–กระเฉง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระฉับ เป็น กระฉับกระเฉง.–กระเฉง ใช้เข้าคู่กับคํา กระฉับ เป็น กระฉับกระเฉง.
กระเฉด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Neptunia oleracea Lour. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้า ลําต้นอ่อนอุ้มน้ำ มีปลอกเป็นปุยขาว ๆ เป็นทุ่น เรียกว่านม ใบย่อยเล็กเมื่อถูกสัมผัสก็หุบราบไป ดอกเหลืองเล็กออกชิดกันเป็นก้อนกลม ลําต้นและใบใช้เป็นอาหารได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักรู้นอน, พายัพเรียก ผักหนอง.กระเฉด น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Neptunia oleracea Lour. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้า ลําต้นอ่อนอุ้มน้ำ มีปลอกเป็นปุยขาว ๆ เป็นทุ่น เรียกว่านม ใบย่อยเล็กเมื่อถูกสัมผัสก็หุบราบไป ดอกเหลืองเล็กออกชิดกันเป็นก้อนกลม ลําต้นและใบใช้เป็นอาหารได้, คำสุภาพเรียกว่า ผักรู้นอน, พายัพเรียก ผักหนอง.
–กระแฉก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา กระฉอก เป็น กระฉอกกระแฉก.–กระแฉก ใช้เข้าคู่กับคํา กระฉอก เป็น กระฉอกกระแฉก.
กระแฉ่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ดังสนั่น เช่น ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู. ในวงเล็บ มาจาก ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า.กระแฉ่น (โบ) ก. ดังสนั่น เช่น ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู. (แช่งนํ้า).
กระโฉกกระเฉก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โขยกเขยก. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระโฉกกระเฉก ว. โขยกเขยก. (ปาเลกัว).
กระโฉม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ฉอ-ฉิ่ง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Limnophila rugosa Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลําต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลําต้น ดอกเล็ก ๆ สีม่วงแกมชมพู กลางเหลือง ออกเป็นกระจุกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ทุกส่วนของไม้นี้มีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหาร และใช้ทํายาได้, ผักโฉม ก็เรียก เช่น ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน. ในวงเล็บ มาจาก กาพย์ห่อโคลงเห่เรือ แบบเรียนกวีนิพนธ์.กระโฉม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Limnophila rugosa Merr. ในวงศ์ Scrophulariaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลําต้นและกิ่งอวบน้ำ สีม่วง ใบรูปไข่ ค่อนข้างหนา ด้านล่างมีขน ขอบหยักห่าง ๆ ก้านใบแบน ๆ โคนก้านโอบกิ่งหรือลําต้น ดอกเล็ก ๆ สีม่วงแกมชมพู กลางเหลือง ออกเป็นกระจุกที่ง่ามใบหรือปลายกิ่ง ทุกส่วนของไม้นี้มีกลิ่นหอม ใช้เป็นอาหาร และใช้ทํายาได้, ผักโฉม ก็เรียก เช่น ผักโฉมชื่อเพราะพร้อง เป็นโฉมน้องฤๅโฉมไหน. (เห่เรือ).
กระชง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งง, ชะงัก, ประหม่า, เช่น นอนกระชงใจคราง ครั่นแค้น. ในวงเล็บ มาจาก นิราศพระยาตรัง, ภาษาถิ่นปักษ์ใต้ใช้ว่า ชง.กระชง (โบ) ว. งง, ชะงัก, ประหม่า, เช่น นอนกระชงใจคราง ครั่นแค้น. (นิ. ตรัง), ภาษาถิ่นปักษ์ใต้ใช้ว่า ชง.
กระชดกระช้อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชดช้อย.กระชดกระช้อย ว. ชดช้อย.
–กระชวย มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-ยอ-ยักใช้เข้าคู่กับคํา กระชุ่ม เป็น กระชุ่มกระชวย.–กระชวย ใช้เข้าคู่กับคํา กระชุ่ม เป็น กระชุ่มกระชวย.
กระชอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๙. (ไทยเหนือ ซอก ว่า ตำ, กระทุ้ง).กระชอก (โบ; กลอน) ก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์. (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒). (ไทยเหนือ ซอก ว่า ตำ, กระทุ้ง).
กระชอน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกรอง โดยปรกติสานด้วยผิวไม้ไผ่ ใช้กรองกะทิเป็นต้น.กระชอน ๑ น. เครื่องกรอง โดยปรกติสานด้วยผิวไม้ไผ่ ใช้กรองกะทิเป็นต้น.
กระชอน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงชนิด Gryllotalpa orientalis ในวงศ์ Gryllotalpidae ลําตัวยาว ขนาดย่อมกว่านิ้วก้อยเล็กน้อย สีนํ้าตาล ปีกสั้น บินได้ในระยะใกล้ ขาคู่หน้าสั้นแบน รูปร่างคล้ายอุ้งมือ ปลายมีหนามแข็ง ใช้ขุดดิน อาศัยอยู่ในดิน กินรากพืชและแมลงเล็ก ๆ.กระชอน ๒ น. ชื่อแมลงชนิด Gryllotalpa orientalis ในวงศ์ Gryllotalpidae ลําตัวยาว ขนาดย่อมกว่านิ้วก้อยเล็กน้อย สีนํ้าตาล ปีกสั้น บินได้ในระยะใกล้ ขาคู่หน้าสั้นแบน รูปร่างคล้ายอุ้งมือ ปลายมีหนามแข็ง ใช้ขุดดิน อาศัยอยู่ในดิน กินรากพืชและแมลงเล็ก ๆ.
กระชอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.กระชอม (โบ) ว. มาก, ใหญ่, เช่น ผักกาดกองกระชอมก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน).
กระชอมดอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้เพศผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ ซึ่งเรียกกันว่า ดอกถวายพระ.กระชอมดอก น. ดอกไม้เพศผู้ของพรรณไม้เลื้อย เช่น ฟักทอง บวบ ซึ่งเรียกกันว่า ดอกถวายพระ.
กระช้อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชดช้อย เช่น ดูเราะรายเรียบร้อยกระช้อยชด. ในวงเล็บ มาจาก นิราศเดือน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖, และใช้เข้าคู่กับคํา กระชด เป็น กระชดกระช้อย.กระช้อย ว. ชดช้อย เช่น ดูเราะรายเรียบร้อยกระช้อยชด. (นิ. เดือน), และใช้เข้าคู่กับคํา กระชด เป็น กระชดกระช้อย.
กระช้อยนางรำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Codariocalyx motorius Ohashi ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ใบคู่ล่างเล็กกว่าและกระดิกไหวไปมาได้, ช้อยนางรํา ช้อยช่างรํา หรือ นางรํา ก็เรียก.กระช้อยนางรำ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Codariocalyx motorius Ohashi ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ใบคู่ล่างเล็กกว่าและกระดิกไหวไปมาได้, ช้อยนางรํา ช้อยช่างรํา หรือ นางรํา ก็เรียก.
กระชัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง บังสาดที่ปิดและเปิดได้. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาชวา กระรันชัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู = กระจาด .กระชัง ๑ น. บังสาดที่ปิดและเปิดได้. (เทียบ ช. กระรันชัง = กระจาด).
กระชังหน้าใหญ่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จัดจ้าน, ออกหน้ารับเสียเอง, เช่น แม่กระชังหน้าใหญ่.กระชังหน้าใหญ่ (สำ) ว. จัดจ้าน, ออกหน้ารับเสียเอง, เช่น แม่กระชังหน้าใหญ่.
กระชัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับขังปลาชนิดหนึ่ง ใช้ไม้ไผ่ทําเป็นกง ๔ อัน แล้วผูกด้วยซี่ไม้ไผ่โดยรอบ รูปกลม หัวท้ายเรียว ตอนบนเจาะเป็นช่อง มีฝาปิด ใช้ไม้ขัดฝา ๒ ข้าง ใช้ไม้ไผ่กระหนาบเพื่อให้ลอยได้ ในขณะออกไปจับปลาตามกรํ่า เมื่อจับปลาหรือกุ้งได้ก็เอาใส่ไว้ในนั้นชั่วคราว, อีกชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ มีปากเปิดกว้างคล้าย ๆ ตะกร้าหรือเข่งใส่ของ แต่ใหญ่กว่ากระชังชั่วคราวนั้นหลายเท่า เป็นที่สําหรับจับปลาขนาดใหญ่มาขังไว้หรือเลี้ยงลูกปลาให้โตตามที่ต้องการ เพื่อบริโภคหรือค้าขาย และเอากระชังนี้ผูกติดหลักแช่ลอยนํ้าไว้.กระชัง ๒ น. เครื่องสําหรับขังปลาชนิดหนึ่ง ใช้ไม้ไผ่ทําเป็นกง ๔ อัน แล้วผูกด้วยซี่ไม้ไผ่โดยรอบ รูปกลม หัวท้ายเรียว ตอนบนเจาะเป็นช่อง มีฝาปิด ใช้ไม้ขัดฝา ๒ ข้าง ใช้ไม้ไผ่กระหนาบเพื่อให้ลอยได้ ในขณะออกไปจับปลาตามกรํ่า เมื่อจับปลาหรือกุ้งได้ก็เอาใส่ไว้ในนั้นชั่วคราว, อีกชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ มีปากเปิดกว้างคล้าย ๆ ตะกร้าหรือเข่งใส่ของ แต่ใหญ่กว่ากระชังชั่วคราวนั้นหลายเท่า เป็นที่สําหรับจับปลาขนาดใหญ่มาขังไว้หรือเลี้ยงลูกปลาให้โตตามที่ต้องการ เพื่อบริโภคหรือค้าขาย และเอากระชังนี้ผูกติดหลักแช่ลอยนํ้าไว้.
กระชัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าปัสสาวะแห่งทารก, นํ้าครํ่า, เขียนเป็น กะชัง ก็มี. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือพิมพ์มิวเซียม เล่ม ๑-๓.กระชัง ๓ (โบ) น. นํ้าปัสสาวะแห่งทารก, นํ้าครํ่า, เขียนเป็น กะชัง ก็มี. (มิวเซียม).
กระชั้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใกล้ชิด (เข้ามา) (ใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์) เช่น เวลากระชั้นเข้ามา ขี่ม้าขับกระชั้นมา, เร่งเข้า เช่น ไก่ขันกระชั้นเสียง, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระโชก เป็น กระโชกกระชั้น.กระชั้น ว. ใกล้ชิด (เข้ามา) (ใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์) เช่น เวลากระชั้นเข้ามา ขี่ม้าขับกระชั้นมา, เร่งเข้า เช่น ไก่ขันกระชั้นเสียง, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระโชก เป็น กระโชกกระชั้น.
กระชับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xanthium strumarium L. ในวงศ์ Compositae มักขึ้นเป็นวัชพืชในทุ่งนาและริมนํ้า ลําต้นและใบคาย ใบมนเว้า ขอบจัก โคนใบแหลม ดอกเล็กรวมเป็นกระจุก ผลรี ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีหนามปลายงอทั่วทั้งผล รากหอมอ่อน ๆ ใช้อบผ้าได้ บางส่วนของไม้นี้ใช้เป็นยาได้ แต่ทั้งต้นเป็นพิษต่อปศุสัตว์, ขี้ครอก หรือ ขี้อ้น ก็เรียก.กระชับ ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Xanthium strumarium L. ในวงศ์ Compositae มักขึ้นเป็นวัชพืชในทุ่งนาและริมนํ้า ลําต้นและใบคาย ใบมนเว้า ขอบจัก โคนใบแหลม ดอกเล็กรวมเป็นกระจุก ผลรี ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีหนามปลายงอทั่วทั้งผล รากหอมอ่อน ๆ ใช้อบผ้าได้ บางส่วนของไม้นี้ใช้เป็นยาได้ แต่ทั้งต้นเป็นพิษต่อปศุสัตว์, ขี้ครอก หรือ ขี้อ้น ก็เรียก.
กระชับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แน่น, แนบแน่น, แนบกันสนิท, พอเหมาะ, แต่มีความหมายบอกว่า มีลักษณะที่ยิ่งขึ้นหรือทีเดียว เช่น กระชับแน่น กระชับตัว กระชับความ กระชับมือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ขฺชาบ่ เขียนว่า ขอ-ไข่-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก.กระชับ ๒ ก. แน่น, แนบแน่น, แนบกันสนิท, พอเหมาะ, แต่มีความหมายบอกว่า มีลักษณะที่ยิ่งขึ้นหรือทีเดียว เช่น กระชับแน่น กระชับตัว กระชับความ กระชับมือ. (ข. ขฺชาบ่).
กระชาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ฉุดโดยแรง, กระตุกโดยแรง, ชักเข้ามาโดยเร็วและแรง, โดยปริยายหมายความว่า พูดกระตุกเสียงดังห้วน ๆ เช่น พูดกระชากเสียง, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระโชก เป็น กระโชกกระชาก.กระชาก ก. ฉุดโดยแรง, กระตุกโดยแรง, ชักเข้ามาโดยเร็วและแรง, โดยปริยายหมายความว่า พูดกระตุกเสียงดังห้วน ๆ เช่น พูดกระชากเสียง, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระโชก เป็น กระโชกกระชาก.
กระช่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร, กระซ่าง ก็ว่า.กระช่าง (โบ) ว. กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง. (ม. คำหลวง กุมาร), กระซ่าง ก็ว่า.
กระชาเดิม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ร้านหรือเรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและนํ้าหอมเป็นต้น.กระชาเดิม (โบ) น. ร้านหรือเรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและนํ้าหอมเป็นต้น.
กระชาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ในวงศ์ Zingiberaceae สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีลําต้นอยู่ใต้ดินเป็นหัวกลม ๆ มีรากสะสมอาหาร ซึ่งเรียวยาว อวบนํ้า ออกเป็นกระจุก ใช้เป็นผักและเป็นเครื่องปรุงประกอบอาหาร, พายัพเรียก กะแอน หรือ ละแอน.กระชาย น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. ในวงศ์ Zingiberaceae สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีลําต้นอยู่ใต้ดินเป็นหัวกลม ๆ มีรากสะสมอาหาร ซึ่งเรียวยาว อวบนํ้า ออกเป็นกระจุก ใช้เป็นผักและเป็นเครื่องปรุงประกอบอาหาร, พายัพเรียก กะแอน หรือ ละแอน.
กระชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง เช่น กระชิงหุ้มผ้าแดงได้แต่หลานหลวงอยู่ในวัง อยู่นอกวังกระชิงหุ้มผ้าขาวเลว. (กฎมนเทียรบาล). ในวงเล็บ ดู กรรชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.กระชิง น. เครื่องเข้ากระบวนแห่ของหลวงชนิดหนึ่ง เช่น กระชิงหุ้มผ้าแดงได้แต่หลานหลวงอยู่ในวัง อยู่นอกวังกระชิงหุ้มผ้าขาวเลว. (กฎมนเทียรบาล). (ดู กรรชิง).
กระชิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชิดทีเดียว เช่น ว่องไวไล่กระชิดติดพัน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๒.กระชิด ๑ ว. ชิดทีเดียว เช่น ว่องไวไล่กระชิดติดพัน. (รามเกียรติ์ ร. ๒).
กระชิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นข่อยหนาม. ในวงเล็บ ดู ข่อยหนาม เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ที่ ข่อย เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.กระชิด ๒ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ต้นข่อยหนาม. (ดู ข่อยหนาม ที่ ข่อย).
กระชุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปกลมสูง สําหรับบรรจุของ เช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุก ก็ว่า.กระชุ ๑ น. ภาชนะสานรูปกลมสูง สําหรับบรรจุของ เช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุก ก็ว่า.
กระชุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระทุ. ในวงเล็บ ดู กระทุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ.กระชุ ๒ น. ต้นกระทุ. (ดู กระทุ).
กระชุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปกลมสูง สําหรับบรรจุของเช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุ ก็ว่า; อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๕ สัด, และ ๔ กระชุก เป็น ๑ ตะลอง.กระชุก ๑ น. ภาชนะสานรูปกลมสูง สําหรับบรรจุของเช่นนุ่นหรือถ่าน, กระชุ ก็ว่า; อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๕ สัด, และ ๔ กระชุก เป็น ๑ ตะลอง.
กระชุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, สามชุก ก็เรียก.กระชุก ๒ น. ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, สามชุก ก็เรียก.
กระชุน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนูดู กระทุน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู.กระชุน ดู กระทุน.
กระชุ่มกระชวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีผิวพรรณสดใสหรือมีอาการกระปรี้กระเปร่า.กระชุ่มกระชวย ว. มีผิวพรรณสดใสหรือมีอาการกระปรี้กระเปร่า.
กระเชอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก แต่สูงกว่า ก้นสอบ ปากกว้าง ใช้กระเดียด; อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๕ ทะนาน, และ ๕ กระเชอ เป็น ๑ สัด, กันเชอ ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กญฺเชิ เขียนว่า กอ-ไก่-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ. (รูปภาพ กระเชอ).กระเชอ น. ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็ก แต่สูงกว่า ก้นสอบ ปากกว้าง ใช้กระเดียด; อัตราตวงของโบราณ มีพิกัดเท่ากับ ๕ ทะนาน, และ ๕ กระเชอ เป็น ๑ สัด, กันเชอ ก็เรียก. (เทียบ ข. กญฺเชิ). (รูปภาพ กระเชอ).
กระเชอก้นรั่ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุรุ่ยสุร่าย, ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ, ขาดการประหยัด.กระเชอก้นรั่ว (สำ) ว. สุรุ่ยสุร่าย, ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ, ขาดการประหยัด.
กระเชา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทําเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา.กระเชา น. ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทําเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา.
กระเช้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานมีหูเป็นวงโค้งขึ้นไปสําหรับหิ้ว.กระเช้า น. ภาชนะสานมีหูเป็นวงโค้งขึ้นไปสําหรับหิ้ว.
กระเช้าสวรรค์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์เพื่อความเพลิดเพลินชนิดหนึ่ง มักมีตามสวนสนุกและในงานเทศกาลต่าง ๆ ประกอบด้วยล้อโลหะขนาดใหญ่คู่ขนานกัน หมุนด้วยแรงกลในแนวตั้งรอบแกนที่ติดอยู่กับที่ มีที่นั่งในกระเช้าโลหะซึ่งห้อยติดอยู่เป็นช่วงระหว่างโครงของล้อทั้ง๒, ชิงช้าสวรรค์ ก็ว่า.กระเช้าสวรรค์ น. อุปกรณ์เพื่อความเพลิดเพลินชนิดหนึ่ง มักมีตามสวนสนุกและในงานเทศกาลต่าง ๆ ประกอบด้วยล้อโลหะขนาดใหญ่คู่ขนานกัน หมุนด้วยแรงกลในแนวตั้งรอบแกนที่ติดอยู่กับที่ มีที่นั่งในกระเช้าโลหะซึ่งห้อยติดอยู่เป็นช่วงระหว่างโครงของล้อทั้ง๒, ชิงช้าสวรรค์ ก็ว่า.
กระเช้าผีมด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Aristolochia tagala Cham. ในวงศ์ Aristolochiaceae ผลเมื่อแก่ตอนโคนแยกออกเป็น ๖ สาย คล้ายสาแหรก รากใช้ทํายาได้. (๒) ชื่อไม้พุ่มอิงอาศัยชนิด Hydnophytum formicarium Jack ในวงศ์ Rubiaceae ชอบเกาะไม้ต้นในป่าดิบชื้นใกล้ฝั่งทะเล ลําต้นทรงกลมอวบนํ้า มีรูพรุนภายในเป็นที่อาศัยของมด ส่วนที่เป็นรูพรุนใช้ทํายาได้, หัวร้อยรู ก็เรียก.กระเช้าผีมด น. (๑) ชื่อไม้เถาชนิด Aristolochia tagala Cham. ในวงศ์ Aristolochiaceae ผลเมื่อแก่ตอนโคนแยกออกเป็น ๖ สาย คล้ายสาแหรก รากใช้ทํายาได้. (๒) ชื่อไม้พุ่มอิงอาศัยชนิด Hydnophytum formicarium Jack ในวงศ์ Rubiaceae ชอบเกาะไม้ต้นในป่าดิบชื้นใกล้ฝั่งทะเล ลําต้นทรงกลมอวบนํ้า มีรูพรุนภายในเป็นที่อาศัยของมด ส่วนที่เป็นรูพรุนใช้ทํายาได้, หัวร้อยรู ก็เรียก.
กระเช้าสีดา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Aristolochia indica L. ในวงศ์ Aristolochiaceae ผลคล้ายผลกระเช้าผีมด (๑) แต่ขนาดใหญ่กว่า รากใช้ทํายาได้.กระเช้าสีดา น. ชื่อไม้เถาชนิด Aristolochia indica L. ในวงศ์ Aristolochiaceae ผลคล้ายผลกระเช้าผีมด (๑) แต่ขนาดใหญ่กว่า รากใช้ทํายาได้.
กระเชียง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสําหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกระเชียง, กรรเชียง ก็ว่า.กระเชียง น. เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสําหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกระเชียง, กรรเชียง ก็ว่า.
กระเชียงปู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อูดู กรรเชียงปู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู.กระเชียงปู ดู กรรเชียงปู.
กระแชง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบังแดดฝน โดยนําใบเตยหรือใบจากเป็นต้นมาเย็บเป็นแผง, ลักษณนามว่า ผืน (เทียบมลายู กระชัง = แผงสำหรับคลุมเรือหรือรถ เย็บด้วยใบไม้); เชือกหนังสําหรับติดกับสายรัดประโคนของช้าง แต่มักติดเบื้องท้ายสันหลัง เพื่อควาญช้างจับในเวลาคับขัน; เชือกบาศสําหรับคล้องช้าง; ชื่อเรือบรรทุกชนิดหนึ่ง เล็กกว่าเรือเอี้ยมจุ๊น ท้องเรือกลมป้อม ใช้กระแชงทําเป็นประทุน เรียกว่า เรือกระแชง.กระแชง น. เครื่องบังแดดฝน โดยนําใบเตยหรือใบจากเป็นต้นมาเย็บเป็นแผง, ลักษณนามว่า ผืน (เทียบมลายู กระชัง = แผงสำหรับคลุมเรือหรือรถ เย็บด้วยใบไม้); เชือกหนังสําหรับติดกับสายรัดประโคนของช้าง แต่มักติดเบื้องท้ายสันหลัง เพื่อควาญช้างจับในเวลาคับขัน; เชือกบาศสําหรับคล้องช้าง; ชื่อเรือบรรทุกชนิดหนึ่ง เล็กกว่าเรือเอี้ยมจุ๊น ท้องเรือกลมป้อม ใช้กระแชงทําเป็นประทุน เรียกว่า เรือกระแชง.
กระแชะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระแซะ เช่น แกล้งทำเลียมและกระแชะชิด สะบิ้งสะบัดดัดจริตกิริยา. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.กระแชะ (กลอน) ก. กระแซะ เช่น แกล้งทำเลียมและกระแชะชิด สะบิ้งสะบัดดัดจริตกิริยา. (คาวี).
กระโชก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก; ทําให้กลัว, ทําให้ตกใจ, เช่น ขู่กระโชก, กระแทก เช่น ม้าก็กระโชกวิ่งหนักเข้า. ในวงเล็บ มาจาก พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก่อนเสวยราชย์ พิมพ์ พ.ศ. ๒๔๗๒, ลมกระโชกแรง. ในวงเล็บ มาจาก ระยะทางเสด็จพระราชดำเนินประพาสทางบกเรือรอบแหลมมลายู ร.ศ. ๑๐๙, พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๕ ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๕.กระโชก ว. กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก; ทําให้กลัว, ทําให้ตกใจ, เช่น ขู่กระโชก, กระแทก เช่น ม้าก็กระโชกวิ่งหนักเข้า. (ประวัติ. จุล), ลมกระโชกแรง. (ประพาสมลายู).
กระโชกกระชั้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการพูดกระแทกเสียงถี่ ๆ.กระโชกกระชั้น ว. อาการพูดกระแทกเสียงถี่ ๆ.
กระโชกกระชาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการพูดอย่างตวาดหรืออย่างกระแทกเสียง.กระโชกกระชาก ว. อาการพูดอย่างตวาดหรืออย่างกระแทกเสียง.
กระโชกโฮกฮาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, โฮกฮาก ก็ว่า.กระโชกโฮกฮาก ว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, โฮกฮาก ก็ว่า.
กระซวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำนาม หมายถึง กรวย เช่น กระซวยหมากพลู.กระซวย (ถิ่น) น. กรวย เช่น กระซวยหมากพลู.
–กระซวย มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ยอ-ยักใช้เข้าคู่กับคํา กระซิก เป็น กระซิกกระซวย.–กระซวย ใช้เข้าคู่กับคํา กระซิก เป็น กระซิกกระซวย.
–กระซ้อ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่างใช้เข้าคู่กับคํา กระซี้ เป็น กระซี้กระซ้อ.–กระซ้อ ใช้เข้าคู่กับคํา กระซี้ เป็น กระซี้กระซ้อ.
กระซ่องกระแซ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระย่องกระแย่ง, ซ่องแซ่ง ก็ว่า.กระซ่องกระแซ่ง ว. กระย่องกระแย่ง, ซ่องแซ่ง ก็ว่า.
กระซับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพนักงานพวกหนึ่งในเรือเดินทะเล มีหน้าที่รักษาพัสดุตลอดจนสินค้าทั่วไปในระวางเรือด้วย เรียกเต็มว่า กระซับปากเรือ.กระซับ น. ชื่อพนักงานพวกหนึ่งในเรือเดินทะเล มีหน้าที่รักษาพัสดุตลอดจนสินค้าทั่วไปในระวางเรือด้วย เรียกเต็มว่า กระซับปากเรือ.
กระซ่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์สักบรรพ, กระช่าง ก็ว่า.กระซ่าง (โบ) ว. กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน. (ม. คำหลวง สักบรรพ), กระช่าง ก็ว่า.
กระซาบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเบา ๆ เช่น ค่อยกระซาบคําเกลี้ยง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระซิบ เป็น กระซิบกระซาบ.กระซาบ (กลอน) ก. พูดเบา ๆ เช่น ค่อยกระซาบคําเกลี้ยง. (ลอ), นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระซิบ เป็น กระซิบกระซาบ.
กระซิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยเบียดเข้าไป.กระซิก ๑ ก. ค่อยเบียดเข้าไป.
กระซิก ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ร้องไห้ค่อย ๆ.กระซิก ๆ ว. อาการที่ร้องไห้ค่อย ๆ.
กระซิกกระซวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยกระแซะเข้าไป เช่น เจ้าก็ระรี่ระริกกระซิกกระซวย. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.กระซิกกระซวย ก. ค่อยกระแซะเข้าไป เช่น เจ้าก็ระรี่ระริกกระซิกกระซวย. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
กระซิกกระซี้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะเย้าหยอกกัน, ระริก, ซิกซี้ ก็ว่า.กระซิกกระซี้ ก. หัวเราะเย้าหยอกกัน, ระริก, ซิกซี้ ก็ว่า.
กระซิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Dalbergia parviflora Roxb. ในวงศ์ Leguminosae มีทางปักษ์ใต้ เนื้อไม้สีแดงคลํ้าคล้ายไม้ชิงชัน, ครี้ หรือ สรี้ ก็เรียก.กระซิก ๒ น. ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Dalbergia parviflora Roxb. ในวงศ์ Leguminosae มีทางปักษ์ใต้ เนื้อไม้สีแดงคลํ้าคล้ายไม้ชิงชัน, ครี้ หรือ สรี้ ก็เรียก.
กระซิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ.กระซิบ ก. พูดเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระซุบ เป็น กระซุบกระซิบ.
กระซิบกระซาบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง บอกความหรือคุยกันด้วยเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน.กระซิบกระซาบ ก. บอกความหรือคุยกันด้วยเสียงเบา ๆ เพื่อไม่ให้ผู้อื่นได้ยิน.
–กระซี้ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โทใช้เข้าคู่กับคํา กระซิก และ กระเซ้า เป็น กระซิกกระซี้ และ กระเซ้ากระซี้.–กระซี้ ใช้เข้าคู่กับคํา กระซิก และ กระเซ้า เป็น กระซิกกระซี้ และ กระเซ้ากระซี้.
กระซี้กระซ้อ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดสนิทชิดเชื้อเพื่อความเสน่หา.กระซี้กระซ้อ ว. อาการที่พูดสนิทชิดเชื้อเพื่อความเสน่หา.
กระซุง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พนักงาน, ตําแหน่ง. (พจน). (เทียบ กระทรวง).กระซุง น. พนักงาน, ตําแหน่ง. (พจน). (เทียบ กระทรวง).
กระซุบกระซิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกันเบา ๆ.กระซุบกระซิบ ก. พูดกันเบา ๆ.
กระซุ้ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ซุ้ม.กระซุ้ม น. ซุ้ม.
กระซู่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแรดชนิด Dicerorhinus sumatrensis ในวงศ์ Rhinocerotidae มี ๒ นอ ขนดกกว่าแรดชนิดอื่น เป็นแรดขนาดเล็กที่สุด.กระซู่ น. ชื่อแรดชนิด Dicerorhinus sumatrensis ในวงศ์ Rhinocerotidae มี ๒ นอ ขนดกกว่าแรดชนิดอื่น เป็นแรดขนาดเล็กที่สุด.
–กระเซ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ใช้เข้าคู่กับคํา กระโซ เป็น กระโซกระเซ.–กระเซ ใช้เข้าคู่กับคํา กระโซ เป็น กระโซกระเซ.
กระเซ็น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเด็นเป็นฝอย.กระเซ็น ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเด็นเป็นฝอย.
กระเซอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซ่อเซอะ, เร่อร่า, เช่น ผัวเขาจริง ๆ วิ่งกระเซอ. ในวงเล็บ มาจาก บทละครชุดเบ็ดเตล็ดในเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ ในรัชกาล ที่ ๑ ที่ ๒ ที่ ๔ ที่ ๕ และพระบวรราชนิพนธ์ ในกรมพระราชวังบวร มหาศักดิพลเสพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๘, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระเซอะ เป็น กระเซอะกระเซอ.กระเซอ ว. เซ่อเซอะ, เร่อร่า, เช่น ผัวเขาจริง ๆ วิ่งกระเซอ. (รามเกียรติ์ พลเสพย์), นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระเซอะ เป็น กระเซอะกระเซอ.
กระเซอะกระเซอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่อเซอะ เช่น ชังนํ้าหน้าบ้าเคอะกระเซอะกระเซอ. ในวงเล็บ มาจาก คาวี พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๔๙.กระเซอะกระเซอ ก. เซ่อเซอะ เช่น ชังนํ้าหน้าบ้าเคอะกระเซอะกระเซอ. (คาวี).
กระเซอะกระเซิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ซัดเซไปโดยไม่มีที่มุ่งหมายว่าจะไปแห่งไร.กระเซอะกระเซิง ว. อาการที่ซัดเซไปโดยไม่มีที่มุ่งหมายว่าจะไปแห่งไร.
กระเซ้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง พูดรบเร้า, พูดเย้าแหย่.กระเซ้า ก. พูดรบเร้า, พูดเย้าแหย่.
กระเซ้ากระซี้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, เซ้าซี้ ก็ว่า.กระเซ้ากระซี้ ก. พูดรบเร้ารํ่าไรเพื่อให้ได้ตามที่ต้องการ, เซ้าซี้ ก็ว่า.
กระเซิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยุ่งเหยิง, รุงรัง, เช่น ผมเป็นกระเซิง, เซิง ก็ว่า.กระเซิง ว. ยุ่งเหยิง, รุงรัง, เช่น ผมเป็นกระเซิง, เซิง ก็ว่า.
–กระเซิง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระเซอะ เป็น กระเซอะกระเซิง.–กระเซิง ใช้เข้าคู่กับคํา กระเซอะ เป็น กระเซอะกระเซิง.
กระแซ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คนเชื้อสายชาวอินเดียเมืองมณีปุระ (เมืองหนึ่งในแคว้นอัสสัม).กระแซ ๑ น. คนเชื้อสายชาวอินเดียเมืองมณีปุระ (เมืองหนึ่งในแคว้นอัสสัม).
กระแซ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือพายชนิดหนึ่งอยู่ในกระบวนเรือรบหลวง เรียกว่า เรือกระแซ.กระแซ ๒ น. ชื่อเรือพายชนิดหนึ่งอยู่ในกระบวนเรือรบหลวง เรียกว่า เรือกระแซ.
กระแซง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้างผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแอก หรือ ประแอก ก็เรียก.กระแซง น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปลายสายทั้ง ๒ ข้างผูกกับสายสำอางคร่อมอยู่ทางท้ายสันหลังช้าง สำหรับควาญช้างจับเมื่อเวลาคับขัน, กระแอก หรือ ประแอก ก็เรียก.
กระแซะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง ขยับกระทบเข้าไป เช่น ขยับตัวกระแซะเข้าไป พูดเลียบเคียงกระแซะเข้าไป.กระแซะ ก. ขยับกระทบเข้าไป เช่น ขยับตัวกระแซะเข้าไป พูดเลียบเคียงกระแซะเข้าไป.
กระโซกระเซ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โซ ๆ เซ ๆ.กระโซกระเซ ว. โซ ๆ เซ ๆ.
กระฎี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่. (แผลงมาจาก กุฎี).กระฎี น. เรือนหรือตึกสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่. (แผลงมาจาก กุฎี).
กระฎุมพี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชนชั้นตํ่า, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ไพร่ เป็น ไพร่กระฎุมพี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กุฎุมฺพิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ว่า คนมั่งมี .กระฎุมพี น. ชนชั้นตํ่า, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ไพร่ เป็น ไพร่กระฎุมพี. (ป. กุฎุมฺพิก ว่า คนมั่งมี).
กระดก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ปลายข้างหนึ่งยกสูงขึ้น, เผยอขึ้นข้างหนึ่ง.กระดก ๑ ก. ทําให้ปลายข้างหนึ่งยกสูงขึ้น, เผยอขึ้นข้างหนึ่ง.
กระดกกระดนโด่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งอยู่อย่างไม่เรียบร้อย, ท่าทางเก้กังไม่เรียบร้อย.กระดกกระดนโด่ (ปาก) ก. ตั้งอยู่อย่างไม่เรียบร้อย, ท่าทางเก้กังไม่เรียบร้อย.
กระดก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลววแก่มรณภยานตราย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก.กระดก ๒ (โบ; กลอน) ก. ตระหนก, กลัว, เช่น ก็กระดกตกใจกลววแก่มรณภยานตราย. (ม. คำหลวง ชูชก).
กระด้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะรูปแบน ขอบกลม สําหรับฝัดข้าวเป็นต้น, ถ้าขนาดใหญ่ เรียกว่า กระด้งมอญ, ถ้ามีตาห่าง เรียกว่า ตะแกรง.กระด้ง น. ภาชนะรูปแบน ขอบกลม สําหรับฝัดข้าวเป็นต้น, ถ้าขนาดใหญ่ เรียกว่า กระด้งมอญ, ถ้ามีตาห่าง เรียกว่า ตะแกรง.
–กระดนโด่ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอกใช้เข้าคู่กับคํา กระดก เป็น กระดกกระดนโด่.–กระดนโด่ ใช้เข้าคู่กับคํา กระดก เป็น กระดกกระดนโด่.
กระดวง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เพี้ยนมาจาก กราดวง เป็นคำนาม หมายถึง ลูกมะพร้าวทุยที่ตัดครึ่งท่อน สําหรับถูพื้นบ้านหรือหวีด้ายทอหูก.กระดวง (ปาก; เพี้ยนมาจาก กราดวง) น. ลูกมะพร้าวทุยที่ตัดครึ่งท่อน สําหรับถูพื้นบ้านหรือหวีด้ายทอหูก.
กระดวน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เพี้ยนมาจาก ประดวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยอน, แยง.กระดวน (ปาก; เพี้ยนมาจาก ประดวน) ก. ยอน, แยง.
กระด้วมกระเดี้ยม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระต้วมกระเตี้ยม.กระด้วมกระเดี้ยม ว. กระต้วมกระเตี้ยม.
กระดอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด.กระดอ น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด.
กระดอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนแข็งที่หุ้มตัวสัตว์บางชนิดเช่น เต่า ปู หรือแมงดาทะเล. (ทางเหนือว่า ออง).กระดอง น. ส่วนแข็งที่หุ้มตัวสัตว์บางชนิดเช่น เต่า ปู หรือแมงดาทะเล. (ทางเหนือว่า ออง).
กระดองหาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว เช่นด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตักและไม้กระดองหาย. ในวงเล็บ มาจาก ในหนังสือเรื่องกฎหมายเมืองไทย หมอปรัดเล พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๓๕, ดอง ดองหาย ดองฉาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. ในวงเล็บ รูปภาพ กระดองหาย.กระดองหาย น. ไม้สําหรับสงฟางในเวลานวดข้าว เช่นด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตักและไม้กระดองหาย. (ลักษณะธรรมนูญ), ดอง ดองหาย ดองฉาย ขอฉาย หรือ คันฉาย ก็เรียก. (รูปภาพ กระดองหาย).
กระดอน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง สะท้อนขึ้น.กระดอน ก. สะท้อนขึ้น.
กระดอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้ออ่อนชนิด Gymnopetalum cochinchinense (Lour.) Kurz ในวงศ์ Cucurbitaceae เถา ๕ เหลี่ยม มีมือจับ ผล ๑๐ เหลี่ยม สุกสีส้ม มีรสขม ใช้ทํายาได้, ขี้กาดง หรือ ขี้กาเหลี่ยม ก็เรียก.กระดอม น. ชื่อไม้เถาเนื้ออ่อนชนิด Gymnopetalum cochinchinense (Lour.) Kurz ในวงศ์ Cucurbitaceae เถา ๕ เหลี่ยม มีมือจับ ผล ๑๐ เหลี่ยม สุกสีส้ม มีรสขม ใช้ทํายาได้, ขี้กาดง หรือ ขี้กาเหลี่ยม ก็เรียก.
กระดักกระเดี้ย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีแรง, ขยับเขยื้อนไม่ใคร่ได้, เกือบจะหมดกําลังกาย, เช่น เพิ่งหายไข้ใหม่ ๆ จะลุกจะนั่งก็กระดักกระเดี้ย, ไม่ใคร่ไหว เช่น หากินกระดักกระเดี้ย.กระดักกระเดี้ย ว. ไม่มีแรง, ขยับเขยื้อนไม่ใคร่ได้, เกือบจะหมดกําลังกาย, เช่น เพิ่งหายไข้ใหม่ ๆ จะลุกจะนั่งก็กระดักกระเดี้ย, ไม่ใคร่ไหว เช่น หากินกระดักกระเดี้ย.
กระดังงัว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวนดู การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓.กระดังงัว ดู การเวก ๓.
กระดังงา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cananga odorata (Lam.) Hook.f. et Thomson ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอม กลีบบาง มี ๖ กลีบ ดอกใช้กลั่นนํ้ามันหอมได้, กระดังงาใหญ่ สะบันงา หรือ สะบันงาต้น ก็เรียก. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู canaga เขียนว่า ซี-เอ-เอ็น-เอ-จี-เอ kananga เขียนว่า เค-เอ-เอ็น-เอ-เอ็น-จี-เอ ; พรรณไม้ชนิดนี้มีพันธุ์หนึ่งเป็นไม้พุ่ม ดอกมักมีกลีบมากกว่า ๖ กลีบ หอมอ่อน เรียกว่า กระดังงาสงขลา [Cananga odorata Hook.f. et Thomson var. fruticosa (Craib) J. Sinclair].กระดังงา น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cananga odorata (Lam.) Hook.f. et Thomson ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอม กลีบบาง มี ๖ กลีบ ดอกใช้กลั่นนํ้ามันหอมได้, กระดังงาใหญ่ สะบันงา หรือ สะบันงาต้น ก็เรียก. (เทียบมลายู canaga, kananga); พรรณไม้ชนิดนี้มีพันธุ์หนึ่งเป็นไม้พุ่ม ดอกมักมีกลีบมากกว่า ๖ กลีบ หอมอ่อน เรียกว่า กระดังงาสงขลา [Cananga odorata Hook.f. et Thomson var. fruticosa (Craib) J. Sinclair].
กระดังงาจีน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys hexapetalus (L.f.) Bhandari ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอมจัด กลีบหนา มี ๖ กลีบ ก้านดอกเป็นขอ, สะบันงาจีน ก็เรียก.กระดังงาจีน น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Artabotrys hexapetalus (L.f.) Bhandari ในวงศ์ Annonaceae ดอกหอมจัด กลีบหนา มี ๖ กลีบ ก้านดอกเป็นขอ, สะบันงาจีน ก็เรียก.
กระดังงาเถา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อาดู การเวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓.กระดังงาเถา ดู การเวก ๓.
กระดังงาลนไฟ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เคยแต่งงานหรือผ่านผู้ชายมาแล้ว ย่อมรู้จักชั้นเชิงทางปรนนิบัติและเอาอกเอาใจผู้ชายได้ดีกว่าหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน.กระดังงาลนไฟ (สำ) น. หญิงที่เคยแต่งงานหรือผ่านผู้ชายมาแล้ว ย่อมรู้จักชั้นเชิงทางปรนนิบัติและเอาอกเอาใจผู้ชายได้ดีกว่าหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน.
กระดาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทําเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย.กระดาก ๑ ก. รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทําเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย.
กระดากกระเดื่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง สะทกสะเทิ้น, ขวยเขิน.กระดากกระเดื่อง ก. สะทกสะเทิ้น, ขวยเขิน.
กระดาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระเดาะ, กระดก, เช่น สิ้นทั้งพันปากกระดากลิ้น, สิบปากกระดากลิ้นเคี้ยวฟัน. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑. (อะหม ตาก ว่า กระเดาะปาก).กระดาก ๒ (กลอน) ก. กระเดาะ, กระดก, เช่น สิ้นทั้งพันปากกระดากลิ้น, สิบปากกระดากลิ้นเคี้ยวฟัน. (รามเกียรติ์ ร. ๑). (อะหม ตาก ว่า กระเดาะปาก).
กระดาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่ง เช่น กระดากกระโดนดําดง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ กัณฑ์มหาพน.กระดาก ๓ น. ชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่ง เช่น กระดากกระโดนดําดง. (ม. ฉันท์ มหาพน).
กระด้าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อถั่วชนิด Vigna sinensis (L.) Savi ex Hassk. var. cylindrica (L.) Koern. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดคล้ายถั่วดํา แต่สีค่อนข้างแดง ใช้เป็นอาหารได้อย่างถั่วดํา, บางทีเรียก ถั่วนา. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Lasianthus hookeri C.B. Clarke ในวงศ์ Rubiaceae ต้นตรงเรียวและเป็นขนสาก ๆ ใบรูปหอก ปลายแหลม ดอกขาวเล็ก ๆ เป็นกระจุกติดกับลําต้นที่ง่ามใบ ตําราแพทย์แผนโบราณว่ารากใช้ทํายาได้, พายัพเรียก กะด้าง. (๓) ชื่อเห็ดหลายชนิดในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ เนื้อเหนียว กินไม่ได้ เช่น ชนิด Daedaleaopsis confragosa (Bolt. ex Fr.) Schroet. ดอกเห็ดรูปพัด สีน้ำตาลแดงสลับน้ำตาลอ่อน ผิวไม่เรียบ ด้านล่างมีรู เนื้อในเห็ดแข็ง.กระด้าง ๑ น. (๑) ชื่อถั่วชนิด Vigna sinensis (L.) Savi ex Hassk. var. cylindrica (L.) Koern. ในวงศ์ Leguminosae เมล็ดคล้ายถั่วดํา แต่สีค่อนข้างแดง ใช้เป็นอาหารได้อย่างถั่วดํา, บางทีเรียก ถั่วนา. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Lasianthus hookeri C.B. Clarke ในวงศ์ Rubiaceae ต้นตรงเรียวและเป็นขนสาก ๆ ใบรูปหอก ปลายแหลม ดอกขาวเล็ก ๆ เป็นกระจุกติดกับลําต้นที่ง่ามใบ ตําราแพทย์แผนโบราณว่ารากใช้ทํายาได้, พายัพเรียก กะด้าง. (๓) ชื่อเห็ดหลายชนิดในวงศ์ Polyporaceae ขึ้นบนขอนไม้ เนื้อเหนียว กินไม่ได้ เช่น ชนิด Daedaleaopsis confragosa (Bolt. ex Fr.) Schroet. ดอกเห็ดรูปพัด สีน้ำตาลแดงสลับน้ำตาลอ่อน ผิวไม่เรียบ ด้านล่างมีรู เนื้อในเห็ดแข็ง.
กระด้าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูนํ้าชนิด Erpeton tentaculatum ในวงศ์ Colubridae ลําตัวสีนํ้าตาลและดํา มีหนวดสั้นหุ้มด้วยเกล็ดเล็ก ๆ ๒ เส้น อาศัยตามแหล่งนํ้าจืดทั่วไป มีพิษอ่อนมาก ไม่ปรากฏว่าเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ชอบทําตัวแข็งทื่อ จึงเรียกว่า งูกระด้าง.กระด้าง ๒ น. ชื่องูนํ้าชนิด Erpeton tentaculatum ในวงศ์ Colubridae ลําตัวสีนํ้าตาลและดํา มีหนวดสั้นหุ้มด้วยเกล็ดเล็ก ๆ ๒ เส้น อาศัยตามแหล่งนํ้าจืดทั่วไป มีพิษอ่อนมาก ไม่ปรากฏว่าเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ชอบทําตัวแข็งทื่อ จึงเรียกว่า งูกระด้าง.
กระด้าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้างแข็ง หมายถึงสิ่งที่มีลักษณะไม่อ่อน, ไม่นิ่มนวล, เช่น ลิ้นกระด้าง ข้าวกระด้าง; ขัดแข็ง หมายถึง กิริยาวาจาไม่อ่อนตาม เช่น มีกิริยากระด้างขึ้น; เรียกนํ้าที่ฟอกสบู่ไม่เป็นฟองว่า นํ้ากระด้าง.กระด้าง ๓ ว. ค่อนข้างแข็ง หมายถึงสิ่งที่มีลักษณะไม่อ่อน, ไม่นิ่มนวล, เช่น ลิ้นกระด้าง ข้าวกระด้าง; ขัดแข็ง หมายถึง กิริยาวาจาไม่อ่อนตาม เช่น มีกิริยากระด้างขึ้น; เรียกนํ้าที่ฟอกสบู่ไม่เป็นฟองว่า นํ้ากระด้าง.
กระด้างกระเดื่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แข็ง เช่น หนึ่งโสดฝุ่นทรายตรึงตรา นอนแนบหินผา กระด้างกระเดื่องทั้งตัว. ในวงเล็บ มาจาก คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่อ่อนน้อม, เอาใจออกหากไม่ยอมอ่อนน้อมอย่างเคย.กระด้างกระเดื่อง ก. แข็ง เช่น หนึ่งโสดฝุ่นทรายตรึงตรา นอนแนบหินผา กระด้างกระเดื่องทั้งตัว. (ดุษฎีสังเวย). ว. ไม่อ่อนน้อม, เอาใจออกหากไม่ยอมอ่อนน้อมอย่างเคย.
กระดางลาง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มรรยาทหยาบ, สัปดน, เช่น อ้ายเฒ่าแก่กากกลีกระดางลาง ยังมันนี้ใครเขามีบ้างที่เมืองคน. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.กระดางลาง ว. มรรยาทหยาบ, สัปดน, เช่น อ้ายเฒ่าแก่กากกลีกระดางลาง ยังมันนี้ใครเขามีบ้างที่เมืองคน. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
กระดาด, กระดาดขาว กระดาด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก กระดาดขาว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Alocasia indica Schott ในวงศ์ Araceae มีหัวใต้ดิน ต้นคล้ายบอนหรือเผือกแต่ใบมีขนาดใหญ่กว่า ก้านใบตอนล่างเป็นกาบสีเขียว ทั้งต้นใช้ทํายา หัวทําให้สุกแล้วกินได้, เผือกกะลา หรือ เผือกโทป้าด ก็เรียก.กระดาด, กระดาดขาว น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Alocasia indica Schott ในวงศ์ Araceae มีหัวใต้ดิน ต้นคล้ายบอนหรือเผือกแต่ใบมีขนาดใหญ่กว่า ก้านใบตอนล่างเป็นกาบสีเขียว ทั้งต้นใช้ทํายา หัวทําให้สุกแล้วกินได้, เผือกกะลา หรือ เผือกโทป้าด ก็เรียก.
กระดาดดำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Alocasia และ Xanthosoma วงศ์ Araceae คือ ชนิด Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don ลักษณะคล้ายกระดาด ใบสีเขียวเข้มหรือม่วงดำ ใช้ทํายาได้, ปึมปื้อ หรือ เอาะลาย ก็เรียก; และชนิด Xanthosoma nigrum (Vell.) Mansf. ใบสีเขียวเข้มหรือม่วง โคนใบเว้าลึกคล้ายหัวลูกศร หัว ใบ และก้านกินได้.กระดาดดำ น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Alocasia และ Xanthosoma วงศ์ Araceae คือ ชนิด Alocasia macrorrhizos (L.) G. Don ลักษณะคล้ายกระดาด ใบสีเขียวเข้มหรือม่วงดำ ใช้ทํายาได้, ปึมปื้อ หรือ เอาะลาย ก็เรียก; และชนิด Xanthosoma nigrum (Vell.) Mansf. ใบสีเขียวเข้มหรือม่วง โคนใบเว้าลึกคล้ายหัวลูกศร หัว ใบ และก้านกินได้.
กระดาดแดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Alocasia indica Schott var. metallica Schott ในวงศ์ Araceae โคนใบเว้าลึกและห่างไม่มาก ก้านใบสีม่วงแดง กาบหุ้มช่อดอกด้านในสีเหลืองหรือม่วงแดง ใช้ทํายาได้.กระดาดแดง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Alocasia indica Schott var. metallica Schott ในวงศ์ Araceae โคนใบเว้าลึกและห่างไม่มาก ก้านใบสีม่วงแดง กาบหุ้มช่อดอกด้านในสีเหลืองหรือม่วงแดง ใช้ทํายาได้.
กระดาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ซุงที่เลื่อยออกเป็นแผ่น ๆ; ลักษณนามเรียกการแข่งขันที่เดินบนตากระดานซึ่งถึงที่สุดแล้ว เช่นว่าเล่นหมากรุกชนะ ๒ กระดาน; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะอย่างกระดาน.กระดาน ๑ น. ไม้ซุงที่เลื่อยออกเป็นแผ่น ๆ; ลักษณนามเรียกการแข่งขันที่เดินบนตากระดานซึ่งถึงที่สุดแล้ว เช่นว่าเล่นหมากรุกชนะ ๒ กระดาน; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะอย่างกระดาน.
กระดานชนวน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กระดานทําด้วยแผ่นหินชนวนบ้าง ทำด้วยไม้ทาสมุกบ้าง สําหรับเขียนหนังสือ.กระดานชนวน น. กระดานทําด้วยแผ่นหินชนวนบ้าง ทำด้วยไม้ทาสมุกบ้าง สําหรับเขียนหนังสือ.
กระดานชัย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการออกถั่วใหญ่ ๓ ครั้งแรก.กระดานชัย น. ชื่อการออกถั่วใหญ่ ๓ ครั้งแรก.
กระดานดำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง กระดานใหญ่ มักทาสีดำ ใช้เป็นอุปกรณ์การสอนการเรียน.กระดานดำ น. กระดานใหญ่ มักทาสีดำ ใช้เป็นอุปกรณ์การสอนการเรียน.
กระดานโต้คลื่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่นโดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ surfboard เขียนว่า เอส-ยู-อา-เอฟ-บี-โอ-เอ-อา-ดี, เรียกการเล่นเช่นนั้นว่า การเล่นกระดานโต้คลื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ surf–riding เขียนว่า เอส-ยู-อา-เอฟ-อา-ไอ-ดี-ไอ-เอ็น-จี.กระดานโต้คลื่น น. กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่นโดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป. (อ. surfboard), เรียกการเล่นเช่นนั้นว่า การเล่นกระดานโต้คลื่น. (อ. surf–riding).
กระดานถีบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นกระดานที่ใช้ถีบไปบนเลนเพื่อเก็บหอยปู โดยมากใช้กันในจังหวัดชลบุรี. ในวงเล็บ รูปภาพ กระดานถีบ.กระดานถีบ น. แผ่นกระดานที่ใช้ถีบไปบนเลนเพื่อเก็บหอยปู โดยมากใช้กันในจังหวัดชลบุรี. (รูปภาพ กระดานถีบ).
กระดานพิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นสําหรับรับหมอนพิงหลังเช่นใช้ที่ธรรมาสน์.กระดานพิง น. แผ่นสําหรับรับหมอนพิงหลังเช่นใช้ที่ธรรมาสน์.
กระดานไฟ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง กระดานสําหรับนอนอยู่ไฟเมื่อคลอดบุตรแล้ว.กระดานไฟ น. กระดานสําหรับนอนอยู่ไฟเมื่อคลอดบุตรแล้ว.
กระดานลื่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกกระดานที่ตั้งสูงทอดตํ่าลงไปด้านหนึ่ง ให้เด็กเล่นโดยนั่งไถลตัวลง, ไม้ลื่น ก็เรียก.กระดานลื่น น. เรียกกระดานที่ตั้งสูงทอดตํ่าลงไปด้านหนึ่ง ให้เด็กเล่นโดยนั่งไถลตัวลง, ไม้ลื่น ก็เรียก.
กระดานเลียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กระดานแผ่นเดียวที่ปูไว้หน้าเรือน สําหรับนั่งหรือวางสิ่งของต่าง ๆ, กราบเรือส่วนที่เป็นไม้กระดานที่ติดตรงแคมเรือไปตามแนวนอนสำหรับเดิน.กระดานเลียบ น. ไม้กระดานแผ่นเดียวที่ปูไว้หน้าเรือน สําหรับนั่งหรือวางสิ่งของต่าง ๆ, กราบเรือส่วนที่เป็นไม้กระดานที่ติดตรงแคมเรือไปตามแนวนอนสำหรับเดิน.
กระดานหก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดักสัตว์อย่างหนึ่งทําด้วยไม้กระดาน หกได้; เครื่องเล่นสำหรับเด็กอย่างหนึ่ง เป็นแผ่นไม้กระดาน ระหว่างกึ่งกลางความยาวของไม้มีขาซึ่งตรึงติดกับแผ่นไม้ ผู้เล่นนั่งที่ปลายไม้ทั้ง ๒ ข้าง ผลัดกันกระดกไม้กระดานให้ขึ้นลง.กระดานหก น. เครื่องดักสัตว์อย่างหนึ่งทําด้วยไม้กระดาน หกได้; เครื่องเล่นสำหรับเด็กอย่างหนึ่ง เป็นแผ่นไม้กระดาน ระหว่างกึ่งกลางความยาวของไม้มีขาซึ่งตรึงติดกับแผ่นไม้ ผู้เล่นนั่งที่ปลายไม้ทั้ง ๒ ข้าง ผลัดกันกระดกไม้กระดานให้ขึ้นลง.
กระดาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งทะเลชนิด Thenus orientalis ในวงศ์ Scyllaridae หัวและลําตัวหุ้มด้วยเปลือกแข็งสีนํ้าตาล ส่วนหัวและหนวดคู่ที่ ๒ แบน แพนหางแผ่ราบได้กว้าง ปรกติงอพับอยู่ใต้ส่วนท้อง อาศัยอยู่ตามพื้นทะเล พบทั่วไปขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร มักเรียกกันทั่วไปว่า กั้งกระดาน.กระดาน ๒ น. ชื่อกุ้งทะเลชนิด Thenus orientalis ในวงศ์ Scyllaridae หัวและลําตัวหุ้มด้วยเปลือกแข็งสีนํ้าตาล ส่วนหัวและหนวดคู่ที่ ๒ แบน แพนหางแผ่ราบได้กว้าง ปรกติงอพับอยู่ใต้ส่วนท้อง อาศัยอยู่ตามพื้นทะเล พบทั่วไปขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร มักเรียกกันทั่วไปว่า กั้งกระดาน.
กระดานพน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-นอ-หนูดู กระเบียน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู (๒).กระดานพน ดู กระเบียน (๒).
กระดาษ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทําจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ.กระดาษ น. วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทําจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ.
กระดาษแก้ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่มีเนื้อใส.กระดาษแก้ว น. กระดาษที่มีเนื้อใส.
กระดาษข่อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ทําจากเปลือกข่อย ใช้ทำสมุดไทย.กระดาษข่อย น. กระดาษที่ทําจากเปลือกข่อย ใช้ทำสมุดไทย.
กระดาษไข เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษอาบไขที่ใช้ในการทําแบบ ลวดลาย หรือพิมพ์อัดสําเนาแม่พิมพ์ในการพิมพ์โดยเครื่องอัดสําเนา.กระดาษไข น. กระดาษอาบไขที่ใช้ในการทําแบบ ลวดลาย หรือพิมพ์อัดสําเนาแม่พิมพ์ในการพิมพ์โดยเครื่องอัดสําเนา.
กระดาษเงินกระดาษทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษสีเงินสีทองด้านหนึ่งที่คนจีนใช้เผาไฟในพิธีไหว้เจ้าเป็นต้น.กระดาษเงินกระดาษทอง น. กระดาษสีเงินสีทองด้านหนึ่งที่คนจีนใช้เผาไฟในพิธีไหว้เจ้าเป็นต้น.
กระดาษซับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ทําเนื้อยุ่ย ๆ สําหรับซับหมึกหรือน้ำ.กระดาษซับ น. กระดาษที่ทําเนื้อยุ่ย ๆ สําหรับซับหมึกหรือน้ำ.
กระดาษทราย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่มีด้านหนึ่งเป็นเม็ด ๆ อย่างทราย ใช้สําหรับขัดไม้เป็นต้น.กระดาษทราย น. กระดาษที่มีด้านหนึ่งเป็นเม็ด ๆ อย่างทราย ใช้สําหรับขัดไม้เป็นต้น.
กระดาษเพลา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–เพฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ.กระดาษเพลา [–เพฺลา] น. กระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ.
กระดาษฟาง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ทําจากฟางข้าว เนื้อบางฟ่าม.กระดาษฟาง น. กระดาษที่ทําจากฟางข้าว เนื้อบางฟ่าม.
กระดาษว่าว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ใช้ทําว่าว เป็นกระดาษที่เหนียวและไม่โปร่ง ลมรั่วไม่ได้ เดิมใช้กระดาษที่สั่งมาจากเมืองจีน ต่อมาใช้กระดาษจากญี่ปุ่น.กระดาษว่าว น. กระดาษที่ใช้ทําว่าว เป็นกระดาษที่เหนียวและไม่โปร่ง ลมรั่วไม่ได้ เดิมใช้กระดาษที่สั่งมาจากเมืองจีน ต่อมาใช้กระดาษจากญี่ปุ่น.
กระดาษสา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษที่ทําจากเปลือกต้นสา ใช้ทําร่มเป็นต้น.กระดาษสา น. กระดาษที่ทําจากเปลือกต้นสา ใช้ทําร่มเป็นต้น.
กระดาษเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตาดเทศ เช่น อันทําด้วยกระดาษเทศทอพราย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.กระดาษเทศ (โบ) น. ตาดเทศ เช่น อันทําด้วยกระดาษเทศทอพราย. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
กระดำกระด่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดํา ๆ ด่าง ๆ, สีไม่เสมอกัน.กระดำกระด่าง ว. ดํา ๆ ด่าง ๆ, สีไม่เสมอกัน.
กระดิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว, ทําปลายอวัยวะเช่นมือหรือเท้าให้ไหว.กระดิก ก. ไหว, ทําปลายอวัยวะเช่นมือหรือเท้าให้ไหว.
กระดิกกระเดี้ย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ไหวน้อย ๆ, พอไหวได้บ้าง.กระดิกกระเดี้ย ก. ไหวน้อย ๆ, พอไหวได้บ้าง.
กระดิ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องทําเสียงสัญญาณทําด้วยโลหะ มีรูปคล้ายระฆัง แต่ขนาดเล็กกว่า มีตุ้มเล็ก ๆ อยู่ข้างใน สําหรับทําให้เกิดเสียง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กระดิ่งจักรยาน.กระดิ่ง น. เครื่องทําเสียงสัญญาณทําด้วยโลหะ มีรูปคล้ายระฆัง แต่ขนาดเล็กกว่า มีตุ้มเล็ก ๆ อยู่ข้างใน สําหรับทําให้เกิดเสียง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กระดิ่งจักรยาน.
กระดิ่งทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งูดู ม่าเหมี่ยว เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑.กระดิ่งทอง ดู ม่าเหมี่ยว ๑.
–กระดิ้ง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระดุ้ง เป็น กระดุ้งกระดิ้ง.–กระดิ้ง ใช้เข้าคู่กับคํา กระดุ้ง เป็น กระดุ้งกระดิ้ง.
กระดิบ, กระดิบ ๆ กระดิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ กระดิบ ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คืบไปทีละน้อย เช่น ค่อย ๆ กระดิบไป ว่ายนํ้ากระดิบ ๆ หนอนกระดิบ ๆ ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระดุบ เป็น กระดุบกระดิบ.กระดิบ, กระดิบ ๆ ก. อาการที่คืบไปทีละน้อย เช่น ค่อย ๆ กระดิบไป ว่ายนํ้ากระดิบ ๆ หนอนกระดิบ ๆ ไป, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระดุบ เป็น กระดุบกระดิบ.
กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Trichogaster วงศ์ Anabantidae เช่นเดียวกับปลาสลิดแต่มีขนาดเล็กกว่า ครีบท้องยาวยื่นเป็นเส้น มี ๓ ชนิด คือ กระดี่หม้อ (T. trichopterus) ข้างตัวมีลายหลายเส้นพาดขวาง มีจุดดําที่กลางลําตัวและคอดหางแห่งละ ๑ จุด, สลาก หรือ สลาง ก็เรียก, กระดี่นาง (T. microlepis) สีขาวนวล และ กระดี่นางฟ้า หรือ กระดี่มุก (T. leeri) พบเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม, บางท้องถิ่นในแถบอีสานเรียก กระเดิด.กระดี่ ๑ น. ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Trichogaster วงศ์ Anabantidae เช่นเดียวกับปลาสลิดแต่มีขนาดเล็กกว่า ครีบท้องยาวยื่นเป็นเส้น มี ๓ ชนิด คือ กระดี่หม้อ (T. trichopterus) ข้างตัวมีลายหลายเส้นพาดขวาง มีจุดดําที่กลางลําตัวและคอดหางแห่งละ ๑ จุด, สลาก หรือ สลาง ก็เรียก, กระดี่นาง (T. microlepis) สีขาวนวล และ กระดี่นางฟ้า หรือ กระดี่มุก (T. leeri) พบเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม, บางท้องถิ่นในแถบอีสานเรียก กระเดิด.
กระดี่ได้น้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เช่น เขาดีใจเหมือนกระดี่ได้น้ำ.กระดี่ได้น้ำ (สำ) น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เช่น เขาดีใจเหมือนกระดี่ได้น้ำ.
กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกบสําหรับไสไม้ทําเป็นร่อง เรียกว่า กบกระดี่.กระดี่ ๒ น. ชื่อกบสําหรับไสไม้ทําเป็นร่อง เรียกว่า กบกระดี่.
กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหม้อดินเผาขนาดใหญ่ ปากกว้าง มีขีดเป็นรอยโดยรอบ ใช้เป็นหม้อแกง เรียกว่า หม้อกระดี่.กระดี่ ๓ น. ชื่อหม้อดินเผาขนาดใหญ่ ปากกว้าง มีขีดเป็นรอยโดยรอบ ใช้เป็นหม้อแกง เรียกว่า หม้อกระดี่.
กระดี้กระเดียม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกจักจี้.กระดี้กระเดียม ก. รู้สึกจักจี้.
กระดึง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้มักมีรูปคล้ายกระดิ่ง มีลูกกระทบแขวนอยู่ภายในหรือห้อยกระหนาบอยู่ภายนอก มักใช้แขวนคอสัตว์เช่นวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงดัง, โปง ก็ว่า.กระดึง น. เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้มักมีรูปคล้ายกระดิ่ง มีลูกกระทบแขวนอยู่ภายในหรือห้อยกระหนาบอยู่ภายนอก มักใช้แขวนคอสัตว์เช่นวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงดัง, โปง ก็ว่า.
กระดึงช้างเผือก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ดู ขี้กาแดง เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู.กระดึงช้างเผือก ดู ขี้กาแดง.
กระดึงพระราม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้าดู เขนงนายพราน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.กระดึงพระราม ดู เขนงนายพราน.
กระดืบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ค่อย ๆ คืบไปอย่างหนอน.กระดืบ ก. อาการที่ค่อย ๆ คืบไปอย่างหนอน.
กระดุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง การตีหม้อด้วยหินดุให้เข้ารูป.กระดุ น. การตีหม้อด้วยหินดุให้เข้ารูป.
กระดุกกระดิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขยับไปขยับมาไม่อยู่นิ่ง ๆ, ยักไปยักมา, ดุกดิก ก็ว่า.กระดุกกระดิก ว. อาการที่ขยับไปขยับมาไม่อยู่นิ่ง ๆ, ยักไปยักมา, ดุกดิก ก็ว่า.
กระดุ้งกระดิ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ทําท่าทางสะบัดสะบิ้งดีดดิ้น (โดยมากใช้แก่ผู้หญิง).กระดุ้งกระดิ้ง ว. อาการที่ทําท่าทางสะบัดสะบิ้งดีดดิ้น (โดยมากใช้แก่ผู้หญิง).
กระดุบ ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เต้นตุบ ๆ อย่างเนื้อเต้น, ดุบ ๆ ก็ว่า; อาการที่เคลื่อนที่ไปอย่างช้า ๆ เช่น เด็กคลานกระดุบ ๆ.กระดุบ ๆ ว. อาการที่เต้นตุบ ๆ อย่างเนื้อเต้น, ดุบ ๆ ก็ว่า; อาการที่เคลื่อนที่ไปอย่างช้า ๆ เช่น เด็กคลานกระดุบ ๆ.
กระดุบกระดิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวน้อย ๆ.กระดุบกระดิบ ว. อาการที่เคลื่อนไหวน้อย ๆ.
กระดุม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกลัดส่วนต่าง ๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยกออกจากกัน ทําเป็นรูปต่าง ๆ มักมีรังดุมสําหรับขัดหรือบางทีก็ติดเป็นเครื่องประดับ, ดุม ลูกดุม หรือ ลูกกระดุม ก็เรียก.กระดุม น. เครื่องกลัดส่วนต่าง ๆ ของเสื้อผ้าไม่ให้แยกออกจากกัน ทําเป็นรูปต่าง ๆ มักมีรังดุมสําหรับขัดหรือบางทีก็ติดเป็นเครื่องประดับ, ดุม ลูกดุม หรือ ลูกกระดุม ก็เรียก.
กระดูก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โครงร่างกายมีลักษณะแข็ง, ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครงร่างกาย; เรียกผลไม้ที่มีเนื้อน้อยเช่น มะปรางว่า มะปรางกระดูก.กระดูก ๑ น. โครงร่างกายมีลักษณะแข็ง, ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครงร่างกาย; เรียกผลไม้ที่มีเนื้อน้อยเช่น มะปรางว่า มะปรางกระดูก.
กระดูกแข็ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตายง่าย ๆ.กระดูกแข็ง (สำ) ว. ไม่ตายง่าย ๆ.
กระดูกงู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้หรือเหล็กที่ทอดตลอดลําเรือสําหรับตั้งกง.กระดูกงู น. ตัวไม้หรือเหล็กที่ทอดตลอดลําเรือสําหรับตั้งกง.
กระดูกร้องได้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ทําให้จับตัวผู้กระทําผิดมาลงโทษได้ คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตายร้องบอก.กระดูกร้องได้ (สำ) น. ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ทําให้จับตัวผู้กระทําผิดมาลงโทษได้ คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตายร้องบอก.
กระดูกสันหลัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกที่อยู่ในแนวกึ่งกลางทางด้านหลังของลําตัว เป็นแกนของร่างกาย มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวตั้งแต่บริเวณคอต่อจนถึงบริเวณด้านหลังของทวารหนัก ทําหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ไขสันหลัง, โดยปริยายหมายถึงส่วนที่สําคัญ, ส่วนที่เป็นพลังคํ้าจุน, เช่น ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ.กระดูกสันหลัง น. กระดูกที่อยู่ในแนวกึ่งกลางทางด้านหลังของลําตัว เป็นแกนของร่างกาย มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวตั้งแต่บริเวณคอต่อจนถึงบริเวณด้านหลังของทวารหนัก ทําหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ไขสันหลัง, โดยปริยายหมายถึงส่วนที่สําคัญ, ส่วนที่เป็นพลังคํ้าจุน, เช่น ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ.
กระดูกอ่อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ยังไม่มีความจัดเจนในการต่อสู้ เช่น นักมวยคนนี้กระดูกอ่อน ขึ้นชกครั้งแรกก็แพ้เขาแล้ว.กระดูกอ่อน (สำ) ว. ที่ยังไม่มีความจัดเจนในการต่อสู้ เช่น นักมวยคนนี้กระดูกอ่อน ขึ้นชกครั้งแรกก็แพ้เขาแล้ว.
กระดูก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโกฐชนิดหนึ่ง เรียกว่า โกฐกระดูก. ในวงเล็บ ดู โกฐกระดูก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ที่ โกฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน.กระดูก ๒ น. ชื่อโกฐชนิดหนึ่ง เรียกว่า โกฐกระดูก. (ดู โกฐกระดูก ที่ โกฐ).
กระดูก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตระหนี่, ขี้เหนียว.กระดูก ๓ (ปาก) ว. ตระหนี่, ขี้เหนียว.
กระดูกขัดมัน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตระหนี่มาก.กระดูกขัดมัน (ปาก) ว. ตระหนี่มาก.
กระดูกกบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาพุ่มรอเลื้อยชนิด Hymenopyramis brachiata Wall. ในวงศ์ Labiatae กิ่งอ่อนสี่เหลี่ยม ใบออกตรงข้ามกัน ดอกเล็กสีขาวออกเป็นช่อตรงปลายกิ่ง ผลกลมมีกระเปาะหุ้ม, กระพัดแม่ม่าย ก็เรียก.กระดูกกบ น. ชื่อไม้เถาพุ่มรอเลื้อยชนิด Hymenopyramis brachiata Wall. ในวงศ์ Labiatae กิ่งอ่อนสี่เหลี่ยม ใบออกตรงข้ามกัน ดอกเล็กสีขาวออกเป็นช่อตรงปลายกิ่ง ผลกลมมีกระเปาะหุ้ม, กระพัดแม่ม่าย ก็เรียก.
กระดูกไก่ดำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Justicia วงศ์ Acanthaceae ชนิด J. gendarussa Burm.f. ใบยาวรี ออกตรงข้ามกัน ลําต้น กิ่ง ก้านใบ และเส้นกลางใบสีม่วงดํา ใช้ทํายาได้, กระดูกดําเฉียงพร้ามอญ หรือ สันพร้ามอญ ก็เรียก; และชนิด J. grossa C.B. Clarke ดอกสีขาวอมเขียว ฝักยาว เปลือกแข็งและมีขน ผลแก่แตกตามยาว.กระดูกไก่ดำ น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Justicia วงศ์ Acanthaceae ชนิด J. gendarussa Burm.f. ใบยาวรี ออกตรงข้ามกัน ลําต้น กิ่ง ก้านใบ และเส้นกลางใบสีม่วงดํา ใช้ทํายาได้, กระดูกดําเฉียงพร้ามอญ หรือ สันพร้ามอญ ก็เรียก; และชนิด J. grossa C.B. Clarke ดอกสีขาวอมเขียว ฝักยาว เปลือกแข็งและมีขน ผลแก่แตกตามยาว.
กระดูกเขียด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็กดู กระดูกอึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู.กระดูกเขียด ดู กระดูกอึ่ง.
กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros undulata Wall. ex G. Don var. cratericalyx (Craib) Bakh. ในวงศ์ Ebenaceae ขึ้นในป่าดิบ มีมากทางภาคใต้ สูงได้ถึง ๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ, จะเพลิง ชะเพลิง คําดีควาย ดูกค่าง ตะโกดํา พลับเขา ไหม้ หม้าย หรือ สะลาง ก็เรียก.กระดูกค่าง น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diospyros undulata Wall. ex G. Don var. cratericalyx (Craib) Bakh. ในวงศ์ Ebenaceae ขึ้นในป่าดิบ มีมากทางภาคใต้ สูงได้ถึง ๒๐ เมตร ไม่ผลัดใบ, จะเพลิง ชะเพลิง คําดีควาย ดูกค่าง ตะโกดํา พลับเขา ไหม้ หม้าย หรือ สะลาง ก็เรียก.
กระดูกดำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำดู กระดูกไก่ดำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ.กระดูกดำ ดู กระดูกไก่ดำ.
กระดูกอึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่ม ๓ ชนิดในสกุล Dendrolobium และ Dicerma วงศ์ Leguminosae คือ ชนิด Dendrolobium triangulare (Retz.) Schindl. มักขึ้นในที่โล่งตํ่าซึ่งชุ่มแฉะในฤดูฝน ฝักเล็กแบนคอดกิ่วเป็นข้อ ๆ ใช้ทํายาได้, ขมิ้นนาง ขมิ้นลิง ลูกประคําผี หน้านวล เหนียวหมา หรือ อีเหนียว ก็เรียก; ชนิด D. lanceolatum (Dunn) Schindl. ขึ้นตามป่าผลัดใบที่มีต้นไผ่ สูงประมาณ ๑ เมตร ใบรูปไข่กลับ โคนใบสอบ, กระดูกเขียด แกลบหนู แกลบหูหนู แปรงหูหนู หรือ อึ่งใหญ่ ก็เรียก; และชนิด Dicerma biarticulatum (L.) DC. ชอบขึ้นตามไหล่ทางที่ตัดผ่านทุ่งนา สูงประมาณ ๑ เมตร ใบเล็กคล้ายใบมะขาม ดอกสีม่วง.กระดูกอึ่ง น. ชื่อไม้พุ่ม ๓ ชนิดในสกุล Dendrolobium และ Dicerma วงศ์ Leguminosae คือ ชนิด Dendrolobium triangulare (Retz.) Schindl. มักขึ้นในที่โล่งตํ่าซึ่งชุ่มแฉะในฤดูฝน ฝักเล็กแบนคอดกิ่วเป็นข้อ ๆ ใช้ทํายาได้, ขมิ้นนาง ขมิ้นลิง ลูกประคําผี หน้านวล เหนียวหมา หรือ อีเหนียว ก็เรียก; ชนิด D. lanceolatum (Dunn) Schindl. ขึ้นตามป่าผลัดใบที่มีต้นไผ่ สูงประมาณ ๑ เมตร ใบรูปไข่กลับ โคนใบสอบ, กระดูกเขียด แกลบหนู แกลบหูหนู แปรงหูหนู หรือ อึ่งใหญ่ ก็เรียก; และชนิด Dicerma biarticulatum (L.) DC. ชอบขึ้นตามไหล่ทางที่ตัดผ่านทุ่งนา สูงประมาณ ๑ เมตร ใบเล็กคล้ายใบมะขาม ดอกสีม่วง.
–กระเดก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา กระโดก เป็น กระโดกกระเดก.–กระเดก ใช้เข้าคู่กับคํา กระโดก เป็น กระโดกกระเดก.
กระเด้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น, เด้ง ก็ว่า.กระเด้ง ก. ดีดหรือดันขึ้นเมื่อถูกกดหรือถูกบีบเป็นต้น, กระดอนขึ้น, เด้ง ก็ว่า.
กระเด็น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนจากที่เดิมหรือแตกแยกจากที่เดิมออกไปโดยเร็วเพราะกระทบสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง.กระเด็น ก. เคลื่อนจากที่เดิมหรือแตกแยกจากที่เดิมออกไปโดยเร็วเพราะกระทบสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแรง.
กระเด้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําก้นขึ้น ๆ ลง ๆ, เด้า ก็ว่า.กระเด้า ก. ทําก้นขึ้น ๆ ลง ๆ, เด้า ก็ว่า.
กระเด้าดิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนูดู เด้าดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.กระเด้าดิน ดู เด้าดิน.
กระเด้าลม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้าดู เด้าลม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า.กระเด้าลม ดู เด้าลม.
กระเดาะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง เดาะให้กระเด็นขึ้นเบา ๆ.กระเดาะ ก. เดาะให้กระเด็นขึ้นเบา ๆ.
กระเดาะปาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เกิดเสียงดังด้วยการใช้ลิ้นดันเพดานเป็นต้นแล้วสลัดลง.กระเดาะปาก ก. ทําให้เกิดเสียงดังด้วยการใช้ลิ้นดันเพดานเป็นต้นแล้วสลัดลง.
กระเดิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ปลากระดี่. ในวงเล็บ ดู กระดี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.กระเดิด ๑ (ถิ่น–อีสาน) น. ปลากระดี่. (ดู กระดี่ ๑).
กระเดิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ลงกันไม่สนิท, กระดกสูงกว่าพื้น, เช่น กระดานกระเดิด.กระเดิด ๒ ก. ลงกันไม่สนิท, กระดกสูงกว่าพื้น, เช่น กระดานกระเดิด.
–กระเดี้ย มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยักใช้เข้าคู่กับคํา กระดัก และ กระดิก เป็นกระดักกระเดี้ย และ กระดิกกระเดี้ย.–กระเดี้ย ใช้เข้าคู่กับคํา กระดัก และ กระดิก เป็นกระดักกระเดี้ย และ กระดิกกระเดี้ย.
กระเดียด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเข้าข้างสะเอว เช่น กระเดียดกระจาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กณฺเฎียต เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า.กระเดียด ๑ ก. เอาเข้าข้างสะเอว เช่น กระเดียดกระจาด. (ข. กณฺเฎียต).
กระเดียด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้าง, หนักไปทาง, เช่น กระเดียดเปรี้ยว หน้าตากระเดียดไปทางแม่.กระเดียด ๒ ว. ค่อนข้าง, หนักไปทาง, เช่น กระเดียดเปรี้ยว หน้าตากระเดียดไปทางแม่.
–กระเดียม มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้าใช้เข้าคู่กับคํา กระดี้ เป็น กระดี้กระเดียม.–กระเดียม ใช้เข้าคู่กับคํา กระดี้ เป็น กระดี้กระเดียม.
–กระเดี้ยม มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้าใช้เข้าคู่กับคํา กระด้วม เป็น กระด้วมกระเดี้ยม.–กระเดี้ยม ใช้เข้าคู่กับคํา กระด้วม เป็น กระด้วมกระเดี้ยม.
กระเดือก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของกล่องเสียง มีลักษณะโปนออกมากลางลำคอเหนือท่อลม เห็นได้ชัดในผู้ชายเรียกว่า ลูกกระเดือก.กระเดือก ๑ น. ส่วนของกล่องเสียง มีลักษณะโปนออกมากลางลำคอเหนือท่อลม เห็นได้ชัดในผู้ชายเรียกว่า ลูกกระเดือก.
กระเดือก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กลืนอย่างลําบาก เช่น กระเดือกไม่ลงคอ เต็มกระเดือก.กระเดือก ๒ (ปาก) ก. กลืนอย่างลําบาก เช่น กระเดือกไม่ลงคอ เต็มกระเดือก.
กระเดือก ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระเสือกกระสนไปด้วยความลำบาก เช่น ว่ายน้ำกระเดือก ๆ.กระเดือก ๆ ว. กระเสือกกระสนไปด้วยความลำบาก เช่น ว่ายน้ำกระเดือก ๆ.
กระเดื่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งของครกกระเดื่อง เป็นไม้ท่อนยาว ปลายด้านหัวมีสากสำหรับตำข้าวที่อยู่ในครก เมื่อเหยียบปลายข้างหางแล้วถีบลงหลุม หัวจะกระดกขึ้น เมื่อปล่อยเท้าหัวก็จะกระแทกลง; เรียกเครื่องจักรนาฬิกาชิ้นหนึ่ง มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า กระเดื่อง.กระเดื่อง ๑ น. ส่วนหนึ่งของครกกระเดื่อง เป็นไม้ท่อนยาว ปลายด้านหัวมีสากสำหรับตำข้าวที่อยู่ในครก เมื่อเหยียบปลายข้างหางแล้วถีบลงหลุม หัวจะกระดกขึ้น เมื่อปล่อยเท้าหัวก็จะกระแทกลง; เรียกเครื่องจักรนาฬิกาชิ้นหนึ่ง มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า กระเดื่อง.
กระเดื่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงขึ้น, โด่งดัง, ใช้ประกอบลักษณะของคุณงามความดี เช่น ชื่อเสียงกระเดื่อง; แข็ง, กระด้าง, เช่น ยามเมื่อเจ้าเยื้องยุรยาตร ก็มิได้ย่างลงเหยียบดินกระเดื่องใด. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร, นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระด้าง เป็น กระด้างกระเดื่อง.กระเดื่อง ๒ ว. สูงขึ้น, โด่งดัง, ใช้ประกอบลักษณะของคุณงามความดี เช่น ชื่อเสียงกระเดื่อง; แข็ง, กระด้าง, เช่น ยามเมื่อเจ้าเยื้องยุรยาตร ก็มิได้ย่างลงเหยียบดินกระเดื่องใด. (ม. ร่ายยาว กุมาร), นิยมใช้เข้าคู่กับคํา กระด้าง เป็น กระด้างกระเดื่อง.
กระเดื่อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แหนง, หมาง, เช่น จะกระเดื่องใจเมื่อไปถึง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑; กระดาก เช่น ไป่กระเดื่องสะดุ้ง ฟูมฟาย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, นิยมใช้เข้าคู่กันเป็น กระดากกระเดื่อง.กระเดื่อง ๓ ก. แหนง, หมาง, เช่น จะกระเดื่องใจเมื่อไปถึง. (ขุนช้างขุนแผน); กระดาก เช่น ไป่กระเดื่องสะดุ้ง ฟูมฟาย. (นิทราชาคริต), นิยมใช้เข้าคู่กันเป็น กระดากกระเดื่อง.
กระแด็ก ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ เช่น ดิ้นกระแด็ก ๆ ชักกระแด็ก ๆ ติดกระแด็ก ๆ, แด็ก ๆ ก็ว่า.กระแด็ก ๆ ว. อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ เช่น ดิ้นกระแด็ก ๆ ชักกระแด็ก ๆ ติดกระแด็ก ๆ, แด็ก ๆ ก็ว่า.
กระแด้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชายหรือหญิงที่เป็นหมันว่า พ่อกระแด้ง แม่กระแด้ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คดไปมา. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระแด้ง (ถิ่น–อีสาน) น. เรียกชายหรือหญิงที่เป็นหมันว่า พ่อกระแด้ง แม่กระแด้ง. ว. คดไปมา. (ปาเลกัว).
กระแด้แร่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระแดะ, ดัดจริต, เช่น อย่าทําดื้อกระแด้แร่เลยแม่เอ๋ย. ในวงเล็บ มาจาก มณีพิชัยตอนต้น บทละคร พระนิพนธ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น ๒ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๒.กระแด้แร่ ว. กระแดะ, ดัดจริต, เช่น อย่าทําดื้อกระแด้แร่เลยแม่เอ๋ย. (มณีพิชัย).
กระแด่ว ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ ในคําว่า ดิ้นกระแด่ว ๆ, แด่ว ๆ ก็ว่า.กระแด่ว ๆ ว. อาการที่ดิ้นอยู่กับที่ ในคําว่า ดิ้นกระแด่ว ๆ, แด่ว ๆ ก็ว่า.
กระแดะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดัดจริต, ทำในสิ่งที่ไม่น่าทำ.กระแดะ (ปาก) ก. ดัดจริต, ทำในสิ่งที่ไม่น่าทำ.
กระแดะกระแด๋ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ไม้-จัด-ตะ-วา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดัดจริตดีดดิ้น, แดะแด๋ ก็ว่า.กระแดะกระแด๋ (ปาก) ก. ดัดจริตดีดดิ้น, แดะแด๋ ก็ว่า.
กระโดก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โอนไปโอนมา, ยกขึ้นยกลง.กระโดก ว. โอนไปโอนมา, ยกขึ้นยกลง.
กระโดกกระเดก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกิริยามารยาทไม่เรียบร้อย; โยกเยก, โอนไปโอนมา, โดกเดก ก็ว่า.กระโดกกระเดก ว. มีกิริยามารยาทไม่เรียบร้อย; โยกเยก, โอนไปโอนมา, โดกเดก ก็ว่า.
กระโดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ใบเรือ เช่น เสากระโดง คือ เสาใบเรือ; ส่วนที่อยู่บนหลังปลาบางชนิด เช่น ปลากัด ปลาฉลาม มีลักษณะเป็นแผ่นตั้งคล้ายใบเรือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โกฺฎง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู ว่า ใบเรือ .กระโดง ๑ น. ใบเรือ เช่น เสากระโดง คือ เสาใบเรือ; ส่วนที่อยู่บนหลังปลาบางชนิด เช่น ปลากัด ปลาฉลาม มีลักษณะเป็นแผ่นตั้งคล้ายใบเรือ. (ข. โกฺฎง ว่า ใบเรือ).
กระโดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กิ่งไม้ที่แตกออกตรงขึ้นไปจากกิ่งใหญ่; ลำน้ำขนาดเล็กที่ขุดจากลำน้ำขนาดใหญ่เพื่อชักน้ำเข้านาเข้าสวน เรียกว่า ลํากระโดง, ลำประโดง ก็ว่า.กระโดง ๒ น. กิ่งไม้ที่แตกออกตรงขึ้นไปจากกิ่งใหญ่; ลำน้ำขนาดเล็กที่ขุดจากลำน้ำขนาดใหญ่เพื่อชักน้ำเข้านาเข้าสวน เรียกว่า ลํากระโดง, ลำประโดง ก็ว่า.
กระโดงคาง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ปลายคาง.กระโดงคาง น. ปลายคาง.
กระโดงแดง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Bhesa robusta (Roxb.) Ding Hou ในวงศ์ Celastraceae ลําต้นแดงคลํ้า ใบยาวปลายแหลม เลื่อมเป็นมัน, ประดงแดง กระบกคาย ชมัน ละโมก หรือ พรมคด ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chionanthus microstigma (Gagnep.) Kiew ในวงศ์ Oleaceae ใบยาวรี หนาแข็ง ปลายใบแหลม ออกตรงข้ามกัน เมื่อแห้งหมาดใช้มวนบุหรี่ได้ มีกลิ่นหอมฉุน, ประดงแดง หรือ ฝิ่นต้น ก็เรียก; และชนิด C. sangda (Gagnep.) Kiew ลักษณะทั่วไปคล้ายชนิดแรก แต่ต้นมีขนาดย่อมกว่า ค่อนไปทางไม้พุ่ม.กระโดงแดง น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Bhesa robusta (Roxb.) Ding Hou ในวงศ์ Celastraceae ลําต้นแดงคลํ้า ใบยาวปลายแหลม เลื่อมเป็นมัน, ประดงแดง กระบกคาย ชมัน ละโมก หรือ พรมคด ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chionanthus microstigma (Gagnep.) Kiew ในวงศ์ Oleaceae ใบยาวรี หนาแข็ง ปลายใบแหลม ออกตรงข้ามกัน เมื่อแห้งหมาดใช้มวนบุหรี่ได้ มีกลิ่นหอมฉุน, ประดงแดง หรือ ฝิ่นต้น ก็เรียก; และชนิด C. sangda (Gagnep.) Kiew ลักษณะทั่วไปคล้ายชนิดแรก แต่ต้นมีขนาดย่อมกว่า ค่อนไปทางไม้พุ่ม.
กระโดด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้กําลังเท้าถีบพื้นให้ตัวลอยสูงขึ้น, โดด ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด.กระโดด ก. ใช้กําลังเท้าถีบพื้นให้ตัวลอยสูงขึ้น, โดด ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลากระโดด ตัวพิมพ์กระโดด.
กระโดดร่ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กระโดดออกจากอากาศยานในขณะอยู่ในอากาศเพื่อลงสู่พื้นดินโดยอาศัยร่มชูชีพ, โดดร่ม ก็ว่า.กระโดดร่ม ก. กระโดดออกจากอากาศยานในขณะอยู่ในอากาศเพื่อลงสู่พื้นดินโดยอาศัยร่มชูชีพ, โดดร่ม ก็ว่า.
กระโดดโลดเต้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่กระโดดขึ้นลงหลายครั้งหลายหนเพราะความดีอกดีใจเป็นต้น.กระโดดโลดเต้น ก. อาการที่กระโดดขึ้นลงหลายครั้งหลายหนเพราะความดีอกดีใจเป็นต้น.
กระโดน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Careya sphaerica Roxb. ในวงศ์ Lecythidaceae ชอบขึ้นในป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้น ดอกมีเกสรเพศผู้จํานวนมากเป็นพู่คล้ายดอกชมพู่ ขาว หอม ดอกบานเต็มที่กว้าง ๕–๘ เซนติเมตร ผลค่อนข้างกลม เปลือกใช้เบื่อปลาหรือทุบเป็นแผ่นปูหลังช้าง, โดน จิก ปุย ปุยกระโดน ปุยขาว หรือ ผ้าฮาด ก็เรียก.กระโดน น. ชื่อไม้ต้นชนิด Careya sphaerica Roxb. ในวงศ์ Lecythidaceae ชอบขึ้นในป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้น ดอกมีเกสรเพศผู้จํานวนมากเป็นพู่คล้ายดอกชมพู่ ขาว หอม ดอกบานเต็มที่กว้าง ๕–๘ เซนติเมตร ผลค่อนข้างกลม เปลือกใช้เบื่อปลาหรือทุบเป็นแผ่นปูหลังช้าง, โดน จิก ปุย ปุยกระโดน ปุยขาว หรือ ผ้าฮาด ก็เรียก.
กระโดนดิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มเตี้ยชนิด Careya herbacea Roxb. ในวงศ์ Lecythidaceae ชอบขึ้นตามที่ลุ่มดินทราย ลักษณะทั่วไปคล้ายกระโดน สูงไม่เกิน ๑ เมตร ผลมีขนาดย่อมกว่า, กระโดนเบี้ย ก็เรียก.กระโดนดิน น. ชื่อไม้พุ่มเตี้ยชนิด Careya herbacea Roxb. ในวงศ์ Lecythidaceae ชอบขึ้นตามที่ลุ่มดินทราย ลักษณะทั่วไปคล้ายกระโดน สูงไม่เกิน ๑ เมตร ผลมีขนาดย่อมกว่า, กระโดนเบี้ย ก็เรียก.
กระใด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระไร, อะไร, ทําไม, เช่น ผู้แกล้วกระใดรณภู. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กระใด (โบ) ว. กระไร, อะไร, ทําไม, เช่น ผู้แกล้วกระใดรณภู. (สมุทรโฆษ).
กระได เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําเป็นขั้น ๆ สําหรับก้าวขึ้นลง, บันได ก็ว่า.กระได น. สิ่งที่ทําเป็นขั้น ๆ สําหรับก้าวขึ้นลง, บันได ก็ว่า.
กระไดแก้ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชั้นสําหรับวางพาดสิ่งของเช่นใบลานหรืออาวุธเป็นต้น.กระไดแก้ว น. ชั้นสําหรับวางพาดสิ่งของเช่นใบลานหรืออาวุธเป็นต้น.
กระไดลิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง บันไดเชือกที่ตรึงติดเฉพาะส่วนบน ใช้ไต่ขึ้นที่สูง หรือไต่ลงที่ตํ่า, บันไดลิง ก็ว่า.กระไดลิง ๑ น. บันไดเชือกที่ตรึงติดเฉพาะส่วนบน ใช้ไต่ขึ้นที่สูง หรือไต่ลงที่ตํ่า, บันไดลิง ก็ว่า.
กระไดลิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Bauhinia scandens L. var. horsfieldii (Miq.) K. et S.S. Larsen ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้นทั่วไป และตามริมแม่นํ้าลําคลอง เถาแบนยาว งอกลับไปกลับมาคล้ายขั้นบันได ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เปลือกเหนียวใช้แทนเชือก เถาใช้ทํายาได้, กระไดวอก มะลืมดํา บันไดลิง หรือ ลางลิง ก็เรียก.กระไดลิง ๒ น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Bauhinia scandens L. var. horsfieldii (Miq.) K. et S.S. Larsen ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้นทั่วไป และตามริมแม่นํ้าลําคลอง เถาแบนยาว งอกลับไปกลับมาคล้ายขั้นบันได ดอกเล็ก สีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง เปลือกเหนียวใช้แทนเชือก เถาใช้ทํายาได้, กระไดวอก มะลืมดํา บันไดลิง หรือ ลางลิง ก็เรียก.
กระตรกกระตรำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตรากตรํา เช่น หาเลี้ยงและโดยสฤษฎิตน กระตรกกระตรำก็นําพา. ในวงเล็บ มาจาก คำฉันท์กล่อมพญาช้าง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กระตรกกระตรำ (โบ; กลอน) ก. ตรากตรํา เช่น หาเลี้ยงและโดยสฤษฎิตน กระตรกกระตรำก็นําพา. (กล่อมพญาช้าง).
กระตร้อ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดับไฟสานเป็นรูปตะกร้อพันผ้าชุบนํ้า มีด้ามยาว สําหรับดับและคลึงลูกไฟที่มาติดหลังคา ผู้ดับนั่งบนอกไก่หลังคา เช่น ให้ตรวจเอาพร้าขอกระตร้อนํ้า จงทุกที่พนักงานให้สรัพไว้. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง, ตะกร้อ ก็เรียก.กระตร้อ (โบ) น. เครื่องดับไฟสานเป็นรูปตะกร้อพันผ้าชุบนํ้า มีด้ามยาว สําหรับดับและคลึงลูกไฟที่มาติดหลังคา ผู้ดับนั่งบนอกไก่หลังคา เช่น ให้ตรวจเอาพร้าขอกระตร้อนํ้า จงทุกที่พนักงานให้สรัพไว้. (สามดวง), ตะกร้อ ก็เรียก.
กระตรับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ดู หมอช้างเหยียบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้.กระตรับ ดู หมอช้างเหยียบ.
กระตราก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ล่ามโซ่, ทุกข์ทรมานในคุก. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กระตราก ก. ล่ามโซ่, ทุกข์ทรมานในคุก. (ปาเลกัว).
–กระตรำ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำใช้เข้าคู่กับคํา กระตรก เป็น กระตรกกระตรํา.–กระตรำ ใช้เข้าคู่กับคํา กระตรก เป็น กระตรกกระตรํา.
กระตรุด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ตะกรุด, กะตรุด หรือ กะตุด ก็ว่า.กระตรุด น. ตะกรุด, กะตรุด หรือ กะตุด ก็ว่า.
กระตรุม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นกตะกรุม เช่น เขาคุ่มกระตรุมกระไตร ตระไนนี่สนั่นเสียง. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กระตรุม (กลอน) น. นกตะกรุม เช่น เขาคุ่มกระตรุมกระไตร ตระไนนี่สนั่นเสียง. (สรรพสิทธิ์).
กระต้วมกระเตี้ยม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กิริยาเดินหรือคลาน), ต้วมเตี้ยม ก็ว่า, ใช้ว่า กระด้วมกระเดี้ยม ก็มี.กระต้วมกระเตี้ยม ว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กิริยาเดินหรือคลาน), ต้วมเตี้ยม ก็ว่า, ใช้ว่า กระด้วมกระเดี้ยม ก็มี.
กระต้อ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น กระต้อพลอดกิ่งพลับ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตเพชรมงกุฎ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กระต้อ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น กระต้อพลอดกิ่งพลับ. (เพชรมงกุฎ).
กระต่องกระแต่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แขวนหรือห้อยแกว่งไปแกว่งมา, ต่องแต่ง ก็ว่า.กระต่องกระแต่ง ว. อาการที่แขวนหรือห้อยแกว่งไปแกว่งมา, ต่องแต่ง ก็ว่า.
กระต๊อบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กระท่อมเล็ก ๆ. (พายัพและอุดรว่า ตูบ).กระต๊อบ น. กระท่อมเล็ก ๆ. (พายัพและอุดรว่า ตูบ).
กระต้อยตีวิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็กดู ต้อยตีวิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก.กระต้อยตีวิด ดู ต้อยตีวิด.
กระตัก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ประตัก คือ ไม้ที่ฝังเหล็กแหลมข้างปลาย ใช้แทงสัตว์พาหนะเช่นวัว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตัก. ในวงเล็บ มาจาก ในหนังสือเรื่องกฎหมายเมืองไทย หมอปรัดเล พิมพ์ จ.ศ. ๑๒๓๕.กระตัก (โบ; เลิก) น. ประตัก คือ ไม้ที่ฝังเหล็กแหลมข้างปลาย ใช้แทงสัตว์พาหนะเช่นวัว เช่น ด่าตีกันด้วยเคียวไม้กระตัก. (ลักษณะธรรมนูญ).
กระตั้ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอจําพวกหนึ่ง มีหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ลักษณะคล้ายนกแก้วแต่ตัวโตกว่า พบในทวีปออสเตรเลียและบริเวณใกล้เคียง เช่น กระตั้วหงอนเหลือง (Cacatua galerita) กระตั้วดํา (Probosciger aterrimus).กระตั้ว น. ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอจําพวกหนึ่ง มีหลายชนิด หลายสกุล และหลายวงศ์ ลักษณะคล้ายนกแก้วแต่ตัวโตกว่า พบในทวีปออสเตรเลียและบริเวณใกล้เคียง เช่น กระตั้วหงอนเหลือง (Cacatua galerita) กระตั้วดํา (Probosciger aterrimus).
–กระตาก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา กระโตก เป็น กระโตกกระตาก.–กระตาก ใช้เข้าคู่กับคํา กระโตก เป็น กระโตกกระตาก.
กระต่าย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในวงศ์ Leporidae ขนปุย หูยาว ที่พบอาศัยตามป่าทั่วไปในประเทศไทยมีชนิดเดียว คือ กระต่ายป่า (Lepus peguensis) ซึ่งมีขนสีนํ้าตาล ใต้หางสีขาว อาศัยในโพรงดิน ส่วนที่นํามาเลี้ยงตามบ้านมีหลายชนิดและหลายสี เช่น ชนิด Oryctolagus cuniculus.กระต่าย ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในวงศ์ Leporidae ขนปุย หูยาว ที่พบอาศัยตามป่าทั่วไปในประเทศไทยมีชนิดเดียว คือ กระต่ายป่า (Lepus peguensis) ซึ่งมีขนสีนํ้าตาล ใต้หางสีขาว อาศัยในโพรงดิน ส่วนที่นํามาเลี้ยงตามบ้านมีหลายชนิดและหลายสี เช่น ชนิด Oryctolagus cuniculus.
กระต่ายชมจันทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ท่ารําละครท่าหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก ตำราฟ้อนรำ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๗๑; เพลงเสภา ๒ ชั้น ของเก่าพวกเพลงเกร็ด.กระต่ายชมจันทร์ น. ท่ารําละครท่าหนึ่ง. (ฟ้อน); เพลงเสภา ๒ ชั้น ของเก่าพวกเพลงเกร็ด.
กระต่ายต้องแร้ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ท่ารําละครท่าหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก ตำราฟ้อนรำ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๗๑.กระต่ายต้องแร้ว น. ท่ารําละครท่าหนึ่ง. (ฟ้อน).
กระต่ายตื่นตูม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการตื่นตกใจง่ายโดยไม่ทันสํารวจให้ถ่องแท้ก่อน.กระต่ายตื่นตูม (สำ) น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการตื่นตกใจง่ายโดยไม่ทันสํารวจให้ถ่องแท้ก่อน.
กระต่ายเต้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เพลงไทยของเก่าสําหรับทําเพลงเร็ว, ถ้ารับร้องเป็นเพลง ๒ ชั้น.กระต่ายเต้น น. เพลงไทยของเก่าสําหรับทําเพลงเร็ว, ถ้ารับร้องเป็นเพลง ๒ ชั้น.
กระต่ายสามขา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยืนกรานไม่ยอมรับ, กระต่ายขาเดียว ก็ว่า.กระต่ายสามขา (สำ) ว. ยืนกรานไม่ยอมรับ, กระต่ายขาเดียว ก็ว่า.
กระต่ายหมายจันทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชายหมายปองผู้หญิงที่มีฐานะดีกว่า.กระต่ายหมายจันทร์ (สำ) น. ผู้ชายหมายปองผู้หญิงที่มีฐานะดีกว่า.
กระต่าย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับขูดมะพร้าวที่ยังไม่ได้กะเทาะกะลาออก.กระต่าย ๒ น. เครื่องมือสําหรับขูดมะพร้าวที่ยังไม่ได้กะเทาะกะลาออก.
กระต่ายจีน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือขูดมะพร้าว ใช้ลวดตอกเป็นฟันถี่ ๆ บนหน้ากระดานสำหรับขูดมะพร้าวที่กะเทาะกะลาออกแล้ว.กระต่ายจีน น. เครื่องมือขูดมะพร้าว ใช้ลวดตอกเป็นฟันถี่ ๆ บนหน้ากระดานสำหรับขูดมะพร้าวที่กะเทาะกะลาออกแล้ว.
กระต่ายขูด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็กดู สีกรุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก.กระต่ายขูด ดู สีกรุด.
กระต่ายจันทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาดดู กระต่ายจาม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า (๑).กระต่ายจันทร์ ดู กระต่ายจาม (๑).
กระต่ายจาม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Centipeda minima (L.) A. Br. et Aschers ในวงศ์ Compositae ขึ้นตามพื้นที่ลุ่มตํ่า แฉะ ต้นเตี้ยติดดินคล้ายต้นผักเบี้ย ใบเล็กเว้าข้างทั้ง ๒ ด้าน ปลายใบแหลมคล้ายสามง่าม ใบมีกลิ่นเหม็น ใช้ทํายาได้ แต่เป็นพิษต่อปศุสัตว์, กระต่ายจันทร์ สาบแร้ง หญ้ากระจาม หญ้าจาม หรือ เหมือดโลด ก็เรียก. (๒) ดู การบูรป่า เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา.กระต่ายจาม น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Centipeda minima (L.) A. Br. et Aschers ในวงศ์ Compositae ขึ้นตามพื้นที่ลุ่มตํ่า แฉะ ต้นเตี้ยติดดินคล้ายต้นผักเบี้ย ใบเล็กเว้าข้างทั้ง ๒ ด้าน ปลายใบแหลมคล้ายสามง่าม ใบมีกลิ่นเหม็น ใช้ทํายาได้ แต่เป็นพิษต่อปศุสัตว์, กระต่ายจันทร์ สาบแร้ง หญ้ากระจาม หญ้าจาม หรือ เหมือดโลด ก็เรียก. (๒) ดู การบูรป่า.
กระติก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับใส่นํ้าติดตัวในเวลาเดินทาง เช่น กระติกของทหารหรือลูกเสือ, ภาชนะสำหรับใส่น้ำเพื่อเก็บความร้อนหรือรักษาความเย็นเป็นต้น, ถ้าใช้ใส่น้ำร้อน เรียกว่า กระติกน้ำร้อน, ถ้าใช้ใส่น้ำแข็ง เรียกว่า กระติกน้ำแข็ง.กระติก น. ภาชนะสําหรับใส่นํ้าติดตัวในเวลาเดินทาง เช่น กระติกของทหารหรือลูกเสือ, ภาชนะสำหรับใส่น้ำเพื่อเก็บความร้อนหรือรักษาความเย็นเป็นต้น, ถ้าใช้ใส่น้ำร้อน เรียกว่า กระติกน้ำร้อน, ถ้าใช้ใส่น้ำแข็ง เรียกว่า กระติกน้ำแข็ง.
–กระติก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ใช้เข้าคู่กับคํา กระตุก เป็น กระตุกกระติก.–กระติก ใช้เข้าคู่กับคํา กระตุก เป็น กระตุกกระติก.
–กระติ้ง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระตุ้ง เป็น กระตุ้งกระติ้ง.–กระติ้ง ใช้เข้าคู่กับคํา กระตุ้ง เป็น กระตุ้งกระติ้ง.
กระติ๊ด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Estrildidae ใช้หญ้าทํารังเป็นรูปกลมอยู่บนต้นไม้ ปากรังอยู่ด้านล่าง มีหลายชนิด เช่น กระติ๊ดเขียว หรือ ไผ่ (Erythrura prasina) กระติ๊ดแดง หรือ สีชมพูดง (Amandava amandava) กระติ๊ดท้องขาว (Lonchura leucogastra) กินเมล็ดพืช, กะทิ ก็เรียก.กระติ๊ด ๑ น. ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Estrildidae ใช้หญ้าทํารังเป็นรูปกลมอยู่บนต้นไม้ ปากรังอยู่ด้านล่าง มีหลายชนิด เช่น กระติ๊ดเขียว หรือ ไผ่ (Erythrura prasina) กระติ๊ดแดง หรือ สีชมพูดง (Amandava amandava) กระติ๊ดท้องขาว (Lonchura leucogastra) กินเมล็ดพืช, กะทิ ก็เรียก.
กระติ๊ดขี้หมู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Lonchura punctulata ในวงศ์ Estrildidae สีนํ้าตาลกระขาว อกขาวมีลายสีนํ้าตาลคล้ายเกล็ดปลา ปากดําอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ กินเมล็ดพืช.กระติ๊ดขี้หมู น. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Lonchura punctulata ในวงศ์ Estrildidae สีนํ้าตาลกระขาว อกขาวมีลายสีนํ้าตาลคล้ายเกล็ดปลา ปากดําอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ กินเมล็ดพืช.
กระติ๊ด ๒, กระติ๊ดเดียว, กระติ๊ดหนึ่ง กระติ๊ด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก กระติ๊ดเดียว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน กระติ๊ดหนึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กน้อย, เล็กนิดเดียว, เช่น เสื้อตัวนี้ติดกระดุมเม็ดกระติ๊ดเดียว ขอเกลือสักกระติ๊ดหนึ่ง, ติ๊ดเดียว หรือ ติ๊ดหนึ่ง ก็ว่า.กระติ๊ด ๒, กระติ๊ดเดียว, กระติ๊ดหนึ่ง (ปาก) ว. เล็กน้อย, เล็กนิดเดียว, เช่น เสื้อตัวนี้ติดกระดุมเม็ดกระติ๊ดเดียว ขอเกลือสักกระติ๊ดหนึ่ง, ติ๊ดเดียว หรือ ติ๊ดหนึ่ง ก็ว่า.
กระติบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปกลม มีฝาครอบ สําหรับบรรจุข้าวเหนียวนึ่ง.กระติบ (ถิ่น–อีสาน) น. ภาชนะสานรูปกลม มีฝาครอบ สําหรับบรรจุข้าวเหนียวนึ่ง.
กระตือรือร้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง รีบร้อน, เร่งรีบ, ขมีขมัน, มีใจฝักใฝ่เร่งร้อน.กระตือรือร้น ก. รีบร้อน, เร่งรีบ, ขมีขมัน, มีใจฝักใฝ่เร่งร้อน.
กระตุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ชักเข้ามาโดยเร็วทันที, งอเข้ามาโดยเร็ว, เช่น ขากระตุก, อาการที่กล้ามเนื้อหดและยืดตัวขึ้นมาเองทันที.กระตุก ก. ชักเข้ามาโดยเร็วทันที, งอเข้ามาโดยเร็ว, เช่น ขากระตุก, อาการที่กล้ามเนื้อหดและยืดตัวขึ้นมาเองทันที.
กระตุกกระติก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตุก ๆ ติก ๆ, อาการที่ห้อยแกว่งไปมา.กระตุกกระติก ว. ตุก ๆ ติก ๆ, อาการที่ห้อยแกว่งไปมา.
กระตุ้งกระติ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกิริยาท่าทางกระชดกระช้อย, ตุ้งติ้ง หรือ ดุ้งดิ้ง ก็ว่า.กระตุ้งกระติ้ง ว. มีกิริยาท่าทางกระชดกระช้อย, ตุ้งติ้ง หรือ ดุ้งดิ้ง ก็ว่า.
กระตุ่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ตัวตุ่น เช่น กระต่ายเต้นกระตุ่นขุด. ในวงเล็บ มาจาก บุณโณวาทคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖.กระตุ่น น. ตัวตุ่น เช่น กระต่ายเต้นกระตุ่นขุด. (บุณโณวาท).
กระตุ้น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้มือหรือสิ่งใด ๆ กระแทกเบา ๆ ให้รู้ตัว, โดยปริยายหมายความว่า เตือนหรือหนุน เช่น กระตุ้นให้รีบทํางาน, ช่วยเร่ง เช่น ใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้นหัวใจที่หยุดเต้นให้เต้นต่อไป.กระตุ้น ก. ใช้มือหรือสิ่งใด ๆ กระแทกเบา ๆ ให้รู้ตัว, โดยปริยายหมายความว่า เตือนหรือหนุน เช่น กระตุ้นให้รีบทํางาน, ช่วยเร่ง เช่น ใช้กระแสไฟฟ้ากระตุ้นหัวใจที่หยุดเต้นให้เต้นต่อไป.
กระตูบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กระท่อม, กระต๊อบ, ตูบ ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู ตูบ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑.กระตูบ น. กระท่อม, กระต๊อบ, ตูบ ก็ว่า. (ดู ตูบ ๑).
กระเตง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่อุ้มเด็กเข้าสะเอวหรือสะพายของโตงเตงไป.กระเตง ก. อาการที่อุ้มเด็กเข้าสะเอวหรือสะพายของโตงเตงไป.
กระเต็น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่งในวงศ์ Alcedinidae หัวโต คอสั้น ปากแหลมยาวตรงและแข็งแรง ส่วนใหญ่มีสีสวยสดสะดุดตา หากินโดยวิธีพุ่งตัวลงจับปลาในนํ้า มีหลายชนิด เช่น กระเต็นปักหลัก หรือ ปักหลัก (Ceryle rudis) กระเต็นน้อยธรรมดา (Alcedo atthis) กระเต็นอกขาว (Halcyon smyrnensis).กระเต็น น. ชื่อนกชนิดหนึ่งในวงศ์ Alcedinidae หัวโต คอสั้น ปากแหลมยาวตรงและแข็งแรง ส่วนใหญ่มีสีสวยสดสะดุดตา หากินโดยวิธีพุ่งตัวลงจับปลาในนํ้า มีหลายชนิด เช่น กระเต็นปักหลัก หรือ ปักหลัก (Ceryle rudis) กระเต็นน้อยธรรมดา (Alcedo atthis) กระเต็นอกขาว (Halcyon smyrnensis).
กระเต็นปักหลัก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ดู ปักหลัก เขียนว่า ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ (๑).กระเต็นปักหลัก ดู ปักหลัก ๒ (๑).
กระเตอะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จวนแก่ (ใช้แก่หมาก) ในคําว่า หมากกระเตอะ หรือ หมากหน้ากระเตอะ.กระเตอะ ว. จวนแก่ (ใช้แก่หมาก) ในคําว่า หมากกระเตอะ หรือ หมากหน้ากระเตอะ.
กระเตาะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน กุ้งดีด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก กุ้งดีดขัน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ กุ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑.กระเตาะ ๑ ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน ที่ กุ้ง ๑.
กระเตาะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แรกรุ่น, เพิ่งแตกเนื้อสาว.กระเตาะ ๒ ว. แรกรุ่น, เพิ่งแตกเนื้อสาว.
กระเตาะกระแตะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เด็กเริ่มสอนเดิน เรียกว่า เดินกระเตาะกระแตะ, เตาะแตะ หรือ เตาะ ๆ แตะ ๆก็ว่า; ป้อแป้, ไม่แข็งแรง, มักใช้แก่คนสูงอายุ เช่น คุณทวดเดินกระเตาะกระแตะ.กระเตาะกระแตะ ว. อาการที่เด็กเริ่มสอนเดิน เรียกว่า เดินกระเตาะกระแตะ, เตาะแตะ หรือ เตาะ ๆ แตะ ๆก็ว่า; ป้อแป้, ไม่แข็งแรง, มักใช้แก่คนสูงอายุ เช่น คุณทวดเดินกระเตาะกระแตะ.
–กระเตี้ยม มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้าใช้เข้าคู่กับคํา กระต้วม เป็น กระต้วมกระเตี้ยม.–กระเตี้ยม ใช้เข้าคู่กับคํา กระต้วม เป็น กระต้วมกระเตี้ยม.
กระเตื้อง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เบาขึ้น, ทุเลาขึ้น, เช่น อาการไข้กระเตื้องขึ้น, เจริญขึ้น เช่น เดี๋ยวนี้ฐานะเขาค่อยกระเตื้องขึ้น; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง พยุงยกให้เผยอขึ้น.กระเตื้อง ก. เบาขึ้น, ทุเลาขึ้น, เช่น อาการไข้กระเตื้องขึ้น, เจริญขึ้น เช่น เดี๋ยวนี้ฐานะเขาค่อยกระเตื้องขึ้น; (โบ) พยุงยกให้เผยอขึ้น.
กระแต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Tupaiidae รูปร่างคล้ายกระรอก แต่อยู่ต่างวงศ์กันและมีขนาดเล็กกว่า ปากแหลม ไม่มีฟันแทะ กินทั้งสัตว์และผลไม้ มีหลายสกุลและหลายชนิด เช่น กระแตธรรมดา (Tupaia glis) กระแตเล็ก (T. minor) กระแตหางขนนก (Ptilocercus lowi) เชื่อกันทางวิชาการว่า เป็นสัตว์กลุ่มต้นกําเนิดสายวิวัฒนาการของลิงและมนุษย์; ดอกไม้ประดิษฐ์เป็นรูปกระแตเกาะติดกับช่อใบแก้ว ทำด้วยดอกพุทธชาดเป็นต้น ใช้เป็นของชำร่วย.กระแต ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Tupaiidae รูปร่างคล้ายกระรอก แต่อยู่ต่างวงศ์กันและมีขนาดเล็กกว่า ปากแหลม ไม่มีฟันแทะ กินทั้งสัตว์และผลไม้ มีหลายสกุลและหลายชนิด เช่น กระแตธรรมดา (Tupaia glis) กระแตเล็ก (T. minor) กระแตหางขนนก (Ptilocercus lowi) เชื่อกันทางวิชาการว่า เป็นสัตว์กลุ่มต้นกําเนิดสายวิวัฒนาการของลิงและมนุษย์; ดอกไม้ประดิษฐ์เป็นรูปกระแตเกาะติดกับช่อใบแก้ว ทำด้วยดอกพุทธชาดเป็นต้น ใช้เป็นของชำร่วย.
กระแต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฆ้องขนาดเล็ก ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ โดยทำร้านฆ้องโค้งงอขึ้นเหมือนฆ้องมอญแต่ปลายสั้นกว่า วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๑ ลูก หรือใช้แขวนกับไม้ สำหรับถือตีเป็นสัญญาณในการอยู่เวรยามหรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ เรียกว่า ฆ้องกระแต.กระแต ๒ น. ชื่อฆ้องขนาดเล็ก ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ โดยทำร้านฆ้องโค้งงอขึ้นเหมือนฆ้องมอญแต่ปลายสั้นกว่า วงหนึ่งมีลูกฆ้อง ๑๑ ลูก หรือใช้แขวนกับไม้ สำหรับถือตีเป็นสัญญาณในการอยู่เวรยามหรือแจ้งข่าวสารต่าง ๆ เรียกว่า ฆ้องกระแต.
กระแต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงร้อง เดิมเป็นของไทยทางเหนือเรียกว่า กระแตเล็ก, ถ้าทําโหมโรงสําหรับเสภา เรียกว่า กระแตใหญ่.กระแต ๓ น. ชื่อเพลงร้อง เดิมเป็นของไทยทางเหนือเรียกว่า กระแตเล็ก, ถ้าทําโหมโรงสําหรับเสภา เรียกว่า กระแตใหญ่.
กระแตไต่ไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย; ชื่อเพลง เดิมเป็นของชาวเหนือพวกกะเหรี่ยง บัดนี้ใช้เป็นเพลงโหมโรงหรือเพลงเสภา ทําตอนรื่นเริง.กระแตไต่ไม้ ๑ น. ชื่อกลบท ตัวอย่างว่า หมายหมองมาดสวาทน้องมาดหมองหมาย; ชื่อเพลง เดิมเป็นของชาวเหนือพวกกะเหรี่ยง บัดนี้ใช้เป็นเพลงโหมโรงหรือเพลงเสภา ทําตอนรื่นเริง.
–กระแต่ง มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งูใช้เข้าคู่กับคํา กระต่อง เป็น กระต่องกระแต่ง.–กระแต่ง ใช้เข้าคู่กับคํา กระต่อง เป็น กระต่องกระแต่ง.
กระแตแต้แว้ด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ดู ต้อยตีวิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก.กระแตแต้แว้ด ๑ ดู ต้อยตีวิด.
กระแตแต้แว้ด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ใช้เปรียบผู้หญิงที่ชอบจุ้นจ้านเจ้ากี้เจ้าการ.กระแตแต้แว้ด ๒ น. ใช้เปรียบผู้หญิงที่ชอบจุ้นจ้านเจ้ากี้เจ้าการ.
กระแตไต่ไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ดูใน กระแต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๓.กระแตไต่ไม้ ๑ ดูใน กระแต ๓.
กระแตไต่ไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Drynaria quercifolia (L.) J. Smith ในวงศ์ Polypodiaceae ขึ้นเกาะตามต้นไม้ใหญ่ในป่าที่ชุ่มชื้น เหง้ามีขนเป็นปุยสีนํ้าตาลแก่คล้ายกระแต ใบมี ๒ ชนิด คือ ใบสร้างอับสปอร์ ยาวประมาณ ๑ เมตร เว้าเป็นแฉกลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ และมีอับสปอร์เป็นจุด ๆ สีนํ้าตาลเข้มใต้ใบ ใบไม่สร้างอับสปอร์ ขนาดประมาณฝ่ามือ ขอบจักหยาบ ๆ สีนํ้าตาล แข็งติดอยู่กับเหง้าจนผุ ไม่หล่นเหมือนใบสร้างอับสปอร์ ทําหน้าที่กักปุ๋ย, กระปรอกว่าว ใบหูช้าง สไบนาง สะโมง หรือ หัวว่าว ก็เรียก.กระแตไต่ไม้ ๒ น. ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Drynaria quercifolia (L.) J. Smith ในวงศ์ Polypodiaceae ขึ้นเกาะตามต้นไม้ใหญ่ในป่าที่ชุ่มชื้น เหง้ามีขนเป็นปุยสีนํ้าตาลแก่คล้ายกระแต ใบมี ๒ ชนิด คือ ใบสร้างอับสปอร์ ยาวประมาณ ๑ เมตร เว้าเป็นแฉกลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ และมีอับสปอร์เป็นจุด ๆ สีนํ้าตาลเข้มใต้ใบ ใบไม่สร้างอับสปอร์ ขนาดประมาณฝ่ามือ ขอบจักหยาบ ๆ สีนํ้าตาล แข็งติดอยู่กับเหง้าจนผุ ไม่หล่นเหมือนใบสร้างอับสปอร์ ทําหน้าที่กักปุ๋ย, กระปรอกว่าว ใบหูช้าง สไบนาง สะโมง หรือ หัวว่าว ก็เรียก.
กระแตวับ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง หน้าเป็น เช่น แต่ล้วนตัวตอแหลกระแตวับ. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กระแตวับ (วรรณ) ก. หน้าเป็น เช่น แต่ล้วนตัวตอแหลกระแตวับ. (อภัย).
กระแตเวียน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์สำหรับช่วยให้เด็กหัดเดิน ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ให้มีข้อติดอยู่ข้างหนึ่ง แล้วสวมลงกับหลักไม้ เหนือข้อตอนบนสอดไม้ขวางให้ยาวพอสมควรสำหรับให้เด็กเกาะเดิน. ในวงเล็บ รูปภาพ กระแตเวียน.กระแตเวียน น. อุปกรณ์สำหรับช่วยให้เด็กหัดเดิน ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ให้มีข้อติดอยู่ข้างหนึ่ง แล้วสวมลงกับหลักไม้ เหนือข้อตอนบนสอดไม้ขวางให้ยาวพอสมควรสำหรับให้เด็กเกาะเดิน. (รูปภาพ กระแตเวียน).
–กระแตะ มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะใช้เข้าคู่กับคํา กระเตาะ เป็น กระเตาะกระแตะ.–กระแตะ ใช้เข้าคู่กับคํา กระเตาะ เป็น กระเตาะกระแตะ.
กระโตกกระตาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสียงให้เขารู้อย่างไก่กำลังออกไข่, โดยปริยายหมายความว่า เปิดเผยข้อความที่ต้องการปิดบัง.กระโตกกระตาก ก. ส่งเสียงให้เขารู้อย่างไก่กำลังออกไข่, โดยปริยายหมายความว่า เปิดเผยข้อความที่ต้องการปิดบัง.
กระโตน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระโจน เช่น นํ้าเชี่ยวเกลียวโยน กระโตนฉ่า ๆ. ในวงเล็บ มาจาก สุบินกุมาร โรงพิมพ์ครูสมิท บางคอแหลม จ.ศ. ๑๒๔๓.กระโตน ก. กระโจน เช่น นํ้าเชี่ยวเกลียวโยน กระโตนฉ่า ๆ. (สุบิน).
กระไตร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเหยี่ยวชนิดหนึ่ง เรียกว่า เหยี่ยวกระไตร เช่น กระไตรตระไนตรู. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕, เขาคุ่มกระตรุมกระไตร. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, ตะไกร ก็เรียก.กระไตร (โบ; กลอน) น. ชื่อเหยี่ยวชนิดหนึ่ง เรียกว่า เหยี่ยวกระไตร เช่น กระไตรตระไนตรู. (เสือโค), เขาคุ่มกระตรุมกระไตร. (สรรพสิทธิ์), ตะไกร ก็เรียก.
กระถด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ถดถอย, กระเถิบ, ขยับ.กระถด ก. ถดถอย, กระเถิบ, ขยับ.
กระถอบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นทองคําฉลุลายเป็นกิ่งต้นเครือวัลย์กระหนก สําหรับเสียบห้อยที่ชายพกลงมาในระหว่างช่องหน้าขาทั้ง ๒ สามัญเรียกว่า ช่อทับชาย เช่น ที่ประดับเทวรูปทรงเครื่องทั่วไป เรียกกันว่า สุวรรณกระถอบ หรือ สุวรรณกัญจน์ถอบ.กระถอบ น. แผ่นทองคําฉลุลายเป็นกิ่งต้นเครือวัลย์กระหนก สําหรับเสียบห้อยที่ชายพกลงมาในระหว่างช่องหน้าขาทั้ง ๒ สามัญเรียกว่า ช่อทับชาย เช่น ที่ประดับเทวรูปทรงเครื่องทั่วไป เรียกกันว่า สุวรรณกระถอบ หรือ สุวรรณกัญจน์ถอบ.
กระถั่ว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง นกอีเพา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.กระถั่ว น. นกอีเพา. (พจน. ๒๔๙๓).
กระถาง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะปากกว้าง มีรูปต่าง ๆ สําหรับปลูกต้นไม้ หรือใส่นํ้าและอื่น ๆ.กระถาง น. ภาชนะปากกว้าง มีรูปต่าง ๆ สําหรับปลูกต้นไม้ หรือใส่นํ้าและอื่น ๆ.
กระถิก, กระถึก กระถิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ กระถึก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Sciuridae รูปร่างคล้ายกระรอกซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน ลําตัวสีนํ้าตาล มีลายสีขาวดําพาดขนานตามยาวของลําตัวตั้งแต่จมูกถึงโคนหาง ชอบอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ กินแมลงและผลไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ กระถิกขนปลายหูยาว (Tamiops rodolphei) และกระถิกขนปลายหูสั้น (T. macclellandi), กระเล็น ก็เรียก.กระถิก, กระถึก น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Sciuridae รูปร่างคล้ายกระรอกซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน ลําตัวสีนํ้าตาล มีลายสีขาวดําพาดขนานตามยาวของลําตัวตั้งแต่จมูกถึงโคนหาง ชอบอยู่ตามต้นไม้สูง ๆ กินแมลงและผลไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ กระถิกขนปลายหูยาว (Tamiops rodolphei) และกระถิกขนปลายหูสั้น (T. macclellandi), กระเล็น ก็เรียก.
กระถิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นไม่มีหนามชนิด Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit ในวงศ์ Leguminosae ช่อดอกกลม สีนวล ฝักแบน ใบอ่อนและฝักอ่อนใช้เป็นอาหาร, กระถินไทย กระถินบ้าน กระถินยักษ์ หรือ สะตอเบา ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ตอเบา; ชื่อพรรณไม้หลายชนิดในสกุล Acacia วงศ์ Leguminosae เช่น กระถินพิมาน (A. tomentosa Willd.).กระถิน น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นไม่มีหนามชนิด Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit ในวงศ์ Leguminosae ช่อดอกกลม สีนวล ฝักแบน ใบอ่อนและฝักอ่อนใช้เป็นอาหาร, กระถินไทย กระถินบ้าน กระถินยักษ์ หรือ สะตอเบา ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ตอเบา; ชื่อพรรณไม้หลายชนิดในสกุล Acacia วงศ์ Leguminosae เช่น กระถินพิมาน (A. tomentosa Willd.).
กระถินหอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้าดู คําใต้ เขียนว่า คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท.กระถินหอม ดู คําใต้.
กระเถิบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เขยิบไปจากที่เดิม.กระเถิบ ก. เขยิบไปจากที่เดิม.
กระโถน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับบ้วนหรือทิ้งของต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กนฺโถรฺ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-พิน-ทุ.กระโถน น. ภาชนะสําหรับบ้วนหรือทิ้งของต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการ. (เทียบ ข. กนฺโถรฺ).
กระโถนท้องพระโรง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กระโถนใหญ่ที่ตั้งไว้ที่ท้องพระโรงในศาลาลูกขุนใน สำหรับที่ใคร ๆ บ้วนน้ำหมากหรือทิ้งชานหมากได้; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ผู้ที่ใคร ๆ ก็ใช้ได้หรือผู้ที่ใคร ๆ ก็รุมใช้อยู่คนเดียว.กระโถนท้องพระโรง น. กระโถนใหญ่ที่ตั้งไว้ที่ท้องพระโรงในศาลาลูกขุนใน สำหรับที่ใคร ๆ บ้วนน้ำหมากหรือทิ้งชานหมากได้; (สำ) ผู้ที่ใคร ๆ ก็ใช้ได้หรือผู้ที่ใคร ๆ ก็รุมใช้อยู่คนเดียว.
กระโถนปากแตร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง กระโถนทรงกลมมีปากผายออกคล้ายแตร.กระโถนปากแตร น. กระโถนทรงกลมมีปากผายออกคล้ายแตร.
กระโถนฤๅษี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู-รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชเบียนชนิด Sapria himalayana Griff. ในวงศ์ Rafflesiaceae เกิดตามป่าดิบ เกาะเบียนที่รากเครือเขานํ้า (Tetrastigma lanceolarium Planch.) ดอกรูปกระโถนปากแตร กลิ่นเหม็น กลีบดอกสีนํ้าตาลแดงประเหลือง ใช้ทํายาได้.กระโถนฤๅษี น. ชื่อพืชเบียนชนิด Sapria himalayana Griff. ในวงศ์ Rafflesiaceae เกิดตามป่าดิบ เกาะเบียนที่รากเครือเขานํ้า (Tetrastigma lanceolarium Planch.) ดอกรูปกระโถนปากแตร กลิ่นเหม็น กลีบดอกสีนํ้าตาลแดงประเหลือง ใช้ทํายาได้.
กระทก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง กระตุก เช่น เงื่อนกระทก, กระตุกเร็ว ๆ เช่น กระทกข้าว คือ เอาข้าวใส่กระด้งร่อนพลางกระตุกพลาง เพื่อให้กากข้าวแยกจากข้าวสาร.กระทก ก. กระตุก เช่น เงื่อนกระทก, กระตุกเร็ว ๆ เช่น กระทกข้าว คือ เอาข้าวใส่กระด้งร่อนพลางกระตุกพลาง เพื่อให้กากข้าวแยกจากข้าวสาร.
กระทง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้เป็นต้น ยกขอบสูงสําหรับใส่ของ, ถ้าเสริมขอบปากเป็นรูปกรวยเล็ก ๆ โดยรอบ เรียกว่า กระทงเจิม, ภาชนะที่ทําขึ้นสําหรับลอยนํ้าในประเพณีลอยกระทง; ตอนหนึ่ง ๆของนาซึ่งมีคันกั้น เรียกว่า กระทงนา, อันนา ก็เรียก; ผ้าท่อนหนึ่ง ๆ ของจีวร มีลักษณะเหมือนกระทงนา ซึ่งมีรูปสี่เหลี่ยม; ไม้กระดานที่ยึดกราบเรือหรือพาดแคมเรือทั้ง ๒ ข้างเป็นตอน ๆ (เทียบมลายู กุดง); ตอนหนึ่ง ๆ ของข้อความ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ลักษณนามของความผิดอาญาแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้ง การกระทําความผิดแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้งนั้น ถือว่าเป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง เช่น การกระทําความผิดฐานลักทรัพย์หลายครั้ง การลักทรัพย์แต่ละครั้งเป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง ๆ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ฐานปรับตามกรมศักดิในกฎหมายเก่า.กระทง ๑ น. ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้เป็นต้น ยกขอบสูงสําหรับใส่ของ, ถ้าเสริมขอบปากเป็นรูปกรวยเล็ก ๆ โดยรอบ เรียกว่า กระทงเจิม, ภาชนะที่ทําขึ้นสําหรับลอยนํ้าในประเพณีลอยกระทง; ตอนหนึ่ง ๆของนาซึ่งมีคันกั้น เรียกว่า กระทงนา, อันนา ก็เรียก; ผ้าท่อนหนึ่ง ๆ ของจีวร มีลักษณะเหมือนกระทงนา ซึ่งมีรูปสี่เหลี่ยม; ไม้กระดานที่ยึดกราบเรือหรือพาดแคมเรือทั้ง ๒ ข้างเป็นตอน ๆ (เทียบมลายู กุดง); ตอนหนึ่ง ๆ ของข้อความ; (กฎ) ลักษณนามของความผิดอาญาแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้ง การกระทําความผิดแต่ละกรรมหรือแต่ละครั้งนั้น ถือว่าเป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง เช่น การกระทําความผิดฐานลักทรัพย์หลายครั้ง การลักทรัพย์แต่ละครั้งเป็นกระทงความผิดกระทงหนึ่ง ๆ; (เลิก) ฐานปรับตามกรมศักดิในกฎหมายเก่า.
กระทงแถลง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญในสํานวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย.กระทงแถลง (กฎ; เลิก) น. ส่วนสําคัญในสํานวนความที่เป็นประเด็นและที่เกี่ยวกับประเด็นอันพึงเสนอวินิจฉัย.
กระทงน้อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยักดู กระทงลอย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.กระทงน้อย ดู กระทงลอย.
กระทงป่า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ไม้พาดปากมาดเรือโกลนชั่วคราว.กระทงป่า น. ไม้พาดปากมาดเรือโกลนชั่วคราว.
กระทงเพชร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ติดขวางรองแคร่เกวียนเพื่อยึดไม่ให้แคร่แยกออกไป.กระทงเพชร น. ไม้ติดขวางรองแคร่เกวียนเพื่อยึดไม่ให้แคร่แยกออกไป.
กระทงลอย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เพลงไทย ๒ ชั้นของเก่า ใช้เครื่องรับมโหรี ทําตอนเสี่ยง เช่น ตอนไกรทองเสกกระทงเสี่ยงลอยไปในพิธีจับชาละวัน, กระทงน้อย หรือ บ้าบ่น ก็เรียก.กระทงลอย น. เพลงไทย ๒ ชั้นของเก่า ใช้เครื่องรับมโหรี ทําตอนเสี่ยง เช่น ตอนไกรทองเสกกระทงเสี่ยงลอยไปในพิธีจับชาละวัน, กระทงน้อย หรือ บ้าบ่น ก็เรียก.
กระทงเหิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ขวางเรืออันที่สุดของหัวเรือหรือท้ายเรือ, หูกระต่าย ก็เรียก; ขื่อกระดูกเชิงกราน.กระทงเหิน น. ไม้ขวางเรืออันที่สุดของหัวเรือหรือท้ายเรือ, หูกระต่าย ก็เรียก; ขื่อกระดูกเชิงกราน.
กระทง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ควบกับคํา รุ่น ว่า รุ่นกระทง, เรียกไก่อ่อนอายุประมาณ ๓ เดือนว่า ไก่กระทง, ใช้สําหรับเรียกไก่ตัวผู้ที่สอนขันว่า ไก่รุ่นกระทง, โดยปริยายใช้เรียกชายกําลังแตกเนื้อหนุ่มเป็นเชิงเปรียบเปรยว่า หนุ่มรุ่นกระทง.กระทง ๒ ว. ใช้ควบกับคํา รุ่น ว่า รุ่นกระทง, เรียกไก่อ่อนอายุประมาณ ๓ เดือนว่า ไก่กระทง, ใช้สําหรับเรียกไก่ตัวผู้ที่สอนขันว่า ไก่รุ่นกระทง, โดยปริยายใช้เรียกชายกําลังแตกเนื้อหนุ่มเป็นเชิงเปรียบเปรยว่า หนุ่มรุ่นกระทง.
กระทงลาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Celastrus paniculatus Willd. ในวงศ์ Celastraceae ใบรูปไข่ปลายแหลม ขอบจักถี่ ดอกเล็กขาว ๆ เหลือง ๆออกเป็นช่ออยู่ปลายกิ่ง ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อแก่แตกเป็น ๓ กลีบ นํ้ามันจากเมล็ดใช้ทํายา ตามไฟ หรือเคลือบกระดาษกันนํ้าซึม, กระทุงลาย หรือ มะแตก ก็เรียก.กระทงลาย น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Celastrus paniculatus Willd. ในวงศ์ Celastraceae ใบรูปไข่ปลายแหลม ขอบจักถี่ ดอกเล็กขาว ๆ เหลือง ๆออกเป็นช่ออยู่ปลายกิ่ง ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อแก่แตกเป็น ๓ กลีบ นํ้ามันจากเมล็ดใช้ทํายา ตามไฟ หรือเคลือบกระดาษกันนํ้าซึม, กระทุงลาย หรือ มะแตก ก็เรียก.
กระทด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, ไม่ตรง, เช่น คอกระทดคดคอดหยัก รวดท้าย. ในวงเล็บ มาจาก โคลงตำราช้าง พระบวรราชนิพนธ์ ในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๑๑, ไม้กระทดกระทําทอน ทุกที่ กงนา. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.กระทด (โบ) ว. คด, ไม่ตรง, เช่น คอกระทดคดคอดหยัก รวดท้าย. (ตําราช้างคําโคลง), ไม้กระทดกระทําทอน ทุกที่ กงนา. (โลกนิติ).
กระทดกระทวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไหวน้อย ๆ แต่พองาม, กิริยาย่างกรายอย่างนวยนาด.กระทดกระทวย ว. ไหวน้อย ๆ แต่พองาม, กิริยาย่างกรายอย่างนวยนาด.
กระทดกระทัน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด ๆ ค้อม ๆ เช่น ที่เตี้ยค่อมค้อมคดกระทดกระทันนั้นก็มีอยู่มากหลาย. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาพน.กระทดกระทัน (โบ) ว. คด ๆ ค้อม ๆ เช่น ที่เตี้ยค่อมค้อมคดกระทดกระทันนั้นก็มีอยู่มากหลาย. (ม. ร่ายยาว มหาพน).
กระทบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, พูดหรือทําให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบปะทะกัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, หรือว่า ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.กระทบ ก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, พูดหรือทําให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบปะทะกัน. (ตะเลงพ่าย), หรือว่า ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน. (ตะเลงพ่าย).
กระทบกระทั่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง แตะต้อง, ทําให้กระเทือนถึง, ทําให้กระเทือนใจ.กระทบกระทั่ง ก. แตะต้อง, ทําให้กระเทือนถึง, ทําให้กระเทือนใจ.
กระทบกระเทียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปรียบเปรยให้กระทบถึง.กระทบกระเทียบ ว. เปรียบเปรยให้กระทบถึง.
กระทบกระเทือน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระเทือนไปถึง, พาดพิงไปถึงให้รู้สึกสะเทือนใจ.กระทบกระเทือน ก. กระเทือนไปถึง, พาดพิงไปถึงให้รู้สึกสะเทือนใจ.
กระทบกระแทก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กล่าวเปรย ๆ ให้กระทบไปถึงผู้ใดผู้หนึ่งอย่างแรง.กระทบกระแทก ว. อาการที่กล่าวเปรย ๆ ให้กระทบไปถึงผู้ใดผู้หนึ่งอย่างแรง.
กระทรวง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ [–ซวง] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, พวก, เช่น ทุกหมวดทุกกระทรวงทรง ฤทธิเรื้อง. ในวงเล็บ มาจาก โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี นายสวน มหาดเล็ก แต่งฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕, ชนิด, อย่าง, เช่น อนึ่งนั้นอุเบกขาว่าเพ่งเฉย คือแหวกเลยสุขทุกข์อาลัยห่วง ไม่มีทุกข์ไม่มีสุขสิ้นทั้งปวง สามกระทรวงนี้เป็นชื่อเวทนา. ในวงเล็บ มาจาก ปกีรณำพจนาดถ์ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) โรงพิมพ์หลวง ในพระบรมมหาราชวัง จ.ศ. ๑๒๔๑, แบบ, อย่าง, กระบวน, เช่น ส่วนองค์พระอัยกาก็ทรงพาหนะหัสดินทร กรินทรราชเป็นทัพหลวงตามกระทรวงพยุหยาตรา. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาราช, โดยสมควรแก่กระทรวงแล้วส่งไป. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง, ผจญคนกลิ้งกลอกกลับหลอกลวง เอากระทรวงสัตย์ซื่อให้เสื่อมเท็จ. ในวงเล็บ มาจาก สุภาษิตสอนเด็ก ในสุภาษิต ๓ อย่าง ราชบัณฑิตยสภาสอบทาน พ.ศ. ๒๔๗๒. ในวงเล็บ ดู กระซุง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู.กระทรวง ๑ [–ซวง] น. หมู่, พวก, เช่น ทุกหมวดทุกกระทรวงทรง ฤทธิเรื้อง. (ยอพระเกียรติกรุงธน), ชนิด, อย่าง, เช่น อนึ่งนั้นอุเบกขาว่าเพ่งเฉย คือแหวกเลยสุขทุกข์อาลัยห่วง ไม่มีทุกข์ไม่มีสุขสิ้นทั้งปวง สามกระทรวงนี้เป็นชื่อเวทนา. (ปกีรณําพจนาดถ์), แบบ, อย่าง, กระบวน, เช่น ส่วนองค์พระอัยกาก็ทรงพาหนะหัสดินทร กรินทรราชเป็นทัพหลวงตามกระทรวงพยุหยาตรา. (ม. ร่ายยาว มหาราช), โดยสมควรแก่กระทรวงแล้วส่งไป. (สามดวง), ผจญคนกลิ้งกลอกกลับหลอกลวง เอากระทรวงสัตย์ซื่อให้เสื่อมเท็จ. (สุ. สอนเด็ก). (ดู กระซุง).