เขียนว่า กอ-ไก่ หมายถึง พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก. พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
ก กา เขียนว่า กอ-ไก่ กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกดว่า แม่ ก กา หรือมาตรา ก กา.ก กา น. เรียกแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกดว่า แม่ ก กา หรือมาตรา ก กา.
ก ข เขียนว่า กอ-ไก่ ขอ-ไข่ [โบ อ่านว่า กอข้อ] เป็นคำนาม หมายถึง พยัญชนะแต่ ก ถึง ฮ.ก ข [โบ อ่านว่า กอข้อ] น. พยัญชนะแต่ ก ถึง ฮ.
ก ข ไม่กระดิกหู เขียนว่า กอ-ไก่ ขอ-ไข่ สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู [โบ อ่านว่า กอข้อ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้.ก ข ไม่กระดิกหู [โบ อ่านว่า กอข้อ–] (สำ) น. ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้.
ก หัน เขียนว่า กอ-ไก่ หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก.ก หัน น. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก.
ก็ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้ ความหมายที่ เป็นคำสันธาน หมายถึง แล้ว, จึง, ย่อม, เช่น พอหันหน้ามาก็พบเขาทำดีก็ได้ดี.ก็ ๑ สัน. แล้ว, จึง, ย่อม, เช่น พอหันหน้ามาก็พบเขาทำดีก็ได้ดี.
ก็ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้ ความหมายที่ เป็นคำนิบาต หมายถึง ไขความ เช่น ถึงแก่กรรมก็ตายนั่นเอง ประสาทพิการก็บ้านั่นเอง, เน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้ง เช่น ทั้งฟืนเจ้าก็หัก ทั้งผักเจ้าก็หา.ก็ ๒ นิ. ไขความ เช่น ถึงแก่กรรมก็ตายนั่นเอง ประสาทพิการก็บ้านั่นเอง, เน้นความให้เด่นหรือให้ชัดแจ้ง เช่น ทั้งฟืนเจ้าก็หัก ทั้งผักเจ้าก็หา.
ก็ดี, ก็ได้ ก็ดี เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ก็ได้ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท เป็นคำนิบาต หมายถึง แสดงความหมายเป็นส่วน ๆ หรือเน้นความให้มีนํ้าหนักเท่ากัน เช่น บิดาก็ดี มารดาก็ดี ย่อมรักบุตร ยานี้กินก็ได้ ทาก็ได้.ก็ดี, ก็ได้ ๑ นิ. แสดงความหมายเป็นส่วน ๆ หรือเน้นความให้มีนํ้าหนักเท่ากัน เช่น บิดาก็ดี มารดาก็ดี ย่อมรักบุตร ยานี้กินก็ได้ ทาก็ได้.
ก็ได้ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนิบาต หมายถึง แสดงความหมายว่ายอมอย่างไม่เต็มใจนัก เช่น ท่านจะไปก็ได้.ก็ได้ ๒ นิ. แสดงความหมายว่ายอมอย่างไม่เต็มใจนัก เช่น ท่านจะไปก็ได้.
ก็ตาม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนิบาต หมายถึง ใช้อย่าง ก็ดี, แต่บางแห่งมีแววความหมายเท่ากับ ก็ตามใจ ก็ตามที ก็ตามเรื่อง แล้วแต่กรณีที่ใช้ โดยอาศัยพฤติการณ์ของเรื่องเป็นเครื่องแวดล้อม.ก็ตาม นิ. ใช้อย่าง ก็ดี, แต่บางแห่งมีแววความหมายเท่ากับ ก็ตามใจ ก็ตามที ก็ตามเรื่อง แล้วแต่กรณีที่ใช้ โดยอาศัยพฤติการณ์ของเรื่องเป็นเครื่องแวดล้อม.
ก็แหละ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนิบาต หมายถึง คําขึ้นต้นใหม่ต่อข้อความเดิม เช่น ก็แหละการที่บุคคลจะมีความเจริญได้นั้น จะต้องมีคุณธรรม.ก็แหละ นิ. คําขึ้นต้นใหม่ต่อข้อความเดิม เช่น ก็แหละการที่บุคคลจะมีความเจริญได้นั้น จะต้องมีคุณธรรม.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก.กก ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลําต้น เช่น กกเสา.กก ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลําต้น เช่น กกเสา.
กกหู เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณหลังใบหู.กกหู น. บริเวณหลังใบหู.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกในวงศ์ Cyperaceae เกิดในที่ชุ่มแฉะ ชนิดลําต้นกลมใช้ทอหรือสานเสื่อ เรียกว่า กกกลม หรือ กกเสื่อ (Cyperus corymbosus Rottb., C. tegetiformis Roxb.) ที่ลําต้นเป็นสามเหลี่ยม เช่น กกลังกา (C. alternifolius L.) กกสามเหลี่ยม [Schoenoplectus grossus (L.f.) Palla] กกขนาก หรือ กกกระหนาก (C. difformis L.).กก ๓ น. ชื่อไม้ล้มลุกในวงศ์ Cyperaceae เกิดในที่ชุ่มแฉะ ชนิดลําต้นกลมใช้ทอหรือสานเสื่อ เรียกว่า กกกลม หรือ กกเสื่อ (Cyperus corymbosus Rottb., C. tegetiformis Roxb.) ที่ลําต้นเป็นสามเหลี่ยม เช่น กกลังกา (C. alternifolius L.) กกสามเหลี่ยม [Schoenoplectus grossus (L.f.) Palla] กกขนาก หรือ กกกระหนาก (C. difformis L.).
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แนบไว้กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน เช่น กกกอด กกไข่ กกลูก, โดยปริยายหมายความว่า เก็บนิ่งไว้นานเกินควร เช่น เอาเรื่องไปกกไว้.กก ๔ ก. แนบไว้กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน เช่น กกกอด กกไข่ กกลูก, โดยปริยายหมายความว่า เก็บนิ่งไว้นานเกินควร เช่น เอาเรื่องไปกกไว้.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด, บั่น, เช่น กกกิ่ง กกยอด.กก ๕ (ถิ่น–พายัพ) ก. ตัด, บั่น, เช่น กกกิ่ง กกยอด.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ซอกด้านในหรือซอกด้านหลังของบานประตูหรือหน้าต่าง, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานประตู เรียกว่า กกประตู, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานหน้าต่าง เรียกว่า กกหน้าต่าง.กก ๖ น. ซอกด้านในหรือซอกด้านหลังของบานประตูหรือหน้าต่าง, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานประตู เรียกว่า กกประตู, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานหน้าต่าง เรียกว่า กกหน้าต่าง.
กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดู กะวะ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒.กก ๗ ดู กะวะ ๒.
ก๊ก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง พวก, หมู่, เหล่า, โดยปรกติมักใช้เข้าคู่กันว่า เป็นก๊กเป็นพวก เป็นก๊กเป็นหมู่ เป็นก๊กเป็นเหล่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ว่า ประเทศ .ก๊ก น. พวก, หมู่, เหล่า, โดยปรกติมักใช้เข้าคู่กันว่า เป็นก๊กเป็นพวก เป็นก๊กเป็นหมู่ เป็นก๊กเป็นเหล่า. (จ. ว่า ประเทศ).
กกขนาก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ดู กก เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓.กกขนาก ดู กก ๓.
กกช้าง เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Typha angustifolia L. ในวงศ์ Typhaceae ขึ้นในนํ้า ช่อดอกคล้ายธูปขนาดใหญ่, กกธูป ธูปฤๅษี ปรือ หรือ เฟื้อ ก็เรียก.กกช้าง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Typha angustifolia L. ในวงศ์ Typhaceae ขึ้นในนํ้า ช่อดอกคล้ายธูปขนาดใหญ่, กกธูป ธูปฤๅษี ปรือ หรือ เฟื้อ ก็เรียก.
กกธูป เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลาดู กกช้าง เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู.กกธูป ดู กกช้าง.
กกุธภัณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด[กะกุดทะ–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายความเป็นพระราชาธิบดี ตามที่แสดงไว้ในบรมราชาภิเษก ร. ๗ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกร ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้จามรี) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่า เบญจราชกกุธภัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กกุธ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท ว่า ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร ****(ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง. (รูปภาพ เบญจราชกกุธภัณฑ์) วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี).กกุธภัณฑ์ [กะกุดทะ–] น. เครื่องหมายความเป็นพระราชาธิบดี ตามที่แสดงไว้ในบรมราชาภิเษก ร. ๗ คือ ๑. พระมหาพิชัยมงกุฎ ๒. พระแสงขรรค์ชัยศรี ๓. ธารพระกร ๔. วาลวีชนี (พัดกับแส้จามรี) ๕. ฉลองพระบาท รวมเรียกว่า เบญจราชกกุธภัณฑ์. (ป. กกุธ ว่า เครื่องหมายความเป็นพระราชา + ภณฺฑ ว่า ของใช้; ระบุไว้ในอภิธานัปปทีปิกา คาถาที่ ๓๕๘ ว่า พระขรรค์ ฉัตร อุณหิส ฉลองพระบาท วาลวีชนี คือ มีฉัตรแทนธารพระกร; ในจดหมายเหตุบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๒ มีทั้งฉัตรและธารพระกร พระแสงขรรค์ พระแสงดาบ วาลวีชนี พระมหาพิชัยมงกุฎ และฉลองพระบาท รวมเป็น ๗ สิ่ง. (รูปภาพ เบญจราชกกุธภัณฑ์) วาลวีชนี ที่ปรากฏวัตถุเป็นพัดกับแส้จามรีนั้น แต่ก่อนเป็นพัดใบตาลอย่างที่เรียกว่า พัชนีฝักมะขาม ต่อมาท่านเห็นควรเป็นแส้จามรีจะถูกกว่า เพราะศัพท์ว่าวาลวีชนี หมายความเป็นแส้ขนโคชนิดหนึ่ง จึงสร้างแส้จามรีขึ้น แต่ก็ไม่อาจเลิกพัดใบตาลของเก่า เป็นอันรวมไว้ทั้ง ๒ อย่างในเครื่องที่เรียกว่า วาลวีชนี).
กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด ว่า แม่กง หรือ มาตรากง.กง ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด ว่า แม่กง หรือ มาตรากง.
กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง วง, ส่วนรอบของล้อเกวียนหรือล้อรถม้าเป็นต้น, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขนมกง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคํา วง ว่า เป็นวงเป็นกง; ไร่ล้มลุกที่ถางป่าเป็นหย่อม ๆ ตามเนื้อที่และกั้นเป็นขอบเขตไว้. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง แวดล้อม เช่น ม้ากันม้ากง. (ไทยสิบสองปันนาและสิบสองจุไทย กง ว่า ขอบเขตที่ล้อม เช่น ดินกง คือ ดินที่ล้อมเป็นขอบเขตไว้, ร่ายกง คือไร่ที่ล้อมเป็นขอบเขตไว้).กง ๒ น. วง, ส่วนรอบของล้อเกวียนหรือล้อรถม้าเป็นต้น, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขนมกง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคํา วง ว่า เป็นวงเป็นกง; ไร่ล้มลุกที่ถางป่าเป็นหย่อม ๆ ตามเนื้อที่และกั้นเป็นขอบเขตไว้. (กลอน) ก. แวดล้อม เช่น ม้ากันม้ากง. (ไทยสิบสองปันนาและสิบสองจุไทย กง ว่า ขอบเขตที่ล้อม เช่น ดินกง คือ ดินที่ล้อมเป็นขอบเขตไว้, ร่ายกง คือไร่ที่ล้อมเป็นขอบเขตไว้).
กงเกวียน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ล้อเกวียน.กงเกวียน น. ล้อเกวียน.
กงเกวียนกำเกวียน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ใช้เป็นคําอุปมาหมายความว่า เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม, เช่น ทําแก่เขาอย่างไร ตนหรือลูกหลานเป็นต้นของตนก็อาจจะถูกทำในทำนองเดียวกันอย่างนั้นบ้าง เป็นกงเกวียนกําเกวียน.กงเกวียนกำเกวียน (สำ) ใช้เป็นคําอุปมาหมายความว่า เวรสนองเวร, กรรมสนองกรรม, เช่น ทําแก่เขาอย่างไร ตนหรือลูกหลานเป็นต้นของตนก็อาจจะถูกทำในทำนองเดียวกันอย่างนั้นบ้าง เป็นกงเกวียนกําเกวียน.
กงจักร เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีรูปเป็นวงกลม มีริมเป็นแฉก ๆ โดยรอบ.กงจักร น. สิ่งที่มีรูปเป็นวงกลม มีริมเป็นแฉก ๆ โดยรอบ.
กงพัด เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กงสําหรับพัด เป็นรูปใบพัดที่หมุนได้ เช่น กงพัดสีลม กงพัดเครื่องสีฝัด กงพัดเครื่องระหัด; ประตูหมุน; เครื่องมือชนิดหนึ่งเป็นไม้ยาวประมาณ ๕๐ เซนติเมตร เจาะรูหัวท้าย ใส่ไม้ขวาง สําหรับพัดด้าย.กงพัด ๑ น. กงสําหรับพัด เป็นรูปใบพัดที่หมุนได้ เช่น กงพัดสีลม กงพัดเครื่องสีฝัด กงพัดเครื่องระหัด; ประตูหมุน; เครื่องมือชนิดหนึ่งเป็นไม้ยาวประมาณ ๕๐ เซนติเมตร เจาะรูหัวท้าย ใส่ไม้ขวาง สําหรับพัดด้าย.
กงพัด เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เหลี่ยมสอดในรูซึ่งเจาะที่โคนเสาเรือน ปลายทั้ง ๒ ยื่นออกมาวางอยู่บนหมอน (ซึ่งเรียกว่า งัว) ข้างละต้น, หรือถ้าไม่เจาะรู ก็ใช้เป็น ๒ อัน ตีขวางขนาบโคนเสาข้างละอันวางอยู่บนหมอนเหมือนกัน เพื่อกันทรุด.กงพัด ๒ น. ไม้เหลี่ยมสอดในรูซึ่งเจาะที่โคนเสาเรือน ปลายทั้ง ๒ ยื่นออกมาวางอยู่บนหมอน (ซึ่งเรียกว่า งัว) ข้างละต้น, หรือถ้าไม่เจาะรู ก็ใช้เป็น ๒ อัน ตีขวางขนาบโคนเสาข้างละอันวางอยู่บนหมอนเหมือนกัน เพื่อกันทรุด.
กงเวียน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสำหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, กางเวียน หรือ วงเวียน ก็ว่า.กงเวียน (โบ) น. เครื่องมือสำหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, กางเวียน หรือ วงเวียน ก็ว่า.
กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รูปโค้งที่ตั้งเป็นโครงเรือ (เทียบมลายู กง, ตะเลง กง, ในความเดียวกัน); ไม้สําหรับดีดฝ้ายมีรูปเหมือนคันธนู เรียกว่า ไม้กง หรือ ไม้กงดีดฝ้าย (เทียบอะหม ไม้กงดีดฝ้าย และ คันกระสุน ว่า กง; พายัพ ว่า โก๋ง ได้แก่ คันกระสุน), เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ เรียกว่า เสลี่ยงกง.กง ๓ น. ไม้รูปโค้งที่ตั้งเป็นโครงเรือ (เทียบมลายู กง, ตะเลง กง, ในความเดียวกัน); ไม้สําหรับดีดฝ้ายมีรูปเหมือนคันธนู เรียกว่า ไม้กง หรือ ไม้กงดีดฝ้าย (เทียบอะหม ไม้กงดีดฝ้าย และ คันกระสุน ว่า กง; พายัพ ว่า โก๋ง ได้แก่ คันกระสุน), เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ เรียกว่า เสลี่ยงกง.
กงข้าง, กงค้าง กงข้าง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู กงค้าง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กงที่ตรึงข้างไม่ถึงท้องเรือสลับกับกงวาน. ในวงเล็บ มาจาก ตำนานภาษีอากรบางอย่าง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.กงข้าง, กงค้าง น. กงที่ตรึงข้างไม่ถึงท้องเรือสลับกับกงวาน. (ตํานานภาษีอากร).
กงวาน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง กงที่มีรูสําหรับนํ้าเดินที่ท้องเรือ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร.กงวาน น. กงที่มีรูสําหรับนํ้าเดินที่ท้องเรือ. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ปลามังกง. (ประถม ก กา ในจินดามณี).กง ๔ น. ปลามังกง. (ประถม ก กา ในจินดามณี).
กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู ความหมายที่ ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง จงโคร่ง เขียนว่า จอ-จาน-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู โจงโคร่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู .กง ๕ ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง.
ก่ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งอเป็นรูปโค้ง, ทำให้โค้ง, เช่น ก่งศร ก่งคอ, โก่ง ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โค้ง เช่น คิ้วก่ง, โก่ง ก็ว่า.ก่ง ก. ทำให้งอเป็นรูปโค้ง, ทำให้โค้ง, เช่น ก่งศร ก่งคอ, โก่ง ก็ว่า. ว. โค้ง เช่น คิ้วก่ง, โก่ง ก็ว่า.
ก้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลาย, ด่าง, เช่น แมวก้ง ผ้าตาก้ง (คือ ผ้าตาโต ๆ ที่มีสีต่าง ๆ กัน).ก้ง (ถิ่น–พายัพ) ว. ลาย, ด่าง, เช่น แมวก้ง ผ้าตาก้ง (คือ ผ้าตาโต ๆ ที่มีสีต่าง ๆ กัน).
ก๊ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-ตรี-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ดื่ม (ใช้แก่เหล้า) เช่น ก๊งเหล้า. เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยตวงเหล้าโรงเป็นต้นตามวิธีประเพณี ๑ ก๊ง เท่ากับ ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .ก๊ง (ปาก) ก. ดื่ม (ใช้แก่เหล้า) เช่น ก๊งเหล้า. น. หน่วยตวงเหล้าโรงเป็นต้นตามวิธีประเพณี ๑ ก๊ง เท่ากับ ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร. (จ.).
กงกอน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-นอ-หนูดู โกงกาง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู.กงกอน ดู โกงกาง.
กงการ เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กิจการ, หน้าที่, ธุระ, เช่น กงการอะไรของคุณ ไม่ใช่กงการของฉัน.กงการ (ปาก) น. กิจการ, หน้าที่, ธุระ, เช่น กงการอะไรของคุณ ไม่ใช่กงการของฉัน.
กงโก้ เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โก่ง ๆ โค้ง ๆ เช่น ยืนกงโก้, หลังโกงไม่น่าดู เช่น ผอมกงโก้; เกะกะไม่เรียบร้อย เช่น กงโก้กงกก, โกงโก้ ก็ว่า.กงโก้ (ปาก) ว. โก่ง ๆ โค้ง ๆ เช่น ยืนกงโก้, หลังโกงไม่น่าดู เช่น ผอมกงโก้; เกะกะไม่เรียบร้อย เช่น กงโก้กงกก, โกงโก้ ก็ว่า.
ก้งโค้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง โก่งก้นให้โด่ง, โน้มตัวลงยกก้นให้สูงขึ้น, โก้งโค้ง ก็ว่า.ก้งโค้ง ก. โก่งก้นให้โด่ง, โน้มตัวลงยกก้นให้สูงขึ้น, โก้งโค้ง ก็ว่า.
กงฉาก เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องยึดมุมฉาก.กงฉาก น. เครื่องยึดมุมฉาก.
กงไฉ่ เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ผักกาดเค็มชนิดหนึ่งของจีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ก้งไฉ่ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก ว่า ผักดองเค็ม .กงไฉ่ น. ผักกาดเค็มชนิดหนึ่งของจีน. (จ. ก้งไฉ่ ว่า ผักดองเค็ม).
กงเต๊ก เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง การทําบุญให้แก่ผู้ตายตามพิธีของนักบวชนิกายจีนและญวน มีการสวดและเผากระดาษที่ทําเป็นรูปต่าง ๆ มีบ้านเรือน คนใช้ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .กงเต๊ก น. การทําบุญให้แก่ผู้ตายตามพิธีของนักบวชนิกายจีนและญวน มีการสวดและเผากระดาษที่ทําเป็นรูปต่าง ๆ มีบ้านเรือน คนใช้ เป็นต้น. (จ.).
กงสี เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ของกองกลางที่ใช้รวมกันสําหรับคนหมู่หนึ่ง ๆ, หุ้นส่วน, บริษัท. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน กงซี เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี ว่า บริษัททําการค้า, กิจการที่จัดเป็นสาธารณะ .กงสี น. ของกองกลางที่ใช้รวมกันสําหรับคนหมู่หนึ่ง ๆ, หุ้นส่วน, บริษัท. (จ. กงซี ว่า บริษัททําการค้า, กิจการที่จัดเป็นสาธารณะ).
กงสุล เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตําแหน่งของบุคคลซึ่งรัฐบาลของประเทศหนึ่งแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประจําอยู่ในเมืองต่าง ๆ ของอีกประเทศหนึ่ง เพื่อทําหน้าที่ช่วยเหลือคนชาติของประเทศผู้แต่งตั้งกงสุลที่ไปอยู่ในเมืองต่างประเทศนั้น ๆ และเพื่อดูแลผลประโยชน์ทั่วไปของประเทศผู้แต่งตั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพาณิชย์ กงสุลมี ๒ ประเภท คือ (๑) กงสุลโดยอาชีพ ได้แก่ ผู้ที่เป็นข้าราชการของประเทศผู้แต่งตั้ง และ (๒) กงสุลกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผู้ได้รับแต่งตั้งซึ่งมิใช่ข้าราชการและไม่ได้รับเงินเดือน ซึ่งอาจเป็นคนชาติของประเทศผู้แต่งตั้ง หรือคนชาติอื่นก็ได้ กงสุลที่มีตําแหน่งเป็นหัวหน้าสถานกงสุลมี ๔ ระดับ คือ กงสุลใหญ่ กงสุล รองกงสุล และตัวแทนฝ่ายกงสุล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับกงสุล เช่น สถานกงสุล เขตกงสุล พนักงานฝ่ายกงสุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาฝรั่งเศส consul เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-เอส-ยู-แอล.กงสุล (กฎ) น. ชื่อตําแหน่งของบุคคลซึ่งรัฐบาลของประเทศหนึ่งแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประจําอยู่ในเมืองต่าง ๆ ของอีกประเทศหนึ่ง เพื่อทําหน้าที่ช่วยเหลือคนชาติของประเทศผู้แต่งตั้งกงสุลที่ไปอยู่ในเมืองต่างประเทศนั้น ๆ และเพื่อดูแลผลประโยชน์ทั่วไปของประเทศผู้แต่งตั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพาณิชย์ กงสุลมี ๒ ประเภท คือ (๑) กงสุลโดยอาชีพ ได้แก่ ผู้ที่เป็นข้าราชการของประเทศผู้แต่งตั้ง และ (๒) กงสุลกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผู้ได้รับแต่งตั้งซึ่งมิใช่ข้าราชการและไม่ได้รับเงินเดือน ซึ่งอาจเป็นคนชาติของประเทศผู้แต่งตั้ง หรือคนชาติอื่นก็ได้ กงสุลที่มีตําแหน่งเป็นหัวหน้าสถานกงสุลมี ๔ ระดับ คือ กงสุลใหญ่ กงสุล รองกงสุล และตัวแทนฝ่ายกงสุล. ว. เกี่ยวกับกงสุล เช่น สถานกงสุล เขตกงสุล พนักงานฝ่ายกงสุล. (ฝ. consul).
กช, กช– กช เขียนว่า กอ-ไก่-ชอ-ช้าง กช– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ชอ-ช้าง [กด, กดชะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง ตัดมาจากคำว่า บงกช เป็นคำนาม หมายถึง ดอกบัว เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, โดยมากใช้เข้าคู่กับคํา กร เป็น กรกช เช่น กรกชชุลีคัล. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนาคําฉันท์ เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่ง จาก วชิรญาณรายเดือน ร.ศ. ๑๑๙ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ปงฺกช เขียนว่า ปอ-ปลา-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง.กช, กช– [กด, กดชะ–] (กลอน; ตัดมาจาก บงกช) น. ดอกบัว เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. (สมุทรโฆษ), โดยมากใช้เข้าคู่กับคํา กร เป็น กรกช เช่น กรกชชุลีคัล. (อิเหนาคําฉันท์). (ป. ปงฺกช).
กชกร เขียนว่า กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กดชะกอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น กชกรต่างแต่งตั้ง ศิรสา. ในวงเล็บ มาจาก โคลงหริภุญชัย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๑.กชกร [กดชะกอน] (กลอน) น. “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น กชกรต่างแต่งตั้ง ศิรสา. (หริภุญชัย).
กฎ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา[กด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคําไว้. (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตําราไว้. ในวงเล็บ มาจาก Lois Siamoises Code de 1805 A.D. XIV พระอัยการเบ็ดเสร็จ, “พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย”. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับ จ.ศ. ๑๑๓๖ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๔ ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กต่ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-เอก ว่า จด . เป็นคำนาม หมายถึง คําบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทําตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับ จ.ศ. ๑๑๓๖ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๔; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ข้อกําหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น กฎกระทรวง กฎหมาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง ข้อกําหนดในเรื่องธรรมชาติตามที่ค้นคว้าได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู.กฎ [กด] (โบ) ก. จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคําไว้. (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตําราไว้. (อัยการเบ็ดเสร็จ), “พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย”. (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กต่ ว่า จด). น. คําบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทําตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ. (พงศ. ๑๑๓๖); (กฎ) ข้อกําหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น กฎกระทรวง กฎหมาย; (วิทยา) ข้อกําหนดในเรื่องธรรมชาติตามที่ค้นคว้าได้. (อ. law).
กฎกระทรวง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติ หรือบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะเท่าพระราชบัญญัติ เป็นต้นว่า ประมวลกฎหมาย พระราชกําหนด, เดิมเรียกว่า กฎเสนาบดี.กฎกระทรวง (กฎ) น. บทบัญญัติที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติ หรือบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะเท่าพระราชบัญญัติ เป็นต้นว่า ประมวลกฎหมาย พระราชกําหนด, เดิมเรียกว่า กฎเสนาบดี.
กฎเกณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ข้อกําหนดที่วางไว้เป็นหลัก, หลักเกณฑ์.กฎเกณฑ์ น. ข้อกําหนดที่วางไว้เป็นหลัก, หลักเกณฑ์.
กฎข้อบังคับ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับซึ่งกําหนดขึ้นไว้เป็นระเบียบในการปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมาย, ปัจจุบันนิยมใช้ว่า ข้อบังคับ.กฎข้อบังคับ (กฎ) น. บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับซึ่งกําหนดขึ้นไว้เป็นระเบียบในการปฏิบัติหรือดําเนินการตามกฎหมาย, ปัจจุบันนิยมใช้ว่า ข้อบังคับ.
กฎทบวง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ข้อบัญญัติที่รัฐมนตรีว่าการทบวงออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเช่นเดียวกับกฎกระทรวง.กฎทบวง (กฎ) น. ข้อบัญญัติที่รัฐมนตรีว่าการทบวงออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเช่นเดียวกับกฎกระทรวง.
กฎธรรมชาติ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง กฎในเรื่องธรรมชาติ.กฎธรรมชาติ น. กฎในเรื่องธรรมชาติ.
กฎธรรมดา เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ข้อกําหนดระเบียบการปฏิบัติเนื่องจากธรรมดาวิสัยของมนุษย์และสังคม.กฎธรรมดา น. ข้อกําหนดระเบียบการปฏิบัติเนื่องจากธรรมดาวิสัยของมนุษย์และสังคม.
กฎบัตร เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตราสารที่จัดตั้ง จัดระเบียบ และกําหนดอํานาจหน้าที่ขององค์การ.กฎบัตร (กฎ) น. ตราสารที่จัดตั้ง จัดระเบียบ และกําหนดอํานาจหน้าที่ขององค์การ.
กฎบัตรกฎหมาย เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนกฎหมาย, เชิงกฎหมาย.กฎบัตรกฎหมาย (ปาก) น. กระบวนกฎหมาย, เชิงกฎหมาย.
กฎบัตรสหประชาชาติ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เป็นคำนาม หมายถึง ตราสารที่สถาปนาและจัดระเบียบองค์การระหว่างประเทศที่เรียกว่า องค์การสหประชาชาติ.กฎบัตรสหประชาชาติ น. ตราสารที่สถาปนาและจัดระเบียบองค์การระหว่างประเทศที่เรียกว่า องค์การสหประชาชาติ.
กฎมณเฑียรบาล, กฎมณเทียรบาล กฎมณเฑียรบาล เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-เอ-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง กฎมณเทียรบาล เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-มอ-ม้า-นอ-เนน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กฎมนเทียรบาล.กฎมณเฑียรบาล, กฎมณเทียรบาล (โบ) น. กฎมนเทียรบาล.
กฎมนเทียรบาล เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ข้อบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับพระราชฐาน พระราชวงศ์ และระเบียบการปกครองในราชสํานัก, โบราณใช้ว่า กฎมณเฑียรบาล หรือ กฎมณเทียรบาล ก็มี.กฎมนเทียรบาล (กฎ) น. ข้อบัญญัติพิเศษเกี่ยวกับพระราชฐาน พระราชวงศ์ และระเบียบการปกครองในราชสํานัก, โบราณใช้ว่า กฎมณเฑียรบาล หรือ กฎมณเทียรบาล ก็มี.
กฎยุทธวินัย เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อย่อของกฎว่าด้วยยุทธวินัยและการลงอาญาทหารบกฐานละเมิดยุทธวินัย.กฎยุทธวินัย (กฎ; เลิก) น. ชื่อย่อของกฎว่าด้วยยุทธวินัยและการลงอาญาทหารบกฐานละเมิดยุทธวินัย.
กฎศีลธรรม เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง กฎว่าด้วยการกระทำที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องทางศีลธรรม.กฎศีลธรรม น. กฎว่าด้วยการกระทำที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องทางศีลธรรม.
กฎเสนาบดี เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว ดู กฎกระทรวง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู.กฎเสนาบดี (เลิก) ดู กฎกระทรวง.
กฎหมู่ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจกดดันที่บุคคลจํานวนมากนํามาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทําหรือเว้นกระทําสิ่งที่บุคคลจำนวนนั้นต้องการ (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย).กฎหมู่ น. อํานาจกดดันที่บุคคลจํานวนมากนํามาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทําหรือเว้นกระทําสิ่งที่บุคคลจำนวนนั้นต้องการ (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย).
กฎแห่งกรรม เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง กฎว่าด้วยกรรมและผลแห่งกรรมที่ผู้กระทําจักต้องได้รับ.กฎแห่งกรรม น. กฎว่าด้วยกรรมและผลแห่งกรรมที่ผู้กระทําจักต้องได้รับ.
กฎอัยการศึก เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สําหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจําเป็น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึกเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอํานาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน.กฎอัยการศึก (กฎ) น. กฎหมายซึ่งได้ตราขึ้นไว้สําหรับประกาศใช้เมื่อมีเหตุจําเป็น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล ในเขตที่ประกาศใช้กฎอัยการศึกเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอํานาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ์ การระงับปราบปราม หรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน.
กฎหมาย เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎที่สถาบันหรือผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกําหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ. ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา (แบบเรียน), ทําหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทําหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…. ในวงเล็บ มาจาก พระราชกำหนดเก่า ครั้งกรุงศรีอยุธยา ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พ.ศ. ๒๔๗๖; ออกหมายกําหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ. ในวงเล็บ มาจาก พระราชกำหนดเก่า ครั้งกรุงศรีอยุธยา ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พ.ศ. ๒๔๗๖; กฎหมายงานพระบรมศพครั้งกรุงเก่า; ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดํารัสให้เร่งคืนมา. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมคำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ; กําหนดขีดขั้น เช่น ให้ปลูกโรงรจนาใน นอกหน้าศาลชัย ให้ตั้งพิกัดกฎหมาย. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมคำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กฎหมาย (กฎ) น. กฎที่สถาบันหรือผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือเพื่อกําหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ. (โบ) ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้. (พงศ. อยุธยา), ทําหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทําหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…. (พระราชกําหนดเก่า); ออกหมายกําหนด เช่น ให้มหาดไทยกลาโหมกฎหมายบอกแก่ตระลาการ ถ้ากฎหมายมิทั่ว จะเอาตัวผู้กฎหมายลงโทษ. (พระราชกําหนดเก่า); กฎหมายงานพระบรมศพครั้งกรุงเก่า; ตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดํารัสให้เร่งคืนมา. (พากย์); กําหนดขีดขั้น เช่น ให้ปลูกโรงรจนาใน นอกหน้าศาลชัย ให้ตั้งพิกัดกฎหมาย. (พากย์).
กฎหมายนานาประเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดิมของกฎหมายระหว่างประเทศ. ในวงเล็บ ดู กฎหมายระหว่างประเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา.กฎหมายนานาประเทศ (กฎ; โบ) น. ชื่อเดิมของกฎหมายระหว่างประเทศ. (ดู กฎหมายระหว่างประเทศ).
กฎหมายปกครอง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะรวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ administrative เขียนว่า เอ-ดี-เอ็ม-ไอ-เอ็น-ไอ-เอส-ที-อา-เอ-ที-ไอ-วี-อี law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายปกครอง (กฎ) น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่วางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบในทางปกครองของรัฐ และการดำเนินกิจกรรมของฝ่ายปกครองในการจัดทำบริการสาธารณะรวมทั้งวางหลักความเกี่ยวพันในทางปกครองระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน. (อ. administrative law).
กฎหมายปิดปาก เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ estoppel เขียนว่า อี-เอส-ที-โอ-พี-พี-อี-แอล.กฎหมายปิดปาก (กฎ) น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. (อ. estoppel).
กฎหมายพาณิชย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจํานอง การจํานํา ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ commercial เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-อี-อา-ซี-ไอ-เอ-แอล law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายพาณิชย์ (กฎ) น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจํานอง การจํานํา ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท. (อ. commercial law).
กฎหมายแพ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สินครอบครัว มรดก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ civil เขียนว่า ซี-ไอ-วี-ไอ-แอล law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายแพ่ง (กฎ) น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพ สิทธิ และหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมาย เช่น กฎหมายว่าด้วยนิติกรรม ละเมิดทรัพย์สินครอบครัว มรดก. (อ. civil law).
กฎหมายมหาชน เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน ในฐานะที่รัฐมีอำนาจปกครองเอกชนที่อยู่ในดินแดนของรัฐนั้น เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายมหาชน (กฎ) น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน ในฐานะที่รัฐมีอำนาจปกครองเอกชนที่อยู่ในดินแดนของรัฐนั้น เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา. (อ. public law).
กฎหมายระหว่างประเทศ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกันว่าด้วยรัฐและความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศและประชาคมระหว่างประเทศ, เดิมเรียกว่า กฎหมายนานาประเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ international เขียนว่า ไอ-เอ็น-ที-อี-อา-เอ็น-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น-เอ-แอล law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายระหว่างประเทศ (กฎ) น. หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกันว่าด้วยรัฐและความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศและประชาคมระหว่างประเทศ, เดิมเรียกว่า กฎหมายนานาประเทศ. (อ. international law).
กฎหมายรัฐธรรมนูญ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่มีวัตถุประสงค์ในการวางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตยและการดำเนินงานของสถาบันสูงสุดของรัฐที่ใช้อำนาจอธิปไตย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ constitutional เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-เอส-ที-ไอ-ที-ยู-ที-ไอ-โอ-เอ็น-เอ-แอล law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายรัฐธรรมนูญ (กฎ) น. กฎหมายสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชนที่มีวัตถุประสงค์ในการวางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตยและการดำเนินงานของสถาบันสูงสุดของรัฐที่ใช้อำนาจอธิปไตย. (อ. constitutional law).
กฎหมายเหตุ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง จดหมายเหตุ. ในวงเล็บ มาจาก พงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๑; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ หมายถึง กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ.กฎหมายเหตุ น. จดหมายเหตุ. (พงศ. ประเสริฐ); (กฎ; โบ) กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ.
กฎหมายอาญา เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่กําหนดลักษณะของการกระทําที่ถือว่าเป็นความผิด และกําหนดบทลงโทษทางอาญาสําหรับความผิดนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ criminal เขียนว่า ซี-อา-ไอ-เอ็ม-ไอ-เอ็น-เอ-แอล law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายอาญา (กฎ) น. กฎหมายที่กําหนดลักษณะของการกระทําที่ถือว่าเป็นความผิด และกําหนดบทลงโทษทางอาญาสําหรับความผิดนั้น. (อ. criminal law).
กฎหมายเอกชน เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างเอกชนหรือระหว่างเอกชนกับรัฐ ในฐานะที่รัฐดำเนินการอย่างเอกชนเกี่ยวกับสถานภาพของบุคคลตามกฎหมาย สิทธิและหน้าที่ของเอกชน รวมทั้งวางระเบียบเกี่ยวกับทรัพย์สินของเอกชน เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายพาณิชย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ private เขียนว่า พี-อา-ไอ-วี-เอ-ที-อี law เขียนว่า แอล-เอ-ดับเบิลยู .กฎหมายเอกชน (กฎ) น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างเอกชนหรือระหว่างเอกชนกับรัฐ ในฐานะที่รัฐดำเนินการอย่างเอกชนเกี่ยวกับสถานภาพของบุคคลตามกฎหมาย สิทธิและหน้าที่ของเอกชน รวมทั้งวางระเบียบเกี่ยวกับทรัพย์สินของเอกชน เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายพาณิชย์. (อ. private law).
กฏิ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สะเอว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กฏิ (แบบ) น. สะเอว. (ป.).
กฏุก, กฏุก– กฏุก เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ กฏุก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ [กะตุก, กะตุกะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เผ็ด, เผ็ดร้อน, เช่น ตรีกฏุก หมายถึงเครื่องยาที่เผ็ดร้อนรวม ๓ อย่าง คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กฏุก, กฏุก– [กะตุก, กะตุกะ–] ว. เผ็ด, เผ็ดร้อน, เช่น ตรีกฏุก หมายถึงเครื่องยาที่เผ็ดร้อนรวม ๓ อย่าง คือ พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง. (ป.).
กฏุกผล เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง[กะตุกะผน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผลอันเผ็ดร้อน. (ชุมนุมตํารากลอน ปาราชิตฉันท์).กฏุกผล [กะตุกะผน] (แบบ) น. ผลอันเผ็ดร้อน. (ชุมนุมตํารากลอน ปาราชิตฉันท์).
กฐิน, กฐิน– กฐิน เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู กฐิน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู [กะถิน, กะถินนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร; คํา กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคําอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [กะถินนะกาน] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่า เทศกาลกฐิน [เทดสะกานกะถิน] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจํานงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจํานงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทําพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กําหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสําหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [บอริวานกะถิน] เมื่อนําผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [อะนุโมทะนากะถิน] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน, ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. ในวงเล็บ ดู กรานกฐิน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู และ จุลกฐิน เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.กฐิน, กฐิน– [กะถิน, กะถินนะ–] น. ผ้าพิเศษที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์เฉพาะกฐินกาล, ตามศัพท์แปลว่า ไม้สะดึง คือ กรอบไม้สำหรับขึงผ้าที่จะเย็บเป็นจีวร; คํา กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคําอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [กะถินนะกาน] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่า เทศกาลกฐิน [เทดสะกานกะถิน] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจํานงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจํานงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทําพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กําหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสําหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [บอริวานกะถิน] เมื่อนําผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [อะนุโมทะนากะถิน] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน, ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน).
กฐินทาน เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[กะถินนะทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การทอดกฐิน.กฐินทาน [กะถินนะทาน] น. การทอดกฐิน.
กฐินัตถารกรรม เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[กะถินัดถาระกํา] เป็นคำนาม หมายถึง การกรานกฐิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กิน เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู + อตฺถาร เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + ภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .กฐินัตถารกรรม [กะถินัดถาระกํา] น. การกรานกฐิน. (ป. กิน + อตฺถาร + ส. กรฺม).
กฐินัตถารกรรม เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้าดู กฐิน, กฐิน– กฐิน เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู กฐิน– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู .กฐินัตถารกรรม ดู กฐิน, กฐิน–.
กณิกนันต์ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[กะนิกนัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กณิก เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ว่า น้อย + อนนฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า ว่า ไม่มีที่สุด .กณิกนันต์ [กะนิกนัน] (แบบ) ว. ละเอียดยิ่ง เช่น ลวดหลายลายกณิกนันต์. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. กณิก ว่า น้อย + อนนฺต ว่า ไม่มีที่สุด).
กณิการ์ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กรรณิการ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์.กณิการ์ น. ไม้กรรณิการ์. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
กด เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด ว่า แม่กด หรือ มาตรากด.กด ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด ว่า แม่กด หรือ มาตรากด.
กด เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลาไม่มีเกล็ด มีหนวด หลายชนิด หลายขนาด ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมัน ส่วนใหญ่เป็นสกุล Arius ในวงศ์ Ariidae พบมากในเขตนํ้ากร่อย เช่น กดแดง หรือ กดหัวโม่ง (A. caelatus) บางชนิดพบในทะเล เช่น กดทะเล หรือ ริวกิว (A. thalassinus), ที่อยู่ในสกุล Ketengus ได้แก่ กดหัวโต (K. typus), ในสกุล Hemipimelodus เช่น กดโป๊ะ (H. borneensis). (๒) ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดในสกุล Mystus วงศ์ Bagriidae ลักษณะทั่วไปคล้ายกด (๑) เช่น กดเหลือง ชงโลง หรือ กดขาว (M. nemurus) กดคัง (M. wyckii).กด ๒ น. (๑) ชื่อปลาไม่มีเกล็ด มีหนวด หลายชนิด หลายขนาด ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมัน ส่วนใหญ่เป็นสกุล Arius ในวงศ์ Ariidae พบมากในเขตนํ้ากร่อย เช่น กดแดง หรือ กดหัวโม่ง (A. caelatus) บางชนิดพบในทะเล เช่น กดทะเล หรือ ริวกิว (A. thalassinus), ที่อยู่ในสกุล Ketengus ได้แก่ กดหัวโต (K. typus), ในสกุล Hemipimelodus เช่น กดโป๊ะ (H. borneensis). (๒) ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดในสกุล Mystus วงศ์ Bagriidae ลักษณะทั่วไปคล้ายกด (๑) เช่น กดเหลือง ชงโลง หรือ กดขาว (M. nemurus) กดคัง (M. wyckii).
กด เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น นกกดอดทนสู้ พบงูเห่าเอาปีกบัง. ในวงเล็บ มาจาก กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์ ในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๖.กด ๓ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น นกกดอดทนสู้ พบงูเห่าเอาปีกบัง. (ประพาสธารทองแดง).
กด เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับลง, ข่ม, ใช้กําลังดันให้ลง, โดยปริยายหมายความว่า แกล้งกักไว้ เช่น กดคดี; ทำให้มีค่าน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็น เช่น กดราคา กดคะแนน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง สะกด, ขืน, เช่น อย่ากดใจฟั้นย่า นานนัก. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.กด ๔ ก. บังคับลง, ข่ม, ใช้กําลังดันให้ลง, โดยปริยายหมายความว่า แกล้งกักไว้ เช่น กดคดี; ทำให้มีค่าน้อยลงกว่าที่ควรจะเป็น เช่น กดราคา กดคะแนน; (กลอน) สะกด, ขืน, เช่น อย่ากดใจฟั้นย่า นานนัก. (ลอ).
กดขี่ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง ข่มให้อยู่ในอํานาจตน, ใช้บังคับเอา, ทําอํานาจเอา, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ข่มเหง เป็น กดขี่ข่มเหง.กดขี่ ก. ข่มให้อยู่ในอํานาจตน, ใช้บังคับเอา, ทําอํานาจเอา, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ข่มเหง เป็น กดขี่ข่มเหง.
กดคอ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง บังคับเอา.กดคอ (ปาก) ก. บังคับเอา.
กดดัน เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง บีบคั้น.กดดัน ก. บีบคั้น.
กดน้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้กําลังกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มิดลงไปในนํ้า ในความว่า จับกดน้ำ จับหัวกดน้ำ.กดน้ำ (ปาก) ก. ใช้กําลังกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มิดลงไปในนํ้า ในความว่า จับกดน้ำ จับหัวกดน้ำ.
กดหัว เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หือไม่ขึ้น.กดหัว (ปาก) ก. ทําให้หือไม่ขึ้น.
กด เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๗.กด ๕ น. คํากํากับชื่อปีในวิธีนับศักราชของไทยเหนือ ตรงกับเลข ๗.
กดขาว เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู กดเหลือง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู.กดขาว ดู กดเหลือง.
กดเหลือง เขียนว่า กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Mystus nemurus ในวงศ์ Bagriidae ไม่มีเกล็ด หัวแบน หนวดยาวถึงครีบก้น ข้างลำตัวสีเหลือง ด้านหลังสีน้ำตาลดำ มีชุกชุมทั่วไปแม้ในเขตน้ำกร่อยใกล้ปากแม่น้ำ, กดขาว หรือ ชงโลง ก็เรียก.กดเหลือง น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Mystus nemurus ในวงศ์ Bagriidae ไม่มีเกล็ด หัวแบน หนวดยาวถึงครีบก้น ข้างลำตัวสีเหลือง ด้านหลังสีน้ำตาลดำ มีชุกชุมทั่วไปแม้ในเขตน้ำกร่อยใกล้ปากแม่น้ำ, กดขาว หรือ ชงโลง ก็เรียก.
กตเวทิตา เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[กะตะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตัญญุตา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กตเวทิตา [กะตะ–] น. ความเป็นผู้ประกาศคุณท่าน, ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตัญญุตา. (ป.).
กตเวที เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี[กะตะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง (ผู้) ประกาศคุณท่าน, (ผู้) สนองคุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตัญญู. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทําแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ].กตเวที [กะตะ–] ว. (ผู้) ประกาศคุณท่าน, (ผู้) สนองคุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตัญญู. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทําแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ].
กตัญชลี เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[กะตันชะลี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ยกมือไหว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กต เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า ว่า อันเขาทําแล้ว + อญฺชลี เขียนว่า ออ-อ่าง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ว่า กระพุ่มมือ .กตัญชลี [กะตันชะลี] (แบบ) ก. ยกมือไหว้. (ป. กต ว่า อันเขาทําแล้ว + อญฺชลี ว่า กระพุ่มมือ).
กตัญญุตา เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา[กะตัน–] เป็นคำนาม หมายถึง ความกตัญญู, ความเป็นผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ความเป็นผู้รู้คุณท่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กตัญญุตา [กะตัน–] น. ความกตัญญู, ความเป็นผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ความเป็นผู้รู้คุณท่าน. (ป.).
กตัญญู เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู[กะตัน–] เป็นคำนาม หมายถึง (ผู้) รู้อุปการะที่ท่านทําให้, (ผู้) รู้คุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทําแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้].กตัญญู [กะตัน–] น. (ผู้) รู้อุปการะที่ท่านทําให้, (ผู้) รู้คุณท่าน, เป็นคําคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทําแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้].
กตาธิการ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กะตาทิกาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อธิการ (บารมีอันยิ่ง) ที่ทําไว้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอธิการที่ทําไว้, มีบารมีที่สั่งสมไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กต เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า ว่า อันเขาทําแล้ว + อธิการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .กตาธิการ [กะตาทิกาน] (แบบ) น. อธิการ (บารมีอันยิ่ง) ที่ทําไว้. ว. มีอธิการที่ทําไว้, มีบารมีที่สั่งสมไว้. (ป. กต ว่า อันเขาทําแล้ว + อธิการ).
กตาภินิหาร เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กะตาพินิหาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อภินิหาร (บุญอันยิ่ง) ที่ทําไว้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอภินิหารที่ทําไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กต เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า ว่า อันเขาทําแล้ว + อภินิหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .กตาภินิหาร [กะตาพินิหาน] (แบบ) น. อภินิหาร (บุญอันยิ่ง) ที่ทําไว้. ว. มีอภินิหารที่ทําไว้. (ป. กต ว่า อันเขาทําแล้ว + อภินิหาร).
กติกา เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[กะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกําหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น กติกาชกมวย กติกาฟุตบอล; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง หนังสือสัญญา; ข้อตกลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาอังกฤษ covenant เขียนว่า ซี-โอ-วี-อี-เอ็น-เอ-เอ็น-ที.กติกา [กะ–] น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกําหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น กติกาชกมวย กติกาฟุตบอล; (กฎ) หนังสือสัญญา; ข้อตกลง. (ป.; อ. covenant).
กติกาสัญญา เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ความตกลงระหว่างประเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ pact เขียนว่า พี-เอ-ซี-ที.กติกาสัญญา (กฎ) น. ความตกลงระหว่างประเทศ. (อ. pact).
กถา เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา[กะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, เรื่อง, คําอธิบาย, คํากล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กถา [กะ–] น. ถ้อยคํา, เรื่อง, คําอธิบาย, คํากล่าว. (ป.).
กถามรรค เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย[–มัก] เป็นคำนาม หมายถึง ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กถา เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา + มรฺค เขียนว่า มอ-ม้า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย ว่า ทาง .กถามรรค [–มัก] น. ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ. (ส. กถา + มรฺค ว่า ทาง).
กถามรรคเทศนา เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[–มักคะเทดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต –เทศนา มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ว่า การแสดง .กถามรรคเทศนา [–มักคะเทดสะหฺนา] น. เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา. (ส. –เทศนา ว่า การแสดง).
กถามุข เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต –มุข มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ ว่า หน้า .กถามุข น. เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง. (ป.; ส. –มุข ว่า หน้า).
กถิกาจารย์ เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[กะถิกาจาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้กล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กถิก เขียนว่า กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ + ภาษาสันสกฤต อาจารฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก .กถิกาจารย์ [กะถิกาจาน] (แบบ) น. อาจารย์ผู้กล่าว. (ป., ส. กถิก + ส. อาจารฺย).
กทรรป เขียนว่า กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา[กะทับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง กําหนัด เช่น ตรูกามกทรรปหฤทัย. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กนฺทรฺป เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา ว่า กามเทพ .กทรรป [กะทับ] (แบบ) ก. กําหนัด เช่น ตรูกามกทรรปหฤทัย. (สมุทรโฆษ). (ส. กนฺทรฺป ว่า กามเทพ).
กทลี เขียนว่า กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[กะทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กล้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กทลี [กะทะ–] (แบบ) น. กล้วย. (ป.).
กน เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด ว่า แม่กน หรือ มาตรากน.กน ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด ว่า แม่กน หรือ มาตรากน.
กน เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง มัว, คอย, เฝ้า, เช่น จะกนกินแต่นํ้าตาอนาทร. ในวงเล็บ มาจาก นิราศลอนดอน แบบเรียนกวีนิพนธ์.กน ๒ (โบ) ก. มัว, คอย, เฝ้า, เช่น จะกนกินแต่นํ้าตาอนาทร. (นิ. ลอนดอน).
ก่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งหน้า, มุ่ง, เช่น อยู่เย็นยงงก่นเกอดพิจลการ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.ก่น ๑ (โบ) ก. ตั้งหน้า, มุ่ง, เช่น อยู่เย็นยงงก่นเกอดพิจลการ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
ก่น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขุดโค่น.ก่น ๒ ก. ขุดโค่น.
ก่นโคตร เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง ขุดโคตรขึ้นมาด่า.ก่นโคตร ก. ขุดโคตรขึ้นมาด่า.
ก่นแต่ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าแต่, มัวแต่, เช่น ก่นแต่จะร้องไห้.ก่นแต่ ก. เฝ้าแต่, มัวแต่, เช่น ก่นแต่จะร้องไห้.
ก่นสร้าง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ขุดโค่นต้นไม้ตอไม้และแผ้วถางเพื่อปลูกสร้าง, โก่นสร้าง ก็ว่า.ก่นสร้าง (โบ) ก. ขุดโค่นต้นไม้ตอไม้และแผ้วถางเพื่อปลูกสร้าง, โก่นสร้าง ก็ว่า.
ก้น เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนเบื้องล่างหรือส่วนท้ายของลําตัว, โดยปริยายหมายความถึงบริเวณก้นด้วย เช่น ล้างก้น; ส่วนล่างของภาชนะ เช่น ก้นหม้อ, ส่วนสุดของห้วงหรือแอ่ง เช่น ก้นบ่อ ก้นสระ ก้นคลอง, ตรงข้ามกับปาก; ส่วนสุดที่เหลือ เช่น ก้นเทียน ก้นบุหรี่.ก้น น. ส่วนเบื้องล่างหรือส่วนท้ายของลําตัว, โดยปริยายหมายความถึงบริเวณก้นด้วย เช่น ล้างก้น; ส่วนล่างของภาชนะ เช่น ก้นหม้อ, ส่วนสุดของห้วงหรือแอ่ง เช่น ก้นบ่อ ก้นสระ ก้นคลอง, ตรงข้ามกับปาก; ส่วนสุดที่เหลือ เช่น ก้นเทียน ก้นบุหรี่.
ก้นกบ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ปลายกระดูกสันหลังที่สุดลงมาข้างล่าง, พายัพเรียก ก้นหย่อน, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้นกบว่าวจุฬา.ก้นกบ น. ปลายกระดูกสันหลังที่สุดลงมาข้างล่าง, พายัพเรียก ก้นหย่อน, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้นกบว่าวจุฬา.
ก้นกระดก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลืมตัวเพราะถูกเยินยอ.ก้นกระดก (สำ) ว. ลืมตัวเพราะถูกเยินยอ.
ก้นกุฏิ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ[–กุดติ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สนิทเป็นที่ไว้วางใจได้.ก้นกุฏิ [–กุดติ] (ปาก) ว. ที่สนิทเป็นที่ไว้วางใจได้.
ก้นครัว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ได้ออกหน้าออกตา.ก้นครัว (ปาก) ว. ไม่ได้ออกหน้าออกตา.
ก้นตะกรน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ก้นที่มีขี้ตะกอน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เดนคัด, เดนเลือก, ขนาดเล็กมาก, ในคำว่า มะม่วงก้นตะกรน.ก้นตะกรน น. ก้นที่มีขี้ตะกอน. ว. เดนคัด, เดนเลือก, ขนาดเล็กมาก, ในคำว่า มะม่วงก้นตะกรน.
ก้นบึ้ง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสุดของสิ่งที่ลึก, ส่วนใต้สุด, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้นบึ้งของหัวใจ.ก้นบึ้ง น. ส่วนสุดของสิ่งที่ลึก, ส่วนใต้สุด, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ก้นบึ้งของหัวใจ.
ก้นปอด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ก้นที่สอบเล็กผิดปรกติ, ก้นที่ไม่ใคร่มีเนื้อ.ก้นปอด น. ก้นที่สอบเล็กผิดปรกติ, ก้นที่ไม่ใคร่มีเนื้อ.
ก้นปิด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกใบไม้ที่มีก้านติดอยู่ภายในของใบ เช่น ใบบัว ใบมะละกอ ว่า ใบก้นปิด.ก้นปิด ว. เรียกใบไม้ที่มีก้านติดอยู่ภายในของใบ เช่น ใบบัว ใบมะละกอ ว่า ใบก้นปิด.
ก้นแมลงสาบ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แหลมมนอย่างก้นแมลงสาบ, เรียกเครื่องมือเหล็กที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า เหล็กก้นแมลงสาบ.ก้นแมลงสาบ ว. แหลมมนอย่างก้นแมลงสาบ, เรียกเครื่องมือเหล็กที่มีลักษณะเช่นนั้นว่า เหล็กก้นแมลงสาบ.
ก้นย้อย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อก้น ๒ ข้างที่ยุ้ยออกมา.ก้นย้อย น. เนื้อก้น ๒ ข้างที่ยุ้ยออกมา.
ก้นหนัก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไปนั่งคุยอยู่นาน ไม่ยอมกลับง่าย ๆ.ก้นหนัก ว. ไปนั่งคุยอยู่นาน ไม่ยอมกลับง่าย ๆ.
ก้นหย่อน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ก้นกบ.ก้นหย่อน (ถิ่น–พายัพ) น. ก้นกบ.
ก้นหอย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง รอยเส้นขดวนเข้าหาศูนย์กลางอย่างรูปก้นหอยมีที่นิ้วมือเป็นต้น, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ม้วนผมแบบก้นหอย.ก้นหอย น. รอยเส้นขดวนเข้าหาศูนย์กลางอย่างรูปก้นหอยมีที่นิ้วมือเป็นต้น, โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ม้วนผมแบบก้นหอย.
ก้นอ้อย เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อก้น ๒ ข้างตรงที่นั่งทับ.ก้นอ้อย น. เนื้อก้น ๒ ข้างตรงที่นั่งทับ.
กนก เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-กอ-ไก่[กะหฺนก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ทองคํา เช่น มาลากนก = มาลัยทอง, โดยมากใช้ประกอบเป็นส่วนหน้าของสมาสเช่น กนกนัครา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กนก [กะหฺนก] (แบบ) น. ทองคํา เช่น มาลากนก = มาลัยทอง, โดยมากใช้ประกอบเป็นส่วนหน้าของสมาสเช่น กนกนัครา. (สมุทรโฆษ). (ป.; ส.).
ก้นขบ เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูชนิด Cylindrophis ruffus ในวงศ์ Aniliidae หรือ Uropeltidae สีดําแกมม่วง มีลายขาวเป็นปล้อง ๆ ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษข้างหางเพราะชูและแผ่หางซึ่งปลายมีสีแดงส้ม.ก้นขบ น. ชื่องูชนิด Cylindrophis ruffus ในวงศ์ Aniliidae หรือ Uropeltidae สีดําแกมม่วง มีลายขาวเป็นปล้อง ๆ ไม่มีพิษ แต่เข้าใจกันว่ามีพิษข้างหางเพราะชูและแผ่หางซึ่งปลายมีสีแดงส้ม.
ก้นปล่อง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยุงในสกุล Anopheles วงศ์ Culicidae มีหลายชนิด ที่พบเป็นสามัญเช่น ชนิด A. minimus ยุงเหล่านี้เวลาเกาะหรือดูดเลือดคนหรือสัตว์ หัวจะปักลง ก้นชี้ขึ้น ผนังด้านล่างของส่วนท้องไม่มีเกล็ด ตัวเมียมีรยางค์ที่ปากยาวออกมา ๑ คู่ เช่นเดียวกับตัวผู้ ทําให้เหมือนกับมีปากเป็นสามแฉก ตัวเมียดูดเลือดและบางชนิดเป็นพาหะในการนําโรคมาสู่คนและสัตว์ เช่น โรคมาลาเรีย ตัวผู้กินนํ้าหรือนํ้าหวานจากดอกไม้.ก้นปล่อง น. ชื่อยุงในสกุล Anopheles วงศ์ Culicidae มีหลายชนิด ที่พบเป็นสามัญเช่น ชนิด A. minimus ยุงเหล่านี้เวลาเกาะหรือดูดเลือดคนหรือสัตว์ หัวจะปักลง ก้นชี้ขึ้น ผนังด้านล่างของส่วนท้องไม่มีเกล็ด ตัวเมียมีรยางค์ที่ปากยาวออกมา ๑ คู่ เช่นเดียวกับตัวผู้ ทําให้เหมือนกับมีปากเป็นสามแฉก ตัวเมียดูดเลือดและบางชนิดเป็นพาหะในการนําโรคมาสู่คนและสัตว์ เช่น โรคมาลาเรีย ตัวผู้กินนํ้าหรือนํ้าหวานจากดอกไม้.
ก้นปูด เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง นกกะปูด. ในวงเล็บ ดู กะปูด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก.ก้นปูด (ถิ่น–พายัพ) น. นกกะปูด. (ดู กะปูด).
กนิษฐ–, กนิษฐ์ กนิษฐ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน กนิษฐ์ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด [กะนิดถะ–, กะนิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง “น้อยที่สุด”. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กนิฏฺ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กนิฏฺ เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.กนิษฐ–, กนิษฐ์ [กะนิดถะ–, กะนิด] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺ).
กนิษฐภคินี เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง น้องหญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภคินี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ว่า น้องหญิง .กนิษฐภคินี น. น้องหญิง. (ป., ส. ภคินี ว่า น้องหญิง).
กนิษฐภาดา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง น้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภาตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ว่า น้องชาย .กนิษฐภาดา น. น้องชาย. (ป. ภาตา ว่า น้องชาย).
กนิษฐา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง น้องสาว, คู่กับ เชษฐา คือ พี่ชาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง นิ้วก้อย ใช้ว่า พระกนิษฐา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .กนิษฐา (กลอน) น. น้องสาว, คู่กับ เชษฐา คือ พี่ชาย; (ราชา) นิ้วก้อย ใช้ว่า พระกนิษฐา. (ส.).
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด ว่า แม่กบ หรือ มาตรากบ.กบ ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด ว่า แม่กบ หรือ มาตรากบ.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Ranidae ไม่มีหาง ตีนแบนมีหนังติดเป็นพืด กระโดดได้ไกล ว่ายนํ้าดํานํ้าได้เร็ว มักวางไข่ในนํ้า เมื่อยังเป็นตัวอ่อนจะมีหาง อยู่ในนํ้าเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจําศีล มีหลายชนิด เช่น กบนา (Rana tigerina).กบ ๒ น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศ์ Ranidae ไม่มีหาง ตีนแบนมีหนังติดเป็นพืด กระโดดได้ไกล ว่ายนํ้าดํานํ้าได้เร็ว มักวางไข่ในนํ้า เมื่อยังเป็นตัวอ่อนจะมีหาง อยู่ในนํ้าเรียกว่า ลูกอ๊อด ภายหลังจึงงอกขา หางหดหายไป แล้วขึ้นอาศัยบนบก หน้าแล้งอยู่แต่ในรู ไม่ออกหาอาหารชั่วคราว เรียกว่า กบจําศีล มีหลายชนิด เช่น กบนา (Rana tigerina).
กบเต้น เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยร้องรํา ๒ ชั้นสมัยกรุงศรีอยุธยา หน้าทับสองไม้ คือ ชั้นต้นมีทํานองช้าก่อนแล้วก็เร็วเข้ากํากับกันไป ใช้กับบทโศกหรือรัญจวน เช่นตอนรจนาครํ่าครวญน้อยใจที่สังข์ทองจะไม่ช่วยตีคลี. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมบทละครดึกดำบรรพ์ ฉบับหลวง พ.ศ. ๒๔๖๗.กบเต้น น. ชื่อเพลงไทยร้องรํา ๒ ชั้นสมัยกรุงศรีอยุธยา หน้าทับสองไม้ คือ ชั้นต้นมีทํานองช้าก่อนแล้วก็เร็วเข้ากํากับกันไป ใช้กับบทโศกหรือรัญจวน เช่นตอนรจนาครํ่าครวญน้อยใจที่สังข์ทองจะไม่ช่วยตีคลี. (ดึกดําบรรพ์).
กบเต้นกลางสระบัว เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า หมายชิดมิตรเชือนไม่เหมือนหมาย.กบเต้นกลางสระบัว น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า หมายชิดมิตรเชือนไม่เหมือนหมาย.
กบเต้นต่อยหอย เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า คิดยิ่งแสนแค้นยิ่งศรเสียบทรวงหมอง.กบเต้นต่อยหอย น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า คิดยิ่งแสนแค้นยิ่งศรเสียบทรวงหมอง.
กบเต้นสลักเพชร เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บเรียมห่างจางรักให้ใจเรียมหวน.กบเต้นสลักเพชร น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บเรียมห่างจางรักให้ใจเรียมหวน.
กบเต้นสามตอน เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บคําจําคิดจิตขวย.กบเต้นสามตอน น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง ตัวอย่างว่า เจ็บคําจําคิดจิตขวย.
กบทูด เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกบภูเขาขนาดใหญ่ชนิด Rana blythii ในวงศ์ Ranidae ขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย ตัวยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร อาศัยในป่าดงดิบชื้นตามลําธารบนภูเขา.กบทูด น. ชื่อกบภูเขาขนาดใหญ่ชนิด Rana blythii ในวงศ์ Ranidae ขนาดใหญ่ที่สุดที่พบในประเทศไทย ตัวยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร อาศัยในป่าดงดิบชื้นตามลําธารบนภูเขา.
กบนา เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกบชนิด Rana tigerina ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียว มีลายสีเข้ม มักอาศัยในรูตามคันนา นิยมนำมาทำเป็นอาหาร.กบนา น. ชื่อกบชนิด Rana tigerina ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียว มีลายสีเข้ม มักอาศัยในรูตามคันนา นิยมนำมาทำเป็นอาหาร.
กบในกะลาครอบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อยแต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก.กบในกะลาครอบ (สำ) น. ผู้มีความรู้และประสบการณ์น้อยแต่สำคัญตนว่ามีความรู้มาก.
กบบัว เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกบชนิด Rana erythraea ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียว ขนาดเล็กกว่ากบนา มักอาศัยอยู่ตามกอบัว จึงมีผู้เรียกว่า เขียดบัว และร้องเสียงจิ๊ก ๆ บางครั้งจึงเรียกว่า เขียดจิก.กบบัว น. ชื่อกบชนิด Rana erythraea ในวงศ์ Ranidae ตัวสีเขียว ขนาดเล็กกว่ากบนา มักอาศัยอยู่ตามกอบัว จึงมีผู้เรียกว่า เขียดบัว และร้องเสียงจิ๊ก ๆ บางครั้งจึงเรียกว่า เขียดจิก.
กบเลือกนาย เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ต้องการเปลี่ยนผู้บังคับบัญชาอยู่เรื่อย ๆ.กบเลือกนาย (สำ) น. ผู้ที่ต้องการเปลี่ยนผู้บังคับบัญชาอยู่เรื่อย ๆ.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ดู คางคก เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒.กบ ๓ ดู คางคก ๒.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือช่างไม้สําหรับไสไม้ ทําหน้าไม้ให้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว ลอกลวด มีมากชนิดด้วยกัน เช่น กบกระดี่ กบบรรทัด กบบัว; อุปกรณ์ใช้เหลาดินสอ.กบ ๔ น. เครื่องมือช่างไม้สําหรับไสไม้ ทําหน้าไม้ให้เรียบ ให้เป็นราง หรือลอกบัว ลอกลวด มีมากชนิดด้วยกัน เช่น กบกระดี่ กบบรรทัด กบบัว; อุปกรณ์ใช้เหลาดินสอ.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิดหนึ่งในสกุล Geodorum วงศ์ Orchidaceae หัวมีลักษณะเหมือนกบ เชื่อกันว่าใช้ในทางอยู่ยงคงกระพันได้, ข้าวอังกุลี ก็เรียก.กบ ๕ น. (๑) ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิดหนึ่งในสกุล Geodorum วงศ์ Orchidaceae หัวมีลักษณะเหมือนกบ เชื่อกันว่าใช้ในทางอยู่ยงคงกระพันได้, ข้าวอังกุลี ก็เรียก.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มมาก, เต็มแน่น, เช่น ข้าวกบหม้อ มะพร้าวมีลูกกบคอ.กบ ๖ ว. เต็มมาก, เต็มแน่น, เช่น ข้าวกบหม้อ มะพร้าวมีลูกกบคอ.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ประกบ.กบ ๗ ก. ประกบ.
กบแจะ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง แตะ, กระทบ, ประกบกัน, (ใช้เฉพาะการเล่นอย่างเล่นโยนหลุม โดยโยนสตางค์หรือเบี้ยให้ไปแตะหรือประกบกัน), แจะ ก็ว่า.กบแจะ (ปาก) ก. แตะ, กระทบ, ประกบกัน, (ใช้เฉพาะการเล่นอย่างเล่นโยนหลุม โดยโยนสตางค์หรือเบี้ยให้ไปแตะหรือประกบกัน), แจะ ก็ว่า.
กบ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง สลักไม้ที่ใส่ไว้ด้านในส่วนล่างตอนกลางของบานหน้าต่างหรือประตู ทําหน้าที่คล้ายกลอน เมื่อปิดหน้าต่างหรือประตู ใช้กบนี้สอดเข้าในช่องเจาะตัวไม้ธรณี.กบ ๘ น. สลักไม้ที่ใส่ไว้ด้านในส่วนล่างตอนกลางของบานหน้าต่างหรือประตู ทําหน้าที่คล้ายกลอน เมื่อปิดหน้าต่างหรือประตู ใช้กบนี้สอดเข้าในช่องเจาะตัวไม้ธรณี.
กบฏ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-ปะ-ตัก[กะบด] เป็นคำกริยา หมายถึง ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ทรยศ. เป็นคำนาม หมายถึง การประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ความทรยศ; ผู้ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ผู้ทรยศ, ขบถ ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ชื่อความผิดอาญาฐานกระทําความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กําลังประทุษร้ายเพื่อล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร หรืออํานาจตุลาการ หรือแบ่งแยกราชอาณาจักร หรือยึดอํานาจปกครองในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กปฏ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก ว่า ความคด, ความโกง .กบฏ [กะบด] ก. ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ทรยศ. น. การประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ความทรยศ; ผู้ประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร, ผู้ทรยศ, ขบถ ก็ว่า; (กฎ) ชื่อความผิดอาญาฐานกระทําความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กําลังประทุษร้ายเพื่อล้มล้างหรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร หรืออํานาจตุลาการ หรือแบ่งแยกราชอาณาจักร หรือยึดอํานาจปกครองในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏ. (ส. กปฏ ว่า ความคด, ความโกง).
กบดาน เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง นอนพังพาบกับพื้นใต้นํ้า เป็นอาการของจระเข้, โดยปริยายหมายถึงหลบซ่อนตัวไม่ออกมา.กบดาน ก. นอนพังพาบกับพื้นใต้นํ้า เป็นอาการของจระเข้, โดยปริยายหมายถึงหลบซ่อนตัวไม่ออกมา.
กบทู เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง สันแห่งหลังคาเรือน, ไม้ข่มข้างกลอน.กบทู น. สันแห่งหลังคาเรือน, ไม้ข่มข้างกลอน.
กบาล เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[กะบาน] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของกะโหลกศีรษะ, หัว, (คําไม่สุภาพ) เช่น ตีกบาล เขกกบาล; แผ่นกระเบื้อง; ลานกลางหมู่บ้าน เรียกว่า กบาลบ้าน; เครื่องเซ่นผีที่ใส่ภาชนะกับตุ๊กตาแล้วนําไปทิ้งที่ทางสามแพร่ง และต่อยหัวตุ๊กตาเสีย เรียกว่า เสียกบาล, เรียกภาชนะที่ใส่เครื่องเช่นนั้น เช่น เอาเหล้าข้าวใส่กบาลออกเซ่นวัก. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, บางทีใช้ว่า กระบาล เช่น ปรุตรุเคลือบกระบาลหิน. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กปาล เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ว่า กะโหลกหัว .กบาล [กะบาน] น. ส่วนกลางของกะโหลกศีรษะ, หัว, (คําไม่สุภาพ) เช่น ตีกบาล เขกกบาล; แผ่นกระเบื้อง; ลานกลางหมู่บ้าน เรียกว่า กบาลบ้าน; เครื่องเซ่นผีที่ใส่ภาชนะกับตุ๊กตาแล้วนําไปทิ้งที่ทางสามแพร่ง และต่อยหัวตุ๊กตาเสีย เรียกว่า เสียกบาล, เรียกภาชนะที่ใส่เครื่องเช่นนั้น เช่น เอาเหล้าข้าวใส่กบาลออกเซ่นวัก. (ขุนช้างขุนแผน), บางทีใช้ว่า กระบาล เช่น ปรุตรุเคลือบกระบาลหิน. (จารึกวัดโพธิ์). (ป., ส. กปาล ว่า กะโหลกหัว).
กบินทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[กะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พญาลิง, กเบนทร์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กปิ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ = ลิง + ภาษาสันสกฤต อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ = ผู้เป็นใหญ่ .กบินทร์ [กะ–] (แบบ) น. พญาลิง, กเบนทร์ ก็ว่า. (ป., ส. กปิ = ลิง + ส. อินฺทฺร = ผู้เป็นใหญ่).
กบิล เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ความหมายที่ [กะบิน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กปิล เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง.กบิล ๑ [กะบิน] (แบบ) น. ลิง. (ส. กปิล).
กบิล เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ความหมายที่ [กะบิน] เป็นคำนาม หมายถึง ระเบียบ, แบบ, ทาง, เช่น กบิลความ; วิธีการ เช่น กบิลเมือง; กระบวน, หมู่, เช่น กบิลไม้; บรรดา เช่น กบิลว่าน, คํานี้บางทีเขียนเป็น กะบิล กระบิล ระบิล. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาฮินดี กปิล เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ว่า ชนิด,จําพวก, ตระกูล .กบิล ๒ [กะบิน] น. ระเบียบ, แบบ, ทาง, เช่น กบิลความ; วิธีการ เช่น กบิลเมือง; กระบวน, หมู่, เช่น กบิลไม้; บรรดา เช่น กบิลว่าน, คํานี้บางทีเขียนเป็น กะบิล กระบิล ระบิล. (เทียบ ฮ. กปิล ว่า ชนิด,จําพวก, ตระกูล).
กบี่ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก[กะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ลิง, นิยมเขียนเป็น กระบี่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กปิ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ.กบี่ [กะ–] น. ลิง, นิยมเขียนเป็น กระบี่. (ป., ส. กปิ).
กบี่ธุช เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้างดู กระบี่ธุช เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ที่ กระบี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑.กบี่ธุช ดู กระบี่ธุช ที่ กระบี่ ๑.
กบูร เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[กะบูน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่ง, ประดับ, งาม, เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์, คํานี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร.กบูร [กะบูน] (แบบ) ว. แต่ง, ประดับ, งาม, เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), คํานี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร.
กเบนทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[กะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง ดู กบินทร์ เขียนว่า กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด.กเบนทร์ [กะ–] (กลอน) ดู กบินทร์.
กโบร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ[กะโบน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ศอก, ข้อศอก. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม กรมศึกษาธิการ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปฺปร เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต กูรฺปร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ.กโบร [กะโบน] (แบบ) น. ศอก, ข้อศอก. (พจน.). (ป. กปฺปร; ส. กูรฺปร).
กโบล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง[กะโบน] เป็นคำนาม หมายถึง แก้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กโปล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง.กโบล [กะโบน] น. แก้ม. (ป. กโปล).
กปณ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน[กะปะนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจํานง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กปณ [กะปะนะ] ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจํานง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. (ม. คำหลวง มัทรี). (ป.).
กปณก เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน-กอ-ไก่[กะปะนก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศรหนึ่งน้นน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปณ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน.กปณก [กะปะนก] น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศรหนึ่งน้นน. (ม. คำหลวง ชูชก). (ป. กปณ).
กปณา เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน-สะ-หระ-อา[กะปะนา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กปณ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-นอ-เนน.กปณา [กะปะนา] ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน. (ม. คำหลวง มัทรี). (ป. กปณ).
กปิ เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ[กะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลิง เช่น ทรงพาหะองคต กปิยศโยธิน. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมคำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กปิ [กะ–] (แบบ) น. ลิง เช่น ทรงพาหะองคต กปิยศโยธิน. (พากย์). (ป., ส.).
กปิตัน เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กัปตัน, นายเรือ; หัวหน้าหมู่ชน.กปิตัน (โบ) น. กัปตัน, นายเรือ; หัวหน้าหมู่ชน.
กม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด ว่า แม่กม หรือ มาตรากม.กม ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด ว่า แม่กม หรือ มาตรากม.
กม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง กุม เช่น เกลือกเจ้าแม่มาคิดคม ครุบคั้นกินกม บไว้บวางตัวตู. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.กม ๒ (โบ) ก. กุม เช่น เกลือกเจ้าแม่มาคิดคม ครุบคั้นกินกม บไว้บวางตัวตู. (เสือโค).
ก้ม เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ตํ่าลงโดยอาการน้อม (ใช้เฉพาะ หัว หน้า และหลัง) เช่น ก้มหัว ก้มหน้า ก้มหลัง.ก้ม ก. ทําให้ตํ่าลงโดยอาการน้อม (ใช้เฉพาะ หัว หน้า และหลัง) เช่น ก้มหัว ก้มหน้า ก้มหลัง.
ก้มหน้า เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง จําทน เช่น ต้องก้มหน้าทําตามประสายาก.ก้มหน้า (สำ) ก. จําทน เช่น ต้องก้มหน้าทําตามประสายาก.
ก้มหน้าก้มตา เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําโดยไม่มองดูสิ่งอื่น, ทําโดยตั้งใจ, เช่น ก้มหน้าก้มตาทําไปจนกว่าจะสําเร็จ.ก้มหน้าก้มตา (สำ) ก. ทําโดยไม่มองดูสิ่งอื่น, ทําโดยตั้งใจ, เช่น ก้มหน้าก้มตาทําไปจนกว่าจะสําเร็จ.
ก้มหลัง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง น้อมหลังลงเพื่อแสดงกิริยาเคารพ.ก้มหลัง ก. น้อมหลังลงเพื่อแสดงกิริยาเคารพ.
ก้มหัว เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง น้อมหัวลงเพื่อแสดงกิริยาเคารพ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมอ่อนน้อม (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ยอมก้มหัวให้ใคร.ก้มหัว ก. น้อมหัวลงเพื่อแสดงกิริยาเคารพ, โดยปริยายหมายความว่า ยอมอ่อนน้อม (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ยอมก้มหัวให้ใคร.
กมณฑลาภิเษก เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่[กะมนทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หม้อนํ้าสรง เช่น อนนเต็มในกมณฑลาภิเษก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมณฺฑลุ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ = หม้อนํ้า + ภาษาสันสกฤต อภิเษก เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ = รด .กมณฑลาภิเษก [กะมนทะ–] (แบบ) น. หม้อนํ้าสรง เช่น อนนเต็มในกมณฑลาภิเษก. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส. กมณฺฑลุ = หม้อนํ้า + ส. อภิเษก = รด).
กมณฑโลทก เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่[กะมนทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าในหม้อ เช่น ชําระพระองค์ด้วยกมณฑโลทก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมณฺฑลุ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ = หม้อน้ำ + อุทก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ = นํ้า .กมณฑโลทก [กะมนทะ–] (แบบ) น. นํ้าในหม้อ เช่น ชําระพระองค์ด้วยกมณฑโลทก. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส. กมณฺฑลุ = หม้อน้ำ + อุทก = นํ้า).
กมล เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง[กะมน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง บัว เช่น บาทกมล. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘; ใจ เช่น ดวงกมล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์หิมพานต์, บางทีใช้ว่า กระมล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กมล [กะมน] (แบบ) น. บัว เช่น บาทกมล. (สมุทรโฆษ); ใจ เช่น ดวงกมล. ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที. (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล. (ป., ส.).
กมล–, กมลา กมล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง กมลา เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา [กะมะละ–, กะมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ว่า นางงาม และมาจากภาษาสันสกฤต ว่า พระลักษมี .กมล–, กมลา [กะมะละ–, กะมะ–] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).
กมลาศ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา[กะมะลาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง บัว; ใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมล เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง + ศ เขียนว่า สอ-สา-ลา เข้าลิลิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า .กมลาศ [กะมะลาด] (กลอน) น. บัว; ใจ. (ป., ส. กมล + ศ เข้าลิลิต).
กมลาสน์ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด[กะมะลาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีบัวเป็นที่นั่ง คือ พระพรหม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมล เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง = บัว + อาสน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู = ที่นั่ง .กมลาสน์ [กะมะลาด] (แบบ) น. ผู้มีบัวเป็นที่นั่ง คือ พระพรหม. (ป., ส. กมล = บัว + อาสน = ที่นั่ง).
กมเลศ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-สา-ลา[กะมะเลด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง บัว; ใจ; พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ฉกษัตริย์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กมล เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง + ศ เขียนว่า สอ-สา-ลา เข้าลิลิต; เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-??59?? ในสันสกฤตหมายความว่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ผู้เป็นใหญ่แห่งพระลักษมี เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี คือ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง พระนารายณ์ เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด มาจาก เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ กมลา เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา = พระลักษมี + อีศ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา = เป็นใหญ่ .กมเลศ [กะมะเลด] (กลอน) น. บัว; ใจ; พระนารายณ์ เช่น ดุจองค์สมเด็จกมเลศอันลีลาศ ลงจากชั้นสุทธาวาสบวรวิมาน. (ม. ร่ายยาว ฉกษัตริย์). (ป., ส. กมล + ศ เข้าลิลิต; ในสันสกฤตหมายความว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งพระลักษมี คือ พระนารายณ์ มาจาก กมลา = พระลักษมี + อีศ = เป็นใหญ่).
กมัณฑลุ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ[กะมันทะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจําของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทําด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ = ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์วนปเวสน์, ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กมัณฑลุ [กะมันทะ–] (แบบ) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจําของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทําด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ = ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง. (เสือโค). (ป., ส.).
กมุท เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน[กะมุด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง บัว เช่น ส่งดวงกมุทให้กัณหา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กุมุท เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน ว่า บัวสายดอกขาว .กมุท [กะมุด] (แบบ) น. บัว เช่น ส่งดวงกมุทให้กัณหา. (ม. คำหลวง มัทรี). (ป., ส. กุมุท ว่า บัวสายดอกขาว).
กร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [กอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทํา, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กร ๑ [กอน] น. ผู้ทํา, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. (ป.).
กร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [กอน] เป็นคำนาม หมายถึง มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น เจ้างามกรอ่อนดังงวงเอราวัณ. ในวงเล็บ มาจาก เพลงยาวกลบท และกลอักษร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กร ๒ [กอน] น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น เจ้างามกรอ่อนดังงวงเอราวัณ. (กลบท). (ป., ส.).
กรกช เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง[กอระกด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น ธก็ยอกรกชประนม. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้ เช่น เอกภูธรกรกช ทศนัขสมุชลิต. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. ในวงเล็บ ดู กช เขียนว่า กอ-ไก่-ชอ-ช้าง.กรกช [กอระกด] (กลอน) น. “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น ธก็ยอกรกชประนม. (ลอ). ก. ไหว้ เช่น เอกภูธรกรกช ทศนัขสมุชลิต. (ยวนพ่าย). (ดู กช).
กร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [กอน] เป็นคำนาม หมายถึง แสง, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น รัชนีกร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กร ๓ [กอน] น. แสง, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น รัชนีกร. (ป.).
กรก, กรก– กรก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ กรก– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ [กะหฺรก, กะระกะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกเห็บ เช่น กรกวรรษ = ฝนลูกเห็บ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .กรก, กรก– [กะหฺรก, กะระกะ–] (แบบ) น. ลูกเห็บ เช่น กรกวรรษ = ฝนลูกเห็บ. (ป., ส.).
กรกัติ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[กฺระกัด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น กรกัติกามา. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กรกัติ [กฺระกัด] (โบ) ก. กระกัด, ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น กรกัติกามา. (สรรพสิทธิ์).
กรกฎ, กรกฏ กรกฎ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา กรกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก [กอระกด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ปู เช่น กรกฎกุ้งกั้งมังกร. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาพน; ชื่อกลุ่มดาวรูปปู เรียกว่า ราศีกรกฎ เป็นราศีที่ ๓ ในจักรราศี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก และมาจากภาษาบาลี กกฺกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก.กรกฎ, กรกฏ [กอระกด] (แบบ) น. ปู เช่น กรกฎกุ้งกั้งมังกร. (ม. ร่ายยาว มหาพน); ชื่อกลุ่มดาวรูปปู เรียกว่า ราศีกรกฎ เป็นราศีที่ ๓ ในจักรราศี. (ส. กรฺกฏ; ป. กกฺกฏ).
กรกฎาคม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า[กะระกะ–, กะรักกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๗ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก = ปู + อาคม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า = มา = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีกรกฎ ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๔ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน.กรกฎาคม [กะระกะ–, กะรักกะ–] น. ชื่อเดือนที่ ๗ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน. (ส. กรฺกฏ = ปู + อาคม = มา = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีกรกฎ); (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๔ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน.
กรง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู[กฺรง] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําเป็นซี่ ๆ สําหรับขังนกเป็นต้น ตั้งอยู่กับที่หรือยกไปได้; ในบทกลอนใช้หมายความว่า เปล ก็มี เช่น ถนอมในพระกรงทอง. ในวงเล็บ มาจาก บทเห่กล่อมพระเจ้าลูกเธอ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู กุรง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-งอ-งู และมาจากภาษาเขมร ทฺรุง เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู.กรง [กฺรง] น. สิ่งที่ทําเป็นซี่ ๆ สําหรับขังนกเป็นต้น ตั้งอยู่กับที่หรือยกไปได้; ในบทกลอนใช้หมายความว่า เปล ก็มี เช่น ถนอมในพระกรงทอง. (เห่กล่อม). (เทียบมลายู กุรง; ข. ทฺรุง).
กรงทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเปลที่ทําเป็นลูกกรง ว่า พระกรงทอง.กรงทอง (ราชา) น. เรียกเปลที่ทําเป็นลูกกรง ว่า พระกรงทอง.
กรงเล็บ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มเล็บของแมวหรือนกเป็นต้นเมื่อขยุ้มเหยื่อ มีเค้าคล้ายกรง.กรงเล็บ น. กลุ่มเล็บของแมวหรือนกเป็นต้นเมื่อขยุ้มเหยื่อ มีเค้าคล้ายกรง.
กรชกาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[กะระชะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ร่างกาย. ในวงเล็บ ดู กรัชกาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก.กรชกาย [กะระชะ–] (แบบ) น. ร่างกาย. (ดู กรัชกาย).
กรณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [กฺรน] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะมีฝาปิด, ภาชนะใส่นํ้า เช่น หม้อกรณฑ์, กรัณฑ์ หรือ กรัณฑก ก็เรียก; ผอบ เช่น บรรจุพระบรมธาตุในสุวรรณกรณฑ์. (เทศนาพระราชประวัติ). (ป., เป็นคำสรรพนาม หมายถึง กรณฺฑ, กรณฺฑก ว่า ขวด).กรณฑ์ ๑ [กฺรน] น. ภาชนะมีฝาปิด, ภาชนะใส่นํ้า เช่น หม้อกรณฑ์, กรัณฑ์ หรือ กรัณฑก ก็เรียก; ผอบ เช่น บรรจุพระบรมธาตุในสุวรรณกรณฑ์. (เทศนาพระราชประวัติ). (ป., ส. กรณฺฑ, กรณฺฑก ว่า ขวด).
กรณฑ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ [กฺรน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเครื่องหมาย (รูป) ว่า เครื่องหมายกรณฑ์; วิธีหาค่าจากจํานวนจริงที่เขียนไว้ภายในเครื่องหมายกรณฑ์ เช่น (รูป) จะได้ (รูป) จะได้ (รูป).กรณฑ์ ๒ [กฺรน] (คณิต) น. เรียกเครื่องหมาย (รูป) ว่า เครื่องหมายกรณฑ์; วิธีหาค่าจากจํานวนจริงที่เขียนไว้ภายในเครื่องหมายกรณฑ์ เช่น (รูป) จะได้ (รูป) จะได้ (รูป).
กรณิการ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[กะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง กรรณิการ์.กรณิการ์ [กะระ–] น. กรรณิการ์.
กรณี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[กะระ–, กอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง คดี, เรื่อง, เหตุ, เช่น ในกรณีนี้ = ในเรื่องนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กรณี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี ว่า ที่เป็นเหตุกระทํา .กรณี [กะระ–, กอระ–] น. คดี, เรื่อง, เหตุ, เช่น ในกรณีนี้ = ในเรื่องนี้. (ป., ส. กรณี ว่า ที่เป็นเหตุกระทํา).
กรณีย–, กรณีย์, กรณียะ กรณีย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก กรณีย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด กรณียะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [กะระ–, กอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง กิจ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อันควรทํา, อันพึงทํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .กรณีย–, กรณีย์, กรณียะ [กะระ–, กอระ–] น. กิจ. ว. อันควรทํา, อันพึงทํา. (ป.).
กรณียกิจ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน เป็นคำนาม หมายถึง กิจที่พึงทำ, หน้าที่อันพึงทํา.กรณียกิจ น. กิจที่พึงทำ, หน้าที่อันพึงทํา.
กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง สารอย่างหนึ่ง มีรสเปรี้ยว โดยปรกติกัดหรือทําให้สิ่งอื่นแปรไป; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี หมายถึง มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกําหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้; สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายโปรตอนให้แก่สารอื่นได้; สารเคมีที่มีสมบัติรับอิเล็กตรอนคู่หนึ่งมาจากสารอื่นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acid เขียนว่า เอ-ซี-ไอ-ดี.กรด ๑ [กฺรด] น. สารอย่างหนึ่ง มีรสเปรี้ยว โดยปรกติกัดหรือทําให้สิ่งอื่นแปรไป; (เคมี) มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกําหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้; สารเคมีที่มีสมบัติจ่ายโปรตอนให้แก่สารอื่นได้; สารเคมีที่มีสมบัติรับอิเล็กตรอนคู่หนึ่งมาจากสารอื่นได้. (อ. acid).
กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม.กรด ๒ [กฺรด] ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม.
กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Combretum tetralophum C.B. Clarke ในวงศ์ Combretaceae มักขึ้นในที่นํ้าท่วม เช่น ตามฝั่งนํ้าลําคลอง ใบโดยมากออกรอบข้อ ๒ หรือ ๓ ใบ ใบอ่อนสีม่วงดํา เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียว ผลมีสันแข็งเป็น ๔ ครีบ, เถาวัลย์กรด ก็เรียก; อีกชนิดหนึ่ง คือ C. trifoliatum Vent. มีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ผลมี ๕ ครีบ เช่น กรดกระถินอินจันพรรณไม้. ในวงเล็บ มาจาก นิราศอิเหนา ประชุมนิราศสุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕, สีเอยเจ้าสีสด เจ้าปลูกต้นกรดไว้ริมท่า. ในวงเล็บ มาจาก บทกลอนกล่อมเด็ก ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๗๐.กรด ๓ [กฺรด] น. ชื่อไม้เถาชนิด Combretum tetralophum C.B. Clarke ในวงศ์ Combretaceae มักขึ้นในที่นํ้าท่วม เช่น ตามฝั่งนํ้าลําคลอง ใบโดยมากออกรอบข้อ ๒ หรือ ๓ ใบ ใบอ่อนสีม่วงดํา เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียว ผลมีสันแข็งเป็น ๔ ครีบ, เถาวัลย์กรด ก็เรียก; อีกชนิดหนึ่ง คือ C. trifoliatum Vent. มีลักษณะคล้ายกันมาก แต่ผลมี ๕ ครีบ เช่น กรดกระถินอินจันพรรณไม้. (นิ. อิเหนา), สีเอยเจ้าสีสด เจ้าปลูกต้นกรดไว้ริมท่า. (กล่อมเด็ก).
กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะใส่นํ้าเทพมนตร์ของพราหมณ์ ลักษณะเหมือนคนโทมีฝาปิด มีพวยอย่างกานํ้า. (เลือนมาจาก ป. กลส; เป็นคำสรรพนาม หมายถึง กลศ).กรด ๔ [กฺรด] น. ภาชนะใส่นํ้าเทพมนตร์ของพราหมณ์ ลักษณะเหมือนคนโทมีฝาปิด มีพวยอย่างกานํ้า. (เลือนมาจาก ป. กลส; ส. กลศ).
กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่ง, มาก, เช่น ไวเป็นกรด ฉลาดเป็นกรด.กรด ๕ [กฺรด] (ปาก) ว. ยิ่ง, มาก, เช่น ไวเป็นกรด ฉลาดเป็นกรด.
กรน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู[กฺรน] เป็นคำกริยา หมายถึง หายใจมีเสียงดังในลําคอขณะหลับ เหตุลิ้นตกจุกคอหอยหรือลิ้นตกจุกคอหอยและลิ้นไก่กับเพดานอ่อนสั่น.กรน [กฺรน] ก. หายใจมีเสียงดังในลําคอขณะหลับ เหตุลิ้นตกจุกคอหอยหรือลิ้นตกจุกคอหอยและลิ้นไก่กับเพดานอ่อนสั่น.
กรนทา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา[กฺรน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้คนทา (ลิปิ) เช่น กรนทาดาษดวงพรายก็มี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน.กรนทา [กฺรน–] (โบ) น. ไม้คนทา (ลิปิ) เช่น กรนทาดาษดวงพรายก็มี. (ม. คำหลวง มหาพน).
กรนนเช้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[กฺรัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระเช้า เช่น คร้นนเช้าก็หิ้วกรนนเช้า ชายป่าเต้าไปหาชาย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี.กรนนเช้า [กฺรัน–] (โบ) น. กระเช้า เช่น คร้นนเช้าก็หิ้วกรนนเช้า ชายป่าเต้าไปหาชาย. (ม. คำหลวง มัทรี).
กรบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้[กฺรบ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแทงปลา ทําด้วยไม้ ๓ อัน มัดติดกัน มีลักษณะคล้าย ๓ เส้า สวมเหล็กแหลมที่ปลาย ด้ามรูปงอคล้ายไม้เท้า.กรบ [กฺรบ] น. เครื่องแทงปลา ทําด้วยไม้ ๓ อัน มัดติดกัน มีลักษณะคล้าย ๓ เส้า สวมเหล็กแหลมที่ปลาย ด้ามรูปงอคล้ายไม้เท้า.
กรบูร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[กะระบูน] เป็นคำนาม หมายถึง การบูร.กรบูร [กะระบูน] น. การบูร.
กรพินธุ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด[กอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ทับทิม เช่น จงแต่งเขนแต่งขันธ์ ผ้าเกราะพรรณรายแพร้ว ดยรดาษแก้วกรพินธุ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช. (บางทีจะเพี้ยนมาจาก กุรุพินท์ ซึ่งตรงกับคำสันสกฤตว่า กุรุวินฺท = ทับทิม).กรพินธุ์ [กอระ–] น. ทับทิม เช่น จงแต่งเขนแต่งขันธ์ ผ้าเกราะพรรณรายแพร้ว ดยรดาษแก้วกรพินธุ์. (ม. คำหลวง มหาราช). (บางทีจะเพี้ยนมาจาก กุรุพินท์ ซึ่งตรงกับคำสันสกฤตว่า กุรุวินฺท = ทับทิม).
กรภุม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า[กอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระพุ่ม เช่น สนธยากรภุมบุษปบังคมบําบวงสรณ. ในวงเล็บ มาจาก อนิรุทธ์คำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กรภุม [กอระ–] (โบ) น. กระพุ่ม เช่น สนธยากรภุมบุษปบังคมบําบวงสรณ. (อนิรุทธ์).
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรมใจ; กลัด เช่น กรมหนอง. [ข. กฺรุํ (กฺรม) ว่า ลำบาก เช่น กฺรุํจิต = ลำบากใจ], ตรม ก็ว่า.กรม ๑ [กฺรม] ก. ระทม, เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรมใจ; กลัด เช่น กรมหนอง. [ข. กฺรุํ (กฺรม) ว่า ลำบาก เช่น กฺรุํจิต = ลำบากใจ], ตรม ก็ว่า.
กรมกรอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, ตรมตรอม ก็ว่า.กรมกรอม ก. ระทมใจจนเหี่ยวแห้ง, ตรมตรอม ก็ว่า.
กรมเกรียม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้ว่า เกรียมกรม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็มี เช่น จักขานความที่เกรียมกรม. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์.กรมเกรียม ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้ว่า เกรียมกรม ตรมเตรียม หรือ เตรียมตรม ก็มี เช่น จักขานความที่เกรียมกรม. (กฤษณา).
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับ เช่น จะเล่นโดยกรม. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาเขมร กฺรุํ เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นิก-คะ-หิด (กฺรม เขียนว่า ??40??-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ว่า หมวด, หมู่, กอง; ครอบครัว เช่น มวยกฺรุํ = ครอบครัวหนึ่ง].กรม ๒ [กฺรม] (แบบ) น. ลําดับ เช่น จะเล่นโดยกรม. (สมุทรโฆษ). [ส.; ข. กฺรุํ (กฺรม) ว่า หมวด, หมู่, กอง; ครอบครัว เช่น มวยกฺรุํ = ครอบครัวหนึ่ง].
กรมศักดิ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[กฺรมมะสัก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกฎหมายลักษณะหนึ่ง ซึ่งกําหนดระวางโทษปรับตามศักดินา อายุ และความร้ายแรงหนักเบาของความผิดที่กระทํา. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.กรมศักดิ์ [กฺรมมะสัก] (กฎ; โบ) น. ชื่อกฎหมายลักษณะหนึ่ง ซึ่งกําหนดระวางโทษปรับตามศักดินา อายุ และความร้ายแรงหนักเบาของความผิดที่กระทํา. (สามดวง).
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง (ก) หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกําลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็น เจ้ากรม ปลัดกรม ตามลําดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายครอบครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่า ตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีพระอิสริยศักดิ์ตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ กรมสมเด็จพระ และ กรมพระยา หรือ กรมสมเด็จ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. (ข) แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็น กระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). (ค) ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง รองจากกระทรวงและทบวง.กรม ๓ [กฺรม] น. (ก) หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกําลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็น เจ้ากรม ปลัดกรม ตามลําดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายครอบครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่า ตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีพระอิสริยศักดิ์ตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ กรมสมเด็จพระ และ กรมพระยา หรือ กรมสมเด็จ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. (ข) แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็น กระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). (ค) (กฎ) ส่วนราชการในราชการบริหารส่วนกลาง รองจากกระทรวงและทบวง.
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ย่อมาจากคําว่า กรมธรรม์ เช่น จะคิดเอาดอกเบี้ยมิได้เลย เพราะเปนเงินนอกกรม. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.กรม ๔ [กฺรม] (โบ) ย่อมาจากคําว่า กรมธรรม์ เช่น จะคิดเอาดอกเบี้ยมิได้เลย เพราะเปนเงินนอกกรม. (สามดวง).
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ย่อมาจากคําว่า กรรม เช่น อวยสรรพเพียญชนพิธี– กรมเสร็จกํานนถวาย. ในวงเล็บ มาจาก คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กรม ๕ [กฺรม] (โบ; กลอน) ย่อมาจากคําว่า กรรม เช่น อวยสรรพเพียญชนพิธี– กรมเสร็จกํานนถวาย. (ดุษฎีสังเวย).
กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรม]ดู เหมือดโลด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก (๑).กรม ๖ [กฺรม] ดู เหมือดโลด (๑).
กรมการ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กฺรมมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .กรมการ [กฺรมมะ–] (กฎ; โบ) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. (ส. กรฺม + การ).
กรมการจังหวัด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง คณะกรมการจังหวัด; กรมการจังหวัดแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการจังหวัด. ในวงเล็บ ดู คณะกรมการจังหวัด เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก.กรมการจังหวัด น. คณะกรมการจังหวัด; กรมการจังหวัดแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการจังหวัด. (ดู คณะกรมการจังหวัด).
กรมการนอกทำเนียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการพิเศษ ก็ว่า.กรมการนอกทำเนียบ (กฎ; โบ) น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการพิเศษ ก็ว่า.
กรมการในทำเนียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข.กรมการในทำเนียบ (กฎ; โบ) น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข.
กรมการพิเศษ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สอ-รือ-สี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการนอกทำเนียบ ก็ว่า.กรมการพิเศษ (กฎ; โบ) น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการนอกทำเนียบ ก็ว่า.
กรมการอำเภอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง คณะกรมการอำเภอ; กรมการอำเภอแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการอำเภอ.กรมการอำเภอ (เลิก) น. คณะกรมการอำเภอ; กรมการอำเภอแต่ละคนที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรมการอำเภอ.
กรมท่า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา[กฺรมมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการในสมัยก่อนซึ่งอยู่ในสังกัดกรมพระคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการต่างประเทศและปกครองเมืองท่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีขาบ, สีนํ้าเงินแก่, เรียกว่า สีกรมท่า.กรมท่า [กฺรมมะ–] (กฎ; โบ) น. ส่วนราชการในสมัยก่อนซึ่งอยู่ในสังกัดกรมพระคลัง มีหน้าที่เกี่ยวกับการต่างประเทศและปกครองเมืองท่า. ว. สีขาบ, สีนํ้าเงินแก่, เรียกว่า สีกรมท่า.
กรมท่าขวา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[กฺรมมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวกับชนชาวแขก.กรมท่าขวา [กฺรมมะ–] (กฎ; โบ) น. ส่วนราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวกับชนชาวแขก.
กรมท่าซ้าย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[กฺรมมะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวกับชนชาวจีน.กรมท่าซ้าย [กฺรมมะ–] (กฎ; โบ) น. ส่วนราชการที่มีหน้าที่เกี่ยวกับชนชาวจีน.
กรมธรรม์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด[กฺรมมะทัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารซึ่งทาส ลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง; กรมธรรม์ประกันภัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า .กรมธรรม์ [กฺรมมะทัน] (กฎ; โบ) น. เอกสารซึ่งทาส ลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน. (สามดวง); กรมธรรม์ประกันภัย. (ส. กรฺม + ธรฺม).
กรมธรรม์ประกันภัย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตราสารที่มีลายมือชื่อของผู้รับประกันภัยและมีรายการแสดงวัตถุที่เอาประกันภัย จำนวนเงินเอาประกันภัย ชื่อผู้เอาประกันภัย ชื่อผู้รับประกันภัย วันที่สัญญาเริ่มต้นและสิ้นสุด และอื่น ๆ ตามที่กฎหมายบังคับ ตลอดจนเงื่อนไขเกี่ยวกับประโยชน์ สิทธิ และหน้าที่ของผู้เอาประกันภัย และผู้รับประกันภัย, มักเรียกสั้น ๆ ว่า กรมธรรม์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ policy เขียนว่า พี-โอ-แอล-ไอ-ซี-วาย of เขียนว่า โอ-เอฟ insurance เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอส-ยู-อา-เอ-เอ็น-ซี-อี .กรมธรรม์ประกันภัย (กฎ) น. ตราสารที่มีลายมือชื่อของผู้รับประกันภัยและมีรายการแสดงวัตถุที่เอาประกันภัย จำนวนเงินเอาประกันภัย ชื่อผู้เอาประกันภัย ชื่อผู้รับประกันภัย วันที่สัญญาเริ่มต้นและสิ้นสุด และอื่น ๆ ตามที่กฎหมายบังคับ ตลอดจนเงื่อนไขเกี่ยวกับประโยชน์ สิทธิ และหน้าที่ของผู้เอาประกันภัย และผู้รับประกันภัย, มักเรียกสั้น ๆ ว่า กรมธรรม์. (อ. policy of insurance).
กรมนา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา[กฺรมมะ–]ดู กรม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓.กรมนา [กฺรมมะ–] ดู กรม ๓.
กรมวัง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู[กฺรมมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง แผนกราชการที่บริหารกิจการในพระราชสํานัก; ข้าราชการแผนกนี้ เช่น กรมวังรับสั่งใส่เกศี. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.กรมวัง [กฺรมมะ–] น. แผนกราชการที่บริหารกิจการในพระราชสํานัก; ข้าราชการแผนกนี้ เช่น กรมวังรับสั่งใส่เกศี. (อิเหนา).
กรร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [กัน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง จับ เช่น กรกรรนฤบดี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กาน่ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-เอก ว่า ถือ .กรร ๑ [กัน] (โบ) ก. จับ เช่น กรกรรนฤบดี. (สมุทรโฆษ). (ข. กาน่ ว่า ถือ).
กรร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [กัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำกริยา หมายถึง กัน เช่น เรือกรร.กรร ๒ [กัน] (เลิก) ก. กัน เช่น เรือกรร.
กรร– เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ ความหมายที่ [กัน–]ใช้เป็นพยางค์หน้า (ซึ่งโบราณเขียนเป็น กนน หรือ กัน ก็มี) แทน กระ เช่น กรรชิง – กันชิง – กระชิง, กรรเช้า – กรนนเช้า – กระเช้า, กรรเชอ – กนนเชอ – กระเชอ, กรรโชก – กันโชก – กระโชก, กรรพุ่ม – กระพุ่ม, กรรลึง – กระลึง.กรร– ๓ [กัน–] ใช้เป็นพยางค์หน้า (ซึ่งโบราณเขียนเป็น กนน หรือ กัน ก็มี) แทน กระ เช่น กรรชิง – กันชิง – กระชิง, กรรเช้า – กรนนเช้า – กระเช้า, กรรเชอ – กนนเชอ – กระเชอ, กรรโชก – กันโชก – กระโชก, กรรพุ่ม – กระพุ่ม, กรรลึง – กระลึง.
กรรกง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-งอ-งู[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ที่ล้อมวง เช่น จําเนียรกรรกงรอบนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์, ใช้เป็น กงกรร ก็มี เช่น แลสับสังกัดกงกรร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรกง [กัน–] (เลิก) น. ที่ล้อมวง เช่น จําเนียรกรรกงรอบนั้น. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), ใช้เป็น กงกรร ก็มี เช่น แลสับสังกัดกงกรร. (สมุทรโฆษ).
กรรกฎ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ดอ-ชะ-ดา[กันกด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ปู เช่น จริวจราวจรัลชลจรมกรกรรกฎกูรม์. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก และมาจากภาษาบาลี กกฺกฏ เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก.กรรกฎ [กันกด] (แบบ) น. ปู เช่น จริวจราวจรัลชลจรมกรกรรกฎกูรม์. (สมุทรโฆษ). (ส. กรฺกฏ; ป. กกฺกฏ).
กรรกศ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา[กันกด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺกศ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา.กรรกศ [กันกด] (แบบ) ว. หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ. (ม. คำหลวง ทศพร). (ส. กรฺกศ).
กรรเกด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง การะเกด เช่น จงกลกรรเกดแก้ว กรองมาลย์. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.กรรเกด [กัน–] (กลอน) น. การะเกด เช่น จงกลกรรเกดแก้ว กรองมาลย์. (ทวาทศมาส).
กรรไกร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กันไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ตะไกร. (เลือนมาจาก กรรไตร). ในวงเล็บ ดู ตะไกร เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑.กรรไกร [กันไกฺร] น. ตะไกร. (เลือนมาจาก กรรไตร). (ดู ตะไกร ๑).
กรรเจียก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับหูมีรูปเป็นกระหนก เช่น กรรเจียกซ้อนจอนแก้วแพรวพราว. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ตฺรเจียก เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ว่าหู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู .กรรเจียก [กัน–] น. เครื่องประดับหูมีรูปเป็นกระหนก เช่น กรรเจียกซ้อนจอนแก้วแพรวพราว. (อิเหนา). (ข. ตฺรเจียก ว่าหู).
กรรเจียกจอน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-จอ-จาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับหู, เขียนเป็น กรรเจียกจร ก็มี เช่น กรรเจียกจอนจําหลักลายซ้ายขวา. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.กรรเจียกจอน น. เครื่องประดับหู, เขียนเป็น กรรเจียกจร ก็มี เช่น กรรเจียกจอนจําหลักลายซ้ายขวา. (สังข์ทอง).
กรรชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเข้ากระบวนแห่ในการพระราชพิธีบางอย่างเช่นรับช้างเผือกหรือแรกนาขวัญเป็นต้น รูปคล้ายกลด มีคันถือคล้ายร่ม, โบราณใช้เป็นร่มเครื่องยศ คู่กันกับคานหามตามบรรดาศักดิ์ มีชั้นตามที่หุ้มผ้าแดงหรือหุ้มผ้าขาวโรยทอง เรียกว่า พื้นกํามะลอ, ถ้ามีริ้วขาวและนํ้าเงินสลับกันที่ระบาย เรียกว่า กรรชิงเกล็ด, กระชิง กระฉิ่ง กะชิง กันฉิ่ง หรือ กันชิง ก็เรียก. ในวงเล็บ รูปภาพ กรรชิง.กรรชิง [กัน–] น. เครื่องเข้ากระบวนแห่ในการพระราชพิธีบางอย่างเช่นรับช้างเผือกหรือแรกนาขวัญเป็นต้น รูปคล้ายกลด มีคันถือคล้ายร่ม, โบราณใช้เป็นร่มเครื่องยศ คู่กันกับคานหามตามบรรดาศักดิ์ มีชั้นตามที่หุ้มผ้าแดงหรือหุ้มผ้าขาวโรยทอง เรียกว่า พื้นกํามะลอ, ถ้ามีริ้วขาวและนํ้าเงินสลับกันที่ระบาย เรียกว่า กรรชิงเกล็ด, กระชิง กระฉิ่ง กะชิง กันฉิ่ง หรือ กันชิง ก็เรียก. (รูปภาพ กรรชิง).
กรรชิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระชิด เช่น สองกรกลเกียดเกี้ยว กรรชิด. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.กรรชิด [กัน–] (โบ; กลอน) ก. กระชิด เช่น สองกรกลเกียดเกี้ยว กรรชิด. (ลอ).
กรรเชอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระเชอ.กรรเชอ [กัน–] (โบ) น. กระเชอ.
กรรเช้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระเช้า.กรรเช้า [กัน–] (โบ) น. กระเช้า.
กรรเชียง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสําหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกรรเชียง, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี.กรรเชียง [กัน–] น. เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเดิน รูปคล้ายแจว มีหลักสําหรับพาด ใช้เหนี่ยว; อาการที่พุ้ยเช่นนั้น เรียกว่า ตีกรรเชียง, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี.
กรรเชียงปู เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกขาคู่สุดท้ายของปูในวงศ์ Portunidae เช่น ปูม้า ปูทะเล ซึ่งปล้องปลายมีลักษณะแบนคล้ายใบพาย, กระเชียงปู ก็เรียก.กรรเชียงปู [กัน–] น. เรียกขาคู่สุดท้ายของปูในวงศ์ Portunidae เช่น ปูม้า ปูทะเล ซึ่งปล้องปลายมีลักษณะแบนคล้ายใบพาย, กระเชียงปู ก็เรียก.
กรรโชก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่[กัน–] เป็นคำกริยา หมายถึง ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว, เขียนเป็น กันโชก หรือ กําโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก). ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อความผิดอาญาฐานข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทําอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น เรียกว่า ความผิดฐานกรรโชก.กรรโชก [กัน–] ก. ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว, เขียนเป็น กันโชก หรือ กําโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก). (กฎ) น. ชื่อความผิดอาญาฐานข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กําลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทําอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น เรียกว่า ความผิดฐานกรรโชก.
กรรซ้นน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-นอ-หนู-นอ-หนู[กันซั้น] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ทัน, กระชั้น, เช่น พราหมณ์จะมากรรซ้นน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.กรรซ้นน [กันซั้น] (โบ) ก. ทัน, กระชั้น, เช่น พราหมณ์จะมากรรซ้นน. (ม. คำหลวง กุมาร).
กรรแซง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง กองทําหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแทรก คือ กองทําหน้าที่แทรกเพื่อป้องกันจอมทัพ. ในวงเล็บ ดู กันแซง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู ที่ กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.กรรแซง [กัน–] (เลิก) น. กองทําหน้าที่แซงในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแทรก คือ กองทําหน้าที่แทรกเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแซง ที่ กัน ๓).
กรรฐ์, กรรฐา กรรฐ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด กรรฐา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา [กัน, กันถา] เป็นคำนาม หมายถึง คอ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กรฺฐ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถาน ว่า คอ . (เลือนมาจาก กัณฐ์).กรรฐ์, กรรฐา [กัน, กันถา] น. คอ. (เทียบ ข. กรฺฐ ว่า คอ). (เลือนมาจาก กัณฐ์).
กรรณ, กรรณ– กรรณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน กรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน [กัน, กันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หู, ใบหู, กลอน ใช้เป็น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือกลีบกาญจ– นปัทม์. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกรรณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน.กรรณ, กรรณ– [กัน, กันนะ–] น. หู, ใบหู, กลอน ใช้เป็น กรรณา ก็มี เช่น กรรณาคือกลีบกาญจ– นปัทม์. (สมุทรโฆษ), ราชาศัพท์ใช้ว่า พระกรรณ. (ส. กรฺณ).
กรรณยุคล เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง[กันนะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ยุคล เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง ว่า คู่ .กรรณยุคล [กันนะ–] น. หูทั้ง ๒ ข้าง เช่น ในพระกรรณยุคลท่านนั้น. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป., ส. ยุคล ว่า คู่).
กรรณา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง ดู กรรณ, กรรณ– กรรณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน กรรณ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน .กรรณา [กัน–] (กลอน) ดู กรรณ, กรรณ–.
กรรณิกา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺณิกา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ว่า ฝักบัว, ช่อฟ้า และมาจากภาษาบาลี กณฺณิกา เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา.กรรณิกา [กัน–] (แบบ) น. ดอกไม้ เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. (สมุทรโฆษ). (ส. กรฺณิกา ว่า ฝักบัว, ช่อฟ้า; ป. กณฺณิกา).
กรรณิการ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Nyctanthes arbortristis L. ในวงศ์ Oleaceae ใบคาย ดอกหอม กลีบขาว หลอดดอกสีแสด ใช้ย้อมผ้า, เขียนเป็น กณิการ์ หรือ กรณิการ์ ก็มี.กรรณิการ์ น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Nyctanthes arbortristis L. ในวงศ์ Oleaceae ใบคาย ดอกหอม กลีบขาว หลอดดอกสีแสด ใช้ย้อมผ้า, เขียนเป็น กณิการ์ หรือ กรณิการ์ ก็มี.
กรรดิ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ[กัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกย่อง, สรรเสริญ, เช่น ยาคนชี้เทพยผู้ ไกรกรรดิ ก็ดี. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. (เลือนมาจาก ป. กตฺถติ ว่า ยกย่อง, สรรเสริญ).กรรดิ [กัด] ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, เช่น ยาคนชี้เทพยผู้ ไกรกรรดิ ก็ดี. (ยวนพ่าย). (เลือนมาจาก ป. กตฺถติ ว่า ยกย่อง, สรรเสริญ).
กรรดิก, กรรดึก กรรดิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ กรรดึก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ [กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เดือน ๑๒. ในวงเล็บ ดู กัตติกมาส เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.กรรดิก, กรรดึก [กัน–] (แบบ) น. เดือน ๑๒. (ดู กัตติกมาส).
กรรตุ, กรรตุ– กรรตุ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ กรรตุ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ [กัด, กัดตุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กตฺตุ เขียนว่า กอ-ไก่-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาสันสกฤต กรฺตฺฤ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ.กรรตุ, กรรตุ– [กัด, กัดตุ–] (ไว) น. ผู้ทํา. (ป. กตฺตุ; ส. กรฺตฺฤ).
กรรตุการก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่[กัดตุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําหรือผู้ใช้ให้ทำ เป็นส่วนสําคัญส่วนหนึ่งใน ๒ ส่วนของประโยคที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น เด็กวิ่ง วิ่ง เป็น กรรตุการก หรือเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตํารวจยิงผู้ร้าย ตํารวจ เป็น กรรตุการก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต การก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ว่า ผู้ทำ .กรรตุการก [กัดตุ–] (ไว) น. ผู้ทําหรือผู้ใช้ให้ทำ เป็นส่วนสําคัญส่วนหนึ่งใน ๒ ส่วนของประโยคที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น เด็กวิ่ง วิ่ง เป็น กรรตุการก หรือเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตํารวจยิงผู้ร้าย ตํารวจ เป็น กรรตุการก. (ป., ส. การก ว่า ผู้ทำ).
กรรตุวาจก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่[กัดตุ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทําหรือผู้ใช้ให้ทํา เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทํา) ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทํา). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาจก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่ ว่า ผู้กล่าว .กรรตุวาจก [กัดตุ–] (ไว) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทําหรือผู้ใช้ให้ทํา เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทํา) ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทํา). (ป., ส. วาจก ว่า ผู้กล่าว).
กรรตุสัญญา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา[กัดตุ–] เป็นคำนาม หมายถึง นามที่เป็นคําร้องเรียกชื่อลอย ๆ เช่น แล้วกล่าววาจาอันสุนทร ดูก่อนกุมภกรรณยักษี. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สญฺา เขียนว่า สอ-เสือ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา = นาม, ชื่อ .กรรตุสัญญา [กัดตุ–] น. นามที่เป็นคําร้องเรียกชื่อลอย ๆ เช่น แล้วกล่าววาจาอันสุนทร ดูก่อนกุมภกรรณยักษี. (รามเกียรติ์ ร. ๑). (ป. สญฺา = นาม, ชื่อ).
กรรไตร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[กันไตฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ตะไกร. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กนฺไตฺร เขียนว่า กอ-ไก่-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต กรฺตริ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ.กรรไตร [กันไตฺร] น. ตะไกร. (ข. กนฺไตฺร; ส. กรฺตริ).
กรรทบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กระทบ เช่น ฟองฟัดซัดดล กรรทบนาวี. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กรรทบ [กัน–] (กลอน) ก. กระทบ เช่น ฟองฟัดซัดดล กรรทบนาวี. (สรรพสิทธิ์).
กรรแทก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่[กัน–] เป็นคำกริยา หมายถึง กระแทก, เขียนเป็น กันแทก ก็มี เช่น หัวล้านชาวไร่ไล่ปาม เข้าขวิดติดตาม กันแทกก็หัวไถดินฯ. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรแทก [กัน–] ก. กระแทก, เขียนเป็น กันแทก ก็มี เช่น หัวล้านชาวไร่ไล่ปาม เข้าขวิดติดตาม กันแทกก็หัวไถดินฯ. (สมุทรโฆษ).
กรรแทรก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่[กันแซก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง กองทําหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแซง คือ กองทำหน้าที่แซงเพื่อป้องกันจอมทัพ. ในวงเล็บ ดู กันแทรก เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ที่ กัน เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.กรรแทรก [กันแซก] (เลิก) น. กองทําหน้าที่แทรกในกระบวนพยุหยาตราเพื่อป้องกันจอมทัพ, คู่กันกับ กรรแซง คือ กองทำหน้าที่แซงเพื่อป้องกันจอมทัพ. (ดู กันแทรก ที่ กัน ๓).
กรรบาสิก, กรรปาสิก กรรบาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ กรรปาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ [กับบา–, กับปา–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อันทอด้วยฝ้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต การฺปาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี กปฺปาสิก เขียนว่า กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่.กรรบาสิก, กรรปาสิก [กับบา–, กับปา–] (แบบ) ว. อันทอด้วยฝ้าย. (ส. การฺปาสิก; ป. กปฺปาสิก).
กรรบาสิกพัสตร์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[กับบาสิกะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าอันทอด้วยฝ้าย คือ ผ้าฝ้าย. (ใน ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์ ว่า มาแต่แคว้นกาสี). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ผ้า .กรรบาสิกพัสตร์ [กับบาสิกะ–] น. ผ้าอันทอด้วยฝ้าย คือ ผ้าฝ้าย. (ใน ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์ ว่า มาแต่แคว้นกาสี). (ส. วสฺตฺร ว่า ผ้า).
กรรบิด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง มีด, ราชาศัพท์ว่า พระกรรบิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กำบิต เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า ว่า มีด .กรรบิด [กัน–] น. มีด, ราชาศัพท์ว่า พระกรรบิด. (ข. กำบิต ว่า มีด).
กรรบูร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ[กันบูน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การบูร เช่น กฤษณากระวานการ– บูรกูรกระเหนียดกรร– บูรแกมกำคูนคันธ์ รสจวงกำจรมา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรบูร [กันบูน] (แบบ) น. การบูร เช่น กฤษณากระวานการ– บูรกูรกระเหนียดกรร– บูรแกมกำคูนคันธ์ รสจวงกำจรมา. (สมุทรโฆษ).
กรรปุระ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ศอก. ในวงเล็บ ดู กโบร เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ.กรรปุระ [กัน–] (กลอน) น. ศอก. (ดู กโบร).
กรรพุม, กรรพุ่ม กรรพุม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า กรรพุ่ม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า [กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ แผลงมาจาก กระพุ่ม เป็นคำนาม หมายถึง มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร; พุ่ม เช่น กรรพุมมาลย์ = พุ่มดอกไม้.กรรพุม, กรรพุ่ม [กัน–] (โบ; แผลงมาจาก กระพุ่ม) น. มือที่ประนม เช่น ถวายกรกรรพุม. (ม. คำหลวง ทศพร); พุ่ม เช่น กรรพุมมาลย์ = พุ่มดอกไม้.
กรรภิรมย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง ฉัตร ๕ ชั้นสํารับหนึ่ง ทําด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นทอง ใช้ถุงปัศตูแดงสวม มี ๓ องค์ด้วยกัน คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ เป็นเครื่องสูง ใช้กางเชิญนําพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตรา และใช้เข้าพิธีคชกรรมเชิญนําช้างเผือกขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี.กรรภิรมย์ [กัน–] น. ฉัตร ๕ ชั้นสํารับหนึ่ง ทําด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นทอง ใช้ถุงปัศตูแดงสวม มี ๓ องค์ด้วยกัน คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ เป็นเครื่องสูง ใช้กางเชิญนําพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตรา และใช้เข้าพิธีคชกรรมเชิญนําช้างเผือกขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี.
กรรม , กรรม– ๑ กรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า กรรม– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า [กำ, กำมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒) การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. (๓) บาป, เคราะห์, เช่น คนมีกรรม กรรมของฉันแท้ ๆ. (๔) ความตาย ในคำว่า ถึงแก่กรรม.กรรม ๑, กรรม– ๑ [กำ, กำมะ–] น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒) การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. (๓) บาป, เคราะห์, เช่น คนมีกรรม กรรมของฉันแท้ ๆ. (๔) ความตาย ในคำว่า ถึงแก่กรรม.
กรรมกร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กำมะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺรม เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า = การงาน + กร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ = ผู้ทำ และมาจากภาษาบาลี กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + กร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ .กรรมกร [กำมะกอน] น. คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน. (ส. กฺรม = การงาน + กร = ผู้ทำ; ป. กมฺม + กร).
กรรมกรณ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด[กำมะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา. เป็นคำกริยา หมายถึง ลงโทษ เช่น สามซ้ำควรกรรมกรณ์ นุกิจราชอาชญา. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + กรณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน = การกระทำ และมาจากภาษาบาลี กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + กรณ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน .กรรมกรณ์ [กำมะกอน] น. อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา. ก. ลงโทษ เช่น สามซ้ำควรกรรมกรณ์ นุกิจราชอาชญา. (กฤษณา). (ส. กรฺม + กรณ = การกระทำ; ป. กมฺม + กรณ).
กรรมการ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ [กำมะกาน] เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่ได้รับเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันทำงานหรือกระทำกิจการบางอย่างซึ่งได้รับมอบหมาย, เมื่อรวมกันเป็นคณะ เรียกว่า คณะกรรมการ เช่น คณะกรรมการกฤษฎีกา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + การ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ .กรรมการ ๑ [กำมะกาน] น. บุคคลที่ได้รับเลือกหรือได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นคณะร่วมกันทำงานหรือกระทำกิจการบางอย่างซึ่งได้รับมอบหมาย, เมื่อรวมกันเป็นคณะ เรียกว่า คณะกรรมการ เช่น คณะกรรมการกฤษฎีกา. (ส. กรฺม + การ; ป. กมฺม + การ).
กรรมการ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รับใช้ เช่น ข้าขอภักดีภูบาล เป็นทาสกรรมการ ไปกว่าจะสิ้นสุดสกนธ์. ในวงเล็บ มาจาก เสือโคคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.กรรมการ ๒ (โบ; กลอน) น. ผู้รับใช้ เช่น ข้าขอภักดีภูบาล เป็นทาสกรรมการ ไปกว่าจะสิ้นสุดสกนธ์. (เสือโค).
กรรมการิณี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี[กํามะ–] เป็นคำนาม หมายถึง กรรมการซึ่งเป็นเพศหญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + การิณี เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี .กรรมการิณี [กํามะ–] น. กรรมการซึ่งเป็นเพศหญิง. (ส. กรฺม + การิณี).
กรรมขัย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก[กำมะไข] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง การสิ้นอายุเพราะกรรม เช่น อันว่าอายุสม์ยังมิควรตาย แลมาตายดั่งนั้นชื่อว่ากรรมขัยแล. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ภาษาบาลี ขย เขียนว่า ขอ-ไข่-ยอ-ยัก .กรรมขัย [กำมะไข] (โบ) น. การสิ้นอายุเพราะกรรม เช่น อันว่าอายุสม์ยังมิควรตาย แลมาตายดั่งนั้นชื่อว่ากรรมขัยแล. (ไตรภูมิ). (ส. กรฺม + ป. ขย).
กรรมคติ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[กํามะคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ทางดําเนินแห่งกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ส. เขียนว่า สอ-เสือ-จุด ภาษาบาลี คติ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า ที่ไป .กรรมคติ [กํามะคะติ] น. ทางดําเนินแห่งกรรม. (ส. กรฺม + ส., ป. คติ ว่า ที่ไป).
กรรมชรูป เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา[กํามะชะรูบ] เป็นคำนาม หมายถึง รูปของคนและสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กมฺมชรูป เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา ว่า รูปที่เกิดแต่กรรม .กรรมชรูป [กํามะชะรูบ] น. รูปของคนและสัตว์. (ส.; ป. กมฺมชรูป ว่า รูปที่เกิดแต่กรรม).
กรรมชวาต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[กำมะชะวาด] เป็นคำนาม หมายถึง ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์. ในวงเล็บ มาจาก ปฐมสมโพธิกถา พระนิพนธ์ ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ฉบับประพาสต้นการพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๐๓. (สฺ กรฺม + ช = เกิด + วาต = ลม).กรรมชวาต [กำมะชะวาด] น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์. (ปฐมสมโพธิกถา). (สฺ กรฺม + ช = เกิด + วาต = ลม).
กรรมฐาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู[กำมะถาน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี กมฺมฏฺาน เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู.กรรมฐาน [กำมะถาน] น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. (ส.; ป. กมฺมฏฺาน).
กรรมบถ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง[กำมะบด] เป็นคำนาม หมายถึง ทางแห่งกรรม มี ๒ อย่าง ตามลักษณะ คือ กุศลกรรมบถและอกุศลกรรมบถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ปถ เขียนว่า ปอ-ปลา-ถอ-ถุง = ทาง และมาจากภาษาบาลี กมฺมปถ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง.กรรมบถ [กำมะบด] น. ทางแห่งกรรม มี ๒ อย่าง ตามลักษณะ คือ กุศลกรรมบถและอกุศลกรรมบถ. (ส. กรฺม + ปถ = ทาง; ป. กมฺมปถ).
กรรมพันธุ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด[กำมะพัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ คือ เกี่ยวเนื่องด้วยกรรมของตนเอง. เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะ นิสัย ตลอดจนโรคหรือความวิกลวิการบางอย่างที่ลูกหลานสืบมาจากบรรพบุรุษ ปู่ย่าตายาย หรือพ่อแม่, พันธุกรรม ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + พนฺธุ เขียนว่า พอ-พาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี กมฺมพนฺธุ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ = “มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์” เกี่ยวเนื่องด้วยกรรมของตนเอง .กรรมพันธุ์ [กำมะพัน] ว. มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ คือ เกี่ยวเนื่องด้วยกรรมของตนเอง. น. ลักษณะ นิสัย ตลอดจนโรคหรือความวิกลวิการบางอย่างที่ลูกหลานสืบมาจากบรรพบุรุษ ปู่ย่าตายาย หรือพ่อแม่, พันธุกรรม ก็ว่า. (ส. กรฺม + พนฺธุ; ป. กมฺมพนฺธุ = “มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์” เกี่ยวเนื่องด้วยกรรมของตนเอง).
กรรมวาจา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา[กำมะ–] เป็นคำนาม หมายถึง คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + วาจา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา = คำ และมาจากภาษาบาลี กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + วาจา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา .กรรมวาจา [กำมะ–] น. คำประกาศกิจการในท่ามกลางสงฆ์. (ส. กรฺม + วาจา = คำ; ป. กมฺม + วาจา).
กรรมวาจาจารย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[กํามะวาจาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้ให้สําเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺมวาจา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา + อาจารฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก = อาจารย์ .กรรมวาจาจารย์ [กํามะวาจาจาน] น. อาจารย์ผู้ให้สําเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวด. (ส. กรฺมวาจา + อาจารฺย = อาจารย์).
กรรมวิธี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี[กํามะวิที] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะอาการหรือวิธีการที่ผันแปรหรือเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์ทําขึ้น อันดําเนินติดต่อกันเรื่อยไปเป็นลําดับ, กระบวนวิธีดําเนินการในประดิษฐกรรม.กรรมวิธี [กํามะวิที] น. ลักษณะอาการหรือวิธีการที่ผันแปรหรือเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติหรือที่มนุษย์ทําขึ้น อันดําเนินติดต่อกันเรื่อยไปเป็นลําดับ, กระบวนวิธีดําเนินการในประดิษฐกรรม.
กรรมวิบาก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[กํามะวิบาก] เป็นคำนาม หมายถึง ผลของกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + วิปาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ = ผล และมาจากภาษาบาลี กมฺม เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + วิปาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ .กรรมวิบาก [กํามะวิบาก] น. ผลของกรรม. (ส. กรฺม + วิปาก = ผล; ป. กมฺม + วิปาก).
กรรมเวร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-รอ-เรือ[กําเวน] เป็นคำนาม หมายถึง การกระทําที่สนองผลร้ายซึ่งทําไว้แต่ปางก่อน; คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า.กรรมเวร [กําเวน] น. การกระทําที่สนองผลร้ายซึ่งทําไว้แต่ปางก่อน; คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า.
กรรมศาลา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[กํามะ–] เป็นคำนาม หมายถึง โรงงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ศาลา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา = โรง .กรรมศาลา [กํามะ–] น. โรงงาน. (ส. กรฺม + ศาลา = โรง).
กรรมสัมปาทิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่[กํามะสําปาทิก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยังการงานให้ถึงพร้อม; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง บุคคลที่ได้รับเลือกหรือแต่งตั้งให้ทําหน้าที่กรรมการของสมาคม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + สมฺปาทิก เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ = ผู้ให้ถึงพร้อม .กรรมสัมปาทิก [กํามะสําปาทิก] น. ผู้ยังการงานให้ถึงพร้อม; (กฎ; เลิก) บุคคลที่ได้รับเลือกหรือแต่งตั้งให้ทําหน้าที่กรรมการของสมาคม. (ส. กรฺม + สมฺปาทิก = ผู้ให้ถึงพร้อม).
กรรมสิทธิ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[กํามะสิด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเจ้าของทรัพย์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สิทธิทั้งปวงที่ผู้เป็นเจ้าของมีอยู่เหนือทรัพย์สิน อันได้แก่ สิทธิใช้สอย จําหน่าย ได้ดอกผล กับทั้งสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตน และสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + สิทฺธิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ = ความสำเร็จ และมาจากภาษาบาลี กมฺมสิทฺธิ เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.กรรมสิทธิ์ [กํามะสิด] น. ความเป็นเจ้าของทรัพย์; (กฎ) สิทธิทั้งปวงที่ผู้เป็นเจ้าของมีอยู่เหนือทรัพย์สิน อันได้แก่ สิทธิใช้สอย จําหน่าย ได้ดอกผล กับทั้งสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตน และสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. (ส. กรฺม + สิทฺธิ = ความสำเร็จ; ป. กมฺมสิทฺธิ).
กรรมสิทธิ์รวม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กรรมสิทธิ์ของบุคคลหลายคนร่วมกันในทรัพย์สินอันใดอันหนึ่ง.กรรมสิทธิ์รวม (กฎ) น. กรรมสิทธิ์ของบุคคลหลายคนร่วมกันในทรัพย์สินอันใดอันหนึ่ง.
กรรม , กรรม– ๒ กรรม ความหมายที่ ๒ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า กรรม– ความหมายที่ ๒ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า [กํา, กํามะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถูกกระทํา เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรมของกริยา กิน.กรรม ๒, กรรม– ๒ [กํา, กํามะ–] (ไว) น. ผู้ถูกกระทํา เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรมของกริยา กิน.
กรรมการก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่[กํามะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถูกทํา เป็นส่วนสําคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตํารวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทําเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตํารวจยิง.กรรมการก [กํามะ–] (ไว) น. ผู้ถูกทํา เป็นส่วนสําคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตํารวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทําเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตํารวจยิง.
กรรมวาจก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่[กํามะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทํา, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทํา, กริยาของประโยคกรรมวาจกต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ผู้ทำความผิดถูกลงโทษ, แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก.กรรมวาจก [กํามะ–] (ไว) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทํา, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทํา, กริยาของประโยคกรรมวาจกต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ผู้ทำความผิดถูกลงโทษ, แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก.
กรรม์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด[กัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กรรม.กรรม์ [กัน] (กลอน) น. กรรม.
กรรม์ภิรมย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาดดู กรรภิรมย์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด.กรรม์ภิรมย์ ดู กรรภิรมย์.
กรรมัชวาต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า[กํามัดชะ–]ดู กรรมชวาต เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ที่ กรรม ๑, กรรม– ๑ กรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า กรรม– ความหมายที่ ๑ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า .กรรมัชวาต [กํามัดชะ–] ดู กรรมชวาต ที่ กรรม ๑, กรรม– ๑.
กรรมาชีพ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน[กํา–] เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกชนชั้นกรรมกรหรือลูกจ้างผู้หาเลี้ยงชีพด้วยค่าจ้างแรงงานว่า ชนกรรมาชีพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ proletariat เขียนว่า พี-อา-โอ-แอล-อี-ที-เอ-อา-ไอ-เอ-ที.กรรมาชีพ [กํา–] น. คําเรียกชนชั้นกรรมกรหรือลูกจ้างผู้หาเลี้ยงชีพด้วยค่าจ้างแรงงานว่า ชนกรรมาชีพ. (อ. proletariat).
กรรมาธิการ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กํา–] เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภาคณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.กรรมาธิการ [กํา–] น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภาคณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.
กรรมาร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[กํามาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างทอง เช่น กรรมารบุตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺมาร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี กมฺมาร เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ.กรรมาร [กํามาน] (แบบ) น. ช่างทอง เช่น กรรมารบุตร. (ส. กรฺมาร; ป. กมฺมาร).
กรรลี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[กัน–] เป็นคำนาม หมายถึง โทษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กลี เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี แผลงเป็น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู กระลี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี และแผลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-งอ-งู กระลี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู กรรลี เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี .กรรลี [กัน–] น. โทษ. (ส. กลี แผลงเป็น กระลี และแผลง กระลี เป็น กรรลี).
กรรลึง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก กมล เป็นคำกริยา หมายถึง จับ.กรรลึง [กัน–] (กลอน; แผลงมาจาก กระลึง) ก. จับ.
กรรษก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่[กัดสก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชาวนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรฺษก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี .กรรษก [กัดสก] (แบบ) น. ชาวนา. (ส. กรฺษก; ป.กสฺสก).
กรรสะ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง ไอ, ใช้ว่า ทรงพระกรรสะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กาส เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต กาศ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา.กรรสะ [กัน–] (ราชา) ก. ไอ, ใช้ว่า ทรงพระกรรสะ. (ป. กาส; ส. กาศ).
กรรแสง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ [กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก กระแสง เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสียงร้อง เช่น เทพฤๅษีสรรเสริญแชรง ชัยชัยรบแรง กรรแสงแลสาธุการา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรแสง ๑ [กัน–] (กลอน; แผลงมาจาก กระแสง) ก. ส่งเสียงร้อง เช่น เทพฤๅษีสรรเสริญแชรง ชัยชัยรบแรง กรรแสงแลสาธุการา. (สมุทรโฆษ).
กรรแสง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ [กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าสไบ เช่น กรรแสงสวมคอหิ้ว ตายบทันลัดนิ้ว หนึ่งดี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์. ในวงเล็บ ดู กันแสง เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู.กรรแสง ๒ [กัน–] (โบ) น. ผ้าสไบ เช่น กรรแสงสวมคอหิ้ว ตายบทันลัดนิ้ว หนึ่งดี. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ดู กันแสง).
กรรหาย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง อยากได้, หิวโหย, เช่น กามกรรหายยั่วข้าง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, ให้หยุดพลพักร้อน กรรหายผ่อนเอาทับ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิราศพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กรรหาย [กัน–] (โบ; กลอน) ก. อยากได้, หิวโหย, เช่น กามกรรหายยั่วข้าง. (ลอ), ให้หยุดพลพักร้อน กรรหายผ่อนเอาทับ. (นิ. พลเสพย์).
กรรเหิม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์.กรรเหิม [กัน–] (โบ; กลอน) ก. เหิม เช่น กรรเหิมหายหว่นนหว่า. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์).
กรรโหย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง โหย, คร่ำครวญ, เช่น มีกระเรียนร้องก้องกรรโหย. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรโหย [กัน–] (โบ; กลอน) ก. โหย, คร่ำครวญ, เช่น มีกระเรียนร้องก้องกรรโหย. (สมุทรโฆษ).
กรรเอา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา[กัน–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง แผลงมาจาก กระเอา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลมกล่อม เช่น ไพเราะรสหวาน บรรสานกรรเอาเอาใจ. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.กรรเอา [กัน–] (โบ; กลอน; แผลงมาจาก กระเอา) ว. กลมกล่อม เช่น ไพเราะรสหวาน บรรสานกรรเอาเอาใจ. (สมุทรโฆษ).
กรรุณา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา[กฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กรุณา เช่น ถ้าทรงพระกรรุณา. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง.กรรุณา [กฺระ–] (โบ) น. กรุณา เช่น ถ้าทรงพระกรรุณา. (สามดวง).
กรลุมพาง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู[กระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กระลุมพาง, กลองหน้าเดียว, เช่น ปี่จีนโสดสรในใดต่าง ทงงกรลุมพางพอฟงง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช.กรลุมพาง [กระ–] (โบ) น. กระลุมพาง, กลองหน้าเดียว, เช่น ปี่จีนโสดสรในใดต่าง ทงงกรลุมพางพอฟงง. (ม. คำหลวง มหาราช).
กรวด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรวด] เป็นคำนาม หมายถึง ก้อนหินเล็ก ๆ เขื่องกว่าเม็ดทราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร คฺรัวสฺ เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ.กรวด ๑ [กฺรวด] น. ก้อนหินเล็ก ๆ เขื่องกว่าเม็ดทราย. (ข. คฺรัวสฺ).
กรวด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ใช้ไม้อ้อบรรจุดินดำ มีหางยาว เมื่อจุดชนวนแล้วเหวี่ยงให้พุ่งขึ้นสูง, จรวด ก็เรียก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงชัน เช่น หลังคากรวด, คู่กับ หลังคาดาด, ในคําประพันธ์ใช้ว่า จรวด หรือ ตรวด ก็มี เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.กรวด ๒ [กฺรวด] น. ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง ใช้ไม้อ้อบรรจุดินดำ มีหางยาว เมื่อจุดชนวนแล้วเหวี่ยงให้พุ่งขึ้นสูง, จรวด ก็เรียก. ว. สูงชัน เช่น หลังคากรวด, คู่กับ หลังคาดาด, ในคําประพันธ์ใช้ว่า จรวด หรือ ตรวด ก็มี เช่น เฒ่าก็วิ่งตรวดตรงขึ้นต้นไม้. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
กรวด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรวด] เป็นคำกริยา หมายถึง หลั่งนํ้า เช่น นํ้าพระเต้าสิโตทกธารามารดริน กรวดลงในมืออินทพฤฒาจารย์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำกาพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๙ กัณฑ์สักบรรพ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร จฺรวจ เขียนว่า จอ-จาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน.กรวด ๓ [กฺรวด] ก. หลั่งนํ้า เช่น นํ้าพระเต้าสิโตทกธารามารดริน กรวดลงในมืออินทพฤฒาจารย์. (ม. กาพย์ สักบรรพ). (ข. จฺรวจ).
กรวดน้ำ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง แผ่ส่วนบุญด้วยวิธีหลั่งนํ้า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า ตัดขาดไม่ขอเกี่ยวข้องด้วย, มักใช้ว่า กรวดนํ้าควํ่ากะลา หรือ กรวดนํ้าควํ่าขัน.กรวดน้ำ ก. แผ่ส่วนบุญด้วยวิธีหลั่งนํ้า; (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ตัดขาดไม่ขอเกี่ยวข้องด้วย, มักใช้ว่า กรวดนํ้าควํ่ากะลา หรือ กรวดนํ้าควํ่าขัน.
กรวน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-หนู[กฺรวน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภูเก็ต เป็นคำนาม หมายถึง กลอยทําเป็นชิ้นเล็ก ๆ. (วิทยาจารย์ ล. ๑๖ ต. ๒).กรวน [กฺรวน] (ถิ่น–ภูเก็ต) น. กลอยทําเป็นชิ้นเล็ก ๆ. (วิทยาจารย์ ล. ๑๖ ต. ๒).
กรวบ, กร๊วบ กรวบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ กร๊วบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-ตรี-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ [กฺรวบ, กฺร๊วบ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นเคี้ยวถูกของแข็ง.กรวบ, กร๊วบ [กฺรวบ, กฺร๊วบ] ว. เสียงดังเช่นเคี้ยวถูกของแข็ง.
กรวม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า[กฺรวม] เป็นคำกริยา หมายถึง สวม เช่น วงแหวนกรวมหัวเสา, ครอบ เช่น เอากรวยกรวมพนมดอกไม้, คร่อม เช่น ปลูกเรือนกรวมตอ ปลูกเรือนกรวมทาง; รวมความหมายหลายอย่าง เช่น กรวมความ; กํากวม เช่น พูดกรวมข้อ. ในวงเล็บ มาจาก D.J.B. Pallegoix Dictionnaire, Siamois, Francais-Anglais.กรวม [กฺรวม] ก. สวม เช่น วงแหวนกรวมหัวเสา, ครอบ เช่น เอากรวยกรวมพนมดอกไม้, คร่อม เช่น ปลูกเรือนกรวมตอ ปลูกเรือนกรวมทาง; รวมความหมายหลายอย่าง เช่น กรวมความ; กํากวม เช่น พูดกรวมข้อ. (ปาเลกัว).
กร้วม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเคี้ยวสิ่งของที่เปราะให้แตก หรือเสียงของแข็งกระทบกันอย่างแรง.กร้วม ว. เสียงเคี้ยวสิ่งของที่เปราะให้แตก หรือเสียงของแข็งกระทบกันอย่างแรง.
กรวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ของมีรูปกลม กลวง ยาวเรียวแหลม, เรียกขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลปีบ เป็นต้น หยอดในกรวยใบตองว่า ขนมกรวย, กระทงมีฝาเป็นกรวยครอบ ข้างในใส่หมากหรือเมี่ยงสําหรับถวายพระอุปัชฌาย์และคู่สวดในการบวชนาค เรียกว่า กรวยอุปัชฌาย์และกรวยคู่สวด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง รูปตันมีลักษณะฐานกลมและแหลมเรียวไปโดยลําดับ เรียกว่า รูปกรวย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cone เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-อี.กรวย ๑ น. ของมีรูปกลม กลวง ยาวเรียวแหลม, เรียกขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลปีบ เป็นต้น หยอดในกรวยใบตองว่า ขนมกรวย, กระทงมีฝาเป็นกรวยครอบ ข้างในใส่หมากหรือเมี่ยงสําหรับถวายพระอุปัชฌาย์และคู่สวดในการบวชนาค เรียกว่า กรวยอุปัชฌาย์และกรวยคู่สวด; (วิทยา) รูปตันมีลักษณะฐานกลมและแหลมเรียวไปโดยลําดับ เรียกว่า รูปกรวย. (อ. cone).
กรวยเชิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ลายที่ทําเป็นรูปกรวย ใช้เป็นลายชายผ้าและปลายเสา เรียกชื่อต่าง ๆ กันแล้วแต่ลายอยู่ที่ไหน เช่น ถ้าอยู่ที่เชิงผ้า เรียกว่า กรวยเชิง, ถ้าอยู่ที่เชิงผ้าเกี้ยว เรียกว่า เชิงเกี้ยว, ถ้าอยู่ที่ด้ามหอก เรียกว่า เชิงหอก.กรวยเชิง น. ลายที่ทําเป็นรูปกรวย ใช้เป็นลายชายผ้าและปลายเสา เรียกชื่อต่าง ๆ กันแล้วแต่ลายอยู่ที่ไหน เช่น ถ้าอยู่ที่เชิงผ้า เรียกว่า กรวยเชิง, ถ้าอยู่ที่เชิงผ้าเกี้ยว เรียกว่า เชิงเกี้ยว, ถ้าอยู่ที่ด้ามหอก เรียกว่า เชิงหอก.
กรวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. ในวงศ์ Myristicaceae ขึ้นตามฝั่งนํ้าลําคลอง ใบเป็นมันคล้ายใบจําปี แต่เรียวและนิ่มกว่า ดอกสีเหลือง ผลกลมเป็นพวงคล้ายมะไฟ, กรวยบ้าน ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Casearia grewiifolia Vent. ในวงศ์ Flacourtiaceae ใบคล้ายชนิดแรกแต่ปลายป้อม มีขนมาก ขอบใบมีจักเล็ก ๆ เชื่อกันว่าเป็นยาสูบแก้ริดสีดวงจมูก, กรวยป่า ก็เรียก.กรวย ๒ น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Horsfieldia irya (Gaertn.) Warb. ในวงศ์ Myristicaceae ขึ้นตามฝั่งนํ้าลําคลอง ใบเป็นมันคล้ายใบจําปี แต่เรียวและนิ่มกว่า ดอกสีเหลือง ผลกลมเป็นพวงคล้ายมะไฟ, กรวยบ้าน ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มชนิด Casearia grewiifolia Vent. ในวงศ์ Flacourtiaceae ใบคล้ายชนิดแรกแต่ปลายป้อม มีขนมาก ขอบใบมีจักเล็ก ๆ เชื่อกันว่าเป็นยาสูบแก้ริดสีดวงจมูก, กรวยป่า ก็เรียก.
กรวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สักหรือแทงด้วยแหลน เช่น กรวยปลา.กรวย ๓ (โบ) ก. สักหรือแทงด้วยแหลน เช่น กรวยปลา.
กรวยบ้าน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนูดู กรวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ (๑).กรวยบ้าน ดู กรวย ๒ (๑).
กรวยป่า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อาดู กรวย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ (๒).กรวยป่า ดู กรวย ๒ (๒).
กรวิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [กะระ–, กอระ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นกการเวก. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กรวีก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่.กรวิก ๑ [กะระ–, กอระ–] (แบบ) น. นกการเวก. (ไตรภูมิ). (ป., ส. กรวีก).
กรวิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [กะระ–, กอระ–] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต กรวีก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่. ในวงเล็บ ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์ สัตบริภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด สัตภัณฑ์ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด .กรวิก ๒ [กะระ–, กอระ–] น. ชื่อภูเขาชั้นที่ ๓ ในหมู่เขาสัตบริภัณฑ์ที่ล้อมเป็นวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ. (ป.; ส. กรวีก). (ดู สัตบริภัณฑ์, สัตภัณฑ์).
กรสานต์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[กฺระ–] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระสานติ์, สงบ, ราบคาบ, เช่น ดำรงกรษัตรให้กรสานต์. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.กรสานต์ [กฺระ–] (โบ; กลอน) ว. กระสานติ์, สงบ, ราบคาบ, เช่น ดำรงกรษัตรให้กรสานต์. (ยวนพ่าย).
กรสาปน, กรสาปน์ กรสาปน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู กรสาปน์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [กฺระสาบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กระษาปณ์ เช่น แลพราหมณ์น้นนได้ทองร้อยกรสาปน เปนลาภด้วยเดอรขอทานทุกวันวารแก่มหาชนทงงหลายบมิขาดเลย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ชูชก ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต การฺษาปณ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-นอ-เนน.กรสาปน, กรสาปน์ [กฺระสาบ] (แบบ) น. กระษาปณ์ เช่น แลพราหมณ์น้นนได้ทองร้อยกรสาปน เปนลาภด้วยเดอรขอทานทุกวันวารแก่มหาชนทงงหลายบมิขาดเลย. (ม. คำหลวง ชูชก). (ส. การฺษาปณ).
กรสุทธิ์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[กะระ–] เป็นคำนาม หมายถึง “การชําระมือให้หมดจด”, พิธีอย่างหนึ่งของพราหมณ์ ก่อนที่จะประกอบพิธีใด ๆ จะต้องชำระมือให้สะอาดเสียก่อน, กระสูทธิ์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กรศุทฺธิ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ.กรสุทธิ์ [กะระ–] น. “การชําระมือให้หมดจด”, พิธีอย่างหนึ่งของพราหมณ์ ก่อนที่จะประกอบพิธีใด ๆ จะต้องชำระมือให้สะอาดเสียก่อน, กระสูทธิ์ ก็ว่า. (ส. กรศุทฺธิ).
กรอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ม้วนด้ายเข้าหลอดด้วยไนหรือเครื่องจักร; ควง เช่น กรเกาะขอกรอธาร เงือดง้าง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพยุหยาตรา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.กรอ ๑ ก. ม้วนด้ายเข้าหลอดด้วยไนหรือเครื่องจักร; ควง เช่น กรเกาะขอกรอธาร เงือดง้าง. (ลิลิตพยุหยาตรา).
กรอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาเลียบเคียงกันในเชิงชู้สาว มักเป็นอาการที่ผู้ชายหนุ่ม ๆ แต่งตัวแล้วชวนเพื่อนกันเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เช่น นักเลงหนุ่มหนุ่มนั้น เที่ยวกรอ. ในวงเล็บ มาจาก โคลงพระราชพิธีทวาทศมาส สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงนิพนธ์, บางทีก็ใช้ว่า กรอผู้หญิง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ติดพันกันในเชิงชู้สาว เช่น หนุ่มคนนี้มีผู้หญิงติดกรอทีเดียว.กรอ ๒ ก. แสดงกิริยาเลียบเคียงกันในเชิงชู้สาว มักเป็นอาการที่ผู้ชายหนุ่ม ๆ แต่งตัวแล้วชวนเพื่อนกันเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เช่น นักเลงหนุ่มหนุ่มนั้น เที่ยวกรอ. (พิธีทวาทศมาส), บางทีก็ใช้ว่า กรอผู้หญิง. ว. อาการที่ติดพันกันในเชิงชู้สาว เช่น หนุ่มคนนี้มีผู้หญิงติดกรอทีเดียว.
กรอกรุย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าเจ้าชู้ เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน. ในวงเล็บ มาจาก มณีพิชัยตอนต้น บทละคร พระนิพนธ์ ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ ชั้น ๒ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๒.กรอกรุย ก. ทําท่าเจ้าชู้ เช่น ห่มเพลาะกรูมกรอกรุยฉุยเฉิดฉัน. (มณีพิชัย).
กรอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งให้เรียบ เช่น กรอฟัน กรอไม้.กรอ ๓ ก. แต่งให้เรียบ เช่น กรอฟัน กรอไม้.
กรอ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากจน, เข็ญใจ, ฝืดเคือง, ในคำว่า เบียดกรอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กฺร เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ยาก, ลำบาก .กรอ ๔ ว. ยากจน, เข็ญใจ, ฝืดเคือง, ในคำว่า เบียดกรอ. (ข. กฺร ว่า ยาก, ลำบาก).
กร้อ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ. ในวงเล็บ มาจาก โคลงกวีโบราณ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร กฺรฬ เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ลอ-จุ-ลา ว่า ไห . (รูปภาพ กร้อ).กร้อ น. เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ. (โคลงกวี), สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. (เทียบ ข. กฺรฬ ว่า ไห). (รูปภาพ กร้อ).
กรอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ [กฺรอก] เป็นคำกริยา หมายถึง เทลงในช่องแคบ เช่น กรอกหม้อ กรอกขวด, หรือใช้โดยปริยายก็ได้ เช่น พูดกรอกหู; ลงข้อความหรือจํานวนเลข เช่น กรอกบัญชี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แห้งจนคลอน, ใช้แก่หมากและฝักมะขาม ว่า หมากกรอกมะขามกรอก.กรอก ๑ [กฺรอก] ก. เทลงในช่องแคบ เช่น กรอกหม้อ กรอกขวด, หรือใช้โดยปริยายก็ได้ เช่น พูดกรอกหู; ลงข้อความหรือจํานวนเลข เช่น กรอกบัญชี. ว. แห้งจนคลอน, ใช้แก่หมากและฝักมะขาม ว่า หมากกรอกมะขามกรอก.
กรอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกยางขนาดเล็กในวงศ์ Ardeidae ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus) หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาอมดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา (A. speciosa) หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาอมดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย (A. grayii) หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลา.กรอก ๒ น. ชื่อนกยางขนาดเล็กในวงศ์ Ardeidae ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน (Ardeola bacchus) หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาอมดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา (A. speciosa) หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาอมดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย (A. grayii) หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลา.
กร็อกกร๋อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ชุ่มชื่น, ไม่สมบูรณ์.กร็อกกร๋อย ว. ไม่ชุ่มชื่น, ไม่สมบูรณ์.
กรอกแกรก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [กฺรอกแกฺรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงใบไม้แห้งกระทบกัน.กรอกแกรก ๑ [กฺรอกแกฺรก] ว. เสียงอย่างเสียงใบไม้แห้งกระทบกัน.
กรอกแกรก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ [กฺรอกแกฺรก] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นพนันชนิดหนึ่ง. (ราชกิจจา. ล. ๑).กรอกแกรก ๒ [กฺรอกแกฺรก] (โบ) น. การเล่นพนันชนิดหนึ่ง. (ราชกิจจา. ล. ๑).
กรอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ [กฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง ร้อย เช่น กรองมาลัย = ร้อยดอกไม้; ถัก, ทอ, เช่น กรองแฝก กรองคา.กรอง ๑ [กฺรอง] ก. ร้อย เช่น กรองมาลัย = ร้อยดอกไม้; ถัก, ทอ, เช่น กรองแฝก กรองคา.
กรองทอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าโปร่งอันทอหรือถักด้วยเส้นลวดทองหรือไหมทอง.กรองทอง น. ผ้าโปร่งอันทอหรือถักด้วยเส้นลวดทองหรือไหมทอง.
กรอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ [กฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของละเอียดออกจากของหยาบ เช่น กรองทราย, เอาฝุ่นละอองหรือของสกปรกออก เช่น กรองน้ำมัน กรองอากาศ, ใช้เครื่องกรองมีผ้าเป็นต้น คัดเอาผงหรือกากออกจากนํ้าหรือสิ่งที่เป็นน้ำ เช่น กรองน้ำ กรองกะทิ.กรอง ๒ [กฺรอง] ก. เอาของละเอียดออกจากของหยาบ เช่น กรองทราย, เอาฝุ่นละอองหรือของสกปรกออก เช่น กรองน้ำมัน กรองอากาศ, ใช้เครื่องกรองมีผ้าเป็นต้น คัดเอาผงหรือกากออกจากนํ้าหรือสิ่งที่เป็นน้ำ เช่น กรองน้ำ กรองกะทิ.
กรอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ [กฺรอง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง กําไล, โดยมากใช้ประกอบกับคําอื่น ๆ เช่น กรองเชิง = กําไลเท้า กรองได = กําไลมือ กรองศอ = สร้อยคอ, สร้อยนวม เช่น กรองศอซ้อนสลับทับอังศา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กง เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู (กอง เขียนว่า ??40??-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-งอ-งู ว่า กำไล, วงกลม].กรอง ๓ [กฺรอง] (กลอน) น. กําไล, โดยมากใช้ประกอบกับคําอื่น ๆ เช่น กรองเชิง = กําไลเท้า กรองได = กําไลมือ กรองศอ = สร้อยคอ, สร้อยนวม เช่น กรองศอซ้อนสลับทับอังศา. (อิเหนา). [ข. กง (กอง) ว่า กำไล, วงกลม].
กรอง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ [กฺรอง] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง กระชอน.กรอง ๔ [กฺรอง] (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. กระชอน.
กรองกรอย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ชุ่มชื่น, ไม่สมบูรณ์; ซอมซ่อ (มักใช้แก่การแต่งกาย), ตองตอย ก็ใช้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง และเป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ หมายถึง ตกอับ, แร้นแค้น, เช่น ผัวเมียสองคนจนกรองกรอย. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์.กรองกรอย ว. ไม่ชุ่มชื่น, ไม่สมบูรณ์; ซอมซ่อ (มักใช้แก่การแต่งกาย), ตองตอย ก็ใช้; (กลอน; ถิ่น–ปักษ์ใต้) ตกอับ, แร้นแค้น, เช่น ผัวเมียสองคนจนกรองกรอย. (สังข์ทอง).
กรอด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กะหฺรอด]ดู ปรอด เขียนว่า ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก.กรอด ๑ [กะหฺรอด] ดู ปรอด.
กรอด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [กฺรอด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เซียวลง เช่น ผอมกรอด; เสียงดังอย่างเสียงกัดฟัน.กรอด ๒ [กฺรอด] ว. เซียวลง เช่น ผอมกรอด; เสียงดังอย่างเสียงกัดฟัน.
กร่อน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, ร่อยหรอ, สึกหรอ.กร่อน ก. หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, ร่อยหรอ, สึกหรอ.
กรอบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [กฺรอบ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ประกอบตามริมวัตถุมีรูปภาพเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า ขอบเขตกําหนด เช่น ทํางานอยู่ในกรอบ.กรอบ ๑ [กฺรอบ] น. สิ่งที่ประกอบตามริมวัตถุมีรูปภาพเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า ขอบเขตกําหนด เช่น ทํางานอยู่ในกรอบ.
กรอบเช็ดหน้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง กรอบประตูหรือหน้าต่าง, เช็ดหน้า หรือ วงกบ ก็เรียก.กรอบเช็ดหน้า น. กรอบประตูหรือหน้าต่าง, เช็ดหน้า หรือ วงกบ ก็เรียก.
กรอบหน้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับขอบหน้าผากเป็นรูปกระจังเป็นต้น. ในวงเล็บ รูปภาพ กรอบหน้า.กรอบหน้า น. เครื่องประดับขอบหน้าผากเป็นรูปกระจังเป็นต้น. (รูปภาพ กรอบหน้า).
กรอบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตกหักเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยได้ง่าย, เปราะ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง แทบดํารงตนไปไม่รอด เช่น จนกรอบ.กรอบ ๒ ว. แตกหักเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยได้ง่าย, เปราะ; (ปาก) แทบดํารงตนไปไม่รอด เช่น จนกรอบ.
กรอบเกรียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงดังอย่างเสียงเหยียบถูกของแห้งหรือกรอบ, เกรียบกรอบ ก็ว่า.กรอบเกรียบ (โบ) ว. มีเสียงดังอย่างเสียงเหยียบถูกของแห้งหรือกรอบ, เกรียบกรอบ ก็ว่า.
กรอบแกรบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที เช่น แห้งกรอบแกรบ จนกรอบแกรบ; มีเสียงดังอย่างเสียงเหยียบถูกของแห้งหรือกรอบ.กรอบแกรบ ว. เต็มที เช่น แห้งกรอบแกรบ จนกรอบแกรบ; มีเสียงดังอย่างเสียงเหยียบถูกของแห้งหรือกรอบ.
กรอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรอม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปกหรือคลุมยาวลงมาเกินควร เช่น นุ่งผ้าซิ่นกรอมส้น.กรอม ๑ [กฺรอม] ว. ปกหรือคลุมยาวลงมาเกินควร เช่น นุ่งผ้าซิ่นกรอมส้น.
กรอม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ความหมายที่ [กฺรอม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระทม, เจ็บชํ้าอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรอมใจ.กรอม ๒ [กฺรอม] ว. ระทม, เจ็บชํ้าอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรอมใจ.
กร่อม, กร่อม ๆ กร่อม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า กร่อม ๆ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ช้า ๆ เงื่อง ๆ แต่ทําเรื่อยไป (มักใช้แก่การเดิน พายเรือ หรือลุยนํ้า) เช่น เดินกร่อม ๆ กรําฝนฟ้า พายเรือกร่อม ๆ. ในวงเล็บ มาจาก อักษรประโยค ในแบบเรียนของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร).กร่อม, กร่อม ๆ (โบ) ว. ช้า ๆ เงื่อง ๆ แต่ทําเรื่อยไป (มักใช้แก่การเดิน พายเรือ หรือลุยนํ้า) เช่น เดินกร่อม ๆ กรําฝนฟ้า พายเรือกร่อม ๆ. (อักษรประโยค).
กร่อย เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[กฺร่อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่จืดสนิทหรือไม่หวานสนิท เพราะมีรสเค็มเจือ, โดยปริยายหมายความว่า หมดรสสนุกหรือหมดความครึกครื้น เช่น การแสดงที่ไม่สนุกทำให้คนดูรู้สึกกร่อย.กร่อย [กฺร่อย] ว. ไม่จืดสนิทหรือไม่หวานสนิท เพราะมีรสเค็มเจือ, โดยปริยายหมายความว่า หมดรสสนุกหรือหมดความครึกครื้น เช่น การแสดงที่ไม่สนุกทำให้คนดูรู้สึกกร่อย.
กระ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ ดูเหมือนซ้อนเหลื่อมกันอย่างกระเบื้องมุงหลังคาสีนํ้าตาลลายเหลือง ปากงุ้มคล้ายปากเหยี่ยว ขาแบนเป็นพาย มีไข่กลมเปลือกนิ่มเหนียว ไข่ตามหาดทรายครั้งละ ๑๕๐–๒๕๐ ฟอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กราส่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก.กระ ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ ดูเหมือนซ้อนเหลื่อมกันอย่างกระเบื้องมุงหลังคาสีนํ้าตาลลายเหลือง ปากงุ้มคล้ายปากเหยี่ยว ขาแบนเป็นพาย มีไข่กลมเปลือกนิ่มเหนียว ไข่ตามหาดทรายครั้งละ ๑๕๐–๒๕๐ ฟอง. (ข. กราส่).
กระ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Elateriospermum tapos Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae ผลกลมมี ๓ พู เปลือกแข็ง เมื่อแก่สีคลํ้าเกือบดํา เมล็ดรูปยาวรี เปลือกแข็งเป็นมันสีนํ้าตาลเข้ม ภายในมีเนื้อขาว ๒ กลีบประกบกัน เมื่อดิบมีพิษร้ายแรง ดองหรือคั่วแล้วกินได้ รสมัน เรียกว่า ลูกกระ, ปักษ์ใต้และมลายูเรียก ประ.กระ ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Elateriospermum tapos Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae ผลกลมมี ๓ พู เปลือกแข็ง เมื่อแก่สีคลํ้าเกือบดํา เมล็ดรูปยาวรี เปลือกแข็งเป็นมันสีนํ้าตาลเข้ม ภายในมีเนื้อขาว ๒ กลีบประกบกัน เมื่อดิบมีพิษร้ายแรง ดองหรือคั่วแล้วกินได้ รสมัน เรียกว่า ลูกกระ, ปักษ์ใต้และมลายูเรียก ประ.
กระ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง จุดดำ ๆ หรือจุดน้ำตาลขึ้นประปรายที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ, ประ ก็ว่า.กระ ๓ น. จุดดำ ๆ หรือจุดน้ำตาลขึ้นประปรายที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ, ประ ก็ว่า.
กระ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กํา กุ ข ต ส เช่น กบิล – กระบิล, กําแพง – กระแพง, กุฎี – กระฎี, ขจัด – กระจัด, ตวัด – กระหวัด, สะท้อน – กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล – กระกูล, ตระลาการ – กระลาการ. ในวงเล็บ มาจาก Lois Siamoises Code de 1805 A.D. XIV พระอัยการเบ็ดเสร็จ. (๓) เติมหน้าคําโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม – กระซุ้ม, โดด – กระโดด, พุ่ม – กระพุ่ม, ยาจก – กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทํา – กระทํา, ทุ้ง – กระทุ้ง, เสือกสน – กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคําอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ.กระ ๔ ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กํา กุ ข ต ส เช่น กบิล – กระบิล, กําแพง – กระแพง, กุฎี – กระฎี, ขจัด – กระจัด, ตวัด – กระหวัด, สะท้อน – กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล – กระกูล, ตระลาการ – กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคําโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม – กระซุ้ม, โดด – กระโดด, พุ่ม – กระพุ่ม, ยาจก – กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทํา – กระทํา, ทุ้ง – กระทุ้ง, เสือกสน – กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคําอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ.
กระกร เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ฉายรัศมี เช่น ทินกรกระกรจามี– กรกรรัศมี ดุรงครัตน์พรรณราย. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. (กระ + ส. กร = รัศมี).กระกร (กลอน) ก. ฉายรัศมี เช่น ทินกรกระกรจามี– กรกรรัศมี ดุรงครัตน์พรรณราย. (สมุทรโฆษ). (กระ + ส. กร = รัศมี).
กระกรับกระเกรียบ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระด้าง, หยาบ, เช่น หนงงหยาบสุรเสียงศัพท์ ดูก็กระกรับกระเกรียบ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.กระกรับกระเกรียบ (โบ; กลอน) ว. กระด้าง, หยาบ, เช่น หนงงหยาบสุรเสียงศัพท์ ดูก็กระกรับกระเกรียบ. (ม. คำหลวง กุมาร).
กระกรี๊ด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงกรีด ๆ ดั่งเสียงหญิงร้องด้วยความตกใจ เช่น แต่ร้องจนสุดสิ้นพระสุรเสียงสำเนียงกระกรี๊ดกรีด. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร.กระกรี๊ด (กลอน) ว. เสียงกรีด ๆ ดั่งเสียงหญิงร้องด้วยความตกใจ เช่น แต่ร้องจนสุดสิ้นพระสุรเสียงสำเนียงกระกรี๊ดกรีด. (ม. ร่ายยาว กุมาร).
กระกรุ่น เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กรุ่น ๆ เช่น ไฟฟุนกระกรุ่นเกรียม. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.กระกรุ่น (กลอน) ว. กรุ่น ๆ เช่น ไฟฟุนกระกรุ่นเกรียม. (สรรพสิทธิ์).
กระกลับกลอก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กลับกลอก เช่น มีตาดุจแก้วแสงสาย กระกลับกลอกพราย ชื่อรัตนจักษุมงคล. ในวงเล็บ มาจาก ตำราช้างคำฉันท์ ฉบับโรงพิมพ์ ไท ถนนรองเมือง พ.ศ. ๒๔๖๐.กระกลับกลอก (กลอน) ก. กลับกลอก เช่น มีตาดุจแก้วแสงสาย กระกลับกลอกพราย ชื่อรัตนจักษุมงคล. (ตําราช้างคําฉันท์).